The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

คู่มือการจัดทำแผนปฏิบัติงานประจำปีของสำนักงานที่ดิน (ปี 2561)

กองแผนงาน

Keywords: ด้านทั่วไป

ค่มู ือ
การจัดทาแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปี

ของสานกั งานที่ดนิ

จดั ทาโดย
กองแผนงาน กรมทดี่ นิ

ค่มู ือ
การจัดทาแผนปฏบิ ัตงิ านประจาปี

ของสานกั งานที่ดนิ

จดั ทาโดย
กองแผนงาน กรมทดี่ นิ

คานา

จากการที่กองแผนงาน ได้ไปเป็นวิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทาแผนงาน/โครงการแก่หัวหน้า
ฝ่ายอานวยการ สานักงานท่ีดินจังหวัดท่ัวประเทศ พบว่าหัวหน้าฝ่ายอานวยการหลายแห่ง ใช้ข้อมูลใน
การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี ตั้งแต่ข้ันคาขอตั้งงบประมาณ จนกระทั่งข้ันตอนการจัดทารายละเอียด
ประกอบการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี ไม่สอดคล้องตรงกัน กองแผนงานจึงได้มีแนวคิดในการจัดทาคู่มือ
การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักงานท่ีดินข้ึน เพื่อให้ทุกสานักงานท่ีดินได้ทราบแนวทางการนาข้อมูล
ต่างๆ ตามแบบรายงาน บทด. 72 - 73 และข้อมูลอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประกอบการกาหนดเป้าหมายของ
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน อันจะส่งผลให้สานักงานท่ีดินมี
แนวทางการจัดทาที่เข้าใจง่าย สอดคล้องกัน เห็นความสาคัญของความครบถ้วนถูกต้องในการจัดทาแบบ
รายงานตา่ งๆ เพ่ิมมากขึ้นด้วย

นอกจากนี้ การจดั ทาคู่มือแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี นอกจากจะมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ทุกสานักงานท่ีดิน
ไดท้ ราบแนวทางการนาข้อมลู ต่างๆ ตามแบบรายงาน บทด. 72 - 73 และข้อมูลอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องมาใช้ประกอบ
การกาหนดเป้าหมายของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมต่างๆ ให้สอดคล้องและเป็นไปในทิศทางเดียวกันแล้ว
ยังมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้การจัดทาแผนของทุกหน่วยงานมีการประสานสอดคล้องกับนโยบาย และแผน
ระดบั ชาติ กระทรวง และระดับกรม รวมทงั้ สามารถบรู ณาการประสานสอดรบั กับยทุ ธศาสตร์ต่างๆ ของจังหวัด
และกลุ่มจังหวัด อันส่งผลให้การดาเนินการในภาพรวมของกรมท่ีดินเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และบรรลุ
ผลสมั ฤทธิ์ตามเปา้ หมายท่กี าหนด

กองแผนงานหวังเป็นอย่างย่ิงว่าคู่มือการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักงานที่ดินฉบับนี้
จะเปน็ ประโยชน์แกส่ านกั งานทด่ี ินทั้ง 830 แห่ง หากขอ้ ความของคูม่ ือมีความผิดพลาดประการใด หรือหากมี
ขอ้ เสนอแนะทจ่ี ะเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงคู่มือ ผู้จัดทาขอน้อมรับไว้ด้วยความยินดีและพร้อมท่ีจะปรับปรุง
แกไ้ ข เพ่อื ความถูกต้องสมบูรณ์ตอ่ ไป

