The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วารสาร ปีที่ 13 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2562

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pr, 2020-03-13 03:40:22

วารสาร ปีที่ 13 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2562

วารสาร ปีที่ 13 ฉบับที่ 6 ประจำเดือนกันยายน - ตุลาคม 2562

วัฒนธรรมสัมพันธ์ ๐๖ ___มร_ภ_.ส_ง_ข_ล_า_อ_ัญ_เ_ชญิ__พ_ระ_บ_ร_มส_า_ร_ีร_ิกธ_า_ต_ุ ____________๓_
“วค. แต่แรก” ฉลอง ๑๐๐ ปี ___นิเ_ท_ศฯ__ค_ว_้าร_า_ง_วลั_ป_ร_ะก_ว_ด_ส_่อื __________________๑_๐_
__ป_ร_ะ_ชมุ_ว_ชิ _าก_า_ร_ด_้าน_ม_น_ษุ _ยศ_า_ส_ต_รฯ์__ร_ะด_ับ_ช_าต_ิ _ค_ร_ง้ั ท_ี่_๒_ ____๑_๑
เทคโนโลยีอุตสาหกรรม สมั มนาจัดการความร้ดู า้ นวิจยั ๑๒

___แล_ะก_า_ร_เร_ีย_น_กา_ร_ส_อ_น _________________________
___อบ_ร_ม_เท_ค_น_ิคเ_ข_ียน_ข_อ้ _เส_น_อ_เพ_่ือ_รับ_ท_ุน_ว_ิจ_ัย _____________๑_๓_
___สร_้า_ง_เค_ร_ือข_่า_ย_ค_วา_ม_ร_ว่ ม_ม_อื _ส_า_ธา_ร_ณ_ส_ขุ _ช_มุ ช_น_ _________๑_๔_
___เย_อื น_ม_า_เล_ย_์ _แล_ก_เป_ล_ี่ย_น_ด้า_น_ก_ฬี _า _________________๑_๔_
เทียบเชิญกงสุลใหญส่ าธารณรัฐประชาชนจีน ๑๕
๐๘“พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสวุ รรณ” องคมนตรี
___ร่ว_ม_ป_ร_ะช_ุม_วิช_า_ก_าร_น_า_น_าช_า_ต_ ิ ____________________
ตรวจเยีย่ มการด�ำ เนนิ งาน รว่ มเวทรี บั ฟังความคดิ เห็นจดั ทำ�มาตรฐาน ๑๖

___วชิ _า_ช_ีพส_า_ธ_า_รณ__ส_ุขช_ุม_ช_น_ ______________________
___อบ_ร_ม_ย_กร_ะ_ด_ับค_ว_า_มป_ล_อ_ด_ภ_ยั ห_อ้_ง_ป_ฏ_ิบัต_ิก_า_ร_ __________๑_๗_
“พลเอก ดาวพ์ งษ์ รตั นสุวรรณ” องคมนตรี ___ศูน_ย_์เค_ร_ือ_ข_่าย__ส_ม_ศ.__ปร_ะ_ก_วด_ค_ว_าม_โ_ดด_เ_ด_่นเ_ฉ_พ_าะ_ทา_ง___ ___๑_๗_
___นิท_ร_ร_ศ_กา_ร_แ_สด_ง_ศ_ิล_ป_กร_ร_ม_แ_ห่ง_ช_า_ต_ิ ค_ร_งั้ _ท_่ี ๖_๔__(ส_ัญ__จร_)_ __๑_๘_
ตรวจเย่ียมการดำ�เนินงาน

___อบ_ร_ม_อ_อก_แ_บ_บส_ร_้า_ง_ส_รร_ค_์เพ_อ่ื _พ_ัฒ_น_า_ย_า่ น_เ_มือ_ง_เก_่า_ _______๑_๘_
___นศ_._นา_ฏ_ศ_ลิ _ปฯ์__ค_ว_า้ ร_า_ง_วัล_ร_อ_ง_ชน_ะ_เล_ิศ__Fo_lk__D_an_c_e_ _____๑_๙_
“เทคโนโลยียางและพอลิเมอร”์ ๒๐

๒๒_ __คว_า้ _ร_าง_ว_ัล_บท_ค_ว_าม_ว_ิจ_ัย_ด_เี ด_่น_๓__ป_ซี _้อน_ _______________
___พิธ_ีส_ด_ดุ _เี ฉ_ล_มิ พ_ร_ะ_เก_ีย_รต_ิพ_ร_ะบ_า_ท_สม_เด_จ็_พ_ร_ะว_ช_ริ _เก_ล้า_เจ_า้_อ_ย_ู่หวั_ __๒_๑_
มรภ.สงขลา ผนึกจงั หวดั ๒๑

__จ_ดั_บ_ร_ร_ยา_ย_ส_ถ_าบ_นั _พ_ร_ะม_ห_า_กษ_ตั_ร_ยิ _์ก_บั ป_ร_ะเ_ท_ศไ_ท_ย__ ________
__น_ศ_._เท_คโ_น_โล_ย_ีบ_ณั _ฑ_ติ _พ_ัฒ__น_าว_ัด_ _________________๒_๓_
มองผ่านเลนส์ ๒๓

มหา’ลยั คสู่ ัญญาจากประเทศไตห้ วัน
เยอื น มรภ.สงขลา

คณะผจู้ ดั ท�ำ ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปที ่ี ๑๓ ฉบบั ท่ี ๕ ประจ�ำ เดอื น กรกฎาคม-สงิ หาคม ๒๕๖๒

ทปี่ รกึ ษา : ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม, ผศ.ดร.ครวญ บวั ครี ,ี ดร.นราวดี บวั ขวญั , ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชต,ิ นางสาวจริ ภา คงเขยี ว, นายพเิ ชษฐ์ จนั ทว,ี
นายฉลอง อาคาสวุ รรณ, นางสาวปณั ฑติ า โชตชิ ่วง

บรรณาธกิ าร : ลดั ดา เอง้ เถย้ี ว กองบรรณาธกิ าร : ชวฤทธ์ิ ทองเพช็ รจนั ทร,์ ป.ทนั มนตร,ี ปรญิ ภรณ์ ชมุ มณ,ี สพุ ฒั น์ สวุ รรณโณ, ธวชั ชยั รงุ่ สวา่ ง, อภญิ ญา สธุ าประดษิ ฐ์
งานประชาสมั พันธ์ มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา : ๑๖๐ ถนนกาญจนวนิช ตำ�บลเขารูปชา้ ง อ�ำ เภอเมืองสงขลา จงั หวดั สงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔, ๐๘๓-๑๙๖๐๐๐๕ http://www.skru.ac.th/ E-mail : [email protected] FM.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU

มรภ.สงขลา จัดงานสานสัมพันธ์วัฒนธรรมวิถีพุทธไทย- ภายในงานยงั มกี ารสมั มนาทางวชิ าการ เรอ่ื ง วฒั นธรรมวถิ พี ทุ ธไทย
ศรีลังกา อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุให้ผู้มีจิตศรัทธาเข้าสักการะ และศรีลังกา : การดำ�รงอยู่ของพระพุทธศาสนาในท่ามกลางการ
พุทธศาสนิกชนร่วมปฏิบัติบูชา ถวายพระราชกุศล ร.9 เปล่ียนแปลงของโลกยุคปัจจุบัน โดยวทิ ยากรผูท้ รงคณุ วฒุ ิจากศรีลงั กาและ
เฉลิมพระเกยี รติ ร.10 ไทย มาให้ความรู้และส่งเสริมแนวคิดในการสืบสานพระพุทธศาสนา
รวมทั้งนำ�มิติทางพระพุทธศาสนามาสู่การพัฒนาด้านต่างๆ ในสังคม
อาจารย์จิรภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี ่ายยทุ ธศาสตร์การพฒั นา การบรรยายให้ความรู้ การจัดนิทรรศการทางพระพุทธศาสนาไทยและ
นกั ศกึ ษาและคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) ศรลี งั กาถอื เปน็ การสง่ เสรมิ ความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหวา่ งเครอื ขา่ ยสองประเทศ
เปดิ เผยวา่ มรภ.สงขลา จดั งานสานสมั พนั ธว์ ฒั นธรรมวถิ พี ทุ ธไทย-ศรลี งั กา และส่งเสริมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา
เนื่องในโอกาส 270 ปี นิกายสยามวงศ์ในศรีลังกา และ 100 ปี อกี ทางหนงึ่ ดว้ ย ทงั้ ยงั เปน็ การเฉลมิ ฉลองในโอกาสที่ มรภ.สงขลา ครบวาระ
มรภ.สงขลา ระหว่างวันที่ 10-14 กรกฎาคม ที่ผ่านมา ณ หอประชุม 100 ปีแห่งการก่อตั้งในปี พ.ศ.2562 นี้ ซ่ึงการดำ�เนินงานต่างๆ
เฉลมิ พระเกยี รตฯิ ในการนี้ นายวรี นนั ทน์ เพง็ จนั ทร์ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ของมหาวทิ ยาลยั ใหค้ วามส�ำ คญั กบั การท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม โดยเฉพาะ
สงขลา เปน็ ประธานในพธิ อี ญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตจุ ากประเทศศรลี งั กา การส่งเสรมิ กจิ กรรมทางพระพทุ ธศาสนามาอยา่ งตอ่ เนื่อง
สู่ มรภ.สงขลา โดยมพี ทุ ธศาสนกิ ชนรว่ มปฏบิ ตั บิ ชู า เพอื่ ถวายพระราชกศุ ล
แดร่ ชั กาลท่ี 9 และเฉลมิ พระเกยี รตริ ชั กาลท่ี 10 ด้วยการกราบสกั การะ อาจารย์จิรภา กล่าวว่า ไทยและลังกาเป็นมิตรประเทศที่มีความ
สวดมนต์ ฟังธรรม ถวายสงั ฆทาน ปฏบิ ตั ธิ รรม และเปิดใหพ้ ทุ ธศาสนกิ ชน สมั พนั ธอ์ นั ดมี ายาวนานมากวา่ 700 ปี โดยเฉพาะในดา้ นพระพทุ ธศาสนา
ทวั่ ไปสกั การะพระบรมสารีรกิ ธาตุจนถึง 21.00 น. โดยในรอบเย็นมีการ ซงึ่ ไทยไดร้ บั อทิ ธพิ ลจากพระพทุ ธศาสนาลงั กาวงศม์ าตงั้ แตส่ มยั สโุ ขทยั เปน็
อญั เชิญพระบรมสารรี ิกธาตุวางเหนือศรี ษะผู้เข้าสักการะเปน็ กรณพี เิ ศษ ราชธานี ต่อมาเมื่อศรีลงั กาประสบวกิ ฤติไม่มพี ระสงฆ์สืบศาสนา ซึง่ เปน็ ผล
จากการลา่ อาณานคิ มของชาตติ ะวนั ตก สง่ ผลใหเ้ หลอื เพยี งสามเณรบางสว่ น
พิธีเริ่มจากคณะสงฆ์นิกายสยามวงศ์ จากประเทศศรีลังกา และผู้มี เท่าน้ันท่ียังคงรักษาผ้ากาสาวพัสตร์ไว้ จนในปี พ.ศ.2296 สามเณร
ส่วนเกี่ยวข้อง เคล่ือนขบวนรถแห่อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุออกจาก สรณงั กรซงึ่ เปน็ สามเณรผใู้ หญใ่ นขณะนน้ั ไดท้ ลู ขอใหพ้ ระเจา้ กติ ตริ าชสงิ หะ
บริเวณวัดหัวป้อมใน มาถึงหน้าอาคารเรียน 2 มรภ.สงขลา คณะผบู้ ริหาร กษตั รยิ ใ์ นสมยั นน้ั สง่ ทตู มาขอพระสงฆจ์ ากกรงุ ศรอี ยธุ ยาไปฟนื้ ฟพู ระพทุ ธ
รับผอบพระบรมสารรี ิกธาตจุ ากพระสงฆน์ ิกายสยามวงศ์ ทำ�ทักษิณาวรรต ศาสนาในลังกาทวีป โดยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศกษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา
รอบบรเิ วณเกาะลอย ทปี่ ระดษิ ฐานพระพทุ ธมงคล เดนิ น�ำ ขบวนแหอ่ ญั เชญิ ไดส้ ง่ สมณทูตจำ�นวน 3,000 รปู ซ่งึ เป็นทม่ี าของการเกดิ นิกายสยามวงศ์
เข้าสู่หอประชุมเฉลิมพระเกียรติฯ จากน้ันประธานในพิธีอัญเชิญผอบ หรืออุบาลีวงศ์ในศรีลังกาในสมัยต่อมาจวบจนปัจจุบัน ความสัมพันธ์
พระบรมสารีริกธาตุประดิษฐานบนบุษบกและถวายเครื่องสักการบูชา อันดนี สี้ บื สานกนั มานบั เขา้ สู่ทศวรรษที่ 27 (270 ป)ี ซง่ึ ความสัมพนั ธน์ ี้
พระสงฆน์ กิ ายสยามวงศ์ กลา่ วมอบพระบรมสารรี กิ ธาตุ เพอ่ื ให้ มรภ.สงขลา ยงั สง่ ผลตอ่ มติ รสมั พนั ธแ์ ละความรม่ มอื ทด่ี ใี นดา้ นอน่ื ๆ ของทง้ั สองประเทศดว้ ย
ดแู ลและจัดกจิ กรรมบชู าเปน็ เวลา 5 วนั เชน่ เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม การทอ่ งเทย่ี ว เปน็ ตน้

3ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

ศิระกรานแทบพระบาทไท้ ภมู นิ ทร์
พระรามาธิบดีศรีสินทร์ เฟอ่ื งดา้ ว
มหาวชิราลงกรณบดินทร์ ไทยประเทศ
พระวชิรเกล้าทา้ ว ปกเผ้าชนเกษมฯ
จอมไผท
เกษมเฉลิมพระชนมพรรษาเจา้ เทพถ้วน
อาราธน์คุณพระรตั นตรยั ถวายราช เถิดรา
อ�ำ นวยพระพรชยั เลิศหล้าพระบารมฯี
เถลิงฉัตรพพิ ฒั น์ล้วน สธุ าดล
เกา่ ไท้
พระบารมีเพ็ญเพยี บพนื้ ชน่ื สขุ สรรพแล
ทรง “สบื สาน รกั ษา ต่อยอด” กล สว่างเรอื้ งใจคนฯ
ทรงธรรมปกพสกชน พรรณนา
พระเมตตาสอ่ งไซร้ อยู่เกล้า
เรืองรุ่ง
ใจคนท้นภกั ดิ์พน้ พภิ พพูน้ พูนกษานต์ เถดิ ราฯ
จงรกั ทศมราชา
สรวม ธ เสวยไอศวรรยา
เรอื งรุ่งภูธเรศเจ้า

4 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อม ขอเดชะ
ขา้ พระพุทธเจ้า ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.นิวตั กลิน่ งาม

อธกิ ารบดีมหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา
ในนามคณะผู้บริหาร คณาจารย์ ขา้ ราชการบำ�นาญ บุคลากร

และนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา
ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์นติ ยา ธญั ญพาณชิ ย์
ผูป้ ระพนั ธ์

