นศ. พฒั นานกกระทาแชแ่ ขง็ พรอ้ มปรงุ มหาว�ทยาลยั ราชภฏั สงขลา
ชนะเลศิ โครงการออมสนิ ๑๖๐ ถนนกาญจนวนชิ ตำบลเขารูปชา ง อำเภอเมืองสงขลา จังหวดั สงขลา ๙๐๐๐๐
โทร. ๐-๗๔๒๖-๐๒๐๐-๔ โทรสาร. ๐-๗๔๓๑-๒๗๒๖
๑๐ยวุ พัฒน์รักษ์ถ่นิ http://www.skru.ac.th/ Fm.105.75 MHz.
ID LINE : PR_SKRU
พลอากาศเอกประจิน จั่นตอง
_______________________________________
เย่ียมชมนิทรรศการแสดงผลงาน _ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__จดั_ง_า_น_“_เพ_ล_ง_ส_ง_ขล_า__ป_า๋ เ_ปร_ม_”__ ___________๓
_ป_ล_กู ข_้า_ว_พ_้ืนเ_ม_ือง_อ_ิน_ท_รีย_์_ร_่ว_มใ_จ_ป_กั ด_ำ�__ถ_วา_ย_ใน_ห_ล_ว_ง_ร_.๑_๐_ _____๔
๑๑ _ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__คว_า้ _ร_อง_ช_น_ะเ_ลศิ_อ_ัน_ด_บั _๒__ป_ร_ะก_ว_ด_ต_้นร_ว_ง_ผ_ง้ึ _ _____๕
_อ_อ_กภ_า_ค_ส_นา_ม_พ_ฒั _น_า_ส_ขุ ภ_า_พ_ช_มุ _ชน__“_ฅน_บ_้า_น_วัง_ห_อ_น_” _________๖
รว่ มจัดงานสืบศาสตร์ _ป_้ัน_อ_ส_ม_.น_อ้ _ย_ห_ล_กั _ส_ตู _รส_า_ธ_า_รณ__ส_ุขศ_า_ส_ต_รบ_ัณ__ฑิต_ __________๖
_ค_ร_ฯุ _จ_ดั _ง_าน__๑_๐_๐_ป_ี _๑_๐_๐_น_ว_ัต_ก_รร_ม_เร_ยี _น_ร_้ ู ____________๗
สานศลิ ป์ฯ ศิลปินแหง่ ชาติสัญจร _น_เิ ท_ศ_ฯ_อ_บ_ร_ม_ผ_ลิต_ค_ล_ิป_วิด_ีโ_อ_ส่ง_เ_สร_ิม_ท_่อ_งเ_ท_่ีย_วช_ุม_ช_น __________๘
_ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__ทำ�__“M__O_U_” _ธ_.ก_ร_ุง_ไท_ย_ _________________๙
๑๕ _ว_สิ า_ห_ก_จิ ช_มุ _ช_น_ผ_น_กึ _เค_รอื_ข_า่ _ย_๓__มห_า_’ล_ยั _ป_ร_ะก_ว_ด_ชดุ_ย_นู _ฟิ _อร_ม์ _ ____๑_๑
_ม_.G_a_ns_u__ป_ระ_เท_ศ_จ_ีน_เ_ยือ_น__ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__ _____________๑_๒
นศ.เทคโนโลยอี ุตสาหกรรม _เต_ร_ีย_ม_พร_อ้_ม_จ_ัด_แข_่ง_ข_ันก_ีฬ_า_ม_ห_าว_ิท_ย_าล_ยั_ฯ__ค_ร้ัง_ท_่ี _๔_๗_ _______๑_๒
_ค_ร_ุฯ_ท_�ำ _โค_ร_งก_า_ร__“ต_า_ม_รอ_ย_พ_อ่ _” ___________________๑_๓
๑๙คว้า ๓ รางวลั งานวจิ ัยพัฒนาท้องถ่นิ _ค_อ_นเ_ส_ริ ์ต_ม_ติ _ริ _ส_เพ_ล_งไ_ท_ย_ค_ร_ง้ั _ท_่ี ๖_ __________________๑_๔
_ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__จัด_ก_ิจ_ก_ร_รม_พ_ัฒ_น_า_ค_ุณ_ภ_า_พ_ชีว_ิต__น_ศ_.พ_เิ ศ_ษ_ ______๑_๔
_ท_อ_ดก_ฐ_ิน_ส_าม_คั_ค_ี _ณ__ว_ัด_ยา_ง_ท_อ_ง_(_ค_ลอ_ง_ร_ำ�)_ ____________๑_๖
_ส_ำ�น_กั _ศ_ิล_ป_ะฯ__สร_้า_ง_เค_ร_ือ_ข่า_ย_ค_น_รนุ่ _ใ_หม_่ ________________๑_๗
_ส_ำ�ร_ว_จ_ส_ขุ ภ_า_พ_ต_้น_ไม_้ _ป_ลุก_พ_ล_งั _อ_นุร_ัก_ษ_ส์ _ิ่งแ_ว_ด_ล_้อม_ __________๑_๗
_อ_าจ_า_ร_ย_เ์ ก_ษ_ตร_ศ_ึก_ษ_าก_า_ร_ใช_้ป_ร_ะโย_ช_น_์ _“ส_า_ห_รา่_ย_ผ_ม_น_าง_”_ ______๑_๘
_จ_ดั _อบ_ร_ม_เข_ยี _น_บท_ค_ว_า_มว_จิ _ยั _เพ_่ือ_ต_ีพ_มิ _พ_์เผ_ย_แพ_ร_ ่ ____________๒_๐
_บ_ูร_ณ_า_กา_ร_ง_าน_ว_ิจ_ยั __น�ำ_อ_ง_ค_์คว_า_ม_รถู้_า่_ย_ท_อด_ส_ู่ช_มุ _ช_น _________๒_๐
_“บ_ร_ร_พ_ต_ม_ณ_โี_รจ_น_”์ _ศ_ษิ _ยเ์_กา_่ ค_ร_ฯุ _ร_บั _โล_บ่ คุ_ค_ล_ตน้_แ_บ_บท_�ำ _ค_วา_ม_ด _ี ____๒_๑
_ม_อ_บเ_ก_ียร_ต_ิบ_ัต_ร_แส_ด_ง_ค_วา_ม_ข_อบ_ค_ณุ __“_ร_ังษ_ี_ร_ัต_น_ปร_า_ก_าร_”_ _____๒_๑
_ม_ร_ภ._ส_งข_ล_า__ร่ว_ม_ก_จิ _กร_ร_ม_น_อ้ _มร_ำ�_ล_ึก_ร_.๕_ ______________๒_๒
_ม_อ_งผ_า่_น_เล_น_ส_ ์ _____________________________๒_๓
คณะผจู้ ดั ท�ำ ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา ปที ่ี ๑๓ ฉบบั ท่ี ๖ ประจ�ำ เดอื น กนั ยายน-ตลุ าคม ๒๕๖๒
ทปี่ รึกษา : ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม, ผศ.ดร.ครวญ บวั ครี ,ี ดร.นราวดี บวั ขวญั , ผศ.ดร.ทศั นา ศริ โิ ชต,ิ นางสาวจริ ภา คงเขยี ว, นายพเิ ชษฐ์ จนั ทว,ี
นายฉลอง อาคาสวุ รรณ, นางสาวปัณฑติ า โชติช่วง
บรรณาธกิ าร : ลดั ดา เอง้ เถย้ี ว กองบรรณาธกิ าร : ชวฤทธ์ิ ทองเพ็ชรจนั ทร์, ป.ทัน มนตร,ี ปริญภรณ์ ชมุ มณี, สุพฒั น์ สุวรรณโณ, ธวัชชัย รงุ่ สวา่ ง, อภญิ ญา สุธาประดษิ ฐ์
โงทารน.ป๐ร-ะ๗ช๔า๒ส๖ัม-พ๐นั ๒ธ๐์ ๐ม-ห๔า,ว๐ิท๘ย๓า-ล๑ัย๙ร๖า๐ช๐ภ๐ัฏ๕สงขhลttาp:/:/๑w๖w๐w.ถskนrนu.กaาcญ.thจ/นวEน-ชิ mตa�ำilบ:ลpเrข@ารsูปkชruา้ .งacอ.tำ�hเภอFเMมอื.1ง0ส5ง.ข7ล5าMจHงั หz.วดั สงขลา ๙๐๐๐๐
ID LINE : PR_SKRU
มรภ.สงขลา จัดงาน “รำ�ลึก เพลงสงขลา ป๋าเปรม” นอกจากนั้น ท่านยังเดินทางมาทำ�กิจกรรมร่วมกับ มรภ.สงขลา
เชิดชูเกียรติคุณด้านการประพันธ์เพลงและดนตรี พลเอก เปรม อย่างต่อเน่ือง หนึ่งในน้ันคือการร่วมร้องเพลงกับวง SKRU BIG BAN
ตณิ สูลานนท์ อดตี ประธานองคมนตรี และรัฐบรุ ษุ 2 แผน่ ดิน และวง SKRU ORCHESTRA ในงาน“บทเพลงสงขลา...ปา๋ เปรม” เม่ือปี
พ.ศ.2555 ซงึ่ คอนเสริ ต์ ในครง้ั นน้ั พลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ ไดใ้ หเ้ กยี รติ
อาจารยจ์ ริ ภา คงเขียว รองอธกิ ารบดีฝา่ ยยุทธศาสตรก์ ารพัฒนา ร่วมขับร้องบทเพลงเธอในอ้อมแขน ที่ท่านเป็นผู้ประพันธ์เนื้อร้องเอง
นกั ศกึ ษาและคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) จากความประทบั ใจทม่ี ตี อ่ บทเพลง When the girl in your arms ของศลิ ปนิ
เปิดเผยว่า เม่ือวันท่ี 17 กันยายน ท่ีผ่านมา มรภ.สงขลา จัดงาน Cliff Richard นับเป็นบทเพลงที่ทา่ นโปรดปรานเปน็ พิเศษ ภาพความสขุ
“รำ�ลึก เพลงสงขลา ป๋าเปรม” ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติฯ รอยยม้ิ ของทา่ นในวนั นน้ั ยงั คงตราตรงึ อยใู่ นหวั ใจของทกุ คนมาจนทกุ วนั น้ี
โดยได้รับเกยี รตจิ าก นายวรี นนั ทน์ เพง็ จนั ทร์ ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สงขลา
(ในขณะนน้ั ) เป็นประธานในพิธีเปิด และร่วมรับชมการแสดง พร้อมด้วย ดงั นนั้ ในโอกาสทพี่ ลเอก เปรม ตณิ สลู านนท์ อดตี ประธานองคมนตรี
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดี มรภ.สงขลา หัวหน้าส่วนราชการ และรฐั บรุ ษุ ถงึ แกอ่ สญั กรรมครบ 100 วนั ทางมหาวทิ ยาลยั จงึ จดั งานแสดง
คณะผบู้ รหิ าร คณาจารย์ นกั เรยี น นกั ศกึ ษา และประชาชนผสู้ นใจเขา้ รว่ มชม ดนตรี รำ�ลึก เพลงสงขลา ป๋าเปรม โดยนำ�บทเพลงท่ีท่านได้ประพันธ์ไว้
การแสดงคอนเสิรต์ เปน็ จำ�นวนมาก มาขับร้องโดยอาจารย์ ศิษย์เก่า และแขกรับเชิญ ร่วมกับวง SKRU
ORCHESTRA เพ่ือรำ�ลึกถึงคุณูปการท่ีท่านมีต่อมหาวิทยาลัยนับเน่ือง
อาจารยจ์ ริ ภา กล่าวว่า การจัดงานในครั้งน้ีมีวัตถุประสงค์เพอ่ื ร�ำ ลกึ มาตราบปัจจุบัน และด้วยความเคารพรัก ความผูกพันท่ีบุคลากรและ
และเชิดชูเกียรติคุณด้านการประพันธ์เพลงและดนตรีของ พลเอก เปรม นักศึกษามีต่อพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ อดีตประธานองคมนตรี
ติณสูลานนท์ อดีตประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ 2 สมัย ตลอดจน และรัฐบรุ ษุ
เพอ่ื แสดงความกตญั ญกู ตเวทติ าทท่ี า่ นมเี มตตาตอ่ มรภ.สงขลา เปน็ เวลานาน
36 ปี โดยได้มอบทุนการศึกษามูลนิธิพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ 3ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา เปน็ มลู นธิ แิ รกในจงั หวดั สงขลา และใหท้ นุ เรอ่ื ยมา
ตราบปี 2561
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ลงพื้นท่ี ต.เกาะแตว้ การปลูกข้าวพ้ืนเมืองอินทรีย์ ร่วมใจปักดำ� ตามแนวพระราโชบายถวาย
ผนกึ ความรว่ มมอื ชมุ ชนท�ำ โครงการปลกู ขา้ วพนื้ เมอื งอนิ ทรยี ์ รว่ มใจ ในหลวงรชั กาลที่ 10 เพอ่ื ให้นกั ศกึ ษามคี วามรเู้ กีย่ วกบั วิธีการคดั เลือกและ
ปกั ดำ� ตามแนวพระราโชบายถวายในหลวงรัชกาลที่ 10 เกบ็ รกั ษาพนั ธข์ุ า้ วใหบ้ รสิ ทุ ธ์ิ รวมถงึ การจดั การดนิ และการเตรยี มตน้ กลา้ ขา้ ว
ในการปักด�ำ และรว่ มกันฟนื้ ฟูวฒั นธรรมประเพณีลงแขกเกี่ยวขา้ ว
ดร.มงคล เทพรตั น์ คณบดคี ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวทิ ยาลยั
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถงึ โครงการปลูกขา้ วพน้ื เมืองอนิ ทรยี ์ “เกษตรกรใช้แกะในการเก็บเกี่ยวข้าว ซ่ึงต้องใช้แรงงานคนในการ
ร่วมใจปักดำ� ตามแนวพระราโชบายถวายในหลวงรัชกาลที่ 10 ณ เก็บเกี่ยว ดังนั้น กิจกรรมท่ีทางคณะฯ จัดขึ้นจึงเป็นการสืบสานประเพณี
ต.เกาะแตว้ อ.เมอื งสงขลา เมื่อวนั ที่ 12 ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมาวา่ มรภ.สงขลา ลงแขกเก่ียวข้าวที่กำ�ลังเลือนหายไปจากสังคมเกษตรกรไทย และแสดง
มีพันธกิจจัดการศึกษาที่หลากหลาย ผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากรใน ให้เห็นถึงความร่วมมือกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับชุมชน ในการพัฒนา
ท้องถน่ิ ใหม้ คี ณุ ภาพและคณุ ธรรม และสามารถแขง่ ขนั ได้ นอกจากนน้ั ยงั มี ทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ขม้ แขง็ บนฐานของการมสี ว่ นรว่ ม ประเพณลี งแขกเกยี่ วขา้ วถอื เปน็
พนั ธกจิ บรกิ ารวชิ าการและถา่ ยทอดเทคโนโลยี เพอื่ พฒั นาทอ้ งถนิ่ ใหเ้ ขม้ แขง็ ประเพณไี ทยทแี่ สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความมนี �้ำ ใจชว่ ยเหลอื ซงึ่ กนั และกนั สามารถ
บนฐานของการมีส่วนร่วม ส่งเสริมและสืบสานโครงการอันเนื่องมาจาก สร้างความสมัครสมานสามัคคีให้เกิดขึ้นหมู่บ้าน ชุมชนท่ีอาศัยอีกด้วย”
พระบรมราโชบายและแนวพระราชด�ำ ริ ตลอดจนสง่ เสริม เผยแพร่ อนุรักษ์ รองคณบดฝี า่ ยวิจยั และบริการวชิ าการ กลา่ ว
สืบสาน และสร้างสรรค์ ศิลปะและวัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตรจงึ ด�ำ เนนิ โครงการตา่ งๆ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยบรู ณาการ ด้าน ดร.ภัทรพร ภกั ดีฉนวน อาจารยค์ ณะเทคโนโลยกี ารเกษตร
กบั การเรยี นการสอนและการมสี ่วนร่วมของบุคลากร นักศึกษา และชุมชน มรภ.สงขลา กลา่ วว่า โครงการทจ่ี ดั ขึ้นนี้มกี ารบรณู าการการเรยี นการสอน
เขา้ ดว้ ยกนั นกั ศกึ ษาไดเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั จิ ากสถานทจี่ รงิ กอ่ ใหเ้ กดิ ทกั ษะ
ผศ.ดร.อมรรัตน์ ชุมทอง รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ ความเช่ียวชาญในการปฏิบัติมากยิ่งข้ึน ท้ังยังเป็นความร่วมมือของ
คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ ในพนื้ ทช่ี มุ ชน ต.เกาะแตว้ กลมุ่ เกษตรกร ต.เกาะแตว้ ในการใชพ้ นื้ ที่ดงั กลา่ วให้นกั ศกึ ษาไดฝ้ กึ ปฏบิ ตั ิ
มกี ลมุ่ เกษตรกรทมี่ อี าชพี ท�ำ นา แตส่ ว่ นใหญไ่ มไ่ ดใ้ หค้ วามส�ำ คญั กบั การคดั และใช้เป็นแปลงสาธิตในการปลูกข้าวพ้ืนเมืองอินทรีย์ ขณะเดียวกัน
พันธ์ุข้าวและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์อย่างถูกวิธี จึงทำ�ให้พันธ์ุข้าวพื้นเมือง ตัวเกษตรกรเองก็ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปลูกข้าวพื้นเมือง
ท่ีเกษตรกรในชุมชนเกาะแต้วปลูกมีการปะปนพันธุ์ ส่งผลให้ได้ผลผลิตตำ่� อินทรยี แ์ บบปักดำ� ช่วยลดตน้ ทุนการผลิตได้อีกทางหนง่ึ
ทำ�ให้เกษตรกรไม่สามารถพึ่งตนเองได้ จำ�ต้องซ้ือเมล็ดพันธุ์จากภายนอก
ซงึ่ เปน็ การเพมิ่ ตน้ ทนุ การผลติ ทางคณะฯ เลง็ เหน็ ถงึ ความส�ำ คญั ของปญั หา ดร.ภัทรพร กล่าวอีกว่า ผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันลงแขกปักดำ�ข้าว