กองแผนงาน
มกราคม 2561

คู่มือการจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานกั งานที่ดนิ

สารบญั หน้า

เร่ือง 1
3
คานา 3
5
บทที่ 5

1 บทนา 6
ท่ีมา 8
วตั ถปุ ระสงค์ 10
ความหมายและความสาคัญของการวางแผน 12
ขอบเขต 14
ประโยชน์ของการจดั ทาค่มู ือ 22
26
2 ความรพู้ ืน้ ฐานท่ใี ชป้ ระกอบการจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี 27
รา่ งยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 257๙)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 30
แผนยทุ ธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2560 – 2564) 45
แผนยทุ ธศาสตรก์ รมท่ดี ิน
แผนพฒั นาจงั หวดั /กลมุ่ จงั หวัด และแผนพฒั นาภาค 62
ข้อมลู ภาพรวมของสานกั งานทีด่ นิ 63
แผนผังกระบวนการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี (Work flow) 63
ขัน้ ตอนการจดั ทาแผนปฏิบัตงิ านประจาปี 80
82
3 แบบฟอร์มทใ่ี ช้ในการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานกั งานทีด่ นิ
แบบฟอร์มท่ีใช้ประกอบคาขอตัง้ งบประมาณประจาปี
แบบฟอร์มท่ีใช้ประกอบการจดั ทาแผนปฏบิ ตั กิ ารกรมที่ดนิ ประจาปี

4 การจัดทาโครงการ
ความหมายของโครงการ
ลักษณะโครงการท่ีดี
แบบฟอรม์ การเขียนโครงการ

บรรณานกุ รม

ภาคผนวก

ค่มู อื การจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ีดิน

บทที่ 1

บทนำ

ท่ีมำ

การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของทุกหน่วยงานในภาคราชการ ถูกกาหนดให้มีการจัดทาแผนใน
ระดับต่างๆ ได้แก่ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนปฏิบัติราชการ แผนปฏิบัติการประจาปี และแผนการ
ปฏิบตั งิ านประจาปี โดยมบี ทบญั ญตั ขิ องกฎหมายฉบับต่างๆ กาหนดไว้ ดังนี้

1. พระราชบัญญัติระเบียบบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ พ.ศ. 2534 และแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดบทบัญญัติต่างๆ ที่ให้ความสาคัญและเป็น
มลู เหตุของการจัดทา ไวด้ ังน้ี

“มาตรา 3/1 การบริหารราชการตามพระราชบัญญัติน้ี ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของ
ประชาชน เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดข้ันตอน
การปฏบิ ัติงาน การลดภารกิจและยุบเลกิ หนว่ ยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถ่ิน
การกระจายการตัดสินใจ การอานวยความสะดวก และการตอบสนองความต้องการของประชาชน ท้ังนี้ โดยมี
ผรู้ บั ผดิ ชอบตอ่ ผลงาน ...”

“มาตรา 21 ในกระทรวงใหม้ ีปลัดกระทรวงคนหนง่ึ มีอานาจหน้าท่ี ดงั นี้
(1) รับผิดชอบควบคุมราชการประจาในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนการ
ปฏิบตั ริ าชการ กากบั การทางานของส่วนราชการในกระทรวงให้เกิดผลสัมฤทธิ์ และประสานการปฏิบัติงานของ
ส่วนราชการในกระทรวงให้มีเอกภาพสอดคล้องกัน รวมท้ังเร่งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบัติราชการ
ของสว่ นราชการในกระทรวง
(2) ...”

“มาตรา 12 กรมมีอานาจหน้าที่เก่ียวกับราชการของกระทรวงตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวง
แบ่งส่วนราชการของกรม หรอื ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยอานาจหนา้ ทขี่ องกรมนัน้

ในกรมหนึง่ มอี ธบิ ดคี นหน่งึ เป็นผบู้ งั คบั บญั ชาขา้ ราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของ
กรมใหเ้ กิดผลสัมฤทธ์ิและเป็นไปตามเป้าหมาย แนวทาง และแผนการปฏิบัติราชการของกระทรวงและในกรณี
ที่มีกฎหมายอื่นกาหนดอานาจหน้าที่ของอธิบดีไว้เป็นการเฉพาะ การใช้อานาจและการปฏิบัติหน้าที่ตาม
กฎหมายดังกล่าวให้คานึงถึงนโยบายท่ีคณะรัฐมนตรีแถลงไว้ต่อรัฐสภาหรือที่คณะรัฐมนตรีกาหนด หรืออนุมัติ
และในนโยบาย แนวทาง และแผนการปฏบิ ัตริ าชการของกระทรวงดว้ ย ...”

2. พระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ซ่ึงเป็น
พระราชบญั ญัติที่ออกตามความในมาตรา 3/1 แห่งพระราชบญั ญตั ิ ระเบยี บบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับท่ี 5)
ได้กาหนดบทบัญญัตอิ ันเกี่ยวเนอ่ื งใหท้ ุกหน่วยงานต้องมีการจัดทาแผนฯ ไวด้ ังน้ี

“มาตรา 9 การบริหารราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อภารกิจของรัฐ ให้ส่วนราชการปฏิบัติ
ดังตอ่ ไปน้ี

คูม่ อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานักงานทดี่ นิ

2

(1) ก่อนจะดาเนินการตามภารกิจใด ส่วนราชการต้องจัดทาแผนปฏิบัติราชการไว้เป็นการ
ลว่ งหนา้

(2) การกาหนดแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการตาม (1) ต้องมีรายละเอียดของข้ันตอน
ระยะเวลาและงบประมาณทจี่ ะตอ้ งใช้ในการดาเนินการของแต่ละขั้นตอน เป้าหมายของภารกิจ ผลสัมฤทธ์ิของ
ภารกิจ และตวั ช้ีวดั ความสาเร็จของภารกจิ

(3) ...”

“มาตรา 16 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการของส่วนราชการน้ัน โดยจัดทาเป็น
แผนสป่ี ี ซ่ึงจะต้องสอดคลอ้ งกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ...”

3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2547 ได้
กล่าวถงึ การจดั ทาแผนการบริหารราชการแผน่ ดิน ตามนยั กฎหมาย 2 ฉบบั ข้างต้น ไวด้ งั น้ี

“ข้อ 8 ให้ส่วนราชการจัดทาแผนปฏิบัติราชการตามมาตรา 16 แห่งพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
หลักเกณฑ์และวิธกี ารบริหารกิจการบา้ นเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ภายในกาหนด ดังนี้

(1) แผนปฏิบัติราชการส่ีปี ให้จัดทาให้แล้วเสร็จภายในหกสิบวันนับแต่วันที่แผนการบริหาร
ราชการแผน่ ดินประกาศใช้ในราชกจิ จานเุ บกษา

(2) แผนปฏิบตั ิราชการประจาปี ให้จัดทาและเสนอรฐั มนตรีใหค้ วามเห็นชอบก่อนเสนอคาขอ
ตัง้ งบประมาณรายจ่ายประจาปขี องปงี บประมาณต่อไป”

กลำ่ วโดยสรุป จากระเบียบกฎหมายท่ีกล่าวมาท้ัง 3 ฉบับ จะพบว่าเม่ือรัฐบาลแถลงนโยบายต่อรัฐสภา
รัฐบาลต้องมีการจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดินข้ึน เพื่อให้ทุกหน่วยงานนาไปแปลงสู่การปฏิบัติ
โดยหน่วยงานในระดับกระทรวงจะต้องจัดให้มีการจัดทาแผนปฏิบัติราชการสี่ปี และแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปี ซง่ึ หนว่ ยงานในระดบั กรมได้มกี ารบรรจุแผนงาน/โครงการของหน่วยงานลงในแผนปฏิบัติราชการของ
กระทรวงดังกลา่ วด้วย ดังเช่นกระทรวงมหาดไทยได้มีการจัดทาแผนปฏิบัติราชการสี่ปี และแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีของกระทรวงมหาดไทย โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเป็นผู้ลงนามให้ความเห็นชอบแผน
ดังกล่าว ซึ่งแผนน้ันได้บรรจุแผนของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวงมหาดไทยไว้ทั้งหมด ภายใต้แผน
ยุทธศาสตร์ของกระทรวงมหาดไทย ได้แก่ กรมการปกครอง กรมที่ดิน กรมโยธาธิการและผังเมือง กรมการ
พัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย รวมไปถึงรัฐวิสาหกิจใน
สงั กดั ด้วย