สบิ สองสงิ หาคมอดุ มนาถ
สมเดจ็ พระบรมราชชนนพี นั ปหี ลวง

ทรงสถติ ในดวงใจไทยทง้ั ปวง
พระเมตตาอาบอนุ่ ทรวงดจุ ตะวนั

สมยั เฉลมิ พระชนมพรรษามาบรรจบ
ขอนอ้ มนบพระไตรรตั นอ์ �ำ นวยอวยพระขวญั

บญุ รกั ษาพระแมอ่ ยหู่ วั ชว่ั กปั ปก์ ลั ป์
เกษมสนั ตเ์ ถดิ พระองคท์ รงพระเจรญิ

ดว้ ยเกล้าดว้ ยกระหมอ่ ม ขอเดชะ
ข้าพระพุทธเจ้า ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นวิ ัต กลนิ่ งาม

อธิการบดีมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา
ในนามคณะผู้บรหิ าร คณาจารย์ ข้าราชการบำ�นาญ บคุ ลากร

และนกั ศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิตยา ธญั ญพาณชิ ย์
ผปู้ ระพนั ธ์

5ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา
จัดงานวัฒนธรรมสัมพันธ์

“วค. แตแ่ รก” ฉลอง ๑๐๐ ปี

โรงเรยี นฝึกหัดครู สมู่ หาวิทยาลัยราชภัฏ

มรภ.สงขลา จัดงานวัฒนธรรมสมั พันธ’์ 62 “วค. แต่แรก” และวฒั นธรรม ทั้งดา้ นการอนุรักษ์ ส่งเสรมิ และเผยแพร่ ซ่งึ ถอื เปน็ พันธกิจ
ฉลอง 100 ปี โรงเรียนฝึกหัดครูสู่มหาวิทยาลัยราชภัฏฯ สร้าง ทสี่ �ำ คญั ยง่ิ เพราะการรกั ษาวฒั นธรรมคอื การรกั ษาชาติ ขอชน่ื ชมทเ่ี หน็ ความ
เครอื ขา่ ยแลกเปล่ียนเรยี นรู้ศิลปะฯ เชิดชคู ุณค่าวิถชี มุ ชน สะทอ้ น สำ�คัญในการรักษารากเหง้าทางวัฒนธรรมของท้องถ่ินและของชาติ ควบคู่
ตวั ตนรากแกว้ ของแผน่ ดนิ กบั การเปดิ โลกทศั นส์ สู่ ากล ซง่ึ นบั เปน็ การพฒั นาทม่ี งุ่ ไปขา้ งหนา้ โดยไมล่ มื
แลไปขา้ งหลงั อนั จะเปน็ การพฒั นาคนและสังคมได้อย่างพอเหมาะพอควร
ผศ.ดร.นิวัต กล่ินงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถึงงานวัฒนธรรมสมั พนั ธ์ ประจำ�ปี 2562 “100 ปี อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา
โรงเรียนฝกึ หดั ครู สูม่ หาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา : วค. แต่แรก” ซึ่งจดั ขนึ้ นักศึกษาและคุณลกั ษณะบัณฑติ มรภ.สงขลา กล่าวว่า การจดั งานในคร้งั น้ี
ระหว่างวันท่ี 28 กรกฎาคม-5 สิงหาคม ท่ีผ่านมา ว่า ได้รับเกียรติ เป็นการผนวกงานสองงานเข้าด้วยกัน เนื่องด้วยปีนี้เป็นปีท่ีสำ�คัญ เพราะ
จาก นายวีรนันทน์ เพ็งจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา เป็นประธาน มหาวทิ ยาลัยได้ด�ำ เนนิ พันธกจิ มาครบ 100ปี โดยตลอดระยะเวลา 64 ปี
ในพิธีเปิด ซ่ึงการจัดงานในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือเฉลิมฉลองเน่ืองใน ตั้งแต่พุทธศักราช 2462-2562 ได้ทำ�หน้าที่ผลิตนักศึกษาครูออกไป
โอกาสครบรอบ 100 ปี มรภ.สงขลา รวมทั้งส่งเสริมภารกิจหลักของ พฒั นาสงั คมชนบทเปน็ หลกั เพยี งสาขาเดยี ว จนในปี 2527 รฐั บาลประกาศ
มหาวทิ ยาลยั ดา้ นการท�ำ นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม สรา้ งความมสี ว่ นรว่ ม ใชพ้ ระราชบัญญัตวิ ทิ ยาลัยครู พ.ศ.2527 ให้วิทยาลัยครูทำ�หนา้ ทผ่ี ลติ ครู
ดา้ นท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรมกบั เครอื ขา่ ย กอ่ ใหเ้ กดิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และเปดิ สอนวิชาชพี ตามความตอ้ งการและความจำ�เป็นของท้องถิ่น ช่อื ของ
ศลิ ปะและวฒั นธรรมไทยทกุ ภมู ภิ าคและอาเซยี น ทง้ั ยงั เปน็ การยกยอ่ งเชดิ ชู สถาบันจึงเปล่ียนไปตามพันธกิจ เร่ิมจากโรงเรียนฝึกหัดครู วิทยาลัยครู
เกียรติอาจารย์เกษียณและศิษย์เก่าผู้ทำ�คุณประโยชน์ด้านทำ�นุบำ�รุง สถาบันราชภฏั และ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
ศิลปวฒั นธรรม เพอื่ เปน็ แบบอยา่ งท่ดี ขี องสังคม
สำ�หรับนามราชภัฏ เป็นนามพระราชทานที่ พระบาทสมเด็จ
นายวีรนันทน์ เพ็งจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา กล่าวว่า พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
การท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ สถาบนั ผลติ ครตู อ่ เนอื่ งยาวนานมาถงึ 100 ปี และไดผ้ ลติ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานเม่ือปี พ.ศ.2535
บัณฑิตสาขาอ่ืนๆ มายาวนานถงึ 36 ปี ย่อมสร้างคุณปู การในการบุกเบกิ พร้อมทั้งพระราชทานพระราชลัญจกรประจำ�พระองค์ ให้เป็นตราของ
พฒั นาสงั คมชนบท ยกระดบั ความเปน็ อยู่ ทง้ั ดา้ นวชิ าความรู้ สขุ ภาพอนามยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั ทั่วประเทศ ซ่งึ มรภ.สงขลา ได้พฒั นาทอ้ งถ่นิ มาเปน็
ตลอดจนสร้างผู้นำ�ทางการศึกษาแต่เพียงสถาบันเดียวมานานนับคร่ึง เวลายาวนาน โดยเน้นการรู้จักตนเอง รู้จักท้องถ่ิน ตามเอกลักษณ์ของ
ศตวรรษ กวา่ จะเกดิ สถาบนั อดุ มศกึ ษาอนื่ ๆ มาชว่ ยกนั พฒั นาจงั หวดั สงขลา มหาวทิ ยาลัย คือ เป็นมหาวทิ ยาลัยเพื่อการพฒั นาท้องถิ่น สำ�หรับการผลิต
และบ้านเมืองของเราดังในภาวะปัจจุบัน มรภ.สงขลา ทำ�งานคลุกคลีกับ บัณฑิตได้กำ�หนดอัตลักษณ์ให้บัณฑิตของมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ชุมชนอย่างต่อเนื่อง ประกอบพันธกิจที่สอดคล้องกับเอกลักษณ์ที่เป็น “เป็นคนดี มที กั ษะชีวิต มีจิตสาธารณะ” มีการน้อมน�ำ ศาสตรพ์ ระราชา
มหาวทิ ยาลยั เพอื่ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ มคี วามโดดเดน่ ในการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปะ มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน และการท�ำ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สตู ร เพอื่ ยก
คณุ ภาพชีวติ ของบัณฑิตและสงั คม
6 ปาริฉตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

ในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมี ด้าน อาจารย์โอภาส อิสโม ผู้อำ�นวยการสำ�นักศิลปะและ
พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นเกล้าล้นกระหม่อม พระราชทานพระบรม วัฒนธรรม มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ กล่าวว่า มรภ.สงขลา ซ่ึงเป็น
ราโชบายให้มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทำ�หน้าที่ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและให้ มหาวิทยาลัยเพ่อื พฒั นาท้องถิน่ มีพันธกิจในการส่งเสริม เผยแพร่ อนรุ ักษ์
ทำ�หน้าที่พัฒนาท้องถ่ินตน ซึ่งนับแต่ต้นปีพุทธศักราช 2562 เป็นต้นมา สบื สานและสร้างสรรคศ์ ิลปะและวัฒนธรรมท้องถ่ินของชาติ การทำ�นบุ �ำ รงุ
มหาวทิ ยาลยั ไดจ้ ดั กจิ กรรมฉลอง 100 ปมี าอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ทง้ั จดั โดยคณะทง้ั ศิลปะและวัฒนธรรมเป็นภารกิจสำ�คัญในการส่งเสริมเผยแพร่ศิลปะและ
7 คณะ และโดยมหาวิทยาลัย อาทิ การประชุม สัมมนาทางวิชาการ การ วฒั นธรรม ทางมหาวทิ ยาลยั จงึ เหน็ ความส�ำ คญั ของวถิ วี ฒั นธรรมทแ่ี สดงถงึ
เสนอผลงานวิจัย การพิมพ์เผยแพรผ่ ลงานด้านวิชาการ ทัง้ ที่เป็นผลงานของ ความเป็นตัวตนท่ีแท้จริงหรือเป็นรากแก้วของแผ่นดิน วัฒนธรรมเป็นส่ิง
อาจารย์และนักศึกษา ผลงานเชิงประวัติของมหาวิทยาลัย และผลงาน สะท้อนให้เห็นถึงคุณค่าวิถีชีวิตที่ชุมชนและท้องถ่ินต่างๆ ได้พัฒนาและ
วัฒนธรรมสัมพันธ์นานาชาติ ตลอดจนจัดโครงการแลกเปล่ียนเรียนรู้ สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการดำ�เนินชีวิต โดยแสดงออกในรูป
วัฒนธรรมระหวา่ งชาติ โดยมกี ารแลกเปล่ยี นนักศึกษาเพอ่ื ศกึ ษาวถิ ชี ีวิตใน แบบและวิธีการที่หลากหลาย ท้ังในรูปแบบของวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม
ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศไต้หวัน รวมท้ังมีโครงการ ประเพณี ภมู ิปญั ญา ศิลปะการแสดง ฯลฯ
เปิดโลกทัศน์นกั ศึกษาให้ไปศึกษาวิถชี วี ติ ในประเทศเพื่อนบ้าน
ดังน้ัน เพื่อเป็นการปลูกจิตสำ�นึกและกระตุ้นให้คนในชุมชน
ในส่วนของงานวัฒนธรรมสัมพันธ์จัดขึ้นเป็นคร้ังแรกเมื่อปี ท้องถ่ินเกิดความตระหนัก มีความต่ืนตัวและเข้ามามีส่วนร่วมในการฟ้ืนฟู
พ.ศ.2531 นบั ถึงบดั น้จี ัดมาเป็นเวลายาวนานถึง 31 ปี กลายเปน็ ต้นแบบ เผยแพรแ่ ละสบื สานภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ และคณุ คา่ ความหลากหลายของศลิ ปะ
การจัดงานทางวัฒนธรรมของหน่วยงานต่างๆ อย่างแพร่หลายในปัจจุบัน และวัฒนธรรมไทย ท้ังที่เป็นวิถีชีวิต ค่านิยมและความเป็นไทย เน่ืองจาก
การจัดงานวัฒนธรรมสัมพันธ์นอกจากเพื่อส่งเสริมภารกิจหลักของ ปัจจุบันวัฒนธรรมท้องถ่ินถูกละเลยและมีการถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นใหม่น้อย
มหาวทิ ยาลยั ดา้ นการท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปะและวฒั นธรรมแลว้ ยงั เปน็ ชอ่ งทางใน เช่น การแตง่ กาย ภาษาพดู รวมทงั้ ประเพณีและวิถชี ีวติ ท่ีดงี าม ทา่ มกลาง
การแลกเปล่ยี นเรยี นรูท้ างวฒั นธรรม ในลกั ษณะตา่ งๆ กัน อาทิ การจัดการ ความหลากหลายทางวัฒนธรรมภายใตก้ ระแสโลกาภิวตั น์ วฒั นธรรมได้มี
แสดงวัฒนธรรมพ้ืนบ้าน 4 ภาคของไทย การแสดงทางวัฒนธรรมของ การถา่ ยทอดและแลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ยู่ตลอดเวลา
ประเทศมาเลเซีย พมา่ ไต้หวนั และ อนิ โดนเี ซีย การแสดงพ้ืนบ้านภาคใต้
คอื หนงั ตะลงุ และโนรา พธิ บี วงสรวงและสกั การะทวดชา้ งสง่ิ ศกั ดส์ิ ทิ ธทิ์ เ่ี คารพ “หากมรดกทางวัฒนธรรมที่มีความแตกต่างหลากหลายกันใน
นบั ถือของชาวต�ำ บลเขารปู ชา้ ง รวมทั้ง มรภ.สงขลา การประชุมและสมั มนา พ้ืนท่ี ไม่ได้รับการสืบสานและอนุรักษ์ฟื้นฟู รวมถึงพัฒนาต่อยอดให้เกิด
วชิ าการทางดา้ นวฒั นธรรม การจ�ำ หนา่ ยสนิ ค้าพนื้ เมืองของภาคต่างๆ และ คณุ คา่ ทางสงั คมและจติ ใจ ยอ่ มท�ำ ใหค้ ณุ คา่ ทางมรดกวฒั นธรรมลดนอ้ ยไป
สินค้าราคาถกู จนแทบจะสูญหาย วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่เกิดขึ้นจากการส่ังสมองค์ความรู้ใน
แต่ละท้องถ่ินมีลักษณะโดดเด่นท่ีแตกต่างกันไปตามสภาพพ้ืนที่ ในแต่ละ
พื้นท่ีมีภูมิปัญญาหลากหลาย จึงสมควรท่ีจะได้รับการถ่ายทอดสู่เยาวชน
รนุ่ หลังสืบไป” ผอู้ �ำ นวยการสำ�นกั ศลิ ปะและวัฒนธรรม มรภ.สงขลา กล่าว

7ปารฉิ ตั ร วารสารเพอื่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

นิเทศฯ มรภ.สงขลา ผลิตส่ือ

“หยุดใชค้ วามรุนแรงในครอบครวั ”