ดงั กลา่ ว และเพ่อื ตอบสนองต่อพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลัยในการด�ำ เนนิ งาน ในพ้นื ท่นี าประมาณ 3 ไร่ ซ่งึ เป็นการอนุรกั ษว์ ฒั นธรรมการทำ�นา อันเป็น
ตามพระบรมราโชบายอย่างยั่งยืน จึงจัดโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ประเพณีดั้งเดิมของอาชีพเกษตรกร จรรโลงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมอันดีงาม และสร้างความมีจิตอาสา
4 ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา ใหแ้ กน่ กั ศกึ ษา กอ่ ใหเ้ กดิ ความสามคั คใี นหมคู่ ณะระหวา่ งอาจารย์ บคุ ลากร
นักศึกษา เป็นการร่วมกันอนุรักษ์และสืบสานขนบธรรมเนียมประเพณี
อนั ดงี ามของไทย และเปน็ การพฒั นาทอ้ งถน่ิ ตามพระบรมราโชบายอยา่ งยง่ั ยนื
มรภ.สงขลา
ควา้ รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ ๒
ประกวดต้นรวงผึง้ ตน้ ไม้ประจำ� ร.๑๐
มรภ.สงขลา สดุ ปลมื้ ควา้ รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 2 สำ�หรับประวัติต้นรวงผ้ึงท่ีส่งเข้าประกวด ผศ.ดร.ไพโรจน์
ประกวดต้นรวงผ้ึง ต้นไม้ประจำ�รัชกาลที่ 10 เข้ารับโล่จาก ด้วงวิเศษ อธิการบดี มรภ.สงขลา ในขณะน้ัน มีแนวความคิดท่ีจะ
อธบิ ดีกรมป่าไม้ กราบบังคมทูลเสด็จ ทรงปลูกต้นไม้เพื่อเป็นสิริมงคลและเป็น
เกยี รตปิ ระวตั แิ กท่ างมหาวทิ ยาลยั ตลอดจนพสกนกิ รใน จ.สงขลา และ
เม่อื วันท่ี 18 กนั ยายน ทีผ่ ่านมา นายชยั สิทธิ์ บญุ รังศรี พนื้ ทภ่ี าคใต้ จงึ ประสานขอค�ำ แนะน�ำ ไปยงั ส�ำ นกั งานราชเลขานกุ ารใน
ปฏบิ ตั หิ นา้ ทหี่ วั หนา้ หนว่ ยอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา พระองค์ กองกิจการในพระองค์สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ
(มรภ.สงขลา) เป็นตัวแทนเข้ารับโล่รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สยามมกุฎราชกุมาร (ณ ขณะน้นั ) จึงทราบขอ้ มลู ว่าเมื่อครง้ั ทรงตาม
ประกวดต้นรวงผึ้ง ต้นไม้ประจำ�รัชกาลท่ี 10 จาก นายอรรถพล เสดจ็ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชนิ นี าถ เสดจ็ พระราชด�ำ เนนิ
เจรญิ ชนั ษา อธบิ ดกี รมปา่ ไม้ เนอ่ื งในวนั สถาปนา 123 ปี กรมปา่ ไม้ ไปยงั จ.เพชรบรุ ี และทอดพระเนตรเหน็ ตน้ รวงผง้ึ จงึ มพี ระราชประสงค์
โดยก่อนหน้าน้ีหน่วยอนุรักษ์พลังงานได้จัดส่งภาพต้นรวงผ้ึงที่ ให้ต้นรวงผึ้งเป็นต้นไม้ประจำ�พระองค์ เม่ือทราบความแล้ว
พระบาทสมเดจ็ พระวชริ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงปลกู ไวเ้ มอื่ ครง้ั เสดจ็ มาเปดิ ผศ.ดร.ไพโรจน์ จึงสืบเสาะพันธุ์กล้าต้นรวงผ้ึง โดยได้ต้นกล้า
อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 จากประชาชนในพ้ืนท่ี ต.เขารูปช้าง จำ�นวน 2 ต้น สำ�หรับใช้เป็น
เมือ่ วันท่ี 15 มนี าคม 2551 เข้ารว่ มการประกวด โดยคณะกรรมการ ต้นไม้ทรงปลูกในการเสด็จเปิดอาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติฯ
พจิ ารณาคดั เลอื กจากรปู ทรงล�ำ ตน้ สงู ใหญ่ สมดลุ สวยงาม ดอกสวยงาม มรภ.สงขลา
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม มีการดูแลรักษาที่ดี และพิจารณา
ในเรอื่ งอ่ืนๆ ตามที่คณะกรรมการผ้พู จิ ารณาเห็นสมควร 5ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
มรภ.สงขลา
ออกภาคสนามพัฒนาสขุ ภาพชุมชน
“ฅนบ้านวงั หอน”
ดร.วรพล หนนู นุ่ ประธานหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตร RRA 2. การพัฒนารปู แบบการจัดการทอ่ งเทีย่ วชมุ ชนท่ีคงสุขภาวะชมุ ชน
บัณฑิต คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏ ไว้ได้อย่างย่งั ยืน : กรณศี ึกษาชุมชนบา้ นวงั หอน 3. การพัฒนารปู แบบการ
สงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการออกภาคสนามพัฒนา ประยกุ ตก์ ารละเลน่ และกฬี าพน้ื บา้ นตามวฒั นธรรมดง้ั เดมิ ของชมุ ชนเพอื่ ใช้
สุขภาพชุมชน ของนักศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ในการพฒั นาสขุ ภาพชมุ ชน ซง่ึ เปน็ ความตอ้ งการทเ่ี รม่ิ ตน้ จากพนื้ ทท่ี ไ่ี ดแ้ จง้
ครั้งท่ี 15 “พัฒนาสุขภาพชุมชนฅนบ้านวังหอน” ณ หมู่ท่ี 5 ไวเ้ พอื่ ขอใชป้ ระโยชนใ์ นโอกาสตอ่ ไป และเพอื่ เปน็ การเพมิ่ พนู ความรู้ ทกั ษะ
บ้านวังหอน และเขตพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประสบการณ์ทางสาธารณสุขศาสตร์ในด้านการพัฒนาสุขภาพชุมชน
ตำ�บล (รพ.สต.) ต.วงั อ่าง อ.ชะอวด จ.นครศรธี รรมราช เม่ือเรว็ ๆ นี้ว่า ด้วยการออกปฏิบัติการจริงในสถานที่และเหตุการณ์จริง เพ่ือความเข้าใจ
ทางหลกั สตู รฯ ได้เปดิ ให้นกั ศึกษาช้ันปีท่ี 4 ภาคปกติ จำ�นวน 76 คน ตรงกันและมีทิศทางท่ีถูกต้องไปในรูปแบบเดียวกัน จนสามารถบรรลุ
ลงทะเบยี นเรียนรายวชิ าการเตรยี มฝกึ ประสบการณ์ทางสาธารณสขุ ศาสตร์ วัตถุประสงค์ของรายวิชาดังกล่าวได้อย่างดี และมีความสมบูรณ์แบบอันจะ
ณ หนว่ ยฝกึ ฯ ทเี่ ปน็ รพ.สต. ส�ำ นกั งานสาธารณสขุ อ�ำ เภอ โรงพยาบาลชมุ ชน เป็นประโยชนแ์ กน่ กั ศกึ ษาอย่างแทจ้ รงิ
และหนว่ ยงานในสงั กดั องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ ตา่ งๆ กอ่ นจะส�ำ เร็จการ
ศกึ ษา เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มและเสรมิ สรา้ งประสบการณใ์ นการพฒั นาสขุ ภาพ
ชุมชนและการจัดบริการวิชาการในสถานการณ์จริงให้แก่นักศึกษา ตลอดจน
เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาชีพระหว่างหลักสูตรสาธารณสุข
ศาสตรบัณฑิต กบั ภาคีเครอื ข่ายอน่ื ๆ ทเี่ กย่ี วข้อง
ดร.วรพล กล่าววา่ ในการออกภาคสนามฯ ครง้ั นน้ี ักศกึ ษาและอาจารยไ์ ด้
ก�ำ หนดท�ำ วจิ ยั รว่ มไปดว้ ยในเรอ่ื ง 1. การศกึ ษาสขุ ภาวะชมุ ชนบา้ นวงั หอน ดว้ ยเทคนคิ
มรภ.สงขลา ปัน้ อสม.น้อย
หลักสูตรสาธารณสขุ ฯ
คณะวิทยาศาสตร์ฯ มรภ.สงขลา พัฒนานักศึกษาปี 1
เป็น อสม.นอ้ ย หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรบณั ฑติ สรา้ งองค์ความรู้
การสาธารณสุขมูลฐานแนวใหม่เสริมประสบการณ์ตรงใหผ้ ู้เรียน
ดร.วรพล หนนู นุ่ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รสาธารณสขุ
ศาสตรบณั ฑติ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงโครงการพัฒนานักศึกษาช้ันปีที่ 1 ให้เป็น
อสม.นอ้ ย หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ ครงั้ ที่ 2 เมอื่ วนั ท่ี 20 กนั ยายน
ทีผ่ ่านมา ณ หอ้ งประชุมภมู พิ ฒั นา อาคารกองพัฒนานักศกึ ษา มรภ.สงขลา
ว่า โครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างองค์ความรู้ความเข้าใจและ
ส่งเสริมการมีเจตคติที่ดีเก่ียวกับการสาธารณสุขมูลฐานแนวใหม่ รวมถึง
ส่งเสริมการการจัดการเรียนการสอนด้วยการสร้างประสบการณ์ตรงให้กับ ประกอบด้วยกิจกรรมการเรียนรู้ฯ ดังนี้ คือ 1) การสาธารณสุขมูลฐาน
ผเู้ รยี น ซงึ่ เปน็ นกั ศกึ ษาหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ จ�ำ นวน 245 คน 2)ระบบสุขภาพภาคประชาชน 3) อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ�หมู่บ้าน
ให้สามารถนำ�องค์ความรู้และทักษะท่ีได้รับการฝึกปฏิบัติไปประยุกต์ใช้ใน (อสม.) 4) กฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ งกับ อสม. 5) การบรหิ ารจัดการ 6) สขุ ภาพดี
โอกาสต่างๆ ได้ เชน่ การเรียนวชิ าเอกในชัน้ ปีทส่ี ูงข้นึ การฝึกประสบการณ์ มสี ขุ 7) การใหบ้ รกิ ารสาธารณสขุ ทจี่ �ำ เปน็ 8) การสอื่ สารในการสาธารณสขุ
ทางสาธารณสุข เป็นต้น มลู ฐาน 9) การจัดท�ำ แผน/โครงการของชมุ ชน โดยชุมชนเพอื่ ชุมชน และ
ดร.วรพล กลา่ ววา่ หลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรบณั ฑติ ตระหนกั ถงึ 10) การเฝา้ ระวงั ควบคุม สนบั สนนุ การรักษา การปอ้ งกันโรคติดต่อ และ
ความส�ำ คญั ของการสรา้ งประสบการณต์ รงใหแ้ กผ่ เู้ รยี น จงึ จดั โครงการพฒั นา ปัญหาสาธารณสุขตามของบริบทพื้นท่ี ภายใต้การกำ�กับดูแลของอาจารย์
นกั ศกึ ษาชัน้ ปีท่ี 1 ให้เปน็ อสม.นอ้ ย ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2562 โดยฝกึ ให้ ผู้รับผิดชอบรายวิชา และคณะกรรมการหลักสูตรฯ เพื่อเป็นกิจกรรม
นักศึกษาช้นั ปีท่ี 2 ทล่ี งทะเบียนเรยี นในรายวิชาน้ี ได้ฝึกฝนการเป็นผูด้ ำ�เนินการเอง เสริมสร้างศักยภาพทางสาธารณสุขชมุ ชนให้แกน่ กั ศกึ ษา
6 ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
๑๐๐ครุศาสตร์ จดั งาน วชิ า ไดแ้ ก่ หลักสตู รและการสอน การศกึ ษาพเิ ศษ และ
ปี การบริหารการศึกษา ดังน้ัน การจัดงานในครั้งน้ีจึงถือ
เป็นการเปิดเวทีให้อาจารย์และนักศึกษาท้ังภายในและ
นวัตกรรมเรียนรู้ ภายนอกมหาวทิ ยาลยั ได้มีสว่ นรว่ มในการแสดงผลงาน
ดา้ นนวตั กรรมการเรยี นการสอน เนอื่ งในโอกาสครบรอบ
เปดิ เวทโี ชวผ์ ลงาน 100 ปี มรภ.สงขลา
สรา้ งเครือข่ายความรว่ มมอื ดา้ นการศึกษา
ด้าน อาจารย์นดิ ารนิ จุลวรรณ รองคณบดี
คณะครุศาสตร์ มรภ.สงขลา จัดงาน 100 ปี 100 นวตั กรรมการเรียนรู้ ฝา่ ยวชิ าการและวจิ ยั คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา ผเู้ สนอ
เฉลิมฉลองครบรอบการก่อตั้ง เปิดเวทีคณาจารย์ นักศึกษาแสดงผลงาน โครงการ กล่าวว่า คณะครุศาสตร์เป็นส่วนงานวิชาการ
พร้อมจัดประกวดการสอน หวังสร้างเครือข่ายความร่วมมือ ต่อยอดสู่การ ของมหาวิทยาลัยที่มีภารกิจหลักในการผลิต พัฒนาครู
พฒั นาทอ้ งถน่ิ และบุคลากรทางการศึกษา เพ่ือสนองนโยบายรัฐบาล
และความต้องการของทอ้ งถิ่นในเขตบรกิ าร อนั เปน็ การ
ดร.มนตรี เด่นดวง คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสงขลา สืบทอดบทบาทและภารกิจหลักด้านการฝึกหัดครูมา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เมอื่ เร็วๆ น้คี ณะครศุ าสตรจ์ ดั งาน 100 ปี 100 นวตั กรรม อย่างต่อเนื่อง นับต้ังแต่ปี พ.ศ.2462 ท่ีมีการเปิดรับ
การเรียนรู้ ณ อาคาร 68 คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา โดยไดร้ ับเกียรติจาก ผศ.ดร. นักเรียนการฝึกหัดครูในจังหวัดสงขลาเป็นคร้ังแรก
ทศั นา ศริ โิ ชติ รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรก์ ารผลติ บณั ฑติ เปน็ ประธานในพธิ เี ปดิ ซ่ึงอยู่ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระมหาธีรราชเจ้า
ซึ่งงานในครั้งนี้จัดขึ้นเพ่ือร่วมรำ�ลึกและเฉลิมฉลองในโอกาสท่ี มรภ.สงขลา ทม่ี พี ระประสงคป์ รบั ปรงุ และขยายการจดั การศกึ ษาอยา่ ง
มีการกอ่ ต้งั และพฒั นาการมาจนครบ 100 ปี ในปี พ.ศ. 2562 โดยมีการจดั อบรม รีบเร่งให้ทัดเทียมกับอารยประเทศ จึงจําเป็นต้องมีการ
เชิงปฏิบัติการ การแสดงผลงานทางวิชาการและนวัตกรรมการเรียนรู้ของแต่ละ ต ร ะ เ ต รี ย ม ค รู แ ล ะ เ พ่ื อ ร อ ง รั บ ก า ร ป ร ะ ก า ศ ใช้
หลกั สตู รฝา่ ยตา่ งๆ และ การประกวดการสอน (Teaching Contest) ในประเภทคลปิ พระราชบัญญัติการประกาศศึกษาในปี พ.ศ.2464
วิดีโอ ประเภทครูผู้สอน และ ประเภทนักศึกษา เพ่ือเป็นเวทีให้กับครู อาจารย์ ซงึ่ ถอื เปน็ กฎหมายเกยี่ วกบั การศกึ ษาภาคบงั คบั ฉบบั แรก