ในสว่ นของหน่วยงานระดับกรม เมื่อกระทรวงมหาดไทยมีการจัดทาแผนปฏิบัติราชการแล้ว กรมที่ดิน
ต้ อ ง มี ก า ร จั ด ท า แ ผ น ป ฏิ บั ติ ก า ร ก ร ม ที่ ดิ น ป ร ะ จ า ปี ข้ึ น เ พื่ อ ใ ห้ ส อ ด รั บ กั บ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ข อ ง
กระทรวงมหาดไทยดังกล่าว และในหน่วยงานย่อยลงไป สาหรับสานัก/กอง/สานักงาน ก็เช่นกันที่จะต้องมี
แผนปฏบิ ตั ิงานรองรับแผนปฏิบัตกิ ารกรมท่ดี ิน

เป็นที่น่าสังเกตว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 – 256๑ กระทรวงมหาดไทยไม่ได้มีการจัดทา
แผนปฏิบัติราชการส่ีปี มีเพียงแผนปฏิบัติราชการประจาปีเท่าน้ัน สืบเน่ืองจากการจัดทาแผนการบริหาร
ราชการแผ่นดิน เป็นการนาตามนัยรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550 มาตรา 76 คณะรัฐมนตรี
ต้องจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน เพ่ือแสดงมาตรการและรายละเอียดของแนวทางในการปฏิบัติ
ราชการในแต่ละปีของการบริหารราชการแผ่นดิน ซึ่งต้องสอดคล้องกับแนวนโยบายพ้ืนฐานแห่งรัฐ เมื่อมี

ค่มู ือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานที่ดิน

3

การยกเลิกรัฐธรรมนูญฉบับนี้ จึงไม่ได้มีการจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน อันส่งผลให้ไม่มีการจัดทา
แผนปฏิบัตริ าชการสี่ปี คงเหลอื แต่การจดั ทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีเท่าน้ัน

สาหรับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย ฉบับปัจจุบนั พ.ศ. 2560 มาตรา 65 ได้กาหนดให้ “รัฐจัด
ให้มียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างย่ังยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพื่อใช้เป็นกรอบใน
การจัดทาแผนตา่ งๆ ใหส้ อดคลอ้ งและบูรณาการกัน เพ่ือให้เกิดเป็นพลังผลักดันร่วมกันไปสู่เป้าหมายดังกล่าว”
ซ่ึงขณะนี้อยู่ระหว่างการจัดทายุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี เม่ือร่างยุทธศาสตร์ฉบับนี้ประกาศใช้จะมีแนว
ทางการจดั ทาแผนในระดบั ต่างๆ ชัดเจนขึ้น

จากท่ีกล่าวมาแลว้ ข้างตน้ ทุกหน่วยงานมีความจาเป็นต้องจัดทาแผนฯ ให้สอดคล้องสอดรับกับแผนใน
ระดับต่างๆ และใช้เป็นกรอบแนวทางในการบริหารจัดการการปฏิบัติงานและใช้ในการกากับติดตามและ
ประเมนิ ผล เพอื่ ใหบ้ คุ ลากรในสังกัดร่วมกันนาพาองค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์เป้าหมายตามที่กรมที่ดินกาหนด
ไว้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผลสงู สุด