คว้ารางวัลรองชนะเลิศประกวดส่ือสร้างสรรค์ ระดบั ประเทศ

นักศกึ ษานเิ ทศศาสตร์ มรภ.สงขลา โชว์ผลงานผลติ สอ่ื ประกาศผลรางวัลสื่อสร้างสรรค์เพ่ือเด็กและเยาวชน ประเภทต่างๆ
สร้างสรรค์ “หยุดใช้ความรุนแรงในครอบครัว” คว้ารางวัล ได้แก่ การป้องกันปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การป้องกันและแก้ไข
รองชนะเลิศอนั ดับ 2 ระดบั ประเทศ ประเภทปอ้ งกันและแก้ไข ปญั หาความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน การป้องกันการทุจริตคอรปั ชนั่
ปญั หาความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน การป้องกันปัญหายาเสพติดในเด็กและเยาวชน และรางวัล Popular
Vote จ�ำ นวน 7 รางวัล
ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ อาจารย์ประจำ�หลักสูตร
นิเทศศาสตรบ์ ัณฑติ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 5 กรกฎาคม ท่ีผ่านมา ณ อาคาร
ชาเลนเจอร์ ฮอลล์ 2 อิมแพ็ค เมืองทองธานี นักศึกษาสาขาวิชา
นเิ ทศศาสตร์ ช้นั ปที ่ี 3 ทมี P.S.N. จาก มรภ.สงขลา ซง่ึ ประกอบด้วย
นายพลกฤษณ์ ยาชะรัด นายพิพัฒน์พงศ์ วรรณจันทร์ และ
นางสาวนดา ศริ วิ ฒั น์ เขา้ รบั รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 ระดบั ประเทศ
ประเภทการป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงต่อเด็กและเยาวชน
จากผลงานผลติ สอ่ื สรา้ งสรรค์ “หยดุ ใชค้ วามรนุ แรงในครอบครวั ” รบั โล่
พรอ้ มเงินรางวัล 10,000 บาท ในโครงการส่ือสรา้ งสรรค์เพ่ือเดก็ และ
เยาวชน จดั โดยกรมกจิ การเด็กและเยาวชน

ทั้งนี้ ในงานดังกล่าวได้รับเกียรติจาก นายอนุกูล ปีดแก้ว
รองอธิบดีกรมกิจการเด็กและเยาวชน เป็นประธานเปิดงานสมัชชา
เด็กและเยาวชนแห่งชาติ พร้อมมอบโล่และเกียรติบัตรในพิธี

นเิ ทศฯ ควา้ ๒ รางวัล

ประกวดสือ่ ประชาสมั พนั ธท์ อ่ งเทยี่ ว ๕ จังหวดั ชายแดน

นิเทศศาสตร์ มรภ.สงขลา คว้า 2 รางวัล รองชนะเลศิ
และชมเชย ประกวดส่ือประชาสัมพันธ์ท่องเที่ยว 5 จังหวัด
ภาคใต้ชายแดน ประเภทคลิปสัน้ ความยาวไม่เกนิ 1 นาที

ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสิรินทร์ อาจารย์ประจำ�หลักสูตร
นเิ ทศศาสตรบ์ ณั ฑติ คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วนั ที่ 31 กรกฎาคม ทผี่ า่ นมา นกั ศกึ ษา
นิเทศศาสตร์ มรภ.สงขลา คว้า 2 รางวัล รองชนะเลิศและชมเชย
จากการประกวดส่ือประชาสัมพันธ์การท่องเท่ียว 5 จังหวัดภาคใต้
ชายแดน ประเภทคลิปสั้น ความยาวไม่เกิน 1 นาที รับเงินรางวัล
รวม 7,000 บาท จัดโดยศูนย์อาเซียนศึกษา ดร.ถนัด คอมันตร์
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รางวัลรองชนะเลิศ จากผลงานเรื่อง
เสน่ห์ชุมชนย่านเมืองเก่า จัดทำ�โดยนักศึกษา นายกฤษฎา
ศรสำ�แดง และ นายภาณวุ ัฒน์ สกุ หอม รางวัลชมเชย จากผลงาน
เรื่อง มนต์เสน่ห์สงขลา จดั ทำ�โดย นางสาวสดุ ารตั น์ ดารายีสาฮอ
และ นายศีรชชั บัวเลศิ

10 ปารฉิ ัตร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ครั้งที่ ๒

มรภ.สงขลา ประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์ฯ ระดับชาติ

มรภ.สงขลา จัดประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์ ข้ึนมาในครั้งนี้ เพ่ือเป็นเวทีสาธารณะในการนำ�เสนอและ
และสังคมศาสตร์ ระดบั ชาติ คร้ังที่ 2 ผนึกก�ำ ลัง ๕ ราชภฏั เผยแพร่ผลงานด้านการวิจัยและวิชาการสู่สาธารณชน
ภาคใต้ สรา้ งเครอื ข่ายพฒั นาผลงานวิจยั วัตถุประสงค์เพื่อเป็นเวทีให้คณาจารย์ นักวิจัย นิสิต
นักศึกษาและผู้สนใจได้นำ�เสนอและเผยแพร่ผลงานทาง
ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชติ รองอธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั วิชาการส่สู าธารณชนและชมุ ชนวชิ าการ
สงขลา (มรภ.สงขลา) กล่าวระหว่างเป็นประธานเปิดการประชุม
วิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ระดับชาติ คร้ังที่ 2 นอกจากนั้น ยังเป็นการเปิดโอกาสให้คณาจารย์
“มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นวัตกรรมสร้างสรรค์สังคม” นกั วจิ ยั นสิ ติ นกั ศกึ ษา และผสู้ นใจไดแ้ ลกเปลย่ี นขอ้ คดิ เหน็
ณ หอประชมุ เฉลมิ พระเกยี รตฯิ มรภ.สงขลา ระหวา่ งวนั ท่ี 5-6 สงิ หาคม และประสบการณ์สู่การพัฒนางานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ท่ีผา่ นมา ว่า ขอชน่ื ชมคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ทร่ี ว่ มกนั ทางวชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ งใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขน้ึ และเพอื่
จัดโครงการประชุมวิชาการขึ้นในครั้งน้ี ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความ รวบรวมจดั พมิ พบ์ ทความทางวชิ าการในรปู แบบเอกสารทาง
มุ่งมั่นท่ีจะยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการวิจัยเชิงรุกเพ่ือสร้าง วชิ าการ สร้างเครือข่ายสร้างสรรค์งานวิจยั และงานวิชาการ
ความเขม้ แขง็ ใหแ้ กท่ อ้ งถน่ิ สมู่ าตรฐานสากลตามยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 ของ ในสถาบันการศึกษาต่างๆ เกิดการผนึกกำ�ลังกันของคณะ
มรภ.สงขลา การเปิดเวทีสาธารณะด้านการวิจัยและวิชาการให้ มนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จากมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ทง้ั
คณาจารย์ นักวิชาการ นิสิตและนักศึกษาได้แลกเปลี่ยนความรู้ 5 แห่ง เพื่อร่วมมือกนั พัฒนางานทางวชิ าการและอ่นื ๆ ท่ี
จะน�ำ ไปสู่การสร้างเครอื ข่ายความรว่ มมือทางวิชาการ กอ่ ใหเ้ กิดการ เกย่ี วขอ้ งต่อไป
พฒั นาผลงานวจิ ยั สรา้ งสรรคง์ านวชิ าการทเ่ี ขม้ แขง็ ยง่ั ยนื ตอบสนอง
ความต้องการของสังคมและประเทศชาติ สอดรับกับปรัชญาของ ผศ.นาถนเรศ กล่าวอกี ว่า งานประชมุ วิชาการใน
มหาวิทยาลัยที่ว่า มรภ.สงขลา : มหาวิทยาลัยเพื่อการศึกษาและ คร้ังน้ีเป็นความร่วมมือกันของคณะมนุษยศาสตร์และ
พัฒนาทอ้ งถน่ิ สังคมศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5 แห่ง คือ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ผศ.ดร.ทัศนา กล่าวว่า ขอขอบคุณเจ้าภาพร่วมจากคณะ นครศรธี รรมราช มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา มหาวิทยาลัย
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั ท้งั 4 แหง่ และ ราชภัฏสุราษฎร์ธานี และ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
ขอขอบพระคุณ ศาสตราจารย์ ดร.ทพิ วรรณ หลอ่ สวุ รรณรตั น์ พรอ้ มกนั นไ้ี ดร้ บั ความรว่ มมอื อยา่ งดจี ากคณะศลิ ปกรรมศาสตร์
อาจารยค์ ณะรฐั ประศาสนศาสตร์ สถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ โดยมีผู้เข้าร่วมงานเป็นคณาจารย์ นักวิจัย นักวิชาการ
องค์ปาฐกที่ให้เกียรติมาปาฐกถาพิเศษเรื่อง มนุษยศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เช่ียวชาญด้านการวิจัย นิสิตและนักศึกษา
สงั คมศาสตร์ นวัตกรรมสรา้ งสรรคส์ งั คม เพ่ือยืนยนั พลงั ทางปัญญา จากสถาบันการศึกษาทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ในศาสตร์แห่งมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ขอขอบคุณคณะ จำ�นวน 500 คน ซ่ึงนอกเหนือจากปาฐกถาพิเศษจาก
กรรมการดำ�เนินงานทุกภาคส่วนท่ีร่วมมือกันจัดโครงการประชุม ศาสตราจารย์ ดร.ทพิ วรรณ หลอ่ สวุ รรณรตั น์ แลว้ ยงั มี
วชิ าการดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 2 การจดั การสัมมนาในหัวข้อ การบูรณาการองค์ความรู้ด้าน
โครงการครั้งนี้มีประโยชน์อย่างยิ่งต่อการสร้างความเข้มแข็งด้าน มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์กับการพัฒนาสังคม โดย
การวจิ ยั และวชิ าการ ซง่ึ เปน็ บทบาทส�ำ คญั ของมหาวทิ ยาลยั ในอนาคต นายอดุ ม ทกั ขระ นายสนิ ธพ อนิ ทรตั น์ และ ดร.นราวดี
บวั ขวญั
ด้าน ผศ.นาถนเรศ อาคาสุวรรณ คณบดีคณะ
มนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา กล่าววา่ ทางคณะฯ ได้ 11ปารฉิ ตั ร วารสารเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
กำ�หนดวิสัยทัศน์ในการเป็นคณะชั้นนำ�ในภาคใต้ ด้านการผลิต
บณั ฑติ และการวจิ ยั เพอื่ พฒั นาทอ้ งถน่ิ สสู่ ากล โดยมงุ่ มน่ั จดั การศกึ ษา
ดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ การสรา้ งองคค์ วามรู้ การบรกิ าร
วิชาการที่ตอบสนองความต้องการของชุมชนและสังคม จึงได้จัด
ประชมุ วชิ าการดา้ นมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 2

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม

สัมมนาจัดการความรู้ด้านวิจัยและการเรียนการสอน

คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา สัมมนา คอื ความสามารถในการบรหิ ารจดั การความรทู้ มี่ อี ยใู่ หเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ
จดั การความรดู้ า้ นวจิ ยั และการเรยี นการสอน เปดิ โอกาสบคุ ลากร และสามารถบริหารให้สมาชิกในองค์กรทุกคนมีจิตสำ�นึกในการพัฒนา
ร่วมแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ พัฒนาผลงานเพ่ือตพี ิมพเ์ ผยแพร่ ปทู าง ความรู้ความสามารถของตนเองอย่างต่อเนื่อง และนำ�ไปสู่การพัฒนา
สู่ต�ำ แหน่งทางวิชาการ องค์กรอย่างย่ังยนื ไดใ้ นที่สุด
ผศ.ดร.วรี ะชยั แสงฉาย คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม ดร.กันตภณ กล่าวอีกว่า คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันท่ี 15 สงขลา ตระหนักถึงความจำ�เป็นดังกล่าวข้างต้น จึงจัดให้บุคลากรสาย
กรกฎาคม ท่ีผ่านมา ทางคณะฯ จัดสัมมนาการจัดการความรู้ด้านการ วิชาการได้มีโอกาสเข้าร่วมแลกเปล่ียนความรู้ ในโครงการสัมมนา
วิจัยและด้านการเรียนการสอน ให้แก่คณาจารย์คณะเทคโนโลยี การจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนการสอน เพื่อศึกษา
อุตสาหกรรม จ�ำ นวน 30 คน และบคุ ลากรจากส่วนงานอื่นทส่ี นใจอีก แนวคิดและรปู แบบในการจดั การความรดู้ า้ นการวจิ ยั และน�ำ มาปรบั ใชใ้ ห้
15 คน เพอ่ื เปดิ โอกาสใหร้ ว่ มแลกเปลย่ี นความรู้ ตลอดจนศกึ ษาแนวคดิ เหมาะสมกับบริบทของทางคณะฯ พัฒนาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ใน
และรูปแบบในการจัดการความรู้ด้านการวิจัยและด้านการเรียนสอน ดา้ นตา่ งๆ

โดยไดเ้ ชญิ วทิ ยากร นายพชิ นนั ท์ เนอื งแสงวฒั นา นกั วเิ คราะห์
จนสามารถเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการและเอกสารประกอบ ขณะเดยี วกนั ความร่วมมืออุตสาหกรรม นายจิตติยุทธ เย่ียมยกกุล นักทรัพย์สิน
คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มีแนวทางการปฏิบัติที่ดีจากการจัดการ ทางปัญญา จากอุทยานวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ความรู้ด้านการวิจัย และสามารถนำ�ไปพัฒนางานต่อไปได้ ท่ีสำ�คัญ สมั มนาแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ พรอ้ มปฏบิ ตั กิ ระบวนการพฒั นางานวจิ ยั เรอ่ื ง
การจดั สมั มนาในคร้ังนีจ้ ะช่วยให้คณาจารย์ของทางคณะฯ ไดแ้ นวปฏิบตั ิ รูปแบบงานวิจัยร่วมเอกชนและการให้บริการของอุทยานวิทยาศาสตร์
ที่ดีในการพัฒนางานวิจัยเพ่ือการตีพิมพ์เผยแพร่ และการเข้าสู่ตำ�แหน่ง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ แนวปฏิบัติเกี่ยวกับทรัพย์สิน
ทางวชิ าการในอนาคต ทางปญั ญา อนสุ ิทธบิ ัตร สิทธบิ ัตร
ดา้ น ดร.กันตภณ มะหาหมัด รองคณบดฝี ่ายวิชาการและ นอกจากนั้น ยังมีการสัมมนาแลกเปล่ียนเรียนรู้กระบวนการ

งานวิจัย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ พฒั นางานวจิ ยั เพอ่ื การขอก�ำ หนดต�ำ แหนง่ ทางวชิ าการและการเรยี นการสอน
กล่าวว่า ปัจจบุ นั ท้งั ภาครัฐและภาคเอกชนใหค้ วามสำ�คัญกับการจัดการ เร่ือง การเตรียมความพร้อมเพื่อขอกำ�หนดตำ�แหน่งทางวิชาการตาม
ความรู้ภายในองคก์ ร หรือ Knowledge Management (KM) กนั มากขึ้น ประกาศ ก.พ.อ. พ.ศ.2560 และประกาศทเ่ี กยี่ วขอ้ ง การจดั ทำ�เอกสาร
เน่ืองจากสภาวะการแข่งขันในปัจจุบันเป็นสาเหตุให้องค์กรต้องพัฒนา ประกอบการสอน งานวจิ ยั ผลงานวชิ าการ ลกั ษณะตา่ งๆ ผลงานวชิ าการ
และปรบั ตนเองเพอื่ ความกา้ วหนา้ ดงั นนั้ การจดั การความรทู้ ม่ี อี ยเู่ พอ่ื ใช้ รบั ใชส้ งั คม ต�ำ รา หนงั สอื บทความวชิ าการ โดย ศาสตราจารย์ ดร.วนิ ยั
เป็นเครื่องมือในการนำ�องค์กรไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ จึงเป็นสิ่งที่ ประลมพก์ าญจน์ อดตี กรรมการสภา มรภ.สงขลา กรรมการพิจารณา
ตำ�แหน่งทางวิชาการ รวมท้ังทบทวนระบบและกลไกการบริหารจัดการ
ท้าทายตอ่ การเปล่ียนแปลง เพราะหัวใจส�ำ คัญขององค์กรแหง่ การเรียนรู้ งานวจิ ยั โดยรองคณบดฝี ่ายวิชาการและงานวิจัย

