The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วันสำคัญที่มีประวัติน่าสนใจ ในเดือนพฤษภาคม ปี 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

วันสำคัญ เดือนพฤษภาคม63

วันสำคัญที่มีประวัติน่าสนใจ ในเดือนพฤษภาคม ปี 2563

Keywords: วันสำคัญ

วันสำคัญ
เดือนพฤษภำคม

ปี 2563

รวบรวมโดย

หอ้ งสมุดประชาชนอาเภอภซู าง

คานา

ห้องสมุดประชาชนอาเภอภูซางได้เล็งเห็นว่าในแต่ละเดือนน้ันมีวันสาคัญมากมาย และแต่
ละวันสาคัญนัน้ มีความหมาย ประวัติทีน่ ่าค้นหา ทางห้องสมุดประชาชนอาเภอภูซางจึงได้
รวบรวมข้อมูลที่ประชาชนสามารถค้นหาข้อมูลได้ง่ายในเพียงเล่มน้ีเล่มเดียว เพื่อสะดวก
ในการหาข้อมูล หวังวา่ หนังสอื เล่มนจ้ี ะเป็นประโยชน์แก่ผ้อู ่าน

หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอภซู าง
พฤษภาคม 2563

สารบญั 1
2
วนั สาคญั เดือนพฤษภาคม ปี2563 4
10 เรื่อง วนั แรงงานแหง่ ชาติ 5
วันฉตั รมงคล 8
วันวิสาขบชู า
วันพชื มงคง

เดอื น พฤษภาคม ปี 2563

ท่ีมา : http://event.sanook.com/

วันสาคัญ
เดอื น พฤษภาคม ปี 2563

เดอื นพฤษาคมถอื วา่ เปน็ เดอื นทมี่ ีวันสาคญั ๆ มากในระดบั หนง่ึ แตก่ ็มเี พยี งแค่ 3 วนั ทเ่ี ป็นวันหยดุ ราชการ คอื

• วันฉตั รมงคล - 4 พฤษภาคม 2563 (วันหยดุ ราชการ)
วันเฉลิมฉลอง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว ภมู ิพลอดุยเดชฯ เสด็จขน้ึ ครองราชย์ เป็นพระมหากษัตรยิ อ์ นั ดบั
ที่ 10 แห่งราชวงศจ์ กั รี

• วนั วิสาขบชู า - 6 พฤษภาคม 2563 (วนั หยดุ ราชการ)
เป็นวันสาคญั ย่งิ ทางพระพุทธศาสนา เพราะเปน็ วันท่พี ระพุทธเจ้าประสูติ คอื เกดิ ได้ตรสั รู้ คอื สาเรจ็
ไดป้ รนิ ิพพาน คือดับ เกิดข้นึ ตรงกนั ทั้ง ๓ คราว

• วันพืชมงคล - 11 พฤษภาคม 2563 (วันหยุดราชการ)
พระราชพิธพิ ชื มงคลจรดพระนงั คัลแรกนาขวัญ เป็นวันระลกึ ถึงความสาคัญของเกษตรกรรมในเศรษฐกจิ ไทย

10 เรอ่ื ง เก่ยี วกบั วนั แรงงานแหง่ ชาติ

1. แรงงานมมี ากว่า 130 ปแี ล้ว นบั ต้งั แตโ่ ลกก้าวเข้าสูย่ คุ อุตสาหกรรม มกี ารนาเคร่ืองจกั รเขา้ มาใชใ้ นกจิ การ
ต่าง ๆ มากขนึ้ ขณะทีผ่ ู้คนในระบบงานกย็ งั คงทาหน้าทีอ่ ย่างตอ่ เนื่อง

2. การเรียกรอ้ งการกาหนดช่วั โมงการทางานสงู สดุ ไม่เกิน 8 ช่ัวโมง และการทบทวนสทิ ธิ และสวัสดิการตา่ งๆ
ที่แรงงานพึงไดเ้ กดิ ขน้ึ ในปี ค.ศ.1817 ทีส่ หราชอาณาจักร หรอื ทเี่ รยี กกันวา่ EIGHT-HOUR DAY
จากน้นั ในปี 1856 แรงงานชาวออสเตรเลียพรอ้ มใจกนั ประกาศใหว้ ันที่ 21 เมษายน เป็นวนั หยดุ ประจาปี
ของแรงงานทุกคน เพ่อื ระลึกถึงเหตุการณ์นั้น ก่อนท่จี ะเปลี่ยนมาเปน็ วันท่ี 1 พฤษภาคม ในเวลาต่อมา