วตั ถปุ ระสงค์

การจัดทาคู่มอื การจดั ทาแผนปฏบิ ัติงานประจาปี มีวัตถปุ ระสงค์
1. เพื่อให้บุคลากรของสานักงานท่ีดินในสังกัดกรมท่ีดินใช้เป็นแนวทางในการจัดทาแผนปฏิบัติงาน
ประจาปขี องหน่วยงานให้ประสานสอดคล้องกนั อย่างเป็นระบบและเป็นมาตรฐานเดยี วกัน
2. เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการดาเนินงานให้บรรลุเปา้ หมายตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กาหนด และใน
การบริหารงบประมาณให้สมประโยชน์และคุ้มค่าแก่การปฏิบัติงานตามภารกิจ ตลอดจนเป็นประโยชน์ต่อ
การติดตามประเมนิ ผล เพ่อื ใหก้ ารปฏิบตั งิ านเปน็ ไปอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล

ควำมหมำยและควำมสำคัญของกำรวำงแผน

กำรวำงแผน (Planning) เป็นหน้าท่ีของการจัดการท่ีสาคัญอย่างหน่ึงซึ่งเก่ียวข้องกับการกาหนด
เปา้ หมายสาหรบั การปฏิบตั งิ านขององค์การในอนาคต และการตดั สินใจในงาน รวมทั้งทรัพยากรที่ใช้ประโยชน์
ตามตอ้ งการเพื่อให้บรรลผุ ลสาเร็จ และในระดบั พนื้ ฐานการวางแผนเปน็ การกาหนดเป้าหมายขององค์การ และ
จาแนกหนทางเพ่ือความสาเรจ็ (รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ, 2540: 593)

ความหมายของการวางแผนนนั้ มผี ู้ให้ความหมายของการวางแผนไว้ตา่ งๆ กนั ดงั เชน่
กำรวำงแผน หมายถึง กระบวนการท่ีเกย่ี วข้องกบั กิจกรรม ดงั นี้ (1) การพิจารณาสิ่งแวดล้อมโอกาส
และอุปสรรค (Opportunity and Treats) (2) การระบุจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) ของ
องค์การ (3) การพัฒนาของแผนธุรกจิ ซึ่งเก่ียวข้องกบั ภาระหน้าท่ีขององค์การ วัตถุประสงคร์ ะยะสั้น ระยะยาว
แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ และการบรรยายความต้องการทรัพยากร และการจัดสรรทรัพยากร
(4) การปรับปรุงแผนให้ทันสมัยตามกาลเวลาให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงตามจุดแข็ง จุดอ่อน อุปสรรค
โอกาส และผลลัพธท์ ต่ี อ้ งการ เช่น ลดค่าใชจ้ ่ายในยุคเศรษฐกิจตกต่า เป็นต้น (รศ.ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ,
2540:593)
กำรวำงแผน หมายถึง กระบวนการในการกาหนดเป้าหมายไว้ในอนาคต การกาหนดในการใช้
ทรัพยากร และการปฏิบัติท่ีจะให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีได้ตั้งไว้ (Dubrin & Ireland: 1993,107)
การวางแผนจะเก่ียวเน่ืองกับภารกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ เพ่ือให้บรรลุวัตถุประสงค์ซึ่งต้องอาศัยการตัดสินใจ
ทางเลอื กท่จี ะนาไปสวู่ ัตถุประสงค์ที่เลอื กไว้

คู่มือการจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทดี่ ิน

4

กำรวำงแผน หมายถึง การพัฒนาเป้าหมาย และวิธีการต่างๆ ขององค์การให้ประสบความสาเร็จ
การวางแผน คือ การมองล่วงหน้าถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นถึงแม้ว่าจะมีความไม่แน่นอนบางอย่าง (มนูญ ตนะวัฒนา,
2539:48)

การวางแผนที่ดีย่อมเปรียบเสมือนการกระทาได้สาเร็จไปแล้วคร่ึงหนึ่ง ดังนั้น ถ้าไม่มีการวางแผน
การทางาน งานกส็ าเรจ็ ไดย้ าก หรอื อาจเบ่ียงเบนไปจากความต้องการตามวตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดไว้