นกั ศกึ ษา และผสู้ นใจไดแ้ ลกเปลย่ี นความรู้ อนั จะน�ำ ไปสกู่ ารสรา้ งเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื ของประเทศไทย
ทางวิชาการ ก่อให้เกิดการพัฒนาผลงานวิจัย สร้างสรรค์งานวิชาการท่ีเข้มแข็ง
ตอบสนองความต้องการทางสังคมและประเทศชาติ รวมท้ังนำ�ความรู้ที่ได้จากการ 7ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
แสดงผลงานทางวชิ าการและนวตั กรรม ไปปรบั ใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ การพฒั นาทอ้ งถนิ่
ดร.มนตรี กลา่ ววา่ คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา ประกอบดว้ ย 12 หลกั สตู ร
จัดการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรีจํานวน 8 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ ครศุ าสตรบณั ฑติ สาขา
วิชาวทิ ยาศาสตร์ท่ัวไป คณิตศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย สังคมศกึ ษา พลศกึ ษา
การศกึ ษาปฐมวัย และ การศกึ ษาพิเศษ-ภาษาไทย ซึง่ ทางคณะฯ มคี วามรว่ มมือกับ
คณะตา่ งๆ ใน 5 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าวิทยาศาสตรท์ ่ัวไป คณติ ศาสตร์ ภาษาไทย
ภาษาอังกฤษ และ สังคมศึกษา อีกท้ังมีการสนับสนุนการผลิตหลักสูตร
ประกาศนยี บตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชพี ครู 1 สาขา และครศุ าสตรมหาบณั ฑติ อกี 3 สาขา
นิเทศฯ อบรมผลิตคลิปวิดีโอ
โปรโมทผลติ ภณั ฑ์และส่งเสริมทอ่ งเทย่ี วชมุ ชน
หลกั สูตรนิเทศศาสตร์ มรภ.สงขลา จดั อบรมผลติ คลปิ ตลอดจนชาวต�ำ บลเขารูปชา้ ง จ�ำ นวน 10 หมบู่ า้ น รวม 30 คน โดย
วิดีโอเพื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และส่งเสริมท่องเท่ียวชุมชน ผู้เข้าอบรมผลิตชิ้นงานในครั้งนี้ภายใต้โจทย์ของดีที่บ้านฉัน และได้
เทียบเชิญวิทยากรสอนตัดต่อคลิปวิดีโอ สร้างสื่อด้วยโทรศัพท์ นำ�เสนอของดีในชุมชนตัวเองอย่างเต็มที่ ทั้งในส่วนของผลิตภัณฑ์และ
มือถือผา่ นแอพพลเิ คช่ัน Kinemaster สถานทีท่ ่องเทีย่ วในชุมชน
ผศ.ดร.สรุ ะพรรณ์ จลุ สวุ รรณ คณบดคี ณะวทิ ยาการจดั การ อาจารยจ์ ฬุ ารตั น์ กลา่ วอกี วา่ ปจั จบุ นั โทรศพั ทม์ อื ถอื หรอื สมารท์ โฟน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) กล่าวระหว่างเปิดการอบรม ถือเป็นสื่อที่กำ�ลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย ทางหลักสูตรฯ
เชงิ ปฏบิ ตั กิ ารผลติ คลปิ วดิ โี อเพอื่ การประชาสมั พนั ธผ์ ลติ ภณั ฑแ์ ละสง่ เสรมิ จึงนำ�มาบูรณาการกับการเรียนการสอนเพ่ือให้เข้ากับยุคสมัย เนื่องจาก
การท่องเทย่ี วชมุ ชน เม่ือวนั ท่ี 8-9 ตลุ าคม ท่ผี า่ นมา ณ ห้องเธียเตอร์ เปน็ สอ่ื ทม่ี คี วามสะดวกในการใชง้ าน พกพาไดง้ า่ ย และสามารถผลติ ชน้ิ งาน
ช้ัน 7 อาคาร 66 คณะวิทยาการจัดการ มรภ.สงขลา วา่ หลกั สูตรนเิ ทศ ได้เทียบเท่ากับคอมพิวเตอร์ จึงมีการนำ�มาปรับใช้กับการเรียนการสอน
ศาสตรบัณฑติ จดั การอบรมในครงั้ ข้นึ โดยมุ่งหวังเพ่อื ประชาสัมพนั ธ์และ มากข้ึน นอกจากจะเป็นส่ือด้านการเรียนรู้แล้ว ยังสามารถนำ�มาผลิต
สง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชน ซง่ึ การจะแนะน�ำ สถานทท่ี อ่ งเทย่ี วไดด้ นี น้ั ชิ้นงานหรือสื่อต่างๆ ถือเป็นอีกหนึ่งกลยุทธ์ที่สามารถดึงดูดความสนใจ
คนในชมุ ชนยอ่ มรเู้ รอ่ื งในพน้ื ทไี่ ดด้ ที สี่ ดุ หากน�ำ เทคโนโลยที ท่ี างหลกั สตู ร ได้เป็นอย่างดี ไม่ว่าจะเป็นคำ�บรรยาย รูปภาพ หรือคลิปวิดีโอ ซึ่งเป็น
นเิ ทศศาสตรบณั ฑติ มอี ยู่ น�ำ มาผนวกกบั ของดใี นชมุ ชนเขารปู ชา้ ง ไมว่ า่ จะ ทางเลือกสำ�หรับบุคคลท่ีมีความสนใจในการผลิตคลิปวิดีโออย่างง่าย
เป็นผลิตภัณฑ์หรือสถานท่ีทอ่ งเท่ียว สงิ่ นี้คือเสนห่ ข์ องชมุ ชน เช่ือวา่ ท่าน ส�ำ หรบั น�ำ ไปใชใ้ นการประชาสมั พนั ธผ์ ลติ ภณั ฑแ์ ละสง่ เสรมิ การทอ่ งเทย่ี ว
สามารถทำ�อะไรได้หลายอย่าง และหากได้นำ�ไปปฏิบัติจริงก็จะเป็นอีก ของชมุ ชนได้อีกทางหนึ่ง
ช่องทางหน่ึงในการประชาสัมพันธ์เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวของชุมชน
ให้เปน็ ท่รี จู้ กั แกน่ กั ท่องเทย่ี วและสังคมมากยงิ่ ขนึ้ ด้าน ดร.ศภุ ฤกษ์ เวศยาสริ ินทร์ วทิ ยากร กลา่ วว่า ผเู้ ข้าร่วม
อบรมไดร้ บั ความรเู้ กย่ี วกบั เทคนคิ การผลติ คลปิ วดิ โี อเพอ่ื ดงึ ดดู ความสนใจ
ดา้ น อาจารยจ์ ฬุ ารตั น์ จลุ ภกั ด์ิ หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ คนในชมุ ชนและบคุ คลภายนอกชมุ ชน อกี ทง้ั ชว่ ยประชาสมั พนั ธช์ มุ ชนให้
คณะวทิ ยาการจดั การ มรภ.สงขลา ผเู้ สนอโครงการ กลา่ ววา่ การจดั อบรม เป็นที่รู้จักในวงกว้าง โดยการใช้โทรศัพท์มือถือหรือสมาร์ทโฟนเป็น
ในคร้ังน้ไี ด้รบั เกยี รตจิ าก ดร.ศุภฤกษ์ เวศยาสริ นิ ทร์ อาจารย์ประจำ� ตวั กลางในการถา่ ยและตดั ตอ่ คลิปวดิ โี อซง่ึ ใช้แอปพลิเคชนั่ Kinemaster
หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรบณั ฑติ เปน็ วทิ ยากรถา่ ยทอดความรใู้ นหวั ขอ้ ความส�ำ คญั พร้อมท้ังฝึกปฏิบัติผลิตคลิปวิดีโอประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์และส่งเสริม
ของสื่อดิจิทัลกับการประชาสัมพันธ์ผ่านส่ือโซเชียลมีเดีย เทคนิคการ การท่องเท่ียว ถือเป็นการช่วยพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งและสร้าง
ตดั ตอ่ วดิ โี อผา่ นแอพพลเิ คชนั่ Kinemaster การผลติ คลปิ วดิ โี อ พรอ้ มดว้ ย การมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน โดยบรู ณาการเขา้ กบั การเรยี นการสอนและการ
นักศึกษานิเทศศาสตร์ที่คอยให้คำ�แนะนำ�อย่างใกล้ชิดแก่กลุ่ม น�ำ การเรยี นร้ไู ปเผยแพรต่ อ่ ให้กับผูอ้ ่นื
เป้าหมาย ซึ่งเป็นผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์และการท่องเที่ยวชุมชน
8 ปาริฉตั ร วารสารเพ่ือการประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
มรภ.สงขลา ท�ำ “MOU” ธ.กรงุ ไทย
จับมอื รว่ มบริหารจัดการทางการเงิน
มรภ.สงขลา ผนกึ ธนาคารกรงุ ไทย ลงนามความรว่ มมอื และออกใบเสรจ็ รบั เงนิ บรจิ าคผา่ นชอ่ งทางอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (e-Donation)
อำ�นวยความสะดวกทางการเงินครบวงจร พัฒนาสู่การเป็น ด้วยการเชื่อมต่อกับกรมสรรพากร การรับชำ�ระเงิน ผ่านทาง
มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ-สังคมไร้เงินสด ตอบโจทย์ Smart เครอ่ื งรดู บตั ร EDC และ QR Code รวมถงึ ชอ่ งทางอน่ื ๆ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ
University 4.0 ในอนาคต และที่ขาดไม่ไดค้ ือบรกิ ารจัดการทางการเงิน ผา่ น KTB
Corporate Online ท่ีช่วยให้มหาวิทยาลัยสามารถจัดการกับระบบ
ผศ.ดร.ทัศนา ศิริโชติ รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์ ชำ�ระเงินได้อย่างครบวงจร ท้ังการจ่ายเงินเดือน รวมถึงดาวน์โหลด
การผลิตบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยวา่ รายงานทางการเงนิ ตา่ งๆ
เมือ่ วันที่ 2 กนั ยายน ทผี่ า่ นมา มรภ.สงขลา ลงนามในบันทึกขอ้ ตกลง
ความร่วมมือ (MOU) การบริหารจัดการทางการเงินผ่านระบบ ด้าน นายสพุ ร โสฬศ ผอู้ ำ�นวยการฝ่ายอาวโุ ส ผูบ้ รหิ าร
Krungthai Digital Platform ในโครงการ Smart University 4.0 สำ�นักงานภาคสงขลา ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) กล่าวว่า
@ SKRU รว่ มกบั นายสพุ ร โสฬศ ผอู้ �ำ นวยการฝา่ ยอาวโุ ส ผบู้ รหิ าร ธนาคารกรุงไทยมีความพร้อมท่ีจะให้บริการกับกลุ่มลูกค้า
สำ�นักงานภาคสงขลา ธนาคารกรุงไทย จำ�กัด (มหาชน) โดยมี มหาวทิ ยาลยั และหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ จะไดร้ บั เกยี รตจิ ากมหาวทิ ยาลยั
นายพิเชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี ่ายยทุ ธศาสตร์พัฒนาระบบการ อน่ื ๆ ในการขยายความรว่ มมือในด้านต่างๆ เพือ่ ใหเ้ กดิ การพฒั นาท่ี
บรหิ ารและพฒั นาหนว่ ยงาน นายฐปนพฒั น์ ปรชั ญาเมธธี รรม ผอู้ �ำ นวยการ ต่อเน่อื งและยัง่ ยนื ทัง้ นี้ กระทรวงการคลงั ไดก้ �ำ หนดหลักเกณฑ์และ
สำ�นักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบยี น ตลอดจนคณะผูบ้ ริหาร มรภ. วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับการจ่ายเงินการรับเงิน และการนำ�เงินส่งคลังของ
สงขลา รว่ มเปน็ สกั ขพี ยาน ซงึ่ ทง้ั สองฝา่ ยจะรว่ มมอื กนั พฒั นาสกู่ ารเปน็ ส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ (KTB Corporate Online)
มหาวิทยาลัยอัจฉริยะ (Smart University) และสังคมไร้เงินสด ส�ำ หรบั กลมุ่ ภาครฐั (GFMIS) เพอื่ ใหเ้ ปน็ ไปตามมตคิ ณะรฐั มนตรเี มอื่
(Cashless Society) โดยมธี นาคารกรงุ ไทยเปน็ ผู้ให้บริการด้านต่างๆ วันท่ี 22 ธันวาคม 2558 แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้าง
ผ่านนวัตกรรม Krungthai Digital Platform เพ่ืออ�ำ นวยความสะดวก พ้ืนฐานระบบการชำ�ระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ (National
ทางการเงินใหแ้ กค่ ณาจารย์ บคุ ลากร นักศึกษา และบุคคลภายนอก e-Payment Master Plan) ซงึ่ เปน็ ชอ่ งทางอ�ำ นวยความสะดวกใหแ้ ก่
ที่มาตดิ ตอ่ กบั มหาวิทยาลยั ประชาชน และภาคเอกชนท่ีจะชำ�ระเงินให้แก่หน่วยงานภาครัฐได้
อยา่ งสะดวกรวดเรว็ ยิ่งขึน้
ผศ.ดร.ทศั นา กลา่ ววา่ ความรว่ มมอื ระหวา่ ง มรภ.สงขลา กบั
ธนาคารกรุงไทย ท่ีร่วมลงนามกันในคร้ังนี้ ส่วนหนึ่งเกิดข้ึนจาก
ความมงุ่ มน่ั ของธนาคารกรงุ ไทยทต่ี อ้ งการสนบั สนนุ และรว่ มขบั เคลอื่ น
นโยบาย Thailand 4.0 ของรัฐบาล ผ่านนวัตกรรมต่างๆ อาทิ
บตั รอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (University Smart ID Card) การรับเงินบรจิ าค
9ปารฉิ ัตร วารสารเพือ่ การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
นศ. มรภ.สงขลา พฒั นานกกระทาแชแ่ ขง็ พรอ้ มปรงุ
ชนะเลิศโครงการออมสนิ ยุวพัฒนร์ กั ษ์ถิน่
นกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา โชวผ์ ลงานพฒั นานกกระทาแชแ่ ขง็ ด้าน ผศ.ดร.ทวีสิน นาวารัตน์ รองผู้อำ�นวยการฝ่ายวิจัยและ
พร้อมปรุง ช่วยเพ่ิมรายได้ชุมชน อ.สิงหนคร คว้ารางวัลชนะเลิศ ยทุ ธศาสตรส์ ถาบัน สถาบันวิจยั และพัฒนา มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ โครงการ
โครงการออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ พรอ้ มเปน็ ตวั แทนเขา้ แขง่ ขนั ระดบั ออมสนิ ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ เปน็ การบรู ณาการภมู ปิ ญั ญาและทรพั ยากรทอ้ งถน่ิ
ประเทศ เพอื่ สรา้ งกระบวนการในการเสรมิ สรา้ งและพฒั นา ยกระดบั ขดี ความสามารถ
และคณุ ภาพผลิตภัณฑใ์ หต้ อบสนองต่อความต้องการของตลาด ซง่ึ เป็นการ
ผศ.ดร.นิวัต กลิ่นงาม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา เสรมิ ความมน่ั คงในอาชพี และรายได้ การมวี นิ ยั ทางการเงนิ และศกั ยภาพใน
(มรภ.สงขลา) กลา่ วระหวา่ งเปน็ ประธานในพธิ นี �ำ เสนอผลงานของนกั ศกึ ษา การเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้แก่ประชาชนในแต่ละท้องถ่ิน เกิดผลท่ีย่ังยืน