12 ปาริฉตั ร วารสารเพือ่ การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา อบรมเทคนิค
เขียนข้อเสนอเพื่อรับทุนวิจัย

มรภ.สงขลา อบรมเทคนคิ การเขยี นขอ้ เสนอเพอ่ื รบั ทนุ องค์ความรู้สู่การใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ
วิจัย ตอบโจทย์สร้างนวัตกรรมพัฒนาท้องถ่ินและสังคม ประเทศมีความส�ำ คัญอยา่ งยง่ิ ดงั นนั้ สถาบนั วิจัยและพฒั นา ซึง่ เป็น
สง่ เสรมิ องคค์ วามรทู้ างวชิ าการ สอดรบั แผนยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นา หนว่ ยงานท่ีรบั ผิดชอบเกยี่ วกบั การวจิ ยั ของมหาวิทยาลยั โดยส่งเสริม
ประเทศ สนบั สนนุ พฒั นานกั วจิ ยั ทกุ ดา้ นใหส้ ามารถท�ำ งานอยา่ งเตม็ ท่ี ตอบสนอง
นโยบายของมหาวทิ ยาลยั และทศิ ทางการวจิ ยั ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ าร
ผศ.ดร.นิวัติ กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ วจิ ยั ของประเทศ โดยตอบโจทย์สรา้ งนวัตกรรมการวจิ ัยดา้ นเศรษฐกิจ
สงขลา (มรภ.สงขลา) กล่าวในพิธีเปิดการอบรมเทคนิคการเขียน สงั คม และองคค์ วามรคู้ วามเปน็ เลศิ ทางวชิ าการ บรู ณาการกบั การจดั
ข้อเสนอการวิจัยเพื่อรับทุนวิจัย ระหว่างวันท่ี 20-21 กรกฎาคม การเรียนการสอนและบริการวิชาการ เพ่ือพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและ
ที่ผ่านมา ณ โรงแรมบพี ี สมหิ ลา บีชฯ วา่ สืบเน่อื งจากนโยบายของ สงั คม มงุ่ เนน้ การวิจัยแบบมีส่วนรว่ มของชมุ ชนท้องถนิ่ เป็นส�ำ คญั
รัฐบาลเออื้ ให้นกั วจิ ัยในสังกดั ภาครฐั และมหาวิทยาลยั ออกไปทำ�งาน
วิจยั รว่ มกบั เอกชนไดม้ ากขนึ้ โดยรัฐพยายามปลดลอ็ คขอ้ จ�ำ กดั ทีม่ ีอยู่ อาจารยพ์ ฒุ ธิ ร กลา่ วเพมิ่ เตมิ วา่ สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มรภ.
ทั้งตำ�แหน่งทางวิชาการและค่าตอบแทนท่ีจะได้รับ ทำ�ให้มีนักวิจัย สงขลา เล็งเห็นถึงความสำ�คัญดังกล่าว จึงได้จัดอบรมในคร้ังน้ีขึ้น
ออกไปท�ำ งานกบั เอกชนบางสว่ นแลว้ ในขณะทภ่ี าคเอกชนเรม่ิ มคี วาม เพอื่ ใหผ้ เู้ ขา้ รว่ มการอบรมซงึ่ เปน็ คณาจารย์ นกั วจิ ยั บคุ ลากรจาก มรภ.
ต่ืนตัวและต้องการทำ�นวัตกรรมมากข้ึน มีการมองหานักวิจัยไทยท่ีมี สงขลา มรภ.นครศรีธรรมราช มรภ.ภูเก็ต มรภ.ยะลา มหาวิทยาลยั
ศักยภาพสูงไปร่วมสร้างและพัฒนานวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์เพื่อ ราชภฏั สรุ าษฎร์ธานี (มรส.) และ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล
ตอบโจทยท์ างเศรษฐกจิ พร้อมทั้งแก้ปญั หาสงั คมในดา้ นต่างๆ ศรีวิชัย มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่
มหาวิทยาลัยวลัยลกั ษณ์ มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ มหาวิทยาลยั นราธวิ าส
ผศ.ดร.นิวัติ กล่าวอีกว่า ขอแสดงความยินดีและชื่นชม ราชนครนิ ทร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี รวม 85 คน มีความรคู้ วามเข้าใจ
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มรภ.สงขลา ทไ่ี ดจ้ ดั โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ในการเขียนข้อเสนอวิจัยท่ีสอดคล้องตามประเด็นท่ีสำ�คัญตามแผน
ดงั กลา่ วขน้ึ ในครง้ั นี้ และหวงั เปน็ อยา่ งยงิ่ วา่ การอบรมจะชว่ ยใหน้ กั วจิ ยั ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ รวมทั้งเพ่ือให้สามารถจัดทำ�ข้อเสนอ
มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การเขยี นขอ้ เสนอการวจิ ยั ทสี่ อดคลอ้ งตาม การวจิ ัย concept proposal ที่สามารถยนื่ เสนอขอรบั ทนุ วิจยั ประเภท
ประเดน็ ทส่ี �ำ คญั ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ และไดข้ อ้ เสนอ แผนงานวิจยั มงุ่ เปา้ หรอื แผนงานวิจยั spearhead ทตี่ อบสนองโจทย์
การวจิ ยั ในลกั ษณะแผนบรู ณาการวจิ ยั และนวตั กรรมทส่ี ามารถยน่ื เสนอ วจิ ยั ตามแผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ โดยไดร้ บั เกยี รตจิ ากผทู้ รง
ขอรบั ทนุ วจิ ยั ประเภทแผนงานวจิ ยั มงุ่ เปา้ หรอื แผนงานวจิ ยั spearhead คุณวฒุ สิ �ำ นกั งานการวจิ ยั แหง่ ชาติ (วช.) และส�ำ นักงานคณะกรรมการ
ทีต่ อบโจทย์วจิ ัยตามแผนยทุ ศาสตรก์ ารพฒั นาประเทศ สง่ เสรมิ วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม (สกสว.) ใหค้ วามรู้ ค�ำ แนะน�ำ
และเทคนคิ ในการเขยี นขอ้ เสนอการวจิ ยั
ด้าน อาจารย์พุฒิธร ตุกเตียน ผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัย
และพฒั นา มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ ปจั จบุ นั การใชง้ านวจิ ยั เพอื่ สรา้ งสรรค์ 13ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา สร้างเครือข่ายความร่วมมือ

สาธารณสุขชุมชน ยกระดับศักยภาพ อสม.ไทย

มรภ.สงขลา สร้างเครือข่ายความร่วมมือทาง ประสบการณ์ท่ีได้รับจากการเข้าร่วมโครงการฯ ไปประยุกต์ใช้ในการ
สาธารณสุขชุมชน ยกระดับศักยภาพ อสม. ประเทศไทย ปฏิบัติทางสาธารณสุขศาสตร์และการทำ�งานในอนาคตได้อย่างมี
เทยี บเชญิ ผเู้ กีย่ วขอ้ งร่วมกำ�หนดแนวทางพัฒนาวิชาชีพ ประสิทธภิ าพ

ดร.วรพล หนูนุ่น ประธานหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร ดร.วรพล กล่าวว่า หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต
บณั ฑติ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา มงุ่ เนน้ ผลติ บณั ฑติ ใหม้ ที กั ษะการคดิ และการท�ำ งานอยา่ งเปน็ ระบบ ใช้
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือทาง ข้อมูลเชิงประจักษ์เพ่ือการทำ�งานด้วยแนวคิดสุขภาพองค์รวมและ
สาธารณสุขชุมชน เพ่ือยกระดับศักยภาพ อสม. ประเทศไทย ซ่ึงจดั แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์และบริบทของ
ขน้ึ เมอ่ื วนั ที่ 6 กรกฎาคม ทผี่ า่ นมา วา่ อาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) ท้องถ่ิน สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือระดับท้องถิ่นและระดับ
ถอื เปน็ ฟนั เฟอื งส�ำ คญั ในการด�ำ เนนิ งานดา้ นสาธารณสขุ ทางหลกั สตู รฯ อื่นๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนมีคุณธรรมและจริยธรรมในการดำ�รงชีวิต
จึงเชิญกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นคณาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้ประสาน และจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ สามารถพัฒนาวิชาชีพด้าน
หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ คณะท�ำ งานฝา่ ยการเมอื งผกู้ �ำ หนด สาธารณสุขด้วยกระบวนการวิจัยและกระบวนการจัดการความรู้
นโยบาย คณะท�ำ งานฝา่ ยวชิ าการ/สถาบนั การศกึ ษา คณะท�ำ งานฝา่ ย โดยจดั การเรยี นการสอนใหน้ กั ศกึ ษามคี วามรทู้ งั้ ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ
บุคลากรสาธารณสุข อสม. และประชาชน นักศึกษาหลักสูตร เพ่ือให้มีทักษะที่จำ�เป็นในการปฏิบัติงาน นอกเหนือจากการเรียน
สาธารณสุขศาสตรบณั ฑิตและคณะท�ำ งาน รวม 35 คน มาทำ�งาน การสอนในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ตลอดจนตอบสนองแนว
ร่วมกัน ก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือและแนวทางในการพัฒนา นโยบายของทางคณะฯ ในการจัดบรกิ ารวิชาการเพอื่ พัฒนาทอ้ งถิ่น
ศกั ยภาพใหก้ บั อสม. อยา่ งยง่ั ยนื และสามารถน�ำ ความรู้ ความคดิ รวบยอด

มรภ.สงขลา เยือนมาเลย์ ต่อยอด ‘MOU’

จัดการเรียนการสอนพลศึกษาฯ แลกเปลี่ยนด้านกีฬา
เผยแพร่ศิลปะการต่อสู้ไทยโบราณสู่สายตาอาเซียน

มรภ.สงขลา ต่อยอด MOU จัดการเรียนการสอน บคุ ลากรและผนู้ �ำ นสิ ติ นกั ศกึ ษาดา้ นกฬี าสอู่ าเซยี น ระหวา่ งวนั ท่ี 3-7
พลศึกษาฯ น�ำ นสิ ติ นกั ศกึ ษา 5 มหาวทิ ยาลัยภาคใต้ เดนิ ทาง สิงหาคม ท่ีผ่านมา ณ ประเทศมาเลเซีย ในการน้ี ตนพร้อมด้วย
เยอื นมาเลเซยี รว่ มแลกเปลยี่ นเรยี นรดู้ า้ นกฬี า พรอ้ มเผยแพร่ นักศกึ ษาสาขาวิชาพลศึกษา มรภ.สงขลา จ�ำ นวน 3 คน ประกอบด้วย
ศิลปะการตอ่ สู้ไทยโบราณสสู่ ายตาอาเซยี น นายอภสิ ทิ ธ์ิ หวนั สู นายธวชั ชยั ชคู ง และ นายธนวฒั น์ เลศิ บรุ ษุ
ร่วมคณะในครง้ั น้ดี ว้ ย
อาจารย์พลากร นัคราบัณฑิต อาจารย์ประจำ�หลักสูตร
ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพลศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัย อาจารย์พลากร กล่าวว่า การเดินทางไปครั้งนี้มีการศึกษา
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า ผู้บริหาร บุคลากร นิสิต ดูงานห้องสมุดและศูนย์กีฬา Unimap (ยูนิแมป) ซึ่งเป็นสถาบัน
นกั ศกึ ษา จาก 5 สถาบนั การศกึ ษาภาคใต้ ประกอบด้วย มรภ.สงขลา การศกึ ษาทม่ี ชี อ่ื เสยี งของประเทศมาเลเซยี กจิ กรรมสานสมั พนั ธ์ การแขง่
มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช ฟตุ บอลระหวา่ งนกั ศกึ ษาไทยกบั มาเลเซยี การแสดงศลิ ปะการตอ่ สไู้ ทย
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภเู กต็ และ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เดนิ ทาง โบราณ เชน่ มวยไทยไชยาและการตอ่ สูก้ ระบ่กี ระบอง ท่ี มหาวิทยาลยั
ไปร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้ด้านกีฬา ตามโครงการพัฒนาศักยภาพ Unimas. (ยนู ิมัส) เมอื งกูชิง รัฐสลาวัก ซึ่งโครงการในครง้ั นี้เปน็ การ
สานตอ่ ความรว่ มมอื หลงั จากทไ่ี ดม้ กี ารลงนามบนั ทกึ ขอ้ ตกลง (MOU)
14 ปาริฉตั ร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา ด้านการจัดการเรียนการสอนพลศึกษาและด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา
ระหว่างมหาวิทยาลัยกับสมาคมกีฬาแห่งจังหวัดสงขลา และ
กรมราชทัณฑ์ ในการพัฒนาบุคลากรและผู้นำ�นักศึกษาทางด้านกีฬา
เพ่ือเพ่ิมพูนศักยภาพทางด้านกีฬา เปิดโลกทัศน์ไปสู่สากล รวมท้ัง
เผยแพรช่ อื่ เสยี งของมหาวทิ ยาลยั และสานความรว่ มมอื ระหวา่ งสถาบนั
การศึกษาภาคใต้อีกทางหนึ่ง

ภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม

พรอ้ มนกั วชิ าการ ๓ มหา’ลัย
เทียบเชญิ กงสุลใหญ่สาธารณรฐั ประชาชนจนี

ร่วมประชมุ วิชาการนานาชาติ

คณะท�ำ งานภาคคี นรกั เมอื งสงขลาสมาคม พรอ้ มนกั วชิ าการจาก สังคมวัฒนธรรม การจัดประชุม
มทร.ศรีวิชัย ม.อ.หาดใหญ่ มรภ.สงขลา เข้าพบ มร.หม่า เฟ่ิงชุน วิชาการนานาชาติ (International
กงสลุ ใหญส่ าธารณรฐั ประชาชนจนี เทยี บเชญิ เขา้ รว่ มจดั ประชมุ วชิ าการ Symposium Songkhla 2019)
นานาชาติ ระหว่างวันท่ี 6-8 ตุลาคม ศกน้ี ก็เป็นส่วนหน่ึงของการระดมผลงาน
วิชาการจากนักวิชาการ ในสถาบัน
เมอื่ ไมน่ านมานี้ คณะท�ำ งานจากภาคคี นรกั เมอื งสงขลาสมาคม น�ำ โดย อุ ด ม ศึ ก ษ า แ ล ะ นั ก ศึ ก ษ า ใ น
นายรงั ษี รตั นปราการ นายกภาคีคนรักเมอื งสงขลาสมาคม อาจารยส์ ืบสกุล มหาวิทยาลัยต่างประเทศ ที่ศึกษา
ศรีสุข ผู้อำ�นวยการภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม และคณะนักวิชาการจาก เกี่ยวกับสงขลาในมิติต่างๆ เคยมา
3 มหาวิทยาลัยในจังหวัดสงขลา ได้แก่ อาจารย์ ดร.จเร สุวรรณชาต เวริ ค์ ชอ้ ปศกึ ษาพนื้ ทจ่ี รงิ ซง่ึ การระดม
รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร.) ผศ.ศรุตม์ ผลงานวิชาการจากภาคสว่ นต่างๆ จะ
เพชรสกลุ วงศ์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ (ม.อ.) วทิ ยาเขต เปน็ ประโยชนต์ อ่ การผลกั ดนั โครงการ
หาดใหญ่ และ คณาจารย์จากมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) คือ สงขลาส่มู รดกโลก เพอ่ื ขน้ึ บัญชีมรดก
อาจารย์ ดร.ภวิกา บุณยพิพัฒน์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร อาจารย์ โลกฯ (Tentative List) องคก์ ารยเู นสโก ซงึ่ เปน็ กระบวนการทจ่ี ะน�ำ เมอื งเกา่ สงขลา
สุดารัตน์ วงศก์ ระจ่าง และ อาจารยว์ สิน ทับวงษ์ คณะมนษุ ยศาสตร์และ บอ่ ยาง เมืองเก่าสงขลาแหลมสน เมอื งเกา่ สงขลาหัวเขาแดง บางสว่ นของเกาะยอ
สงั คมศาสตร์ ร่วมด้วย นางสาวชัญญาณัท ทองคณารักษ์ หวั หน้าฝา่ ยวางผงั (วัดท้ายยอ) และเช่ือมโยงกันด้วยสายนำ้�ของลุ่มน้ำ�ทะเลสาบสงขลาตอนล่าง
พฒั นาเมอื ง องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สงขลา นายชนนิ ทร์ สาครนิ ทร์ ประธาน ข้นึ ส่บู ญั ชมี รดกโลกฯ
สภาอตุ สาหกรรมการท่องเที่ยว เขา้ พบ มร.หม่า เฟ่งิ ชุน กงสุลใหญส่ าธารณรัฐ
ประชาชนจีน ณ จังหวัดสงขลา ซึง่ ดูแลกจิ การต่างๆ ของจนี ในพ้ืนที่ภาคใตข้ อง ในการดำ�เนินการดงั กลา่ ว ภาคคี นรักเมอื งสงขลาสมาคมซึ่งเป็นองคก์ ร
ประเทศไทย ณ สถานกงสลุ ใหญ่ สาธารณรฐั ประชาชนจีน ภาคประชาสังคมที่แข็งแกร่ง ร่วมมือกับภาควิชาการจากสถาบันอุดมศึกษา
ในจงั หวัดสงขลา โดยมีองค์การบรหิ ารสว่ นจังหวัดสงขลา สนับสนนุ อยา่ งแขง็ ขัน
การเขา้ พบในครง้ั น้ี เพอ่ื แนะน�ำ ตวั และตอ้ นรบั ทา่ นกงสลุ ซง่ึ เพงิ่ เดนิ ทาง ซึ่งท่านกงสุลที่เพิ่งมารับตำ�แหน่งและพำ�นักในสงขลาก็สนับสนุนแนวคิดนี้
มารับตำ�แหน่งกงสุลใหญ่สาธารณรัฐประชาชนจีน ณ จังหวัดสงขลา รวมถึง ท่านชื่นชมในวิถีของผู้คนและอาคารในเมืองเก่าสงขลาบ่อยาง ท่านยังเสียดาย
เรียนเชิญท่านกงสุลร่วมการจัดการประชุมวิชาการนานาชาติ International เมืองเก่าหลายๆ เมืองในจีน ที่ถูกทำ�ลายในช่วงปฏิวัติวัฒนธรรมเม่ือส่ีทศวรรษ
Symposium on ASEAN PORT TOWNS and Maritime Trade Routes ก่อน และต่อมาเมอื่ เปิดประเทศจากการไหลบ่ ่าของกระแสทุนนยิ มที่ทำ�ใหห้ ลาย
Histories, Settlements and Muti-cultural Beliefs ระหว่างวันที่ 6-8 ตลุ าคม พื้นที่เมืองเก่าต้องร้ืออาคารบ้านเรือนแนวระนาบไปสร้างเป็นอาคารท่ีพักอาศัย
2562 ณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชยั และเมอื งเก่าสงขลา ต�ำ บล แนวด่ิง แต่เมืองสงขลานี้มีความเกี่ยวพันกับประเทศจีนและชาวจีนโพ้นทะเล
บอ่ ยาง อ�ำ เภอเมอื ง จงั หวดั สงขลา ซงึ่ ทา่ นกงสลุ แสดงความยนิ ดใี นโครงการความ มาปกั หลกั คา้ ขายแลว้ ตั้งถ่ินฐานอยตู่ ่อเน่อื งมาจนถึงปัจจุบัน
ร่วมมือภาควิชาการระดับมหาวิทยาลัยในจังหวัดสงขลา นักวิชาการจาก
มหาวิทยาลัยในประเทศเพ่ือนบ้านร่วมประชาคมอาเซียน พร้อมท้ังนักวิชาการ สายสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างเมืองสงขลากับเมืองไห่เฉิง มณฑล
จากมหาวทิ ยาลยั ในสาธารณรฐั ประชาชนจนี ถงึ 3 มหาวทิ ยาลยั คอื มหาวทิ ยาลยั ฟเู กยี้ น/ฝเู จย้ี น อนั เปน็ บา้ นเกดิ ของเจา้ เมอื งสงขลา ตระกลู ณ สงขลา ยงั คงมสี าย
ชิงหวา มหาวทิ ยาลยั เจ้อเจียง และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียว กับภาคประชาสงั คม สัมพันธ์สืบเน่ืองกันมา ซึ่งเมื่อปีก่อนตัวแทนภาคีคนรักเมืองสงขลาสมาคม
ทีจ่ ะเกดิ ขึ้นในเตอื นตุลาคม ศกนี้ เดนิ ทางไปเยอื นเมอื งไหเ่ ฉนิ และถดั มาตวั แทนของเมอื งไหเ่ ฉนิ มาเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ของเมอื งสงขลาบอ่ ยาง ร่วมงานสมโภชเจ้าพ่อหลกั เมืองสงขลา ซง่ึ เป็นแห่งเดยี ว
อาจารยว์ สนิ ทบั วงษ์ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา ในประเทศทมี่ ศี ลิ ปะสถาปตั ยกรรมจนี นค่ี อื อกี หนง่ึ ภาพสะทอ้ นความสมั พนั ธแ์ ละ
กลา่ ววา่ เร่อื ง One Belt One Road (หน่งึ แถบหน่ึงเสน้ ทาง) เปน็ นโยบายของ ความเป็นสากลของเมืองสงขลากับการค้านานาชาติระดับโลก จากอดีตจนถึง
รัฐบาลปักก่ิง แต่ที่สงขลาเรามีความร่วมมือทางวิชาการกันในระดับสถาบัน ปัจจุบนั
อดุ มศึกษาในจงั หวดั กบั ของจีนหลายครงั้ มาแลว้ กอ่ นจะมดี �ำ รใิ นโครงการเมกะ
โปรเจค็ ต์นี้ ดงั นน้ั เม่ือรฐั บาลไทยตอบรบั One Belt One Road จึงเปน็ ผลดี 15ปาริฉัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
ต่อสงขลา ความร่วมมือทางวิชาการจะขยายครอบคลุมมิติเศรษฐกิจการค้าและ

มรภ.สงขลา รว่ มเวทีรบั ฟงั ความคดิ เห็น
จดั ท�ำ มาตรฐานวชิ าชีพสาธารณสุขชมุ ชน

มรภ.สงขลา รว่ มเวทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ จดั ท�ำ มาตรฐาน มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ภายใต้กรอบวิชาชีพ
วิชาชีพสาธารณสุขชุมชน ระดับปริญญาตรี ต้ังเป้าผลิตบัณฑิต การสาธารณสุขชุมชน เพ่ือให้เป็นมาตรฐานเดียวกันในแต่ละสถาบัน
สนู่ กั วิชาการเปย่ี มองค์ความรดู้ ้านสุขภาพ พร้อมสร้างมาตรฐาน การศกึ ษาทง้ั ภาครฐั และเอกชน
เดียวกันในสถาบันการศกึ ษาภาครฐั และเอกชน
ประธานหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต มรภ.สงขลา
ดร.วรพล หนนู นุ่ ประธานหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ กล่าวอีกว่า มาตรฐานวิชาชีพทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพและด้าน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ. สาธารณสุขศาสตร์ มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตให้เป็นนักวิชาการและนักวิชาชีพ
สงขลา) เปดิ เผยวา่ เมอ่ื วนั ที่ 12 กรกฎาคม ทผี่ า่ นมา สภาการสาธารณสขุ ทม่ี ีองค์ความรูเ้ กีย่ วกับการด�ำ เนินงานทางด้านสุขภาพ ด้านสาธารณสุข
ชมุ ชน โดยคณะอนกุ รรมการจดั ท�ำ รา่ งมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั ปรญิ ญาตรี ต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน เน้นการใช้หลักวิทยาศาสตร์และ
(มคอ.1) ภายใตก้ รอบวชิ าชพี การสาธารณสขุ ชมุ ชน สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ เทคโนโลยีในการสำ�รวจตรวจสอบ ตรวจประเมิน การฟ้ืนฟูสุขภาพ
(หลกั สตู ร 4 ปี) พ.ศ. 2562 จดั เวทรี บั ฟงั ความคิดเหน็ (ร่าง) มคอ.1 การบำ�บัดโรคเบ้ืองต้น การประเมินสถานการณ์จัดการความเสี่ยงจาก
ที่ยกร่างขึ้นไว้แล้ว เป็นเวทีคร้ังท่ี 2 เวทีภาคใต้ ณ ห้องประชุม สภาพแวดล้อมท่ีมีต่อสุขอนามัย บุคคล และชุมชน การบริหารจัดการ
ศูนย์วิทยาศาสตร์ เพื่อเป็นแนวทางในการกำ�หนดโครงสร้างมาตรฐาน แผนงานโครงการเพอ่ื พฒั นาชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบ การน�ำ ผลการวจิ ยั พฒั นา
คณุ วฒุ อิ ดุ มศกึ ษาแหง่ ชาติ ระดบั ปรญิ ญาตรี สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ มาดำ�เนินการตามแผนปฏิบัติการประสานแผนงานโครงการ ร่วมกับ
ทีส่ อดคล้องกบั มาตรฐานวิชาชีพการสาธารณสุขชมุ ชน โดยมี นายกสภา หน่วยงานที่เก่ียวข้อง การจัดการระบบข้อมูลข่าวสารด้วยเทคโนโลยี
การสาธารณสขุ ชมุ ชน กรรมการสภาฯ อนกุ รรมการฯ คณาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบ สารสนเทศ การวเิ คราะหส์ งั เคราะหข์ อ้ มลู จากแหลง่ ตา่ งๆ และเลอื กล�ำ ดบั
หลักสตู รทางด้านสาธารณสุขศาสตร์ ของมหาวิทยาลยั วิทยาลัย สถาบัน ความส�ำ คัญของปญั หา ในการน�ำ มาใชพ้ ฒั นาชมุ ชนอยา่ งเปน็ ระบบและ
การศึกษาต่างๆ ในภาคใต้ และตัวแทนผู้ใช้บัณฑิต เข้าร่วมประชุม องคร์ วม การท�ำ งานทกุ กระบวนการค�ำ นงึ ถงึ หลกั คณุ ธรรมจรยิ ธรรม และ
ราว 60 คน จรรยาบรรณวิชาชพี สาธารณสขุ

ดร.วรพล กล่าววา่ ปัจจบุ นั ประเทศไทยมีสถาบันการศึกษาที่ อนง่ึ กระทรวงสาธารณสุข มนี โยบายจดั ท�ำ แผนพฒั นาระบบ
ผลิตบุคลากรทางด้านสาธารณสุขและวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่มีความ บรกิ ารสขุ ภาพ เพอื่ ยกระดบั คณุ ภาพบรกิ าร และสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การบรกิ าร
แตกตา่ งกนั มากของหลักสตู รสาธารณสุขศาสตร์หรือสาขาทเี่ ก่ียวขอ้ ง ใน ท่ีไร้รอยต่อ โดยเฉพาะในการพัฒนาระบบบริการปฐมภมู แิ ละการส่งตอ่
สถาบันการศึกษาแต่ละแห่ง ดังน้ัน จึงมีความจำ�เป็นอย่างยิ่งท่ีสภา ผปู้ ่วยทีต่ อ้ งไดร้ ับการดูแลอยา่ งทวั่ ถงึ และครอบคลมุ มากขนึ้ ซึ่งปัจจบุ นั มี
การสาธารณสุขชุมชนจะต้องกำ�หนดมาตรฐานวิชาชีพ เพ่ือเป็นแนวทาง พระราชบัญญตั วิ ิชาชพี สาธารณสุข พ.ศ. 2556 ช่วยให้การปฏิบตั ิงาน
ในการกำ�หนดโครงสร้างมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรีสาขา เป็นไปอย่างมีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ยกระดับมาตรฐานและ
จริยธรรมในการประกอบวิชาชีพ เพื่อลดความเสี่ยงในการเจ็บป่วยและ
สาธารณสุขศาสตร์ และสาขาท่ีเก่ียวข้อง (มคอ.1) ให้เป็นมาตรฐาน การเกิดโรค ดว้ ยการสร้างเสริมสุขภาพ การควบคุมและปอ้ งกันโรค และ
เดยี วกนั และสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานวชิ าชพี ทางดา้ นวทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ การอนามยั สง่ิ แวดลอ้ ม อนั จะน�ำ ไปสูก่ ารมสี ุขภาวะทีส่ มบรู ณ์อยา่ งยัง่ ยืน
และด้านสาธารณสุขศาสตร์ รวมท้ังเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีกระทรวง ของประชาชน โดยมีสภาการชีพการสาธารณสุขชุมชนทำ�หน้าท่ีส่งเสริม
การอดุ มศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ วจิ ยั และนวตั กรรม ก�ำ หนด จากเหตผุ ลขา้ งตน้ การประกอบวิชาชีพ กำ�หนดมาตรฐานจริยธรรมและควบคุมมาตรฐาน
สภาการสาธารณสุขชุมชน และเครือข่ายสถาบันการศึกษาท่ีมีการผลิต การประกอบวิชาชีพ ให้การพัฒนาวิชาชีพสาธารณสุขให้มีศักยภาพและ
บุคลากรด้านสาธารณสุขหรือสาขาท่ีเกี่ยวข้อง จึงร่วมมือกันจัดทำ� ความทดั เทยี มในการดแู ลสขุ ภาพประชาชนไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพเชน่ วชิ าชพี อน่ื

16 ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา รับลูก วช.
ยกระดับความปลอดภัย
ห้องปฏิบัติการ