ควำมสำคญั ของกำรวำงแผน มีดงั น้ี
1. ช่วยให้สามารถกาหนดหน่วยงาน และบุคลากรท่ีจะรับผิดชอบงานแต่ละชนิดได้ ช่วยให้สามารถ
จัดสรรอตั รากาลัง ความสามารถของบคุ ลากร จดั สรรทรัพยากรทมี่ ีอยูใ่ ห้นามาใชไ้ ด้อยา่ งเกิดประโยชนส์ งู สดุ
2. ช่วยให้กิจการสามารถกาหนดนโยบายได้ชัดเจนข้ึน เพื่อให้การดาเนินงานของแต่ละหน่วยงานมี
ความเปน็ ไปในทิศทางเดียวกัน มงุ่ ส่ผู ลสาเรจ็ เดียวกนั
3. ช่วยให้สามารถระบุเป้าหมาย หรือผลสาเร็จท่ีจะเกิดข้ึนได้จากการวางแผนที่ดี จะทาให้ทราบว่า
งานจะสาเร็จในรูปแบบใด ในระยะเวลาใด ได้ผลตามต้องการหรือไม่ มีอุปสรรคใด เพ่ือจะได้แก้ไขได้ก่อน
การดาเนินงานจะส้ินสดุ ลง
4. ช่วยให้ทราบข้ันตอนของการทางานว่า งานใดจะต้องทาก่อนหลัง เพ่ือจัดลาดับความสาคัญของ
งานไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง

กำรวำงแผนทีด่ ี คอื การคิดวิเคราะห์ล่วงหน้าถึงอนาคต ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นระยะเวลาของ
ความสาเร็จ การใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ช่วยให้ทราบข้ันตอนการดาเนินงานคาดคะเนอุปสรรค
ทเี่ กดิ ขนึ้ พร้อมท้งั หาทางแกไ้ ขได้ล่วงหน้า

ประโยชน์ของกำรวำงแผน
การวางแผนนอกจากเป็นสิ่งจาเป็นด้วยเหตุผลท่ีกล่าวข้างต้นแล้ว การวางแผนท่ีดียังส่งผลให้เกิด
ประโยชนห์ ลายประการตอ่ องคก์ าร ไดแ้ ก่
1. องค์การประสบความสาเร็จ และบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต้องการ ท้ังนี้ เกิดจากการวางแผนที่ดีท่ีมี
การกาหนดวัตถุประสงค์ และแนวทางในการปฏิบัติที่ดี ดังนั้น การบริหารแผนท่ีมีทิศทางท่ีชัดเจนมี
การประสานงาน การควบคุมในทิศทางที่ตรงกับวัตถุประสงค์ที่วางไว้ ซ่ึงผลท่ีองค์การได้รับ คือ การปฏิบัติการ
การดาเนินงานตา่ งๆ เป็นไปตามเปา้ หมายทว่ี างไว้ ซึง่ หมายถึงความสาเรจ็ ขององค์การ
2. การวางแผนที่ดีช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย การวางแผนเป็นการกาหนดส่ิงท่ีควรปฏิบัติ วิธีปฏิบัติ
ตลอดจนการใช้ทรัพยากรขององค์การไว้ล่วงหน้า การวางแผนจึงเป็นเครื่องช่วยให้การปฏิบัติงานเป็นไปตาม
ข้ันตอนอย่างมีประสิทธิภาพ และก่อให้เกิดการประหยัดทั้งกาลังเงิน กาลังคน และเวลา ช่วยลดต้นทุนใน
การปฏบิ ตั งิ าน
3. ช่วยให้การควบคุมง่ายขึ้น เพราะการวางแผนเป็นการกาหนดวัตถุประสงค์ และมาตรฐานของงาน
สาหรับเป็นเคร่ืองวัด ซึ่งมาตรฐานดังกล่าวเป็นพื้นฐานของการควบคุมงานเพื่อตรวจสอบการปฏิบัติงานต่างๆ
ที่ได้กาหนดไว้ในแผนว่าเบี่ยงเบน หรือมีอุปสรรคเกิดข้ึนมากน้อยเพียงใด การวางแผนจึงต้องมีเคร่ืองมือใน
การตรวจสอบ และวดั ผล
4. ช่วยป้องกนั ความเสี่ยง และความไม่แน่นอนต่างๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนในอนาคต การวางแผนที่ดีเป็น การมอง
คาดการณ์ถึงอนาคต เพื่อเตรียมรับภาวการณ์หรือภาวะแวดล้อมที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา การวางแผน
เป็นการระดมความคิด การศึกษาหาข้อมูลรอบด้านมาประกอบการตัดสินใจเลือกวิถีทางท่ีดีที่สุดไว้ใช้ให้
เหมาะสม ดังเช่น ภาวการณท์ างเศรษฐกิจในปจั จุบันทม่ี ผี ลตอ่ หลายๆ ธรุ กจิ