โครงการออมสินยุวพัฒนร์ ักษ์ถิ่น เมื่อวนั ท่ี ๙ ตลุ าคม ท่ีผ่านมา ณ ศนู ย์ ในขณะเดยี วกนั นกั ศกึ ษาของ มรภ.สงขลา ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการเกดิ การเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ มรภ.สงขลา วา่ งานศนู ยเ์ ครอ่ื งมอื กลาง สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา เข้าใจในวิถีชีวิตเอกลักษณ์และภูมิปัญญาท้องถิ่น ตระหนักถึงความสำ�คัญ
มรภ.สงขลา ร่วมกับธนาคารออมสิน จัดกิจกรรมด้านการเสริมสร้างและ ของภูมิปัญญาไทยและทรัพยากรอันมีค่า เพ่ือจะช่วยกันจรรโลงรักษาให้
พัฒนาภูมิปัญญาท้องถ่ิน โดยมีนักศึกษาเข้าร่วมโครงการออมสินยุวพัฒน์ คงอยคู่ สู่ งั คมไทยสบื ไป อกี ทง้ั ยงั เปน็ การสนบั สนนุ และเสรมิ สรา้ งประสบการณ์
รกั ษถ์ น่ิ จ�ำ นวน ๗ ทมี จากคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะเทคโนโลยี ใหน้ กั ศกึ ษาไดต้ ระหนกั และรจู้ กั การรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม ชมุ ชน สง่ิ แวดลอ้ ม
การเกษตร และ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ ผลปรากฏวา่ ทีมนักศึกษาในนาม และประเทศชาติ
Food and design 0kd กลุ่มแหล่งเรียนรู้วิสาหกิจชุมชนบ่อเตี้ยฟาร์ม
นกกระทา อ.สิงหนคร จ.สงขลา ได้รับรางวัลชนะเลิศ เป็นตัวแทน
มหาวิทยาลัยไปแข่งขันในระดับประเทศ นอกจากจากนั้น ยังมีทีมท่ีได้รับ
รางวลั ชมเชยอกี ๓ รางวลั คอื กลมุ่ ไขเ่ คม็ กะทสิ ดใบเตย ต.เกาะแตว้ อ.เมอื ง
สงขลา กลุ่มแม่บ้านเกาะแต้ว หมู่ที่ ๖ ต.เกาะแต้ว และ กลุ่มขนมเปี๊ยะ
บ้านทา่ ขา้ ม อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
ผศ.ดร.นิวัต กล่าววา่ โครงการที่จดั ข้นึ นีจ้ ะชว่ ยสง่ เสรมิ ศักยภาพ
ของกลมุ่ วสิ าหกจิ กลมุ่ ผปู้ ระกอบ OTOP สรา้ งความไดเ้ ปรยี บในการแขง่ ขนั
นอกจากนั้น ยังเสริมสร้างประสบการณ์ในการเรียนรู้การทำ�งานเป็นกลุ่ม
ของนักศึกษา การทำ�งานต่อยอดองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ที่จะเป็น
แนวทางกอ่ เกดิ การพฒั นาศกั ยภาพเมอ่ื ออกสตู่ ลาดแรงงาน น�ำ ไปสกู่ ารสรา้ ง
ความมน่ั คงของรากฐานสงั คมจากพนื้ ฐานความเขา้ ใจของคนรนุ่ ใหม่ ซง่ึ การ
แก้ปัญหาความยากจนถือเป็นโยบายเร่งด่วนท่ีรัฐบาลให้ความสำ�คัญและ
ก�ำ หนดใหท้ กุ ภาคส่วนในสงั คมต้องผนกึ กำ�ลงั รว่ มกนั แกไ้ ขปญั หา ยกระดับ
คุณภาพชีวิตของประชาชนบนพื้นฐานความพอดีภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง ซงึ่ ในการดำ�เนนิ งานแก้ไขปญั หาความยากจนนั้น รัฐบาลตอ้ งการ
สร้างความเขม้ แขง็ ภายในประเทศด้วยการขับเคลอื่ นเศรษฐกจิ จากฐานราก
สนับสนุนให้มีการจัดต้ังกิจการที่เป็นประโยชน์แก่คนในชุมชน เพื่อผลิต
สินค้าหรือให้บริการ ส่งเสริมการจ้างงาน โดยไม่ได้มีเป้าหมายเพ่ือสร้าง
กำ�ไรอย่างเดียว แตเ่ พ่ือแกป้ ญั หา พฒั นาชมุ ชน สังคม หรอื สง่ิ แวดลอ้ มด้วย
10 ปาริฉัตร วารสารเพอื่ การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
พลอากาศเอกประจนิ จน่ั ตอง เยยี่ มชมนทิ รรศการแสดงผลงาน มรภ.สงขลา
เม่ือวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ท่ีผ่านมา งานศูนย์เคร่ืองมือกลาง
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) น�ำ ผลงาน
ของคณาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา มรภ.สงขลา ซง่ึ ประกอบด้วย กาแฟเห็ดแครง
จัดทำ�โดย อาจารย์สุรีย์พร กังสนันท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ไขเ่ คม็ กะทสิ ดสมนุ ไพร จดั ท�ำ โดยนกั ศกึ ษาคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
และ นกกระทาแปรรูปบ่อเตี้ยฟาร์ม จัดทำ�โดยนักศึกษาคณะเทคโนโลยี
การเกษตร ซ่ึงได้รับรางวัลจากการประกวดผลงานในโครงการออมสิน
ยวุ พฒั นร์ กั ษถ์ น่ิ ไปจดั นทิ รรศการในงาน “การประชมุ และแลกเปลยี่ นความ
คดิ เหน็ เกย่ี วกบั ขอ้ มลู เชงิ พน้ื ทใี่ นมหาวทิ ยาลยั กลมุ่ ภาคใต”้ ณ มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย จ.นครศรีธรรมราช โดยมี พลอากาศเอก
ประจิน จ่ันตอง ประธานคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์
วิจยั และนวัตกรรม วุฒิสภา เปน็ ประธาน พร้อมทั้งเขา้ เยยี่ มชมนิทรรศการ
แสดงผลงานของทางมหาวทิ ยาลยั โดยมี ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดี
มรภ.สงขลา พรอ้ มคณะ ให้การต้อนรบั
วิสาหกจิ ชุมชน ผนกึ เครือข่าย ๓ มหา’ลัย ประกวดชดุ ยูนิฟอร์ม
ชูแนวคิดความงดงามของวฒั นธรรม-วถิ ีชีวิตชาว ต.หวั เขา
วสิ าหกจิ ชมุ ชน จบั มอื มรภ.สงขลา ม.ทกั ษณิ มทร.ศรวี ชิ ยั
จัดประกวดชุดยูนิฟอร์มแกนนำ�ท่องเที่ยวชุมชน ต.หัวเขา ภายใต้
แนวคิดความงดงามของวัฒนธรรมและวิถีชีวิต เผยผลงานที่ชนะ
การประกวดจะถกู น�ำ ไปผลิตใชง้ านจริง
อาจารย์ชัยวัฒนภัทร เลาสัตย์ อาจารย์ประจำ�หลักสูตรการ
ออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา)
เปดิ เผยวา่ สืบเนอ่ื งจากชมุ ชนต�ำ บลหวั เขา อ�ำ เภอสงิ หนคร จงั หวัดสงขลา
ไดท้ �ำ งานรว่ มกบั กลมุ่ วสิ าหกจิ ชมุ ชน ภายใตช้ อ่ื “วสิ าหกจิ ชมุ ชนการทอ่ งเทย่ี ว
Ecotourism Songkhla Thailand” โดยได้รับการสนับสนุนจากภาคี
เครือข่ายต่างๆ วัตถุประสงค์เพื่อสร้างงานสร้างอาชีพให้กับคนในชุมชน
และพฒั นาการท่องเทย่ี วของชุมชนอย่างย่ังยืน
ดงั นน้ั เพอ่ื เปน็ การโปรโมทแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วของต�ำ บลหวั เขา ใหเ้ ปน็ ท่ี
รจู้ กั ทางวสิ าหกจิ ชมุ ชน Ecotourism Songkhla Thailand จงึ ด�ำ เนนิ โครงการ
ร่วมกับ ๓ มหาวิทยาลัยเครอื ขา่ ย ได้แก่ มรภ.สงขลา มหาวทิ ยาลัยทักษิณ
มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั (มทร.) และ รา้ น Songkhla Station
สถานีความสุข สถานีสร้างสรรค์ จัดการประกวดชุดยูนิฟอร์มแกนนำ�
การท่องเทีย่ วชมุ ชนตำ�บลหวั เขา ภายใต้แนวคดิ ความงดงามของวัฒนธรรม
และวิถีชีวิตชาวชุมชนตำ�บลหัวเขา ผู้ชนะเลิศรับเงินรางวัล ๖,๐๐๐ บาท
พร้อมเกียรติบัตรและของสมนาคุณ รองชนะเลิศอันดับหนึ่ง เงินรางวัล
๓,๐๐๐ บาท พรอ้ มเกยี รตบิ ตั ร และรองชนะเลศิ อนั ดบั สอง เงนิ รางวลั ๒,๐๐๐ บาท
พร้อมเกียรติบัตร โดยผลงานท่ชี นะการประกวดจะถูกน�ำ ไปผลิตจริง เพอ่ื ใช้
เป็นชดุ ยูนฟิ อรม์ ของแกนนำ�การทอ่ งเทย่ี วของชมุ ชนต�ำ บลหวั เขาต่อไป
11ปาริฉัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
ม.Gansu ประเทศจีน เยือน มรภ.สงขลา
เรยี นรภู้ าษา-วฒั นธรรมไทย
มรภ.สงขลา เดนิ หนา้ สร้างฐานความรว่ มมอื ทางวชิ าการระหวา่ งประเทศ เปดิ บา้ น
ต้อนรับ ม.Gansu Normal University for Nationalities จากจีน เขา้ อบรมหลักสูตรระยะส้ัน
ดา้ นภาษา วัฒนธรรมไทย พรอ้ มลงพน้ื ทเ่ี รยี นรวู้ ิถชี ีวติ คนในทอ้ งถน่ิ
ผศ.นาถนเรศ อาคาสุวรรณ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยว่า เมื่อเรว็ ๆ นีน้ กั ศึกษาและอาจารยจ์ าก
มหาวทิ ยาลยั Gansu Normal University for Nationalities ประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี
เดนิ ทางมายงั มรภ.สงขลา โดยมี ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดี มรภ.สงขลา ใหก้ ารตอ้ นรบั
เพ่อื เรียนร้คู วามงดงามของความเปน็ ไทย ทัง้ ในดา้ นภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม รวมทงั้ ศึกษา
วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนในพ้ืนท่ีจังหวัดสงขลาและสตูล สำ�หรับนำ�ไปประยุกต์ใช้และ
เผยแพรใ่ หบ้ คุ คลอื่นได้รับทราบ นอกจากนั้น ยงั เปน็ การสร้างฐานความร่วมมือทางวิชาการ
ระหว่างสองสถาบัน ในด้านการบริการวิชาการ การพัฒนานักศึกษา การพัฒนาหลักสูตร
การวิจัย และความรว่ มมืออื่นๆ ในอนาคต
ด้าน อาจารย์เอมอร อ่าวสกุล รองคณบดีฝ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ
การศกึ ษา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มรภ.สงขลา กลา่ ววา่ มรภ.สงขลา มภี ารกจิ หลกั
4 ประการดว้ ยกนั คอื การผลติ บณั ฑติ ท�ำ วจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ และ ท�ำ นบุ �ำ รงุ ศลิ ปวฒั นธรรม
ซ่ึงการบริการวิชาการถือเป็นภารกิจที่สำ�คัญประการหนึ่ง เนื่องด้วยมหาวิทยาลัยต้องนำ�
วิชาการและศาสตร์ความรู้ต่างๆ ไปให้บริการแก่บุคคลภายนอก คณะมนุษยศาสตร์และ
สงั คมศาสตรเ์ ปน็ หนว่ ยงานหนง่ึ ของมหาวทิ ยาลยั ทมี่ หี นา้ ทใี่ หบ้ รกิ ารความรแู้ กส่ งั คม ตระหนกั
ถึงความสำ�คัญในข้อนี้ จึงจัดอบรมหลักสูตรระยะสั้นด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยให้แก่
มหาวทิ ยาลยั Gansu Normal University for Nationalities เพอ่ื ใหเ้ รยี นรแู้ ละฝกึ ปฏบิ ตั เิ กย่ี วกบั
ภาษาไทยเพอ่ื การสอ่ื สาร ส�ำ หรบั การกลา่ วทกั ทาย การท�ำ ความรจู้ กั การซอ้ื ขาย การทอ่ งเทย่ี ว
ตวั อักษรไทย ตลอดจนเครือ่ งแต่งกาย เครอ่ื งดนตรี นาฏศิลป์ และ อาหารไทย
มรภ.สงขลา เตรียมความพรอ้ มเจ้าภาพจดั แขง่ ขนั กีฬามหาวทิ ยาลยั ฯ
ครั้งที่ ๔๗ รอบคดั เลือกเขตภาคใต้ “ปารฉิ ัตรเกมส์”
ภาพจากการแขง่ ขนั กฬี า คร้ังทีผ่ า่ นมา มรภ.สงขลา ประชมุ เตรยี มความพรอ้ มเปน็ เจา้ ภาพจดั แขง่ ขนั
กฬี ามหาวทิ ยาลยั แหง่ ประเทศไทย ครงั้ ท่ี 47 รอบคดั เลอื กเขตภาคใต้
12 ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา “ปารฉิ ัตรเกมส์” เปิดบ้านตอ้ นรบั 12 สถาบันการศึกษารว่ มชิงชยั
ดร.นกุล โสตถิพันธ์ุ ผู้ช่วยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า คณะกรรมการบริหารกีฬามหาวิทยาลัยแห่ง
ประเทศไทย เลง็ เหน็ ถงึ ความพรอ้ มของ มรภ.สงขลา จงึ มอบหมายใหเ้ ปน็ เจา้ ภาพ
จัดการแข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย รอบคัดเลือกเขตภาคใต้
ปารฉิ ตั รเกมส์ ในระหวา่ งวนั ท่ี 18-22 พฤศจกิ ายน 2562 จ�ำ นวน 6 ชนดิ กฬี า
มีสถาบนั อดุ มศกึ ษาเข้ารว่ มการแข่งขัน รวม 12 แหง่ มรภ.สงขลา จงึ ประชมุ
คณะทำ�งาน โดยมี อาจารย์จิรภา คงเขียว รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์
การพฒั นานกั ศกึ ษาและคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ เปน็ ประธาน พรอ้ มดว้ ยรองคณบดี
อาจารย์และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ผู้จัดการทีม ผู้ฝึกสอนกีฬาชนิดต่างๆ เพื่อ
เตรยี มความพรอ้ มทงั้ ในดา้ นสนามและสถานทจี่ ดั การแขง่ ขนั ตลอดจนพธิ เี ปดิ
การแสดง การตอ้ นรบั และจดั เลย้ี งรบั รองคณะผบู้ รหิ ารและนกั กฬี า รวมถงึ การ
ประชาสัมพันธ์และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศรายงานผลการแข่งขัน โดย
ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากทกุ คณะรว่ มเปน็ เจา้ ภาพจดั การแขง่ ขนั ในแตล่ ะชนดิ กฬี า
ทั้งนี้ เพ่ือเป็นการเสริมสร้างทักษะด้านกีฬาและส่งเสริมนักศึกษาให้มีความ
สามารถทางดา้ นกฬี าสูค่ วามเป็นเลศิ ตอ่ ไป
ครฯุ ท�ำ โครงการ “ตามรอยพอ่ ” คณบดีคณะครุศาสตร์ กล่าวอีกว่า มรภ.