3. ปี ค.ศ. 1889 แรงงานในสหรัฐอเมริกาไดน้ บั หยดุ งาน และชุมนมุ ประทว้ งเพ่ือสนบั สนุนวันดังกล่าว จน
นาไปสู่ความรุนแรง และโศกนาฏกรรมจากการปะทะกนั ระหวา่ งผู้ชุมนุม และเจ้าหนา้ ท่ี จนกระท่งั ปี 1904
จึงไดม้ ีการเรียกรอ้ งใหอ้ งคก์ รแรงงานทวั่ โลกหยุดงานในวนั ดังกล่าว และถูกจดจาในชอื่ ของ May Day
ยกเว้นประเทศสหรฐั อเมรกิ าและประเทศแคนาดาทถี่ ือเอาวันจันทรแ์ รกของเดือนกันยายนเป็นวนั แรงงาน

4. คาว่า Mayday ยังมคี วามหมายอืน่ นอกเหนอื จากวันแรงงานดว้ ย โดยเป็นโค้ดสัญญาณแจง้ เหตรุ า้ ย
(distress signal) ทใี่ ช้กนั ในระดบั สากล

5. ทางฝง่ั ยุโรปน้นั May Day จะถกู นับเป็นวันแรกของเดอื นพฤษภาคม ซง่ึ ถอื เปน็ วนั แหง่ การเรมิ่ ตน้
ฤดกู าลของการเพาะปลกู ของเกษตรกรในหลายพืน้ ที่ อกี ทั้งยงั มีการจดั พิธเี ฉลมิ ฉลอง และบวงสรวงเพ่ือ
ขอใหเ้ ทพเจา้ อานวยพรใหพ้ ชื ผลทางการเกษตรเป็นไปได้ดว้ ยดี และผูค้ นอยู่ร่วมกนั อย่างสงบสขุ อีกดว้ ย

ท่ีมา : http://lrls.nfe.go.th/LRLS/frontend/theme/view_page.php?ID_Page=20434

10 เรอื่ ง เกีย่ วกบั วนั แรงงานแหง่ ชาติ (ตอ่ )

6. สาหรบั ประเทศไทยนั้น ได้เร่มิ มกี ารจัดระบบบรหิ ารจัดการแรงงาน ไมว่ า่ จะเป็นการจดั สรรและพฒั นา
ทกั ษะฝมี ือแรงงาน รวมทัง้ ความคมุ้ ครองและดูแลสภาพการทางานอยา่ งเปน็ รปู ธรรมขึน้ ในปี พ.ศ.2475
กอ่ นท่ี ปี 2499 คณะกรรมการการจดั งานทีร่ ะลกึ แรงงาน ไดจ้ ดั ประชุม และลงความเหน็ วา่
ควรกาหนดให้วันที่ 1 พฤษภาคม เป็นวันระลกึ ถึงแรงงานไทย จากนนั้ จึงได้มีหนังสือถงึ นายกรฐั มนตรี
ขอให้รบั รองวนั ท่ี 1 พฤษภาคม เป็น วันกรรมกรแห่งชาติ และเปลย่ี นช่อื เป็น วันแรงงานแหง่ ชาติ ในปี 2500

7. การจดั งาน วันแรงงานแหง่ ชาติ อยา่ งเปน็ ทางการเรม่ิ ขน้ึ ครง้ั แรกในปี 2517 โดยความรบั ผิดชอบของกรมแรงงาน
ซง่ึ สงั กดั กระทรวงมหาดไทยในขณะนนั้ จัดงานเฉลมิ ฉลองวันแรงงานขึน้ ท่ีสวนลุมพินี โดยภายในงานมีการ
ทาบญุ ตกั บาตร นิทรรศการให้ความรู้ รวมทั้งกจิ กรรมสันทนาการอนื่ ๆ

8. วนั แรงงานแหง่ ชาติ 1 พฤษภาคม นนั้ ไมถ่ ือวา่ เปน็ วนั หยดุ ราชการ หน่วยงานราชการยังคงเปดิ ทาการ และ
ใหบ้ ริการตามปกติ ส่วนทมี่ ีการหยุดงานจะเปน็ รัฐวิสาหกจิ และภาคเอกชนเทา่ นนั้