มรภ.สงขลา รับลูก วช. ยกระดับบริหารความ
ปลอดภยั หอ้ งปฏบิ ตั กิ าร พรอ้ มจบั มอื ม.หาดใหญ่ มหาวทิ ยาลยั
แม่ขา่ ย รว่ มสร้างมาตรฐาน ลดความเสีย่ งผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ความปลอดภัยข้ึนในห้องปฏิบัติการ โดยได้
ด�ำ เนนิ งานโครงการยกระดบั มาตรฐานความ
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปลอดภัยห้องปฏิบัติการวิจัยในประเทศไทย
สงขลา (มรภ.สงขลา) กลา่ วระหวา่ งเปดิ การอบรมพฒั นาระบบบรหิ าร ซง่ึ ในสว่ นของภมู ภิ าคภาคใต้ มมี หาวทิ ยาลยั
จัดการความปลอดภัยห้องปฏิบัติการ ตามข้อกำ�หนดของคณะ แม่ข่าย 2 แหง่ ได้แก่ มหาวิทยาลยั หาดใหญ่
กรรมการวจิ ยั แหง่ ชาติ ณ งานศนู ยเ์ ครือ่ งมือกลาง มรภ.สงขลา เมื่อ และ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ รบั ผดิ ชอบ
วนั ที่ ๘ สิงหาคม ทผี่ ่านมาว่า ปัจจบุ ันมหี ้องปฏบิ ัตกิ ารกระจายอยู่ใน ในการยกระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารของมหาวทิ ยาลยั
มหาวทิ ยาลยั เปน็ จาํ นวนมาก ทง้ั ทใ่ี ชเ้ พอ่ื การศกึ ษาวจิ ยั การเรยี นการสอน ลกู ขา่ ยแหง่ ละ 5 มหาวทิ ยาลยั โดยมหาวทิ ยาลยั
และการบริการวิชาการ แต่ห้องปฏิบัติการจํานวนหนึ่งยังไม่มีระบบ หาดใหญร่ บั ผดิ ชอบ มรภ.สงขลา มรภ.ยะลา
ทด่ี ใี นการดแู ลความปลอดภยั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน หรอื อาจมรี ะบบในการ มรภ.นครศรีธรรมราช มรภ.ภูเก็ต และ มรส.
บริหารจัดการอยู่แล้วแต่ยังไม่ทราบว่าห้องปฏิบัติการควรมีความ (มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สรุ าษภรธ์ าน)ี เพอ่ื ใหท้ ราบเกย่ี วกบั
ปลอดภัยในระดับใด จึงรู้สึกยินดีอย่างย่ิงเม่ือทราบว่าสํานักงาน แนวทางการจดั การความปลอดภยั ของหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารกบั
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้จัดทําระบบการลงทะเบียน การจัดสรรทุนวจิ ัย วช. ตลอดจนวิธีการท่ีถกู ตอ้ งในการ
หอ้ งปฏบิ ตั ิการ และระบบประเมนิ ระดับความปลอดภยั ซึง่ จะชว่ ยยก ลงทะเบียนห้องปฏิบัติการ สถานภาพเบื้องต้นของหอ้ ง
ระดบั หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารในมหาวทิ ยาลยั ใหไ้ ดม้ าตรฐานมากยง่ิ ขน้ึ ทงั้ ยงั ปฏิบัติการวิจัยท่ปี ฏิบัติงานด้วยการประเมินด้วยการทํา
ส่งผลให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ปฏิบัติงาน ลดความเสี่ยงที่จะเกิด Checklists ในระบบ ESPReL ของ วช. รวมถงึ มาตรฐาน
อนั ตรายในรูปแบบตา่ งๆ ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมระบบการจัดการด้านความ
ปลอดภัยของห้องปฏิบัติการที่เก่ียวกับสารเคมี (มอก.
ด้าน ผศ.ดร.ทวีสิน นาวารัตน์ ผู้อำ�นวยการศูนย์ 2677-2558) และ การนําความรู้ไปใช้พัฒนา
วิทยาศาสตร์ มรภ.สงขลา กล่าวว่า วช. มนี โยบายให้เกิดการจดั การ หอ้ งปฏบิ ัติการใหม้ คี วามปลอดภัยแกผ่ ู้ปฏิบัตงิ าน

ศูนย์เครือข่าย สมศ. มรภ.สงขลา

ประกวดความโดดเด่นเฉพาะทาง การจัดการศึกษาระดับปฐมวัย

ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย สมศ. มรภ.สงขลา ประกวดความโดดเดน่ รว่ มกบั คณะครศุ าสตร์ เปดิ รบั สมคั รการประกวดความโดดเดน่ เฉพาะทาง
เฉพาะทาง การจดั การศกึ ษาระดบั ปฐมวยั เผยผลงานทไ่ี ดร้ บั เลอื ก การจัดการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย โดยได้กำ�หนดมิติคุณภาพ
ไดน้ �ำ เสนอในงาน 100 ปี คณะครศุ าสตร์ 100 นวตั กรรม ดา้ นความโดดเดน่ เฉพาะทางไว้ 6 ดา้ น ไดแ้ ก่ 1. ดา้ นการพฒั นาทกั ษะ
ภาษาและการส่ือสาร 2. ด้านการสร้างสรรคน์ วัตกรรม โดยศึกษาวจิ ยั
ดร.มนตรี เดน่ ดวง ประธานศนู ยเ์ ครอื ขา่ ยส�ำ นกั งานรบั รอง ประยุกต์องค์ความรู้ด้านปฐมวัย และพัฒนาสู่กระบวนการจัด
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา หรือ สมศ. มหาวิทยาลัย ประสบการณ์ที่เน้นเด็กเป็นสำ�คัญ การดูแลและพัฒนาเด็กปฐมวัย
ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ ศนู ยเ์ ครอื ขา่ ย สมศ. มรภ.สงขลา อยา่ งตอ่ เน่ือง จนเกิดผลดีตอ่ คณุ ภาพเดก็ ปฐมวยั 3. ด้านชุมชนแหง่
การเรียนรู้ 4. ด้านสภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการพัฒนาคุณภาพ
การเรียนรู้และการเล่น 5. ด้านการพัฒนาศักยภาพเด็กรายบุคคล
ท้ังเดก็ ทว่ั ไปและเด็กพิเศษ และ 6. ด้านอน่ื ๆ อันเป็นการพัฒนาเด็ก
ตามอตั ลักษณห์ รือเอกลักษณข์ องสถานศกึ ษา

ผลงานที่ได้รับการตอบรับ จะได้นำ�เสนอผลงานในงาน
“100 ปี คณะครศุ าสตร์ 100 นวตั กรรม” ในวนั ท่ี 31 สงิ หาคม 2562
โดยมรี างวัลความโดดเด่น 6 ด้าน ดา้ นละ 1 รางวัล และทกุ ผลงานที่
ได้รับการตอบรับให้นำ�เสนอจะได้รับเกียรติบัตรแนวปฏิบัติท่ีดี
(Good practice) การจัดการศกึ ษาระดับปฐมวัย

17ปาริฉตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา

จัดนทิ รรศการแสดงศลิ ปกรรมแหง่ ชาติ ครงั้ ที่ ๖๔ (สัญจร)

มรภ.สงขลา เปิดบ้านจัดนิทรรศการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ
คร้ังที่ 64 (สัญจร) เผยปนี ี้มีผลงานรางวัลเหรียญทองร่วมโชว์ เชอื่ ช่วย
ใหผ้ ้สู นใจเกิดแนวคิดสร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ

ผศ.ดร.ไชยวธุ โกศล คณบดคี ณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงนิทรรศการแสดงศิลปกรรมแห่งชาติ คร้ังที่ 64
(สัญจร) THE 64th NATIONAL EXHIBITION OF ART ระหว่างวันท่ี 9
กรกฎาคม-9 สิงหาคม ทีผ่ ่านมา ณ หอศิลป์ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ (อาคาร 71)
มรภ.สงขลา ว่า พิธีเปิดนิทรรศการจัดข้ึนในวันที่ 9 กรกฎาคม 2562 โดย
ได้รับเกียรติจาก นายวีรนันทน์ เพ็งจันทร์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลา
เป็นประธานเปิดนิทรรศการ ซ่ึงในปีน้ีนับเป็นโอกาสดีที่มีผลงานได้รับรางวัล
เหรียญทองมาร่วมแสดงด้วย ที่ผ่านมาทางคณะฯ มีการจัดนิทรรศการแสดง
ศลิ ปกรรมแห่งชาติ (สญั จร) อยา่ งต่อเนอื่ ง เพ่ือเปิดโอกาสให้อาจารย์ นกั ศึกษา
ศิษย์เก่า ตลอดจนบุคคลท่ัวไปได้เรียนรู้กระบวนการทำ�งาน และเห็นถึงความ
เปลย่ี นแปลงทางศลิ ปะของไทย สำ�หรบั น�ำ มาประยกุ ตส์ ร้างสรรค์ผลงานของตนเองตอ่ ไป

ทั้งนี้ การแสดงศิลปกรรมแห่งชาตินับเป็นเวทีการประกวดระดับชาติท่ีมี
ประวัติความเป็นมายาวนานที่สุดในประเทศไทย และจัดแสดงอย่างต่อเนื่องโดย
มหาวทิ ยาลยั ศลิ ปากร จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ ครั้งที่ 64 ซ่ึงเปน็ การสนบั สนนุ และเปิด
โอกาสให้ศิลปินไทยมีเวทีแห่งสร้างสรรค์ผลงานในระดับชาติ โดยส่งผลงาน
ศลิ ปกรรมประเภทจติ รกรรม ประตมิ ากรรม ภาพพมิ พ์ และสอื่ ประสม เขา้ ประกวด
โดยมีกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิร่วมตัดสิน และนำ�ผลงานไปจัดแสดงนิทรรศการ
นอกจากน้ัน ยังเป็นการเปิดโอกาสให้สาธารณชนได้ช่ืนชมผลงานศิลปกรรม
อย่างกว้างขวางทัง้ ในสว่ นกลางและส่วนภูมิภาคอกี ดว้ ย

อบมรรมภ.อสองขกลแาบผบนสกึรศา้ งนู สยร์สร่งคเส์เพร่ือมิ พเศฒั รษนาฐยกา่จิ นฯเมอื งเกา่

คณะศิลปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา คณุ วฒุ ดิ า้ นประวตั ศิ าสตรเ์ มอื งสงขลา ภาคคี นรกั เมอื งสงขลา
จบั มอื ศนู ยส์ ง่ เสรมิ เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ CEA สมาคม นายยุทธนา จิตต์โต๊ะหลำ� ประธานชุมชน
จัดอบรมการออกแบบสร้างสรรค์เพ่ือพัฒนา บา้ นนอก ต�ำ บลหวั เขา และประธานชมรมอนรุ กั ษป์ า่ ชายเลน
ย่านเมอื งเก่าสงขลา สร้างเครอื ข่ายนกั ศกึ ษา ตำ�บลหัวเขา นางสาวปาริชาด สอนสุภาพ ประธาน
3 มหาวทิ ยาลยั รว่ มพฒั นาทอ้ งถนิ่ อยา่ งยง่ั ยนื วสิ าหกจิ ชมุ ชนการทอ่ งเทยี่ ว Ecotourism Songkhla Thailand
นายจักรกฤษณ์ ภัทรนิตย์ ประธานชมรมอนุรักษ์
อาจารยช์ ยั วฒั นภทั ร เลาสตั ย์ อาจารย์ วัฒนธรรมประเพณเี กา้ หอ้ ง จ.สงขลา นายวัชชพล หรั่งแพ
ประจำ�หลักสูตรการออกแบบ คณะศิลปกรรม- นักจัดการความรู้ศูนย์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ CEA
ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา นายนัฐพงษ์ พัฒนโกศัย นางสาวดลพร ชนะชัย
ร่วมกับศูนย์ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ CEA ซึ่งเป็นหน่วยงานสำ�คัญในการพัฒนา จากบรษิ ทั Cloud-Floor และทีมวทิ ยากรจากศูนย์ส่งเสรมิ
องค์ความรู้ด้านการออกแบบและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ จัดอบรมเรื่อง เศรษฐกิจสรา้ งสรรค์ CEA ตลอดจนคณาจารยจ์ ากภาควิชา
การออกแบบสร้างสรรค์เพ่ือพฒั นาย่านเมืองเก่าสงขลา เมื่อวันท่ี 10-11 กรกฎาคม ทผ่ี ่านมา ศิลปะและการออกแบบ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
ณ ห้องประชุม 58-109 คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ และโรงสแี ดง หบั โห้ หน้ิ ผเู้ ข้ารว่ มอบรม มหาวทิ ยาลยั นเรศวร ดร.จรญั ญา พหลเทพ และ อาจารย์
ประกอบด้วย นกั ศึกษาสาขาการออกแบบจาก 3 มหาวทิ ยาลยั ใน จ.สงขลา ไดแ้ ก่ นักศกึ ษา ศุภเดช หิมะมาน
หลักสูตรศิลปะการออกแบบ มหาวิทยาลัยทักษิณ นักศึกษาหลักสูตรการออกแบบแฟช่ันและ
สงิ่ ทอ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั และนกั ศกึ ษาหลกั สตู รการออกแบบ มรภ.สงขลา
โดยมุ่งหวังให้เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างเครือข่ายนักศึกษา 3 มหาวิทยาลัยในการร่วมพัฒนา
ทอ้ งถิ่นอยา่ งย่ังยนื
อาจารย์ชัยวัฒนภัทร กล่าวว่า การจัดอบรมเร่ือง การออกแบบสร้างสรรค์เพ่ือพัฒนา
ย่านเมืองเก่าสงขลา มุ่งหวังให้นักศึกษาได้รับความรู้ความเข้าใจในการพัฒนากระบวนการ
เรยี นรู้ เพอ่ื ความเป็นพลเมอื งรกั ษ์สงขลาอย่างสรา้ งสรรค์ และเพื่อใหไ้ ดร้ ับความรู้ในด้านศิลปะ
และการออกแบบสรา้ งสรรคเ์ พอ่ื สงั คม เปดิ โอกาสใหน้ กั ศกึ ษาไดป้ ระยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรทู้ างดา้ น
ศลิ ปะและการออกแบบเพอื่ การพฒั นาสงั คมและเสริมสร้างความเข้มแขง็ ของชมุ ชน และพฒั นา
เครือขา่ ยความรว่ มมือระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยในการพัฒนายา่ นเมอื งเกา่ สงขลา
การจัดอบรมในคร้ังน้ีได้รับเกียติจากวิทยากร อาจารย์วุฒิชัย เพชรสุวรรณ ผู้ทรง

18 ปาริฉัตร วารสารเพือ่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

นศ.นาฏศิลป์ฯ มรภ.สงขลา
ผงาดเวทปี ระกวด “FESCO ๒๐๑๙” มาเลเซยี

โชว์การแสดงซัมเปง็ คว้ารางวัลรองชนะเลศิ อันดบั ๑

ประเภท Folk Dance

นักศึกษานาฏศิลป์และการแสดง มรภ.สงขลา โชว์การ เราในฐานะครูต้องสร้างประสบการณ์ให้นักศึกษา เพ่ือพวกเขาจะได้นำ�
แสดงซมั เป็งเวทปี ระกวด Festival Colors of the World 2019 องค์ความรู้จากการไปครั้งนี้มาต่อยอดสร้างสรรค์ผลงานของตนเองได้
ประเทศมาเลเซีย คว้ารางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 ประเภท Folk นอกจากนนั้ ยงั สามารถท�ำ ใหม้ าเลเซยี อนิ โดนเี ซยี ไดเ้ หน็ วา่ ประเทศไทย
Dance เผยผจู้ ดั เห็นผลงานทางเฟสบ๊คุ จึงติดต่อใหเ้ ข้ารว่ มแข่งขนั ยังคงรักษาศิลปะการแสดงประเภทนี้ไว้” ประธานหลักสูตรศิลปกรรม-
ระดับนานาชาติ ศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ านาฏศลิ ปแ์ ละการแสดง กล่าว