สงขลา เป็นสถาบันอุดมศึกษาเพ่ือการพัฒนา
ป้ัน นศ.จติ อาสาฝกึ ประสบการณค์ วามเปน็ ครู ท้องถ่ิน มีขอบเขตพ้ืนท่ีให้บริการทางการศึกษา
ครอบคลุมท่ัวทุกจังหวัด ตระหนักและเห็นความ
คณะครศุ าสตร์มรภ.สงขลาสนองพระบรมราโชบาย ดร.มนตรี กล่าวว่า พระบรม ส�ำ คญั ในการสง่ เสรมิ ความรักความสามคั คี ความมี
ร า โ ช บ า ย ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ม เ ด็ จ ระเบียบวินัย เข้าใจสิทธิหน้าท่ีตนเองและผู้อ่ืน
ด้านการศึกษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอย่หู ัว จัดทำ�โครงการ พระเจ้าอยู่หัวรชั กาลท่ี 10 การศกึ ษาตอ้ ง ภายใต้พ้ืนฐานของสังคมของคนในชาติ โดยนำ�
มงุ่ สรา้ งพน้ื ฐานใหแ้ กผ่ เู้ รยี น 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ มี รปู แบบการจัดกิจกรรมค่ายวิชาการให้กับนักเรียน
ตามรอยพ่อ ป้ันนักศึกษาจิตอาสาฝึกประสบการณ์ความ ทศั นคตทิ ถ่ี กู ตอ้ งตอ่ บา้ นเมอื ง หมายถงึ ตอ้ ง ในโรงเรยี นกองทนุ การศกึ ษา ใหม้ คี วามรคู้ วามเขา้ ใจ
มีความรู้ความเข้าใจต่อชาติบ้านเมือง และนำ�ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน ในการมี
เปน็ ครู สรา้ งเจตคตทิ ด่ี แี กเ่ ดก็ ในโรงเรยี นกองทนุ ฯ ยึดม่ันในศาสนา มั่นคงในสถาบัน ทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง มีพ้ืนฐานชีวิตท่ี
พระมหากษัตริย์ และมีความเอื้ออาทรต่อ ม่ันคง มีคุณธรรม มีงานทำ� มีอาชีพและเป็น
ดร.มนตรี เดน่ ดวง คณบดคี ณะครุศาสตร์ ครอบครัวและชุมชนของตน มพี ้ืนฐานชวี ติ พลเมืองดี โดยนำ�หลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เปดิ เผยถงึ ทม่ี น่ั คง มคี ณุ ธรรม หมายถงึ ใหร้ จู้ กั แยกแยะ อันจะนำ�ไปสู่สังคมที่มีความเข้มแข็ง ม่ันคงและ
โครงการตามรอยพ่อ เมอื่ วันท่ี 6 ตุลาคม ที่ผ่านมา สงิ่ ทผ่ี ิด-ทถ่ี กู ส่งิ ชั่ว-สง่ิ ดี เพอื่ ปฏบิ ตั แิ ตส่ ง่ิ ยง่ั ยืนต่อไป
ณ ร.ร.บ้านคนู ายสังข์ ว่า เปน็ โครงการจิตอาสาของ ทช่ี อบทด่ี งี าม ปฏเิ สธสง่ิ ทผี่ ดิ ทช่ี วั่ เพอื่ สรา้ ง
นักศึกษาคณะครุศาสตร์ ที่รวมกลุ่มข้ึนมาเพื่อฝึก คนดีให้แก่บ้านเมือง มีงานทำ� มีอาชีพ ดา้ น นายปรมนิ ทร์ ชนะภัย นักศกึ ษา
ประสบการณใ์ นดา้ นความเปน็ ครู และสรา้ งเจตคตทิ ด่ี ี หมายถงึ ต้องใหเ้ ดก็ รกั งาน สงู้ าน ทำ�งาน ชน้ั ปที ่ี 3 วชิ าเอกสงั คมศกึ ษา คณะครศุ าสตร์ มรภ.
ในการเรียนให้แก่นักเรียนในโรงเรียนกองทุนเพ่ือ จนสำ�เร็จ อบรมให้เรียนรู้การทำ�งาน ให้ สงขลา ประธานโครงการตามรอยพ่อ กล่าวว่า
การศึกษาในพื้นท่ี จ.สงขลา รวม 3 แห่ง คือ สามารถเลี้ยงตัวและเลี้ยงครอบครัวได้และ สง่ิ ทปี่ ระทบั ใจทสี่ ดุ ในการท�ำ จติ อาสาจดั กจิ กรรมใน
ร.ร. บา้ นคนู ายสงั ข์ อ.จะนะ ร.ร.บา้ นปา่ โอน อ.เทพา เปน็ พลเมอื งดี หมายถึง การเปน็ พลเมอื งดี โรงเรียน คอื การได้เห็นภาพของนอ้ งๆ นกั เรยี นมี
และ ร.ร.บ้านกระอาน อ.เทพา โดยนอ้ มนำ�พระบรม เป็นหน้าท่ีของทุกคน สถานศึกษาและ ความสุขจากการเข้าร่วมโครงการ เป็นภาพ
ร า โ ช บ า ย ด้ า น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ สถานประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคน สะท้อนกลับที่ทำ�ให้หายเหน่ือย เพียงแค่ได้เห็น
พระเจา้ อย่หู วั ร่วมกับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง ทรง มีโอกาสทำ�หน้าท่ีพลเมืองดี การเป็น รอยยม้ิ ของนอ้ งๆ ทสี่ �ำ คญั รสู้ กึ ภมู ใิ จเปน็ อยา่ งมาก
สร้างภูมิคุ้มกันให้พสกนิกรชาวไทยด้วยการดำ�เนิน พลเมืองดีหมายถึงการมีนำ้�ใจ มีความ ที่ได้น้อมนำ�พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของ
ชีวิตในแบบเรียบง่าย และก้าวเดินอย่างเป็นข้ันตอน เอื้ออาทร ต้องทำ�งานอาสาสมัคร พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ร่วมกบั แนวคิดหลกั
ภายใต้ความเปลี่ยนแปลงท่ีซับซ้อนของสังคมต่างๆ งานบำ�เพ็ญประโยชน์ “เห็นอะไรท่ีจะทำ� เศรษฐกจิ พอเพยี ง มาบรณู าการในการจดั กจิ กรรม
มากมาย เศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาท่ีพระองค์ทรงมี เพอ่ื บา้ นเมอื งได้กต็ ้องทำ�” เพ่ือสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนให้กับนักเรียน
พระราชดำ�รัสช้ีแนะแนวทางการดำ�เนินชีวิตมาอย่าง ในโรงเรียนกองทุนเพ่ือการศึกษา นอกจากนั้น
ยาวนาน ยังคงใช้ได้กับทุกยุคสมัย และเป็นสิ่งท่ี กิจกรรมในคร้ังน้ียังทำ�ให้เกิดแรงผลักดันในการ
องคก์ ารสหประชาชาตไิ ดย้ �้ำ กบั ประเทศตา่ งๆ ทว่ั โลก เปน็ ครูมากยิง่ ขึ้นดว้ ย
วา่ เปน็ ตัวอยา่ งที่น่าจะท�ำ ตาม
13ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
มจรดั ภแ.สสงดขงลผาลงานทางดนตรไี ทย “เมอ่ื ลมหวนหา”
ปรวิ ัฏกาลบูชา ๙๙ ปี ครจู ำ�เนียร ศรีไทยพันธุ์
คณะศิลปกรรมฯ มรภ.สงขลา จัดคอนเสิร์ตมิติรสเพลงไทย
คร้ังที่ 6 เชิดชูเกียรติ “ครูจำ�เนียร ศรีไทยพันธ์ุ” ศิลปินแห่งชาติสาขา
ศิลปะการแสดง ปี 2536 ต้นแบบทางเพลงปี่และขลุ่ยนักศึกษา
ดนตรไี ทย
ผศ.ดร.ไชยวุธ โกศล คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมอื่ วนั ท่ี 7 ตลุ าคม ทผี่ ่านมา นกั ศกึ ษา
ชั้นปที ี่ 4 สาขาวชิ าดนตรไี ทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
(มรภ.สงขลา) แสดงผลงานทางดนตรีไทยในคอนเสิร์ตมิติรสเพลงไทย คร้ังที่ 6
“เม่ือลมหวนหา” ปริวัฏกาลบูชา 99 ปี ครูจ�ำ เนียร ศรีไทยพนั ธุ์ ณ โรงละคร
ช้ัน 4 คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มรภ.สงขลา เพ่ือเป็นการเฉลมิ ฉลองครบรอบและ
ร�ำ ลกึ ถงึ ครจู �ำ เนยี ร ศรไี ทยพนั ธ์ ศลิ ปนิ แหง่ ชาตสิ าขาศลิ ปะการแสดง (ดนตรไี ทย) ประจ�ำ ปพี ทุ ธศกั ราช 2536
นอกจากนนั้ ยงั เปน็ การแสดงศกั ยภาพดา้ นทกั ษะดนตรขี องนกั ศกึ ษาหลกั สตู รศลิ ปกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขา
วิชาดนตรไี ทย มรภ.สงขลา ตลอดจนศกึ ษาองค์ความรขู้ องศิลปนิ แหง่ ชาตดิ ้านศลิ ปะการแสดง (ดนตรีไทย)
ผศ.ดร.ไชยวธุ กลา่ ววา่ ครจู �ำ เนยี ร ศรไี ทยพนั ธ์ุ เปน็ ครขู องตนสมยั เรยี นปรญิ ญาตรี คณะครศุ าสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ช่วงปี 2531-2534 เม่ือเรียนจบท่ีน่ันแล้วยังมีโอกาสไปเรียนกับท่านที่บ้านที่
อ.สามพราน จ.นครปฐม จนทา่ นเสยี ชีวติ เม่ือปี 2540 โดยได้ถ่ายทอดวชิ าการเปา่ ป่ี เปา่ ขลยุ่ ตั้งแต่พ้ืนฐาน
จนถึงเพลงเดี่ยวข้นั สูง ตลอดจนเพลงหนา้ พาทย์ไหวค้ รู อันเปน็ เพลงชน้ั สงู ของวงการดนตรีไทย ซึง่ ในเวลา
ต่อมาตนได้นำ�แบบแผนการเป่าปี่ เป่าขลุ่ยของท่าน มาถ่ายทอดให้กับนักศึกษาคณะศิลปกรรมศาสตร์
มรภ.สงขลา มาตง้ั แต่ท�ำ งานที่น่ี ดังนัน้ จงึ อาจเรยี กได้ว่าทางเพลงปแ่ี ละขลุย่ ของ มรภ.สงขลา เปน็ เพลงในสาย
ของครจู �ำ เนยี ร การจดั แสดงดนตรีมิตริ สเพลงไทย ครง้ั ที่ 6 ในครง้ั น้ี จงึ มีจดุ มุ่งหมายเพ่ือเชดิ ชคู รจู �ำ เนียร ศรีไทยพนั ธ์ุ
ในฐานะครตู ้นแบบทางเพลงป่ีและเพลงขลยุ่ ของนกั ศึกษาสาขาวิชาดนตรไี ทย
มรภ.สงขลา จัดกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต นศ.พิเศษ
สอนท�ำ ธุรกจิ สรา้ งอาชพี หลงั เรยี นจบ เสริมทักษะอยู่รว่ มสงั คม
มรภ.สงขลา ทำ�โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้พิการ ด้านการจัดทำ�ธุรกิจให้กับบุคคลพิการและนักศึกษาพิเศษใน
ตลอดเดือน ก.ย. 62-มี.ค.63 ฝึกนักศึกษาพิเศษทำ�ธุรกิจ มหาวิทยาลัย เพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างอาชีพ สามารถนำ�
เตรยี มพรอ้ มสรา้ งอาชพี หลงั เรยี นจบ ควบคเู่ สรมิ ทกั ษะอยรู่ ว่ มกบั ความรไู้ ปประกอบอาชพี หลกั หรอื สรา้ งรายไดเ้ สรมิ หลงั ส�ำ เรจ็ การศกึ ษา
ผอู้ น่ื ในสังคม ทั้งยงั ชว่ ยสง่ เสรมิ คุณภาพชีวติ ให้สามารถอย่ใู นสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ
และเป็นโอกาสในการเผยแพร่ผลงานศิลปะของนักศึกษาพิการ
ผศ.ดร.โสภณ ชัยวัฒนกุลวานิช รักษาการผู้อำ�นวยการ โดยภายในงานมีการจัดแสดงนิทรรศการความรู้ด้านการศึกษาพิเศษ
สถาบนั พฒั นาการศกึ ษาพเิ ศษ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) และเปดิ ใหเ้ ยย่ี มชมศลิ ปะภาพวาดผลงานของนกั ศกึ ษาทมี่ คี วามบกพรอ่ ง
เปิดเผยถึงโครงการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตบุคคลพิการ ทางการได้ยิน ซ่ึงผู้เข้าชมงานสามารถเป็นส่วนหน่ึงในการสนับสนุน
ตลอดเดือนกันยายน 2562-มีนาคม 2563 ณ สถาบันพัฒนาการ ผลงานของบุคคลพิการ
ศึกษาพิเศษ มรภ.สงขลา ว่า เป็นกิจกรรมฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
14 ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา ผศ.ดร.โสภณ กล่าวว่า สถาบันพัฒนาการศึกษาพิเศษ
มรภ.สงขลา มหี นา้ ทใี่ นการฟนื้ ฟสู มรรถภาพเดก็ ทม่ี คี วามตอ้ งการพเิ ศษ
และบุคคลพิการ ตลอดจนให้บริการสนับสนุนนักศึกษาพิการใน
มหาวิทยาลัย โดยมีปรัชญาที่ว่า พัฒนาเด็กพิเศษด้วยเมตตาธรรม
นำ�วิชาการ ประสานชุมชน และมีวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน คือ มุ่งเน้น
บริการทางการศึกษาพิเศษที่มีมาตรฐาน บนพื้นฐานความร่วมมือของ
ครอบครวั และชมุ ชน นอกจากนน้ั ยงั ไดว้ างแนวทางการด�ำ เนนิ นโยบาย
เพ่ือขับเคล่ือนและส่งเสริมให้บุคคลพิการได้เรียนรู้ทักษะการอยู่ร่วมกับ
บุคคลอื่นในสังคม และฝึกปฏิบัติการดำ�เนินธุรกิจเพื่อการสร้างอาชีพ
ในอนาคต
มรภ.สงขลา
ผนกึ เครอื ขา่ ยทางวฒั นธรรม-สถาบนั การศึกษา
จดั งานสบื ศาสตร์ สานศิลปฯ์ ศิลปินแห่งชาตสิ ญั จร
มรภ.สงขลา จบั มอื กรมสง่ เสรมิ วฒั นธรรม ม.ทกั ษณิ มทร.ศรวี ชิ ยั
ร.ร.มหาวชิราวุธ จดั งานสืบศาสตร์ สานศิลป์ฯ : ศิลปนิ แหง่ ชาติสัญจร
น้อมส�ำ นึกพระมหากรุณาธคิ ุณ ร.๙ ในฐานะทรงเปน็ อัครศิลปนิ
อาจารยโ์ อภาส อสิ โม ผ้อู ำ�นวยการสำ�นกั ศิลปะและวัฒนธรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า สำ�นักศิลปะฯ
ร่วมกับกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม กระทรวงวฒั นธรรม สำ�นักงานวฒั นธรรม
มหาวทิ ยาลยั ทกั ษณิ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั และ โรงเรยี น
มหาวชริ าวุธ จดั งานสบื ศาสตร์ สานศลิ ป์ ศิลปนิ แหง่ ชาติ : ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ
สัญจร 2562 ระหว่างวันท่ี 1-2 กันยายน ท่ีผ่านมา ณ โรงเรียนมหา และเผยแพร่ศิลปะและวัฒนธรรมท่ีดีงามให้คงอยู่อย่างยั่งยืน ดังน้ัน จึงถือ
วชริ าวธุ จ.สงขลา เพอ่ื นอ้ มส�ำ นกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ เป็นมงคลชีวิตอย่างย่ิงที่ตนมีโอกาสเป็นผู้ช่วยวิทยากรศิลปินแห่งชาติ
พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ใน อาจารย์วนิดา พึ่งสุนทร ซ่งึ เปน็ ปรมาจารย์ดา้ นสถาปตั ยกรรมท่ีออกแบบ
ฐานะทรงเปน็ อคั รศลิ ปนิ และเพอ่ื ใหป้ ระชาชนเจรญิ รอยตามพระยคุ ลบาท งานไวใ้ หแ้ ผน่ ดนิ มากมาย ศลิ ปนิ แหง่ ชาตคิ อื ครขู องแผน่ ดนิ เปน็ พลงั ใจทเ่ี ตมิ เตม็
สบื สานพระราชปณธิ านการอนรุ กั ษ์ สบื สาน มรดกศลิ ปวฒั นธรรมของชาติ แก่เยาวชน และเป็นแบบอย่างสูงสุดของวิชาชีพ ตนรู้สึกเป็นเกียรติที่ได้มี
ทั้งยังเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพิ่มพูนทักษะและความคิดสร้างสรรค์ โอกาสเป็นผู้ช่วยของท่านทำ�ให้สามารถนำ�มาปรับการบริหารศิลป์ เพราะ
ดา้ นศิลปะให้แกอ่ าจารย์ นกั ศกึ ษา เยาวชนและประชาชนทัว่ ไป โดยตนได้ มากกวา่ ความเขา้ ใจวา่ ศลิ ปะคอื อะไร คอื ความซาบซงึ้ ในศาสตร์ ศลิ ป์ สบื สาน
เข้าร่วมพิธีเปิดและรับมอบของที่ระลึกจาก นายกฤษศญพงษ์ ศิริ อาจารย์ชนางลักษณ์ ขุนทอง กล่าวถึงความประทับใจต่องาน
ปลดั กระทรวงวฒั นธรรม ดังกล่าวว่า ตนมีโอกาสได้พบกับศิลปินแห่งชาติที่มารวมตัวกันอย่างใกล้ชิด
อาจารยโ์ อภาส กลา่ ววา่ มรภ.สงขลา ไดแ้ ตง่ ตงั้ คณาจารยข์ องทาง ทำ�ให้รู้สึกกลับไปเป็นนักเรียนหรือนักศึกษาตัวเล็กๆ ที่ครูก้มมองเราด้วย
มหาวทิ ยาลยั ท�ำ หนา้ ทเี่ ปน็ ผชู้ ว่ ยวทิ ยากรศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ไดแ้ ก่ ดร.กมลทพิ ย์ ประกายตาทเ่ี มตตา เพราะส�ำ หรบั ตนแลว้ ทกุ ทา่ นเหลา่ นเี้ ปน็ บคุ คลทย่ี ง่ิ ใหญ่
กาลทพิ ย์ อาจารยช์ นางลกั ษณ์ ขนุ ทอง และ อาจารยต์ ถาตา สมพงศ์ เป็นปรมาจารย์ในด้านตา่ งๆ ท่เี ดนิ ทางสญั จรมาหา จึงรสู้ กึ เปน็ เกียรติอยา่ งยง่ิ
ผชู้ ว่ ยวทิ ยากรประจ�ำ ฐานการสรา้ งสรรคเ์ รอื่ งสน้ั ดร.เกรยี งศกั ด์ิ รกั ษาเดช ท่ีได้ต้อนรบั และภาคภูมใิ จ ดใี จแทนเด็กๆ ชาวสงขลา ทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอด
และ อาจารย์วารี แสงสุวอ ผ้ชู ่วยวิทยากรประจำ�ฐานเทคนิคภาพพมิ พ์ ความรู้ ความคดิ และแรงบนั ดาลใจเพอ่ื สรา้ งสรรคผ์ ลงานจากครขู องแผน่ ดนิ
อาจารย์จุฑารัตน์ บุตรเผียน ผู้ช่วยวิทยากรประจำ�ฐานเทคนิค ปิดทา้ ยด้วย ดร.กมลทพิ ย์ กาลพนั ธ์ กล่าวว่า การได้พบปะศิลปิน
ประติมากรรม ผศ.ดร.จรรย์สมร ผลบุญ และ ผศ.ดร.กฤติยา ชูสงค์ แหง่ ชาตชิ ว่ ยสรา้ งแรงบนั ดาลใจ จดุ ประกายความคดิ ความกลา้ ในเรอื่ งทเี่ ขยี น
ผู้ช่วยวิทยากรประจำ�ฐานการสร้างสรรค์ศิลปะการแสดง (นาฏศิลป์) และ และไดเ้ ห็นแบบอย่างของคนทป่ี ระสบความสำ�เร็จจากการเขยี น งานคร้ังนี้จงึ
อาจารย์กมลนาวิน อินทนูจิตร ผู้ช่วยวิทยากรประจำ�ฐานเทคนิค ทรงคณุ คา่ ตอ่ ความรสู้ กึ และการเปน็ ครจู ากตน้ แบบของศลิ ปนิ แหง่ ชาติ ซง่ึ ใน
สถาปตั ยกรรม พร้อมทั้งส่งนกั ศึกษาเข้าร่วมในฐานกิจกรรมกวา่ 80 คน ส่วนของศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ เป็นบรรยากาศของการจุดประกาย
ด้าน อาจารย์กมลนาวิน อินทนูจิตร รองผู้อำ�นวยการฝ่าย ผู้ที่สนใจการสร้างสรรค์งานเขียนประเภทเร่ืองส้ันและบทกวี ซ่ึงนักเรียน
ยุทธศาสตร์ศึกษาค้นคว้าวิจัยข้อมูลองค์ความรู้และอนุรักษ์ศิลปะและ นักศึกษาให้ความสนใจในการสร้างงานจากประสบการณ์ของศิลปิน ผูกโยง
วัฒนธรรม สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มรภ.สงขลา ผู้เสนอโครงการ กับทัศนคติที่มีต่อสังคมและถ่ายทอดความรู้สึกผ่านศิลปะการใช้ภาษา
กล่าววา่ มรภ.สงขลา เปน็ มหาวทิ ยาลัยที่ต้ังอยู่ในภาคใต้และอยใู่ นชมุ ชน ซง่ึ นกั เรยี นหลายคนเรยี นรเู้ รอ่ื งราวเหลา่ นจี้ นเกดิ ประกายสามารถสรา้ งสรรค์
ที่มีศิลปะ ประเพณี วัฒนธรรม วิถีการดำ�รงชีวิตแบบพ้ืนบ้าน และ งานหลายๆ ชิ้นให้ศลิ ปนิ ได้วิพากษว์ ิจารณ์ เพ่อื เป็นต้นแบบในการสร้างงาน
ขนบธรรมเนียมท่ีดีงามหลากหลายควรค่าแก่การอนุรักษ์ ฟื้นฟู ปกป้อง ตอ่ ไป
15ปารฉิ ตั ร วารสารเพ่อื การประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
เมือ่ วันท่ี 25 ตลุ าคม ท่ีผา่ นมา เวลา 16.00 น. จากนนั้ ในวนั ท่ี 26 ตลุ าคม 2562 เวลา 09.00 น.