9. ตามสถิติของกระทรวงแรงงาน ปัจจุบนั ประเทศไทยมี แรงงานอยู่ราว 38 ลา้ นคน แบง่ เปน็ ผมู้ ีงานทา 37 ลา้ น
คน วา่ งงาน 3.7 แสนคน และมกี าลังแรงงานตามฤดูกาลอีกราว 1.9 แสนคน

10. ค่าแรงขัน้ ต่าของประเทศไทย ในกรุงเทพมหานคร นับยอ้ นหลงั 10 ปีท่ีผ่านมานัน้ ปี 2553 แรงงานไทยมี
คา่ แรงรายวันอย่ทู ี่ 206 บาท โดยมกี ารปรบั ข้นึ ค่าแรงข้ันตา่ มาเปน็ 300 บาทต่อวัน เมอ่ื ปี 2555 ก่อนจะ
ขยับขึ้นมาเปน็ ค่าแรงขนั้ ต่า 310 บาทตอ่ วันในปี 2559 และเพมิ่ มาเป็น 325 บาท เม่ือปี 2561 ทีผ่ ่านมา
รวมเฉล่ีย ค่าแรงขั้นต่าของแรงงานไดเ้ พิ่มขนึ้ มา 57% ในช่วง 10 ปที ่ผี ่านมา

ท่ีมา : https://www.bangkokbiznews.com/news/detail/878680

วันฉตั รมงคล

https://www.bbc.com/thai/thailand-48159261

วนั ฉตั รมงคล เป็นวันท่รี ะลึกในการครบรอบปที ี่พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู ัว ทรงรบั พระบรมราชาภเิ ษกเปน็
พระมหากษัตริย์แหง่ ประเทศไทยโดยสมบูรณต์ ามโบราณราชประเพณี
พระราชพธิ ฉี ัตรมงคล เร่มิ มขี นึ้ เป็นครงั้ แรกในสมยั พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัว รชั กาลท่ี 4 ในขณะนนั้
พระองค์ทรงมพี ระราชดาริวา่ วันท่พี ระองคไ์ ดเ้ สดจ็ เถลงิ ถวลั ยราชสมบัตบิ รมราชาภเิ ษกนั้น นับวา่ เปน็ มหามงคลสมัยที่
ประเทศท้งั ปวงมพี ระเจา้ แผ่นดนิ ยอ่ มให้นบั ถือวันนน้ั เป็นวนั นกั ขัตฤกษ์มงคลกาล แต่ในกรงุ สยามมไิ ด้มีการนกั ขตั
ฤกษ์อนั ใด ครั้งน้ี วันบรมราชาภเิ ษกของพระองค์ตรงกบั สมยั ท่เี จ้าพนักงานไดส้ มโภชเคร่อื งราชูปโภคแต่เดิมมา ควรจะมี
การสมโภชพระมหาเศวตฉตั รให้เป็นสวสั ดมิ งคลแก่ราชสมบัติ พระองค์จึงไดท้ รงมพี ระราชดาจัดการพระราชกุศล
พระราชทานนามวา่ ฉตั รมงคล
พระราชพธิ บี รมราชาภเิ ษก พระเจา้ อยูห่ วั รชั กาลที่ 10 ระหว่างวันที่ 4-6 พ.ค. 2562 ถือเปน็ พระราชพิธคี ร้งั ที่ 12
นับต้ังแต่มีการสถาปนากรุงรัตนโกสินทรม์ า 237 ปี

วนั วิสาขบูชา เร่ิมตน้ ครงั้ แรกในประเทศไทยตงั้ แตส่ มยั กรงุ สโุ ขทยั เปน็ ราชธานี สันนษิ ฐาน
ว่าได้รับแบบแผนมาจากลังกา นนั่ คือ เมอ่ื ประมาณ พ.ศ. 420 พระเจา้
ภาติกรุ าช กษตั รยิ แ์ ห่งกรุงลงั กา ไดป้ ระกอบพิธีวิสาขบูชาขน้ึ เพอื่ ถวายเป็น
พทุ ธบชู า จากน้นั กษัตรยิ ล์ งั กาพระองค์อ่ืน ๆ ก็ปฏิบัติประเพณีวสิ าขบูชาน้ี
สบื ทอดตอ่ กันมา

วันวสิ าขบชู า ถือเปน็ วนั สาคัญยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเปน็ วนั ทเี่ กดิ 3 เหตกุ ารณ์สาคญั ท่เี กย่ี วกับวิถชี ีวติ ของ
พระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เวียนมาบรรจบกนั ในวนั เพ็ญ เดือน 6 แมจ้ ะมีช่วงระยะเวลาหา่ งกันนบั เป็นเวลาหลายสิบปี
ซึง่ เหตกุ ารณอ์ ัศจรรย์ 3 ประการ ได้แก่...