ผศ.ทศั นยี า คญั ทะชา ประธานหลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑติ ดา้ น น.ส.ศริ ิรตั น์ ปันทะรตั น์ นักศกึ ษาสาขาวชิ านาฏศลิ ปแ์ ละ
สาขาวิชานาฏศิลป์และการแสดง คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย การแสดง มรภ.สงขลา หน่ึงในผู้เข้าร่วมประกวด และนำ�เสนอการแสดง
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยว่า สบื เนอื่ งจากทางคณะฯ เปิดสอน เปน็ ภาษาองั กฤษ กล่าววา่ ใช้เวลาฝึกซ้อมการแสดงประมาณ 3 อาทติ ย์
รายวิชาการแสดงพน้ื บา้ นภาคใต้ ในภาคการศกึ ษาท่ี 2/2561 ซึ่งตนเปน็ และฝกึ ซอ้ มน�ำ เสนอประมาณ 2 วัน วินาทที ี่ไดย้ นิ เสียงประกาศว่า มรภ.
อาจารย์ผู้สอนในรายวิชานี้และมีการสอนเต้นซัมเป็ง เม่ือได้รับเชิญจาก สงขลา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั 1 ร้สู กึ ดใี จมาก ยิ่งตอนข้ึนไปรบั
Mr.Deenoo Savoye Universiti Teknologi PETRONAS รัฐเปรัก รางวัลย่ิงรู้สึกภูมิใจที่ได้เป็นตัวแทนประเทศไทยมาเผยแพร่การแสดงยัง
ประเทศมาเลเซีย ให้เข้าร่วมประกวดในงาน FESCO 2019 (Festival ต่างประเทศ อยากขอบพระคุณคุณครู เพราะหากท่านไม่ส่งนักศึกษา
Colors of the World) จงึ คดั เลอื กนกั เตน้ ซง่ึ เปน็ นกั ศกึ ษาสาขาวชิ านาฏศลิ ป์ เข้าร่วมการแข่งขันในรายการน้ี ตนและเพ่ือนๆ ก็คงไม่มีโอกาสได้แสดง
และการแสดง จ�ำ นวน 8 คน ประกอบด้วย 1. น.ส.ศริ ริ ัตน์ ปนั ทะรัตน์ ศกั ยภาพในเวทีระดบั นานาชาติ ส�ำ หรบั ตนแลว้ รางวลั ทีไ่ ดร้ บั เปน็ เพียงผล
2. น.ส.กนกวรรณ รักษาพล 3. น.ส.ธัญลักษณ์ สารรัตน์ ของการเรยี นรู้ เพราะตลอดเวลาของการฝกึ ซอ้ มท�ำ ใหไ้ ดเ้ หน็ ถงึ ความตง้ั ใจ
4. น.ส.ชนนกิ านต์ คงศพั ท์ 5. นายณฐั กานต์ ฤทธฉิ ม้ิ 6. นายปรญิ ญา ของเพ่ือนๆ ทุกคนและความทุ่มเทของคุณครูท่ีมีจุดมุ่งหมายเดียวกัน
สทุ ธิวลิ ัย 7. นายสทิ ธิพร มุกสกิ สงค์ และ 8. นายพริ เดช วเิ ชียรรัตน์ และพยายามทำ�มันให้ส�ำ เร็จด้วยกัน
เข้าร่วมการประกวดระหวา่ งวนั ที่ 4-7 กรกฎาคม ทผ่ี า่ นมา โดยมีตนและ
อาจารยร์ ชั ยา วีรการณ์ เปน็ ผู้ควบคุมการแสดง นายณัฐกานต์ ฤทธิฉิ้ม นักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์และการ
แสดง มรภ.สงขลา กลา่ วว่า ขอขอบคณุ ประสบการณใ์ หม่จากคุณครูทราย
ผศ.ทัศนียา กล่าวว่า นอกจากนั้น ในภาคเรียนที่ 2/2562 คมุ้ คา่ ยงิ่ กวา่ การมาแขง่ คอื การไดค้ วามรมู้ ากมายหลากหลายรปู แบบ และ
นักศึกษากำ�ลังเรียนวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือนาฏศิลป์และการแสดง ซึ่งมี เปน็ อกี หนง่ึ เวทที ฝ่ี นั ตงั้ แตป่ ี 1 วา่ อยากมาลองขนึ้ เวทนี านาชาติ และสะสม
อาจารย์รชั ยา วรี การณ์ เป็นผสู้ อน ทางหลกั สตู รเล็งเหน็ ว่าการเข้ารว่ ม ประสบการณ์ในการเต้นรองเง็งจากคุณครูบุ่ย ครูเชาว์ ครูทราย ครูแม็ก
ประกวดยังประเทศมาเลเซียในครั้งนี้ เป็นกิจกรรมท่ีสามารถส่งเสริม พี่แม็ก ท่ีส่ังสอนและแนะนำ�เทคนิคต่างๆ ขอขอบคุณมากๆ ท่ีทำ�ให้ฝัน
ศกั ยภาพของนกั ศึกษาไดอ้ ีกทางหนงึ่ จงึ ส่งใบสมัครเขา้ ร่วมประกวด โดยมี คร้ังน้ีเป็นจริง ขอขอบคุณครูอ้อที่ช่วยในเร่ืองการอำ�นวยความสะดวก
ทีมเข้าร่วมทั้งหมด 34 ทีม จากประเทศอินโดนเี ซยี มาเลเซีย และ ไทย ทกุ อยา่ งในการแขง่ ครั้งนจี้ นผ่านพ้นไปด้วยดี
แบง่ การแข่งขนั ออกเป็นระดับต่างๆ ได้แก่ ระดบั ประถม ระดับมธั ยม และ
ระดบั อดุ มศกึ ษา ผลปรากฏวา่ ทมี จาก มรภ.สงขลา ไดร้ บั รางวลั รองชนะเลศิ
อันดบั 1 ประเภท Folk Dance

“รู้สึกภูมิใจมากกับรางวัลที่ได้มา แม้ มรภ.สงขลา จะเป็น
มหาวทิ ยาลยั เลก็ ๆ ในภาคใต้ แตส่ ามารถท�ำ ใหต้ า่ งชาตเิ หน็ ผลงานของเรา
จากเฟสบคุ๊ จงึ ตดิ ตอ่ มาใหเ้ ขา้ รว่ มการแขง่ ขนั ระดบั นานาชาติ ทส่ี �ำ คญั ทส่ี ดุ

19ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา

สุดเจง๋ ‘เทคโนโลยยี างและพอลิเมอร’์ มรภ.สงขลา

ควา้ รางวัลบทความวจิ ัยดีเดน่ ๓ ปีซ้อน

อาจารย-์ นกั ศึกษาเทคโนโลยียางและพอลเิ มอร์ มรภ. ดร.วชั รนิ ทร์ กลา่ ววา่ ในการเขา้ รว่ มการประชมุ วชิ าการระดบั ชาติ
สงขลา โชว์ผลงานเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ แทคทีมคว้า คร้ังน้ี นอกเหนือจากผลงานวิจัยท่ีได้รับรางวัลแล้ว ยังมีงานวิจัย
รางวลั บทความวจิ ยั ดเี ดน่ สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ตดิ ตอ่ กนั เร่ืองอ่ืนๆ จากอาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยียางและ
3 ปซี ้อน พอลิเมอร์ มรภ.สงขลา นำ�เสนอในรูปแบบโปสเตอร์ กลุ่มสาขา
วิทยาศาสตร์กายภาพ ได้แก่ การศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้
ดร.วัชรินทร์ สายนำ้�ใส อาจารย์ประจำ�หลักสูตร แคลเซียมคาร์บอเนตจากเปลือกหอยแครงเป็นสารตัวเติมในยาง
วทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยียางและพอลเิ มอร์ คณะวทิ ยาศาสตร์ ธรรมชาติ โดย วาสนา หมัดล่าเตะ และ วัชรินทร์ สายน้ำ�ใส
และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยว่า ลกั ษณะการวลั คาไนซ์ สมบตั ทิ างกายภาพ และการเสอื่ มสภาพของยาง
เม่ือวันที่ ๑๑-๑๒ กรกฎาคม ที่ผ่านมา ตนพร้อมด้วยนักศึกษา ธรรมชาติผสมแป้งพืชเป็นสารตัวเติม โดย ฟาตีฮะห์ แดวอสนุง
สาขาวิชาเทคโนโลยียางและพอลเิ มอร์ รวม 5 คน คือ น.ส.สนุ ิสา หวั นา นฤปนาถ พลเมอื ง วชั รนิ ทร์ สายน�ำ้ ใส การศกึ ษาเปรยี บเทยี บการ
น.ส.มณั ฑนา สงไข น.ส.ฟาตฮี ะห์ แดวอสนงุ น.ส.วาสนา หมัดลา่ เตะ ผ่อนคลายความเค้นของยางแผ่นรมควันและยางแท่งมาตรฐานไทย
และ นายณฐั กานต์ หมันนาเกลอื เขา้ รว่ มประชมุ วชิ าการระดับชาติ ด้วยเครื่องทดสอบความหนืดมูนน่ี โดย ณัฐกานต์ หมันนาเกลือ
คร้ังท่ี 11 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ภายใต้แนวคิด “วิจัย ไรฮานา เจะเตะ และ วชั รนิ ทร์ สายน�ำ้ ใส
สร้างนวัตกรรม เพื่อพัฒนาท้องถ่ินและสังคมไทย สู่ Disruptive
Society” ในการน้ี ผลงานวิจัยเรื่อง “การปรับปรุงการอ่อนตัวของ สำ�หรับงานวจิ ยั เรอื่ ง การปรับปรุงการออ่ นตัวของความเค้น
ความเค้นและพลังงานสูญหายของยางธรรมชาติวัลคาไนซ์โดยใช้ และพลังงานสูญหายของยางธรรมชาติวัลคาไนซ์โดยใช้แคลเซียม
แคลเซียมคาร์บอเนตร่วมกับเขม่าดำ�เกรด N330 เป็นสารตัวเติม” คารบ์ อเนตรว่ มกบั เขมา่ ด�ำ เกรด N330 เปน็ สารตวั เตมิ มที ม่ี าจากการ
จัดทำ�โดย สุนสิ า หวั นา มัณฑนา สงไข สุไหลหมาน เบญฤทธิ์ เลง็ เหน็ วา่ ยางธรรมชาตผิ สมสารตวั เตมิ ทว่ี ลั คาไนซแ์ ลว้ เมอื่ ถกู กระท�ำ
และ วัชรินทร์ สายน้ำ�ใส ได้รับรางวัลบทความวิจัยดีเด่น อย่างต่อเนื่องจะมีการอ่อนตัวของความเค้น หรือเกิดการแตกหัก
(Best Paper Award) สาขาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ ซง่ึ มรภ.สงขลา เสียหายได้ ปรากฏการณ์การอ่อนตัวของความเค้นน้ีรู้จักกันท่ัวไปใน
ได้รับรางวัลบทความวิจัยดเี ด่นตดิ ตอ่ กันเป็นปีท่ี 3 จากเวทีนี้ ชอื่ ผลของมลู ลนิ ส์ (Mullins effect) นอกจากน้ี ยางซงึ่ เปน็ วสั ดปุ ระเภท
20 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา หยุ่นหนืดจะเกิดการสูญเสียพลังงานจากแรงกระทำ�อย่างต่อเนื่อง
กล่าวคือ แรงท่ีใช้ในการผิดรูปจะมากกว่าแรงที่ใช้ในการคืนตัวกลับ
โดยพลังงานท่ีสูญเสียไปนี้จะอยู่ในรูปของพลังงานความร้อนสะสม
จึงศึกษาเพ่ือปรับปรุงสมบัติการอ่อนตัวของความเค้นและพลังงาน
สูญหายของยางธรรมชาติวัลคาไนซ์ โดยใช้แคลเซียมคาร์บอเนต
ร่วมกับเขม่าดำ�เกรด N330 เป็นสารตัวเติมในปริมาณ 40 phr
โดยแปรสดั สว่ นของแคลเซยี มคารบ์ อเนตกบั เขมา่ ด�ำ เกรด N330 เปน็
40/0, 30/10, 20/20, 10/30 และ 0/40 phr

มรภ.สงขลา จดั พธิ สี ดุดีเฉลิมพระเกียรติ

พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจา้ อยูห่ วั

เม่ือวันที่ 28 กรกฎาคม ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) จดั พธิ สี ดดุ เี ฉลมิ พระเกยี รตพิ ระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั
เนอ่ื งในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2562 พระชนมพรรษา
67 พรรษา โดยเร่ิมต้งั แตเ่ วลา 07.00 น. ผศ.ดร.นิวัต กล่ินงาม อธิการบดี
พร้อมด้วยคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย นักศึกษา อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี
ศิษย์เก่า และประชาชนรอบรั้วมหาวิทยาลัย ร่วมพิธีทำ�บุญตักบาตรข้าวสาร
อาหารแห้ง พระสงฆ์ 19 รปู เพอื่ ถวายเปน็ พระราชกศุ ล ณ บรเิ วณลานหน้าเสาธง

ต่อมาเวลา เวลา 09.00 น. มรภ.สงขลา จัดพธิ ถี วายพระพรชัยมงคล
ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติฯ โดยส่วนราชการต่างๆ รวม 16 หน่วยงาน
ร่วมถวายพานพุ่มเงินพุ่มทองเบ้ืองหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ และร่วม
จุดเทียนชัยถวายพระพร หลังเสร็จส้ินพิธีได้ร่วมกันทำ�กิจกรรมจิตอาสา
“เราทำ�ดี ด้วยหัวใจ” พัฒนามหาวิทยาลัย โดยมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อ
แสดงออกถงึ ความจงรักภกั ดี จำ�นวนกว่า 3,000 คน

มรภ.สงขลา ผนกึ จงั หวัด

จัดบรรยายสถาบนั พระมหากษตั ริยก์ บั ประเทศไทย

มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) โดยกองพฒั นานกั ศกึ ษา
มรภ.สงขลา พร้อมด้วย อาจารย์จิรภา คงเขียว รองอธิการบดี
ฝ่ายยุทธศาสตร์การพัฒนานักศึกษาและคุณลักษณะบัณฑิต ร่วมกับจังหวัด
สงขลา จัดบรรยายเรื่องสถาบันพระมหากษัตริย์กับประเทศไทย หลักสูตร
หลกั ประจ�ำ รนุ่ ที่ 3/2562 “เปน็ เบ้า เปน็ แมพ่ มิ พ”์ ณ หอประชมุ เฉลิม
พระเกียรติฯ มรภ.สงขลา เมื่อวนั ท่ี ๑๔ สงิ หาคม ท่ผี า่ นมา โดยมนี กั ศกึ ษา
เขา้ รบั ฟงั การบรรยายประมาณ 2,700 คน ชดุ วทิ ยากรจติ อาสา 904 บรรยาย
ใหค้ วามรู้ เรอื่ ง สถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ บั ประเทศไทย เพอ่ื ปลกู จติ ส�ำ นกึ ให้
นกั ศกึ ษา มสี ำ�นกึ รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