องค์การนักศึกษา (ภาคปกติ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา คณะบคุ คลจาก มรภ.สงขลา ไดเ้ คลอื่ นขบวนจากมหาวทิ ยาลยั
(มรภ.สงขลา) จัดพิธีสมโภชองค์กฐิน ณ ห้องประชุมใหญ่ เดินทางส่วู ดั ยางทอง (คลองรำ�) ต�ำ บลทงุ่ หมอ อ�ำ เภอสะเดา
อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติฯ โดยมี อาจารย์จิรภา จังหวัดสงขลา โดยมีพุทธศาสนิกชนซ่ึงมาร่วมทำ�บุญเป็น
คงเขียว รองอธกิ ารบดีฝ่ายยทุ ธศาสตร์การพัฒนานกั ศึกษา จ�ำ นวนมากไดร้ ว่ มขบวนแหอ่ งคก์ ฐนิ พรอ้ มของบรวิ ารเขา้ สพู่ ธิ ี
และคุณลักษณะบัณฑิต เป็นประธานในพิธี พร้อมด้วยคณะ ภายในวดั และท�ำ พธิ ที างศาสนาทอดกฐนิ สามคั คี ซง่ึ ปจั จยั อนั เปน็
ผบู้ รหิ ารมหาวทิ ยาลยั อาจารย์ เจา้ หนา้ ที่ นกั ศกึ ษา นกั เรยี น บรวิ ารกฐนิ จากผู้มจี ิตศรัทธา จ�ำ นวน 1,295,479.25 บาท
โรงเรียนสาธิต อาจารย์เกษียณ และประชาชนโดยรอบ สมทบสร้างซุ้มประตูวัด เป็นทานบารมีไว้ในพุทธศาสนา
มหาวิทยาลยั กว่า 800 คน รว่ มพิธี ต่อไป
16 ปารฉิ ตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
ส�ำ นกั ศลิ ปะฯ มรภ.สงขลา สร้างเครือขา่ ยคนรุ่นใหม่
อนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมท้องถิน่
สำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม มรภ.สงขลา ชวนคนรุ่นใหม่ โดยเฉพาะแหล่งนำ้� เกาะ แก่ง ชายหาด ภูเขา ถ้ำ� น้ำ�ตก โป่งพุร้อน
รว่ มอนรุ กั ษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศิลปกรรมทอ้ งถิ่น หว่ งการเจริญ ซากดกึ ด�ำ บรรพ์ ธรณสี ณั ฐานและภมู ลิ กั ษณวรรณา รวมถงึ แหลง่ ศลิ ปกรรม
เติบโตของเมืองทำ�แหล่งศิลปกรรมถูกคุกคาม จับมือชุมชนสร้าง ท่ีส�ำ คญั เช่น วดั เก่า เจดีย์เก่า โบสถ์หรอื วหิ าร สถูป ย่านชมุ ชนเก่า ชุมชน
เครือข่ายเฝา้ ระวัง โบราณ กำ�แพงเมอื ง-คเู มอื ง เปน็ ตน้ สง่ิ แวดลอ้ มศลิ ปกรรมมคี วามสำ�คัญ
อยา่ งยงิ่ ในฐานทส่ี ง่ เสรมิ และรกั ษาคณุ คา่ ตลอดจนคณุ ภาพของศลิ ปกรรม
อาจารย์โอภาส อิสโม ผู้อำ�นวยการสำ�นักศิลปะและวัฒนธรรม ใหด้ �ำ รงอยแู่ ละมคี วามหมายมากยิง่ ขนึ้ ทว่า จากการพฒั นาเศรษฐกิจและ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ในฐานะหัวหน้าหน่วยอนุรักษ์ การเจริญเตบิ โตของเมอื ง รวมถงึ การสง่ เสริมการทอ่ งเที่ยวที่ไม่ได้คำ�นงึ ถึง
ธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่ จงั หวดั สงขลา เปดิ เผยวา่ เมอื่ วนั ท่ี 12 กนั ยายน ขีดความสามารถในการรองรับของพื้นที่ มีการจัดทำ�แผนแต่ขาดการนำ�
ทผี่ ่านมา ทางหน่วยอนุรกั ษ์ฯ น�ำ นักศึกษา มรภ.สงขลา และนักเรียนโรงเรยี น แผนไปสู่การปฏิบัติ และขาดการดูแลรักษาที่ต้องอาศัยความร่วมมือจาก
สงขลาวทิ ยาคม รวม 60 คน เดินทางไปศึกษาแหลง่ เรยี นรูศ้ ลิ ปกรรมท้องถน่ิ ทุกภาคส่วน ประกอบกับการมุ่งหวังรายได้ทางด้านเศรษฐกิจและการ
จงั หวดั สงขลา (ชมุ ชนหัวเขา) ในโครงการสมั มนาสร้างเครอื ข่ายผ้นู �ำ ชมุ ชน และ ทอ่ งเทยี่ วเปน็ หลกั ท�ำ ใหท้ ง้ั ตวั แหลง่ ธรรมชาตแิ ละแหลง่ ศลิ ปกรรม รวมถงึ
เยาวชนอนรุ กั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรม โดยมงุ่ หวงั ใหก้ ลมุ่ ผนู้ �ำ ชมุ ชน สิง่ แวดล้อมบริเวณโดยรอบถกู คุกคาม
และเยาวชนในพน้ื ทม่ี คี วามรคู้ วามเขา้ ใจในเรอ่ื งการอนรุ กั ษ์ และรว่ มกนั ด�ำ เนนิ งาน
เกดิ เปน็ เครอื ขา่ ยการเฝา้ ระวงั ปญั หาสงิ่ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถน่ิ สถานการณ์เช่นนเี้ กิดขนึ้ ในหลายพ้นื ท่ี ทำ�ให้เกดิ ความเสยี หาย
ท้ังยังได้ทะเบียนเครือข่ายบุคคลในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมธรรมชาติและ ตอ่ แหลง่ ธรรมชาตแิ ละแหลง่ ศลิ ปกรรม รวมทง้ั สภาพแวดลอ้ มโดยรอบ หาก
ศลิ ปกรรมของทอ้ งถนิ่ ทผ่ี า่ นการอบรมแลว้ เพอ่ื เปน็ ฐานขอ้ มลู ในการด�ำ เนนิ งาน สิ่งแวดล้อมทเ่ี ก่ยี วเน่ืองกับศิลปกรรมถกู ท�ำ ลายหรอื เสื่อมโทรมลง ยอ่ มสง่
อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ผลกระทบใหค้ ณุ ภาพและคณุ คา่ ของศลิ ปกรรมดอ้ ยลง จนหมดความหมาย
ในท่ีสดุ จากความส�ำ คัญดังกล่าวจึงน�ำ มาสกู่ ารสัมมนาสรา้ งเครอื ข่ายผู้น�ำ
อาจารย์โอภาส กล่าวว่า ประเทศไทยมีแหล่งธรรมชาติและแหล่ง ชุมชนและเยาวชน ทั้งน้ีก็เพ่ือให้สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมได้รับการเอาใจใส่
ศิลปกรรมที่สวยงามของท้องถ่ินกระจัดกระจายอยู่ทั่วประเทศเป็นจำ�นวนมาก ดแู ลและอนรุ กั ษอ์ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม ตลอดจนสรา้ งจติ ส�ำ นกึ แกป่ ระชาชน
และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอื่ ใหท้ อ้ งถน่ิ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มในการด�ำ เนนิ งาน
มรภ.สงขลา ส�ำ รวจสขุ ภาพตน้ ไม้ ปลุกพลงั นศ. อนุรักษ์ส่งิ แวดล้อม
มรภ.สงขลา จบั มอื สงขลาฟอรม่ั สง่ นกั ศกึ ษาส�ำ รวจสขุ ภาพตน้ ไม้
ผ่านแอพพลิเคชัน C-site ปลุกพลังพลเมืองร่วมอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม
เผยผลส�ำ รวจนา่ หว่ ง ประชากรตน้ ไมก้ วา่ 50% ปว่ ยและเปราะบาง เตรยี ม
หาแนวทางดแู ลรกั ษา
เม่ือวันท่ี 18 กันยายน ท่ีผ่านมา นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ คณะเทคโนโลยีการเกษตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) รว่ มกบั สงขลาฟอร่ัม ลงพื้นทส่ี �ำ รวจ
ต้นไมบ้ รเิ วณโดยรอบมหาวทิ ยาลยั ผ่านแอพพลิเคชัน C-site ภายใตโ้ ครงการ
Songkhla Inclusive City หรอื โครงการสงขลาเมอื งใจกวา้ ง ซง่ึ เปน็ การเปดิ พน้ื ท่ี
การเรียนรู้ เพื่อปลุกพลังความเป็นพลเมืองในการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อม อันเป็น
พนั ธกจิ หนง่ึ ในการพฒั นานกั ศกึ ษาสสู่ งั คมดจิ ทิ ลั ทง้ั ยงั เปน็ การสรา้ งแรงบนั ดาลใจ
ให้เยาวชนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าของต้นไม้ เกิดความรักและหวงแหน
น�ำ ไปส่กู ารดูแลรกั ษาให้คงอยคู่ ่ชู มุ ชน ทงั้ นี้ จากการส�ำ รวจพบว่ากวา่ 50% ของ
ประชากรตน้ ไมจ้ �ำ นวน 209 ตน้ โดยรอบมหาวทิ ยาลยั อยใู่ นสภาพปว่ ยและเปราะบาง
สว่ นใหญม่ อี าการเปลอื กลอก ผกุ รอ่ น ใบและกงิ่ กา้ นไมส่ มบรู ณ์ โดยกลมุ่ ผสู้ �ำ รวจ
ต้ังเป้าจะด�ำ เนินการสำ�รวจให้ครบ 4 คร้ัง หลังจากนจี้ ะมีการเปิดเวทเี สวนาเพอ่ื
รว่ มหาแนวทางอนุรกั ษ์และดแู ลรักษาพนั ธต์ุ น้ ไม้ในเมืองสงขลาต่อไป
17ปาริฉตั ร วารสารเพือ่ การประชาสมั พนั ธ์ มรภ.สงขลา
มรภ.สงขลา
ห่วง “สาหรา่ ยผมนาง” พืชทอ้ งถิ่นลดปริมาณ
เร่งศกึ ษาการใชป้ ระโยชน์ ส่งเสริมความร้คู ุณค่าทางอาหาร
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา หว่ งสาหร่าย การกระทำ�ของมนษุ ย์ เปน็ ผลให้แหล่งท่ีเกิดสาหรา่ ยเส่ือมโทรมลงและมี
ผมนาง พืชท้องถ่ินเกาะยอ มีปริมาณลดน้อยลง เหตุสภาพ ขอบเขตจ�ำ กดั เน่อื งจากแหลง่ น้ำ�ตนื้ เขิน น้�ำ มีความขุ่นสูง และกระแสน�ำ้
แวดล้อมเปล่ียนแปลง เร่งศึกษาการใช้ประโยชน์อย่าง ไหลแรงข้ึน ส่งผลกระทบต่อวงจรชีวิตและผลผลิตของสาหร่ายอย่างเห็น
กว้างขวาง ควบคู่ส่งเสริมความรู้คุณค่าทางอาหาร พร้อม ไดช้ ัดเจน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา ในฐานะสถาบนั การ
ปลกู ฝงั คนรุ่นใหมร่ ่วมอนรุ ักษ์ ศึกษาในท้องถ่ิน เล็งเห็นถึงความสำ�คัญของการเผยแพร่วัฒนธรรม
การเลี้ยง และการนำ�สาหร่ายผมนางมาใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวาง
ผศ.สบาย ตนั ไทย อาจารย์ประจำ�สาขาวชิ าการเพาะเลีย้ ง จึงจัดอบรมให้ความรู้แกน่ ักศกึ ษาของทางคณะฯ จำ�นวน ๑๐๐ คน เพื่อ
สัตว์นำ้� คณะเทคโนโลยีการเกษตรมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา สง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความรใู้ นคณุ คา่ ทางอาหาร รจู้ กั ประโยชนแ์ ละการน�ำ ไปใช้
(มรภ.สงขลา) เปิดเผยถึงการจัดอบรมเร่ือง การเลี้ยง การเก็บเก่ียว ช่วยกนั ดูแลพืน้ ท่ีท่เี ปน็ แหลง่ สาหร่ายผมนางในทะเลสาบสงขลา
และการใช้ประโยชน์สาหร่ายผมนางในทะเลสาบสงขลา : ยำ�สาย
ท่ีปักษ์ใต้บ้านเรา ว่า สาหร่ายผมนางมีช่ือเรียกตามลักษณะของ อาจารย์ประจำ�สาขาวิชาการเพาะเล้ียงสัตว์นำ้� กล่าวอีกว่า
สาหรา่ ยทเี่ หมือนเสน้ ผมของผหู้ ญิงวา่ ผมนาง และมีภาษาท้องถนิ่ ว่า นอกจากการใหค้ วามรแู้ ลว้ ยงั มกี ารปลกู ฝงั ใหน้ กั ศกึ ษาในฐานะคนรนุ่ ใหม่
สาย เปน็ สาหรา่ ยทะเลสีแดงท่ีมคี ุณคา่ ทางเศรษฐกจิ ที่สำ�คัญ จัดเป็น เห็นถึงความสำ�คัญของศิลปวัฒนธรรมทางการเกษตรท่ีมีอยู่ในท้องถ่ิน
อาหารสขุ ภาพทมี่ แี หลง่ ทอี่ ยอู่ าศยั ในอา่ วปตั ตานแี ละทะเลสาบสงขลา โดยไดเ้ ชิญวิทยากร รศ.ดร.ระพีพร เรืองช่วย อาจารยป์ ระจำ�ภาควชิ า
โดยเฉพาะบรเิ วณเกาะยอ เปน็ แหลง่ ทเ่ี คยมสี าหรา่ ยผมนางชกุ ชมุ มาก เทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เป็นพ้ืนท่ีที่มีการสืบทอดวัฒนธรรมการนำ�สาหร่ายผมนางมาใช้ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ วทิ ยาเขตปตั ตานี น.ส.วรรณษิ า แสงแกว้
ประโยชน์อยา่ งยาวนาน ทั้งเปน็ อาหารคน อาหารสัตว์นำ้� และการทำ� และ น.ส.มณั ฑณา ดอนนกลาย นกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาโท มหาวทิ ยาลยั
ปุ๋ยพืชบก โดยเฉพาะการใช้เป็นอาหารท่ีมีรูปแบบเป็นเอกลักษณ์ สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ร่วมถ่ายทอดความรู้ นอกจากน้ัน
เฉพาะถ่ิน ทางคณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มรภ.สงขลา ยงั จัดการแขง่ ขันสร้างสรรค์
เมนูอาหารจากสาหร่ายผมนาง เพื่อให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการสร้าง
ผศ.สบาย กล่าวว่า ปจั จุบนั สาหร่ายผมนางมปี ริมาณลดนอ้ ยลง มูลคา่ ใหก้ ับพชื ท้องถิน่ ชนิดน้ี
เนอื่ งจากเกดิ การเปลยี่ นแปลงสภาพแวดลอ้ ม ทง้ั โดยธรรมชาตแิ ละผล
18 ปาริฉตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพนั ธ์ มรภ.สงขลา
นศ.เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