• เปน็ วนั ที่พระพุทธเจ้าประสูติ

เมอ่ื พระนางสริ มิ หามายา พระมเหสีของพระเจ้าสุทโธทนะ แหง่ กรุงกบลิ พสั ดุ์ ทรงพระครรภแ์ กจ่ วนจะประสตู ิ
พระนางแปรพระราชฐานไปประทับ ณ กรุงเทวทหะ เพอื่ ประสูติในตระกูลของพระนางตามประเพณีนยิ มในสมยั น้นั
ขณะเสดจ็ แวะพักผอ่ นพระอริ ิยาบถใต้ตน้ สาละ ณ สวนลุมพินีวัน พระนางกไ็ ดป้ ระสูติพระโอรส ณ ใต้ต้นสาละนั้น ซง่ึ
ตรงกบั วันเพญ็ เดอื น 6 กอ่ นพทุ ธศกั ราช 80 ปี คร้ันพระกุมารประสูตไิ ด้ 5 วนั ก็ได้รบั การถวายพระนามว่า
"สทิ ธตั ถะ" แปลว่า "สมปรารถนา"

เม่ือข่าวการประสูติแพรไ่ ปถงึ อสิตดาบส 4 ผอู้ าศยั อย่ใู นอาศรมเชงิ เขาหิมาลยั และมีความคุ้นเคยกบั พระ
เจา้ สทุ โธทนะ ดาบสจงึ เดนิ ทางไปเข้าเฝ้า และเม่ือเหน็ พระราชกมุ ารกท็ านายไดท้ นั ทวี า่ นคี่ ือผจู้ ะตรสั รเู้ ป็นพระสัมมาสัม
พทุ ธเจ้า จึงกลา่ วพยากรณ์ว่า "พระราชกุมารนจี้ ักบรรลุพระสัพพัญญตุ ญาณ เห็นแจ้งพระนพิ พานอันบรสิ ทุ ธอ์ิ ย่างยงิ่
ทรงหวงั ประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก จะประกาศธรรมจกั รพรหมจรรยข์ องพระกมุ ารนจี้ ักแพร่หลาย" แล้วกราบลงแทบ
พระบาทของพระกมุ าร พระเจา้ สุทโธทนะทอดพระเนตรเหน็ เหตุการณน์ ้นั ทรงรสู้ กึ อัศจรรย์และเป่ียมลน้ ด้วยปีติ ถึงกบั
ทรดุ พระองคล์ งอภวิ าทพระราชกุมารตามอยา่ งดาบส

วนั วิสาขบูชา (ต่อ)

• เป็นวันทพ่ี ระพทุ ธเจ้าตรสั ร้อู นุตตรสัมมาสมั โพธญิ าณ

หลังจากออกผนวชได้ 6 ปี จนเมอื่ พระชนมายุ 35 พรรษา เจา้ ชายสิทธตั ถะก็ทรงตรัสรเู้ ปน็ พระพทุ ธเจ้า ณ ใต้รม่ ไมศ้ รี
มหาโพธิ์ ฝัง่ แมน่ ้าเนรญั ชรา ตาบลอรุ ุเวลาเสนานิคม ในตอนเชา้ มืดของวันพธุ ขน้ึ 15 คา่ เดือน 6 ปรี ะกา กอ่ น
พทุ ธศักราช 45 ปี ปจั จบุ นั สถานท่ีตรัสร้แู ห่งนเ้ี รยี กวา่ พุทธคยา เป็นตาบลหนึ่งของเมืองคยา แหง่ รฐั พหิ าร ของ
อนิ เดยี