ผศ.ดร.นิวัต กล่ินงาม อธิการบดี มรภ.สงขลา กล่าวเปิด
การบรรยายว่า ด้วยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้า
โปรดกระหม่อมให้จัดตั้งโครงการจิตอาสาพระราชทานขึ้น เป็นศูนย์รวม
ความสมัครสมานสามัคคีของคนไทยในการทำ�กิจกรรมสาธารณประโยชน์
เพอื่ พฒั นาพนื้ ทใ่ี นชมุ ชนตา่ งๆ ใหม้ คี วามเจรญิ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ชมุ ชน
อยา่ งถาวร โดยมศี นู ยอ์ �ำ นวยการใหญโ่ ครงการจติ อาสาพระราชทานตามแนว
พระราชด�ำ ริเปน็ ผ้คู วบคุม ดแู ล และให้ผู้ว่าราชการแต่ละจังหวดั เป็นผู้ให้การ
สนบั สนนุ การปฏบิ ตั กิ จิ กรรมจติ อาสาพระราชทานของทกุ ภาคสว่ น ใหเ้ ปน็ ไป
ดว้ ยความเรยี บร้อยตามพระบรมราโชบาย และวตั ถุประสงค์ของกจิ กรรม

21ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา

มรภ.สงขลา เปดิ บา้ นต้อนรบั มหา’ลัย คสู่ ญั ญาจากประเทศไต้หวนั

แลกเปล่ยี นด้านวิชาการ-ศลิ ปวัฒนธรรม เรียนรู้ความเป็นไทย

มรภ.สงขลา เปิดบา้ นต้อนรบั National Pingtung University
of Science and Technology มหาวิทยาลัยค่สู ญั ญาจากประเทศ
ไตห้ วนั รว่ มแลกเปลยี่ นวชิ าการ ศลิ ปวฒั นธรรม พรอ้ มเรยี นรวู้ ถิ ี
วฒั นธรรมไทย

ดร.นิสิตา ฤทธาภิรมย์ รองผู้อำ�นวยการสำ�นักวิทยบริการและ
เทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่
เมอ่ื วนั ท่ี 1-1๔ กรกฎาคม ทผ่ี า่ นมา นกั ศกึ ษาและบคุ ลากร จ�ำ นวน 38 คน
จาก National Pingtung University of Science and Technology (NPUST)
ซง่ึ เปน็ มหาวิทยาลัยคู่สญั ญาจากประเทศไต้หวนั เดนิ ทางมาศึกษาดูงาน
และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านวชิ าการ ผลงานวิจัย และด้านศิลปวัฒนธรรม
ณ มรภ.สงขลา โดยคณะผู้มาเยือนได้เรียนรู้ความเป็นไทยผ่านกิจกรรม หยางเพย่ ฉนุ นกั ศกึ ษาสาวอกี คนหนงึ่ กลา่ วบา้ งวา่ ชอบบรรยากาศ
ต่างๆ อาทิ การทำ�ผ้ามัดย้อม การนวดไทยและทำ�ลูกประคบ การทำ� และความเป็นอยู่ของผู้คน ตนมีโอกาสไปเรียนวิชาภาษาไทยร่วมกับ
ยาหม่องสมุนไพร สาธติ ทำ�อาหารและขนมไทย ร�ำ ไทย มวยไทย เป็นตน้ เพอ่ื นๆ อาจารยท์ น่ี สี่ อนละเอียดและสนใจวา่ นกั ศกึ ษาจะท�ำ ไดไ้ หม ใน
ซง่ึ ทผ่ี า่ นมา มรภ.สงขลา มคี วามรว่ มมอื กบั หนว่ ยงานตา่ งประเทศ ผา่ นการ ขณะที่ไต้หวันผู้เรียนจะต้องพยายามด้วยตัวเองมากกว่า ซ่ึงตลอดระยะ
ทำ�บนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมอื หลายฉบบั ในหลากหลายประเทศดว้ ยกนั เวลา 14 วนั ใน มรภ.สงขลา ทางมหาวิทยาลัยจดั กจิ กรรมต่างๆ ใหอ้ ย่าง
เนอ่ื งจากเล็งเหน็ ถงึ ความสำ�คัญของการสรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื เพ่อื ครบถ้วน โดยเฉพาะการทำ�ยาหม่องท่ีสามารถน�ำ ไปใช้ประโยชน์ได้ ตน
เตรียมความพร้อมและพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างกันให้มีความ ได้เรียนรู้ทุกอย่าง ท้งั ภาษา วัฒนธรรมทอ้ งถ่ิน และวฒั นธรรมไทยท่นี ่า
แน่นแฟ้นมากข้ึน สนใจ หากมโี อกาสก็อยากจะกลบั มาทีน่ ีอ่ กี

ดร.นิสติ า กลา่ ววา่ การที่ มรภ.สงขลา ทำ�ข้อตกลงความรว่ มมอื กบั หวงเจยี ชงิ นักศึกษาปริญญาโท ซ่ึงมีภรรยาเป็นคนไทย กล่าวว่า
มหาวทิ ยาลยั ในตา่ งประเทศ และมกี จิ กรรมอนั เกดิ จากขอ้ ตกลงความรว่ มมอื ประทบั ใจมากๆ ทไ่ี ดม้ าเยือน มรภ.สงขลา ตนได้รบั การดูแลเป็นอยา่ งดี
อยา่ งตอ่ เนอ่ื งนนั้ ยอ่ มเปน็ ผลดกี บั มหาวทิ ยาลยั ในแงข่ องการฝกึ นกั ศกึ ษา รสู้ กึ สนกุ และมีความสุข ที่สำ�คญั อาจารยท์ ี่นใ่ี ห้ความร้แู กน่ กั ศกึ ษาอยา่ ง
และบุคลากรให้มีความกล้าแสดงออกในการใช้ภาษาต่างประเทศในการ เต็มท่ี ถามอะไรก็ตอบไดห้ มด ท้งั ยังหาขอ้ มูลมาเพมิ่ เติมใหด้ ว้ ย

ติดต่อสื่อสาร เป็นการพัฒนาการทักษะทางภาษาให้มีระดับที่สูงขึ้น หวงเทียนเต๋อ นักศกึ ษาชายอีกคนหนงึ่ กลา่ วว่า คนไทยอัธยาศยั ดี
ตวั อยา่ งเชน่ การพฒั นาในดา้ นการน�ำ ความรไู้ ปใชน้ �ำ เสนอผลงานวจิ ยั ใน แม้วัฒนธรรมไทยกับไต้หวันจะมีหลายอย่างท่ีแตกต่างกัน แต่เพื่อนๆ
ระดบั นานาชาตขิ องบคุ ลากรสายวชิ าการ หรอื การเดนิ ทางไปแลกเปลย่ี น คนไทยก็ให้คำ�แนะเป็นอย่างดี ในการมาท่ีนี่ตนชื่นชอบกิจกรรมทำ�
เรยี นรู้ของตัวแทนนักศกึ ษาในการเผยแพรด่ า้ นวิชาการ กีฬา การพฒั นา อาหารไทยเปน็ พเิ ศษ โดยเฉพาะการไดล้ องท�ำ เมนผู ดั ไทยซง่ึ อรอ่ ยมากๆ

นักศึกษา หรือศิลปวัฒนธรรมในท้องถ่ิน ให้เป็นท่ีประจักษ์ต่อสายตา ขณะท่ี รศ.หลวิ หมน่ิ ซงิ อาจารยช์ าวไต้หวนั กล่าววา่ เปน็ ครง้ั แรกท่ี
นานาชาติ ได้มาเยือน มรภ.สงขลา ได้รับการต้อนรับอย่างอบอุ่นและดูแลอย่างดี
เหมอื นอยบู่ า้ นหลงั ที่ 2 กอ่ นหนา้ นเี้ คยมาเมอื งไทยแลว้ 4 ครงั้ รสู้ กึ ชอบ
ดา้ น หลนิ ซนิ นกั ศกึ ษาสาวจากประเทศไตห้ วนั กลา่ ววา่ รสู้ กึ ชน่ื ชอบ วิถชี ีวติ ของคนท่ีนี่ ซึง่ ดูสบายๆ ไมเ่ รง่ รบี
วัฒนธรรมไทย นักศึกษาท่ีนี่มีมารยาทมาก เวลาเดินสวนกันก็จะย้ิมให้
ด้วยความเป็นมิตร ตนชอบทุกอย่างตั้งแต่ท่ีพักท่ีทางมหาวิทยาลัยจัดให้ อาจารยเ์ ผงิ อชู่ นุ กลา่ วปิดท้ายวา่ นักศึกษาทนี่ มี่ มี ารยาทและยกมือ
กิจกรรมสนุกๆ ทุกกิจกรรม รวมถึงอาหารอร่อยๆ และเพ่ือนนักศึกษา สวัสดีดว้ ย บางคนพูดทกั ทายเป็นภาษาจนี อยากขอบคุณทางคณาจารย์
มรภ.สงขลา ท่ีคอยดูแลอยา่ งดี พาไปทอ่ งเที่ยวชมเมอื งและสถานท่ีสวยๆ มรภ.สงขลา ทีใ่ หก้ ารดแู ลอยา่ งเต็มที่

22 ปารฉิ ัตร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา

ม อ ง ผ่ า น เ ล น ส์

๑. พิธรี �ำ ลึกพระคุณครู ๓. ประชมุ เครอื ข่ายมหาวิทยาลัยราชภฏั เขตภมู ศิ าสตร์ภาคใต้

เมื่อวนั ที่ ๒๕ กรกฎาคม ทีผ่ ่านมา องค์การนกั ศกึ ษาภาคปกติ จัดพิธี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นำ�โดย ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม
ไหว้ครูและกิจกรรมรำ�ลึกพระคุณครู ประจำ�ปีการศึกษา ๒๕๖๒ โดยมี อธกิ ารบดี จดั โครงการประชมุ เครอื ขา่ ยมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เขตภมู ศิ าสตร์
ผศ.ดร.นวิ ตั กลนิ่ งาม อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา เปน็ ประธาน ภาคใต้ เพื่อร่วมทบทวนยุทธศาสตร์และหาแนวทางการบริหาร
ในพิธี กล่าวให้โอวาทและมอบประกาศเกียรติคุณแก่ผู้นำ�นักศึกษา ซ่ึง มหาวิทยาลัยในอนาคต เพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงของสถาบัน
กิจกรรมน้ีจัดข้ึนเพื่อแสดงความกตัญญูกตเวทีต่อครู อาจารย์ ผู้มีพระคุณ อดุ มศึกษาไทย เมอื่ วนั ท่ี 18 กรกฎาคม ท่ผี า่ นมา ณ ห้องประชมุ สภา
ในการอบรมสง่ั สอนและประสทิ ธป์ิ ระสาทวทิ ยาการความรแู้ กศ่ ษิ ย์ ตลอดจน ส�ำ นกั งานอธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏสงขลา
เพื่อความเป็นสิริมงคลในโอกาสเปิดภาคการศึกษาใหม่ และยังเป็นการ
อนุรักษว์ ัฒนธรรมประเพณีอันดงี ามของไทยอกี ดว้ ย ๔. ประชมุ หารอื ด้านการจัดการเรียนการสอน

๒. รณรงค์ท�ำ ลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกนา้ํ ยงุ ลาย

กองพัฒนานักศึกษา สำ�นักงานอธิการบดี และนักศึกษามหาวิทยาลัย ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
ราชภัฏสงขลา ร่วมกิจกรรมรณรงค์ทำ�ลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกนำ้�ยุงลาย พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ประชุมหารือด้านการจัดการเรียนการสอน
ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก เพ่ือเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ รว่ มกบั คณะผบู้ รหิ าร และตวั แทนสมาคมสมาพนั ธโ์ รงเรยี นเอกชนภาคใต้
พระวชริ เกลา้ เจา้ อยู่หัว เน่ืองในโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา 67 พรรษา ณ ห้องประชุมช้ัน 7 สำ�นักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม ทีผ่ า่ นมา ณ ลานอเนกประสงค์หน้าเทศบาลเมอื ง เมอื่ วันที่ 3 กรกฎาคม ท่ีผ่านมา
เขารปู ช้าง

นศ.เทคโนโลยบี ัณฑิต พัฒนาวัด สืบสานพระพุทธศาสนา

นกั ศกึ ษาหลกั สตู รเทคโนโลยบี ณั ฑติ มรภ.สงขลา กวา่ 100 ชวี ติ รว่ มพฒั นาวดั 23ปาริฉตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
สบื สานพระพทุ ธศาสนา สรา้ งจติ ส�ำ นกึ รกั ษาความสะอาด

ผศ.ดร.วรี ะชยั แสงฉาย คณบดคี ณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการพัฒนาวัด สืบสานพระพุทธ
ศาสนา ณ ส�ำ นกั สงฆแ์ หลมขวัญ อ�ำ เภอเมอื งสงขลา ในวันท่ี 10 มถิ ุนายน และ
วนั ท่ี 10-11 กรกฎาคม ทผี่ า่ นมา วา่ วตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ท�ำ นบุ �ำ รงุ สบื สานพระพทุ ธ
ศาสนา สรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจในการเปน็ พระพทุ ธศาสนกิ ชนทดี่ ี และสง่ เสรมิ ให้
นกั ศึกษาหลกั สตู รเทคโนโลยีบณั ฑติ จ�ำ นวน 116 คน เข้ามามสี ่วนร่วมในการ
ดำ�รงไว้ซึ่งประเพณีและวัฒนธรรม ซ่ึงทางคณะฯ มุ่งหวังให้นักศึกษามีคุณธรรม
และจริยธรรม มีจิตสำ�นึกรับผิดชอบต่อสังคม และมีจิตสำ�นึกท่ีดีต่อสาธารณชน
โดยร่วมเป็นสว่ นหนงึ่ ในการรกั ษาความสะอาดและสมบตั ิของสว่ นรวม

ด้าน ผศ.กนั ต์ธมน สขุ กระจ่าง อาจารย์ประจำ�คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา ผูเ้ สนอ
โครงการ กลา่ ววา่ ปญั หาทพ่ี บมากในปจั จบุ นั คอื คนทม่ี าวดั ไมด่ แู ลรกั ษาความสะอาด สง่ ผลใหเ้ กดิ ความสกปรก
ผคู้ นยงั ขาดจติ ส�ำ นกึ ไมช่ ว่ ยกนั รกั ษาความสะอาด จงึ ท�ำ ใหต้ กเปน็ ภาระของบคุ ลากรและพระสงฆต์ อ้ งท�ำ ความ
สะอาดหนักขึ้น คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม เล็งเห็นถึงปัญหาและต้องการร่วมแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้น เพ่ือ
ท�ำ นบุ �ำ รงุ พระพทุ ธศาสนาและศาสนสถานใหค้ งอยกู่ บั ลกู หลานชาวพทุ ธสบื ตอ่ ไป จงึ จดั ท�ำ โครงการพฒั นาวดั
สืบสานพระพทุ ธศาสนา ในครัง้ น้ขี ึ้น โดยรว่ มกนั ซอ่ มแซมอุปกรณ์ตา่ งๆ ทช่ี �ำ รดุ และทำ�ความสะอาดหอ้ งน�ำ้
พ้นื หอ้ งโถง ตลอดจนทาสีส�ำ นกั สงฆ์แหลมขวัญ ใหม้ คี วามสวยงามมากยิ่งข้ึน


Click to View FlipBook Version