โชว์ผลงานเวทีประชุมเครือขา่ ยราชภัฏใต้
ควา้ ๓ รางวลั งานวิจัยพฒั นาท้องถิ่น
นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มรภ.สงขลา นำ�เสนอ
ผลงานวจิ ยั แกป้ ญั หาและพฒั นาทอ้ งถน่ิ ควา้ 3 รางวลั เวทปี ระชมุ วชิ าการ
เครอื ข่ายคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ภาคใต้ ครัง้ ที่ 1
ผศ.ดร.วีระชัย แสงฉาย คณบดีคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยวา่ เม่ือเร็ว ๆ น้ี นักศกึ ษาของ
ทางคณะฯ รว่ มน�ำ เสนอผลงานวจิ ยั ในงานประชมุ วชิ าการเครอื ขา่ ยคณะเทคโนโลยี
อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยราชภัฏภาคใต้ คร้งั ท่ี 1 “วจิ ยั และพัฒนานวตั กรรม
เพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย” ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครศรีธรรมราช ผลปรากฏว่างานวิจัยเร่ือง ตัวแบบการพยากรณ์ปริมาณการ
สง่ ออกไมย้ างพาราแปรรปู เหมาะสม กรณศี กึ ษา โรงงานแปรรปู ไมย้ างพารา XYZ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี จัดทำ�โดย นายธนยศ แสงทอง ที่มี ผศ.ธนะรัตน์
รัตนกูล เป็นที่ปรึกษา ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 บทความวิจัยดีเด่น
แบบบรรยาย รับเงนิ รางวัล 1,000 บาท พรอ้ มประกาศนียบตั รเชิดชเู กยี รติ
นอกจากนั้น นกั ศกึ ษาคณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม มรภ.สงขลา ยังได้รับ
รางวัลชมเชย จากงานวิจัยเร่ือง การประยุกต์ใช้กระบวนการวิเคราะห์เชิง
ล�ำ ดบั ชนั้ ในการคดั เลอื กวัตถดุ ิบเพ่ือผลิตผ้าทอเกาะยอ กรณศี ึกษา กลุ่มแม่บ้าน
ผา้ ทอเกาะยอ จงั หวดั สงขลา จดั ท�ำ โดย น.ส.ศศมิ า อาแซ โดยมี ผศ.กนั ตธ์ มน
สขุ กระจา่ ง เปน็ ทปี่ รกึ ษา และอกี หนง่ึ รางวลั ชมเชยจากงานวจิ ยั เรอ่ื ง การจดั การ
ขยะมูลฝอย กรณีศึกษา ตำ�บลโคกม่วง อำ�เภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา
จัดทำ�โดย นายเจษฎา หีมล๊ะ และ นายอนันดา สกุลา โดยมี ผศ.คุลยา
ศรีโยม เปน็ ทีป่ รกึ ษา
สำ�หรับงานวิจัยเร่ือง ตัวแบบการพยากรณ์ปริมาณการส่งออก
ไม้ยางพาราแปรรูปเหมาะสมฯ ที่ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ผู้วิจัย
นายธนยศ แสงทอง นักศึกษาคณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม จดั ท�ำ ขนึ้ เนื่องจาก
เล็งเห็นว่า จากสถิติพ้ืนที่ปลูกยางพาราของประเทศไทยในปี 2560
จ.สุราษฎร์ธานี มพี น้ื ทปี่ ลกู ยางพารากว่า 3 ลา้ นไร่ ซึง่ มากเป็นอันดับหนงึ่ ของ
ประเทศ และมไี ม้ยางพาราเป็นวัตถดุ ิบสำ�คญั ในอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ โดยมี
โรงงานแปรรูปไม้ยางพารามากถึง 76 แห่ง ซึ่งในกระบวนการผลิตสินค้าจาก
ไม้ยางพารา ขั้นตอนแรกที่สำ�คัญคือ การเลื่อยแปรรูปไม้ยางพาราจากไม้ท่อน
เป็นไม้แปรรูปขนาดเท่าท่ีต้องการจะนำ�ไปใช้งาน แต่ลักษณะพิเศษของ
ไม้ยางพาราที่ต้องรีบแปรรูปและอาบน้ำ�ยา เน่ืองจากอาจถูกมอดและเชื้อรา
เข้าทำ�ลายอย่างรวดเร็วหลังการตัดฟัน ทำ�ให้กระบวนการในการผลิตมี
ผลตอ่ อตุ สาหกรรมเครอ่ื งเรอื นเครือ่ งใช้
ดงั นนั้ การพฒั นากระบวนการผลติ ของอตุ สาหกรรมแปรรปู ไมย้ างพารา
ให้มีประสิทธิภาพ จะทำ�ให้ผลผลิตไม้แปรรูปจากไม้ยางพารามีคุณภาพมากขึ้น
ส่งผลถึงอุตสาหกรรมท่ีใช้ไม้ยางพาราเป็นวัตถุดิบ ซ่ึงปัจจุบันผู้ประกอบการจีน
นิยมใช้ไม้ยางพาราจากไทยในการผลิตสินค้าเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะสินค้า
เฟอร์นิเจอร์ซึ่งมีแนวโน้มการนำ�เข้าไม้ยางพาราจากประเทศไทยเติบโตต่อเน่ือง
ดา้ นสำ�นักงานสง่ เสริมการค้าระหว่างประเทศซ่ึงมีจ�ำ นวนสมาชกิ กว่า 100 ราย
หรือคิดเป็นร้อยละ 70 ของจำ�นวนบริษัทผู้นำ�เข้าไม้ยางพาราทั้งหมด
ในประเทศจนี พบว่าบริษทั ผนู้ ำ�เขา้ ไมเ้ หลา่ นีม้ ีการใชไ้ ม้ยางพาราประมาณ 2 ตู้
คอนเทนเนอร์ต่อวัน จากความต้องการดังกล่าวผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสำ�คัญ
ของการพยากรณ์ยอดการผลิตไม้ยางพาราแปรรูป เพื่อวางแผนส่งมอบ
ไมย้ างพาราแปรรปู ใหเ้ พยี งพอตอ่ ความตอ้ งการในตลาดตา่ งประเทศ
19ปารฉิ ตั ร วารสารเพื่อการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
มรภ.สงขลา อบรมเขยี นบทความวิจัยเพือ่ ตีพมิ พเ์ ผยแพร่
สถาบนั วจิ ยั และพฒั นา มรภ.สงขลา จดั อบรมเขยี นบทความวจิ ยั เพอื่ ตพี มิ พ์ เก่ียวกับการเขียนบทความทางวิชาการ : วิธีการเขียนผลงานวิจัย
เผยแพร่ เทยี บเชญิ วิทยากรผูเ้ ชีย่ วชาญติวเข้มคณาจารย์และเจา้ หนา้ ที่ ตีพิมพ์วารสารวิชาการ ให้แก่คณาจารย์และเจ้าหน้าท่ีของ
มหาวทิ ยาลัย สง่ เสรมิ ให้บุคลากรสนใจท�ำ วิจยั เพ่มิ ขนึ้ และพัฒนา
ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) กลา่ ว ศกั ยภาพนกั วิจัยให้เปน็ ที่ยอมรับทัง้ ภายในและภายนอก ตลอดจน
ระหว่างเป็นประธานเปิดอบรมการเขียนบทความวิจัยเพ่ือการตีพิมพ์เผยแพร่ ณ ศูนย์ เพ่ิมประสิทธิภาพในการดำ�เนินงานด้านการส่งเสริมการเผยแพร่
วิทยาศาสตร์ มรภ.สงขลา เมื่อเรว็ ๆ นวี้ ่า ความเขม้ แข็งดา้ นการวิจัยขึน้ อย่กู ับองคป์ ระกอบ ผลงานวิจัยของคณาจารย์และนักวิจัย ซึ่งเป็นวิธีบริหารจัดการ
หลายดา้ น ทัง้ ด้านเงินทุน การบรหิ ารจดั การท่ดี ี และการมสี ว่ นร่วมของอาจารย์ นกั วิจัย ลดความเสี่ยงที่เน้นการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านการวิจัย
และบคุ ลากร ดงั นนั้ การจดั อบรมในครัง้ นนี้ อกจากจะช่วยสรา้ งความรู้ความเขา้ ใจในการ ให้มีการเผยแพร่ผลงานโดยตีพิมพ์ลงในวารสารวิชาการท่ีเป็น
เผยแพร่ผลงานวิจัย ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์การจัดโครงการ ซึ่งสอดคล้องกับภารกิจ ที่ยอมรับมากย่ิงขึ้น โดยได้รับเกียรติจาก ศาสตราจารย์
ด้านการวิจัยของมหาวิทยาลัยแล้ว ยังเป็นการลดความเสี่ยงด้านการวิจัยท่ีอาจจะเกิดขึ้น ดร.สุทธวัฒน์ เบญจกุล ผู้มีความรู้และเชี่ยวชาญในการเขียน
และเปน็ ไปตามแผนบริหารจดั การความเสยี่ งอีกทางหน่งึ ดว้ ย ผลงานวิจัยตีพิมพ์วารสารวิชาการ จากคณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวทิ ยาลยั สงขลานครนิ ทร์ เปน็ ผถู้ า่ ยทอดความรู้ ซง่ึ สถาบนั วจิ ยั
ด้าน อาจารย์พุฒิธร ตุกเตียน ผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา และพัฒนาคาดหวังว่าผู้เข้าร่วมอบรมจะสามารถนำ�ความรู้ท่ีได้ไป
มรภ.สงขลา กล่าวว่า โครงการน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความรู้และให้คำ�ปรึกษาแนะนำ� ใช้เป็นแนวทางในการพฒั นาการเขยี นผลงานตอ่ ไป
มรภ.สงขลา บูรณาการงานวจิ ัย
น�ำ องค์ความรูท้ างวิทยาศาสตร์
ถา่ ยทอดส่ชู ุมชน
ผศ.ดร.อนุมัติ เดชนะ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม
ที่ผา่ นมา ตนพร้อมด้วย ผศ.กฤษณ์วรา รัตนโอภาส รองคณบดีฝา่ ยวจิ ยั บรกิ าร
วิชาการและวิเทศสัมพันธ์ คณาจารย์ประจำ�หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มรภ.สงขลา ร่วมลงพ้ืนท่ีชุมชน ณ ศูนย์เรียนรู้วิถีโหนด-นา-เล
ต.ทา่ หนิ อ.สทงิ พระ จ.สงขลา เพอื่ หารอื รว่ มกบั นางพนู ทรพั ย์ ชแู กว้ ผนู้ �ำ ชมุ ชน
ตลอดจนเจา้ หน้าที่พัฒนาชมุ ชน และชาวบา้ นในพ้นื ที่ ในการเพ่ิมศกั ยภาพ
ดา้ นความเปน็ อยขู่ องครวั เรอื น รวมถงึ ดา้ นอาชพี และดา้ นสขุ ลกั ษณะ เพอ่ื ชว่ ยแกไ้ ข
ปัญหาเรื่องผลิตภัณฑ์ท่ีมีอยู่เดิมในชุมชน ในการพัฒนาให้ดีย่ิงข้ึน โดยคณะ
วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีจะนำ�องคค์ วามร้ใู นศาสตร์ทุกแขนงของคณะฯ เข้าไป
ดำ�เนินการพัฒนา พร้อมท้ังถา่ ยทอดและบูรณาการงานวจิ ยั สู่ชมุ ชน บนพ้ืนฐาน
ทรัพยากรท่มี อี ยใู่ นพ้นื ที่ คอื ตน้ ตาลโตนด ทุ่งนา และ ทะเลสาบสงขลา
20 ปาริฉตั ร วารสารเพอ่ื การประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
“บรรพต มณโี รจน”์ ศษิ ยเ์ ก่าครฯุ มรภ.สงขลา
รับโล่ประกาศเกียรตคิ ณุ
บคุ คลตน้ แบบทำ�ความดี
“บรรพต มณีโรจน์” ศิษย์เก่าครุศาสตร์ มรภ.สงขลา ประธานโครงการครูเพ่ือศิษย์ คณะครุศาสตร์ พิธีกรทางพระพุทธศาสนา
เข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลต้นแบบทำ�ความดี จาก ผนู้ ำ�ชุมชนในการท�ำ กิจกรรมต่างๆ อีกมากมาย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในฐานะผู้ทำ�
คณุ ประโยชน์ต่อพระพทุ ธศาสนา สงั คม และ ประเทศชาติ ศษิ ยเ์ กา่ คณะครศุ าสตร์ มรภ.สงขลา กล่าวอีกว่า ย้อนไปเมือ่ คร้งั
เปน็ เดก็ ขณะเรยี นประถมศกึ ษาทโ่ี รงเรยี นวดั ประดหู่ อม ต.คลองรี อ.สทงิ พระ
เม่ือเร็วๆ นี้ นายบรรพต มณีโรจน์ ศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์ จ.สงขลา ตนเปน็ เดก็ หวั โต พงุ โล กน้ ปอด เหมอื นกบั คนขาดสารอาหาร และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) ปัจจุบันเป็นครูสอนวิชา ด้วยความที่เปน็ เด็กตวั เล็ก จงึ มักถกู เพอื่ นๆ ผูใ้ หญล่ อ้ เลียน แตน่ ่ันไม่ใช่สิ่ง
วทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนแจ้งวิทยา (โรงเรยี นการกศุ ลของวัดในพระพุทธศาสนา) ท่ีนำ�มาบั่นทอนอนาคตของเราได้ ถึงแม้จะหัวโตพุงโลตามคำ�ล้อเลียน
ต.บ่อยาง อ.เมือง จ.สงขลา เข้ารับโล่ประกาศเกียรติคุณบุคคลต้นแบบ แตต่ อ้ งท�ำ ใหต้ นเองมคี ณุ คา่ และตอ้ งมอี ะไรทพ่ี เิ ศษกวา่ ค�ำ ลอ้ เลยี นเหลา่ นนั้
ทำ�ความดี ในฐานะผู้ทำ�คุณประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา สังคม และ ตนจึงเป็นผู้นำ�กิจกรรรมต่างๆ มาโดยตลอด ต่อมาเม่ือเข้าเรียนระดับ
ประเทศชาติ ในงานมหกรรมส่งเสริมศีลธรรมและการประกวดกิจกรรม มัธยมศึกษาท่ีโรงเรียนสทิงพระวิทยา มีความใฝ่ฝันอยากเป็นครูสอนวิชา
พัฒนาผู้เรยี นดา้ นพระพทุ ธศาสนา ปที ่ี 4 เฉลมิ พระเกยี รติ เนื่องในโอกาส วทิ ยาศาสตร์ เพราะการทต่ี นไดด้ นี อกจากพอ่ แมก่ ค็ อื ครทู ช่ี ว่ ยชกั น�ำ พร�่ำ สอน
วันเฉลิมพระชนมพรรษา 28 กรกฎาคม 2562 จัดโดยสำ�นกั งานพระสอน ให้ทักษะวิชาความรู้เป็นอาวุธติดตัว จึงได้เข้าศึกษาในคณะครุศาสตร์
ศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลยั มรภ.สงขลา