สง่ิ ท่ีตรัสรู้ คอื อริยสจั ส่ี เปน็ ความจรงิ อนั ประเสรฐิ 4 ประการของพระพุทธเจา้ ซงึ่ พระพทุ ธเจ้าเสดจ็ ไปทีต่ น้ มหาโพธ์ิ
และทรงเจริญสมาธภิ าวนาจนจติ เป็นสมาธไิ ด้ฌานที่ 4 แล้วบาเพ็ญภาวนาตอ่ ไปจนได้ฌาน 3 คือ

- ยามต้น : ทรงบรรลุ "ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ" คือ ทรงระลึกชาตใิ นอดีตทั้งของตนเองและผ้อู น่ื ได้
- ยามสอง : ทรงบรรลุ "จุตปู ปาตญาณ" คอื การร้แู จง้ การเกดิ และดับของสรรพสัตวท์ ัง้ หลาย ดว้ ยการมตี าทพิ ย์
สามารถเห็นการจตุ ิและอบุ ตั ขิ องวิญญาณทง้ั หลาย
- ยามสาม หรือยามสดุ ท้าย : ทรงบรรลุ "อาสวกั ขยญาณ" คือ รวู้ ธิ ีกาจัดกเิ ลสดว้ ย อริยสัจ 4 (ทกุ ข์ สมทุ ัย นโิ รธ
มรรค) ได้ตรัสรเู้ ป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในคนื วันเพญ็ เดือน 6 ซงึ่ ขณะนนั้ พระพทุ ธองคม์ พี ระชนมายไุ ด้ 35 พรรษา

วนั วิสาขบูชา (ตอ่ )

• เป็นวนั ท่พี ระพุทธเจ้าเสด็จเขา้ สู่ปรินพิ พาน

เมอ่ื พระพทุ ธองคไ์ ด้ตรสั รู้และแสดงธรรมเปน็ เวลานานถงึ 45 ปี จนมพี ระชนมายุได้ 80 พรรษา ได้ประทับจาพรรษา
ณ เวฬคุ าม ใกลเ้ มอื งเวสาลี แคว้นวัชชี ในระหว่างน้ันทรงพระประชวรอยา่ งหนัก ครั้นเมื่อถงึ วนั เพญ็ เดอื น 6 พระพทุ ธ
องค์กบั พระภกิ ษสุ งฆท์ งั้ หลาย ก็ไปรบั ภตั ตาหารบณิ ฑบาตท่บี า้ นนายจนุ ทะ ตามคากราบทูลนิมนต์ พระองค์เสวยสู
กรมทั ทวะท่นี ายจุนทะตง้ั ใจทาถวายก็เกิดอาพาธลง แต่ทรงอดกลนั้ มงุ่ เสดจ็ ไปยงั เมืองกุสนิ ารา ประทับ ณ ปา่ สาละ
เพื่อเสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรนิ พิ พาน

เมอ่ื ถงึ ยามสุดทา้ ยของคนื นัน้ พระพุทธองคก์ ท็ รงประทานปจั ฉมิ โอวาทวา่ "ดกู อ่ นภิกษุทงั้ หลายอันวา่ สังขาร
ท้ังหลายย่อมมคี วามเสื่อมสลายไปเป็นธรรมดา ท่านทงั้ หลายจงยงั กิจทง้ั ปวงอันเป็นประโยชน์ของตนและประโยชนข์ อง
ผอู้ ื่นให้บริบรู ณด์ ว้ ยความไมป่ ระมาทเถิด" หลงั จากนั้นกเ็ สด็จเขา้ ดบั ขันธป์ รนิ ิพพาน ในราตรีเพ็ญ เดือน 6 นัน้

• การประกอบพธิ ใี นวนั วสิ าขบชู า

การประกอบพิธใี น วนั วิสาขบชู า จะแบง่ ออกเป็น 3 พิธี ได้แก่

1. พิธหี ลวง คอื พระราชพิธสี าหรับพระมหากษตั รยิ ์ พระบรมวงศานวุ งศ์ ประกอบในวนั วสิ าขบูชา
2. พิธรี าษฎร์ คอื พธิ ีของประชาชนทวั่ ไป
3. พธิ ขี องพระสงฆ์ คอื พิธที พ่ี ระสงฆ์ประกอบศาสนกจิ