นายบรรพต กลา่ วถงึ ความรสู้ กึ ตอ่ รางวลั ทไ่ี ดร้ บั วา่ รสู้ กึ เปน็ เกยี รติ “รางวลั นี้มคี วามหมาย แต่ไมไ่ ด้มีความส�ำ คญั ในการดำ�เนินชวี ติ
และภูมิใจ เนื่องจากมีผู้ได้รับการคัดเลือกจากทั่วประเทศและต่างประเทศ เปรียบเสมือนในสนามรบมีอนุสาวรีย์ตราไว้ว่ามีชัยชนะ อนุสาวรีย์ของ
ซ่ึงรางวัลนี้ตนไม่ได้ย่ืนเอกสารใดๆ ทางคณะผู้คัดเลือกได้ส่งหนังสือเชิญ พ่อแม่คือลกู อนุสาวรยี ์ของครคู อื ศษิ ย์ อนุสาวรีย์ของชีวิตคือความดี จงึ ถอื
เข้ารับรางวัลผ่านข้อความเฟสบุ๊ก ตนก็งงว่ารางวัลอะไรจึงได้ติดต่อตาม คติในการดำ�เนินชีวิตว่าทุกลมหายใจต้องมีความหมาย ทุกการกระทำ�ต้อง
เบอรโ์ ทรศพั ทใ์ นหนงั สอื เพอื่ ความมนั่ ใจวา่ ถกู ตอ้ ง ทงั้ นี้ เมอ่ื สมยั เรยี นในรวั้ มีคณุ ค่า การท�ำ ส่งิ ใดพงึ ทำ�ในส่ิงทถี่ ูกตอ้ งโดยไม่หวังผลตอบแทน แม้เราจะ
มรภ.สงขลา ตนได้รับโอกาสในการพฒั นาตนเองอย่างตอ่ เนื่อง จากการท�ำ ต้องทำ�คนเดียวก็ตาม และรางวัลท่ีน่าภูมิใจท่ีสุดคือ การท่ีเราม่ันคง
กจิ กรรมทม่ี คี ณุ คา่ ยง่ิ ทงั้ ผนู้ �ำ นกั ศกึ ษา ไดร้ บั โอกาสใหเ้ ปน็ ผนู้ �ำ ในชมรมการ ในความดี เป็นผู้นำ�หนักแน่นในตัวตน สร้างคุณค่าให้กับสังคมและสร้าง
ท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และพัฒนาคุณธรรม นักศึกษาทูตวัฒนธรรม สำ�นัก ประโยชนต์ ่อแผน่ ดนิ ท่ียงั่ ยนื นานเท่านาน” นายบรรพต กลา่ ว
ศลิ ปะและวฒั นธรรม มรภ.สงขลา รองนายกสโมสรนกั ศกึ ษาคณะครศุ าสตร์
มรภ.สงขลา มอบเกียรตบิ ัตรแสดงความขอบคณุ
“รังษี รัตนปราการ”
สนับสนนุ ทนุ ช่วยเหลือ นศ.ขาดแคลนทนุ ทรัพย์
เมื่อวันท่ี 24 กนั ยายน ท่ผี ่านมา ผศ.ดร.นวิ ัต กลนิ่ งาม อธกิ ารบดี 21ปาริฉัตร วารสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ มรภ.สงขลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (มรภ.สงขลา) พร้อมด้วย ดร.มงคล เทพรัตน์
คณบดีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ตลอดจนคณะผู้บริหารและคณาจารย์
คณะเทคโนโลยีการเกษตร มรภ.สงขลา เขา้ พบ นายรงั ษี รัตนปราการ นายก
ภาคคี นรกั เมอื งสงขลาสมาคม (เจา้ ของโรงสแี ดงหบั โห้ หน้ิ ) เพอ่ื มอบเกยี รตบิ ตั ร
แสดงความขอบคุณท่ีได้บริจาคเงินให้ทางมหาวิทยาลัย สำ�หรับนำ�ไปช่วยเหลือ
นักศกึ ษาทข่ี าดแคลนทุนทรพั ย์ และรว่ มกนั พัฒนามหาวทิ ยาลยั ต่อไป
มรภ.สงขลา ร่วมกิจกรรมนอ้ มรำ�ลกึ เนื่องในวนั คลา้ ยวันสวรรคต
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยูห่ วั
คณะผบู้ รหิ าร มรภ.สงขลา น�ำ ทมี บคุ ลากร นกั ศกึ ษา จติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา รว่ ม
รว่ มพธิ วี างพวงมาลา จดุ เทยี นนอ้ มร�ำ ลกึ พระมหากรณุ าธคิ ณุ กจิ กรรมกบั จติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. จงั หวดั สงขลา น�ำ โดย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พร้อมลงพ้ืนท่ี นายจารวุ ัฒน์ เกล้ียงเกลา ผ้วู า่ ราชการจงั หวดั สงขลา พรอ้ มด้วย
จัดกิจกรรมจิตอาสา ทำ�ความสะอาดเส้นทางสถานีรถไฟ นางกญั จนา เกลย้ี งเกลา นายกเหลา่ กาชาดจงั หวดั สงขลา ลงพน้ื ท่ี
เทพา จัดกิจกรรมจิตอาสาพัฒนาปรับภูมิทัศน์ ทำ�ความสะอาดบริเวณ
เส้นทางรถไฟและระบบสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน ณ บริเวณสถานี
เมอ่ื วนั ที่ 23 ตลุ าคม ทผี่ า่ นมา เวลา 08.00 น. อาจารย์ รถไฟเทพา อ�ำ เภอเทพา จงั หวดั สงขลา เพอื่ ถวายพระราชกศุ ลและ
จริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นานกั ศกึ ษา น้อมรำ�ลึกเน่ืองในโอกาสวันคล้ายวันสวรรคตพระบาทสมเด็จ
และคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซ่ึงจิตอาสาบางส่วนได้เดินทางด้วย
น�ำ คณะอาจารย์ เจ้าหน้าท่ี และนักศึกษา ร่วมพธิ วี างพวงมาลา ณ รถไฟเที่ยวพิเศษจากสถานีชุมทางหาดใหญ่ มายังสถานีเทพา
บ ริ เ ว ณ ล า น ห น้ า พ ร ะ บ ร ม ร า ช า นุ ส า ว รี ย์ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ อำ�เภอเทพา เพื่อย้อนรำ�ลึกวันวาน ชมความสวยงามของวิถีชีวิต
พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลท่ี 5 สวนสาธารณะเทศบาลนคร พี่น้องประชาชนริมทางรถไฟ
หาดใหญ่ อ�ำ เภอหาดใหญ่ จงั หวัดสงขลา เพอ่ื แสดงออกถึงความ
จงรักภักดีและรำ�ลึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จ จากนั้นเวลา 18.30 น. ดร.นราวดี บัวขวัญ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นท่ีรักย่ิงของ รองอธิการบดีฝ่ายยุทธศาสตร์การวิจัยและบริการวิชาการ
ปวงชนชาวไทย โดยมี นายจารวุ ัฒน์ เกลี้ยงเกลา ผ้วู า่ ราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา พร้อมด้วยบุคลากรกองพัฒนา
จังหวัดสงขลา พร้อมด้วย นางกัญจนา เกลี้ยงเกลา นายก นักศึกษาและผู้นำ�นักศึกษา ร่วมประกอบพิธีจุดเทียนน้อมรำ�ลึก
เหลา่ กาชาดจงั หวดั สงขลา และหวั หนา้ สว่ นราชการ ขา้ ราชการ ตลุ าการ ในพระมหากรณุ าธคิ ณุ ของพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั
ทหาร ตำ�รวจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน นักเรียน นักศึกษา โดยมี นายจารวุ ัฒน์ เกลีย้ งเกลา ผู้วา่ ราชการจังหวดั สงขลา เปน็
ประชาชน จติ อาสา และประชาชนทว่ั ไป เขา้ รว่ มพธิ เี ปน็ จ�ำ นวนมาก ประธานในพิธี เบ้ืองหน้าพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
ตอ่ มาเวลา 14.00 น. รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรก์ าร อ�ำ เภอหาดใหญ่ จงั หวดั สงขลา
พฒั นานักศึกษาและคุณลักษณะบัณฑิต น�ำ อาจารยแ์ ละนักศึกษา
22 ปารฉิ ัตร วารสารเพ่ือการประชาสมั พันธ์ มรภ.สงขลา
ม อ ง ผ่ า น เ ล น ส์
๑ ชมการแสดงคอนเสิร์ต คาราบาว มหากุศล ๒ รว่ มพิธีวางพวงมาลาถวายราชสกั การะ
ผศ.ดร.นวิ ตั กลน่ิ งาม อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา พรอ้ มดว้ ย ดร.วรพล หนูนุ่น ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรสาธารณสุข
อาจารยพ์ เิ ชษฐ์ จนั ทวี รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตรพ์ ฒั นาระบบการบรหิ าร ศาสตรบณั ฑติ พรอ้ มดว้ ยนกั ศกึ ษาคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เปน็
และพฒั นาหนว่ ยงาน อาจารยจ์ ริ ภา คงเขยี ว รองอธกิ ารบดฝี า่ ยยทุ ธศาสตร์ ตวั แทนมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สงขลา รว่ มพธิ วี างพวงมาลาถวายราชสกั การะ
การพัฒนานักศึกษาและคุณลักษณะบัณฑิต และคณะกรรมการส่งเสริม และกล่าวถวายราชสดุดีฯ เน่ืองในวันคล้ายวันสวรรคตของสมเด็จ
กิจการมหาวิทยาลัย ร่วมชมการแสดงคอนเสิร์ต คาราบาว มหากุศล ณ พระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก เมื่อวันที่ 24
สนามสระบัว อำ�เภอเมอื งสงขลา เมอื่ วนั ที่ 6 ตุลาคม ท่ีผา่ นมา ซ่ึงการจดั กนั ยายน ทผ่ี า่ นมา ณ โรงพยาบาลสงขลา อ�ำ เภอเมอื งสงขลา จงั หวดั สงขลา
แสดงคอนเสิร์ตในคร้ังน้ีมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา (คณะกรรมการ
สง่ เสรมิ กจิ การมหาวทิ ยาลยั ) เปน็ หนงึ่ ในผสู้ นบั สนนุ และด�ำ เนนิ การจดั งาน ๔ หารอื แนวทางดำ�เนินโครงการ GSB Innovation Club
๓ ตอ้ นรบั คณะศกึ ษาดงู านเครอื ขา่ ยผนู้ �ำ นกั ศกึ ษา มรภ.ภเู กต็
เม่อื วนั ท่ี 28 ตลุ าคม ท่ผี า่ นมา นายสวุ ทิ ย์ เพ็งทพิ ยน์ าง ผู้ปฏิบตั ิ พร้อผมผศดศ.้วด.ยดรค.รคณ.รนะวิผวญู้ับตริหบกาัวลรคิ่นีรงปี ารรมะอชงุมออธธหิกิกาาารรรือบบดดด้าีฝีมน่าหกยาายวรุทิทจธัดยศกาาลาสัยรตเรราีย์กชนาภรกัฏวาาสรงงสแขอผลนา
หน้าที่ในตำ�แหน่งผู้อำ�นวยการกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ แคณรว่ลณมะหะงกก้อบั รงปครปรณมระบะะมชผราุมบู้ิหณชราหิั้นรมศาหรู7นาแยวล์สบิทะำ�่มยตนเาวัพักลแงาัยทาะรนนธาสุรอชกมธภิจกาัฏคาสปรมงบรสขะดมลชีาุมมพห(นั มาธรรวโ์ ภือริทงแ.ยสเนรางยีลวขนทัยลรเาาอา)งกชกพชภานรรัฏ้อดภสมำ�างเคดขนลใ้วินตยา้
สงขลา (มรภ.สงขลา) พร้อมด้วยบุคลากรในสังกัด และผู้นำ�นักศึกษา โเมคอื่รงวกนั าทรี่ 3GกSรBกฎIาnคnมovทaี่ผtiา่oนnมCา lub ประจำ�ปี 2562 ร่วมกับตัวแทน
ร่วมให้การต้อนรับคณะผู้นำ�นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เจา้ หนา้ ทีจ่ ากธนาคารออมสนิ สาขาสงขลาและส�ำ นกั งานใหญ่ เมอื่ วนั ท่ี
ตามโครงการสมั มนาแลกเปลย่ี นเรยี นรสู้ รา้ งเครอื ขา่ ยผนู้ �ำ นกั ศกึ ษา ในการน้ี 22 ตุลาคม ที่ผ่านมา ณ ห้องประชุม ช้ัน 4 คณะวิทยาการจัดการ
ตัวแทนของทั้งสองมหาวิทยาลัยได้ร่วมพูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้เกี่ยวกับ มรภ.สงขลา
กระบวนการจัดกิจกรรมนักศึกษา ตลอดจนระเบยี บปฏิบัติตา่ งๆ เพอื่ นำ�ไป
บรู ณาการพัฒนากิจกรรมนักศกึ ษาของท้ังสองมหาวทิ ยาลยั ตอ่ ไป ๖ ลงพน้ื ทส่ี �ำ รวจความตอ้ งการและพฒั นาขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั
๕ บรรเลงและสาธิตดนตรไี ทย ณ สิงคโปร์
อาจารย์และนักศึกษาสาขาวิชาดนตรีไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ เม่ือวันที่ 25 ตลุ าคม ท่ผี า่ นมา คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สงขลา (มรภ.สงขลา) เดนิ ทางไปปฏิบัติหนา้ ทบี่ รรเลง มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา นำ�โดย อาจารย์ศดานนท์ วัตตธรรม
และสาธิตดนตรีไทย ในงาน Crossing Borders Music Festival ณ ผชู้ ว่ ยคณบดฝี า่ ยวางแผน วชิ าการและประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พรอ้ มดว้ ย
โรงละคร Esplanades ประเทศสิงคโปร์ และไดน้ ำ�เสนอการแสดงพน้ื บา้ น คณาจารย์ประจำ�คณะมนุษยศาสตร์ฯ ลงพ้ืนท่ีสำ�รวจความต้องการและ
ภาคใต้ “โนรา” ซึ่งไดร้ ับเสยี งปรบมอื และค�ำ ชนื่ ชมจากผ้ชู มอยา่ งมาก พัฒนาข้อเสนอโครงการวิจัยเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ณ องค์การบริหาร
สว่ นต�ำ บลเกาะยอ อ�ำ เภอเมอื งสงขลา จงั หวัดสงขลา
;ELA1þ <L?<K =L%:)K D" ?L
hmg 033 L}#3A3N% /M4?W L=S5%L " GMW:GW;GQ "D" ?L #K"EA.K D" ?L pgggg
Y1= gnkimgiggk Y1=DL= gnkjhinim
ÍÙÙÕÜÜÜØÐ×ÚÆÈÙÍ «Òùýý ²ß
®© ±®³ª µ·Ä¸°·º