วันพืชมงคล

พระราชพธิ จี รดพระนังคัลแรกนาขวญั หรือพธิ แี รกนา เปน็ พระราชพธิ ีที่มมี าตงั้ แตโ่ บราณเมอ่ื ครง้ั ทส่ี โุ ขทยั เปน็ ราชธานี
ซง่ึ ในสมยั น้ันพระมหากษตั รยิ ม์ ไิ ดล้ งมอื ไถนาเอง เพยี งแต่เสดจ็ ฯ ไปเปน็ องคป์ ระธานในพระราชพิธเี ทา่ นนั้ เม่อื คร้นั ถึง
สมยั กรุงศรีอยุธยา พระมหากษตั ริยไ์ มไ่ ดเ้ สด็จฯ ไปเปน็ องค์ประธาน แตจ่ ะมอบอาญาสทิ ธิ์ใหโ้ ดยทรงทาเหมอื นอยา่ ง
ออกอานาจกษตั รยิ ์และจะทรงจาศีลเปน็ เวลา 3 วัน โดยวิธีการเช่นนีไ้ ดป้ ฏบิ ัติอยา่ งต่อเนอ่ื งตลอดมาจนถึงปลายสมยั
กรุงศรีอยุธยา

พระราชพิธีพืชมงคล เป็นพิธีทาขวัญพืชพันธุ์ธัญญาหารท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงอธิษฐานเพื่อความอุดม
สมบูรณข์ องพืชพันธ์ุในราชอาณาจักรไทย โดยขา้ วทีน่ ามาเข้าพธิ ีพชื มงคลนั้นเป็นขา้ วเปลือก มที ง้ั ขา้ วเจา้ และข้าวเหนียว
อกี ทัง้ ยงั มีเมลด็ พืชชนิดตา่ งๆ รวมกวา่ 40 ชนิด ซึ่งแต่ละชนิดจะถูกบรรจุอยู่ในถุงผ้าขาว นอกจากน้ีก็ยังมีข้าวเปลือกที่
ใช้สาหรับหว่านในพิธีแรกนาบรรจุเข้ากระเช้าทองคู่หน่ึงและเงินอีกคู่หน่ึง เป็นข้าวพันธุ์ดีที่โปรดฯ ให้ปลูกในสวน
จิตรลดาและพระราชทานมาเข้าพิธีพืชมงคล ซึ่งพันธ์ุข้าวพระราชทานนี้จะใช้หวานในพระราชพิธีแรกนาส่วนหนึ่ง ส่วนท่ี
เหลือทางการจะบรรจุซองแล้วส่งไปแจกจ่ายแก่ชาวนานและประชาชนในจังหวัดต่างๆ เพื่อเป็นมิ่งขวัญและเป็นสิริมงคล
แก่พืชผลท่ีจะเพาะปลกู ในปีน้ี

• พระราชพิธีพชื มงคลจรดพระนังคลั แรกนาขวัญเป็นพระราชพิธี ๒ พิธรี วมกนั คือ
พระราชพธิ ีพืชมงคล อนั เปน็ พธิ ีสงฆ์ อยา่ งหน่งึ ซ่ึงจะประกอบพระราชพธิ ีวันแรกในพระอโุ บสถวดั พระศรีรตั นศาสดาราม

พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวญั อนั เปน็ พธิ ีพราหมณ์ อย่างหน่ึง ซ่ึงจะประกอบพระราชพิธีในวันรุ่งข้ึน ณ มณฑล
พิธสี นามหลวง

https:www.moac.go.th

อ้างองิ

10 เร่ืองวันแรงงานแหง่ ชาติ (ออนไลน์).2563. สบื ค้นจาก www.bangkokbiznews.com (3 พฤษภาคม 2563)
วันฉตั รมงคล (ออนไลน์).2562. สบื คน้ จาก www.event.sanook.com (3 พฤษภาคม 2563)
ประวตั วิ ันฉัตรมงคล (ออนไลน์).2562. สบื คน้ จาก www.bbc.com (3 พฤษภาคม 2563)
ประวัติวันวสิ าขบูชา (ออนไลน์).2561. สบื ค้นจาก https://hilight.kapook.com (3 พฤษภาคม 2563)
วันพืชมงคล (ออนไลน์). 2560. สบื ค้นจาก http://event.sanook.com (3 พฤษภาคม 2563)
ประวตั ิวันพืชมงคลหรอื วนั แรกนาขวญั . 2560. สบื ค้นจาก https://www.moac.go.th (3 พฤษภาคม 2563)


Click to View FlipBook Version