คู่มือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานทีด่ นิ

5

5. การวางแผนทาให้เกิดแนวคิดใหม่ๆ และเกิดความคิดสร้างสรรค์ การวางแผน คือ การกาหนดสิ่งท่ี
จะต้องกระทาในอนาคตเกี่ยวกับการประเมินข้อเสนอต่างๆ ที่มีให้เลือก และเก่ียวกับวิธีการที่จะต้องปฏิบัติ
เพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายน้ัน (Simon,1965:423-442) จากคานยิ ามของ เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน (Herbert A. Simon)
แสดงใหเ้ หน็ ว่า การวางแผนทดี่ ีนั้นจะต้องมกี ารระดมความคิด การค้นหาวิธีการ ตลอดจนการประเมินข้อเสนอ
ต่างๆ ท่ีมีให้เลือกซึ่งจะได้แนวคิดใหม่ๆ และความคิดสร้างสรรค์ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดสิ่งที่จะต้อง
กระทาในอนาคต

6. การวางแผนสร้างทีมงานข้ันต้น การวางแผนเป็นรูปแบบของการร่วมแรงร่วมใจกันทางาน และคิด
วางแผน วางแนวทาง จึงเป็นการสร้างทีมงานขั้นต้น ซึ่งเป็นทีมงานที่มีความเข้าใจวัตถุประสงค์ของตน
วตั ถุประสงค์ของแต่ละระดับในองค์การ ดังน้ัน การปฏิบัติงานตามแผนก็ย่อมมีการประสานงานกันเป็นอย่างดี
เป็นการพฒั นาทีมงานในระดับต้น และเปน็ แรงจูงใจใหเ้ กดิ ทีมงานท่ีแขง็ แกร่งขน้ึ ในอนาคต

ขอบเขต

คู่มือการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีฉบับนี้ ครอบคลุมเนื้อหาตั้งแต่ความรู้พื้นฐานที่ใช้ในการประกอบ
การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี ขั้นตอนการจัดทาแผนปฏิบัติงานต้ังแต่การศึกษา/รวบรวมข้อมูลลักษณะ
สาคัญของหน่วยงาน และแผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงของนโยบาย การวิเคราะห์/รวบรวมข้อมูลสาหรับ
การวางแผนและติดตาม ไปจนถึงการประชุมพิจารณา (ร่าง) แผนปฏิบัติงานประจาปี เสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ
จนสาเร็จออกมาเป็นแผนปฏิบัตงิ านฉบับสมบูรณ์ รวมทั้งอธิบายแบบฟอร์มต่างๆ ที่ใช้ในการจัดทาแผนปฏิบัติงาน
ประจาปีของกรมท่ีดิน และการจัดทาโครงการพร้อมแบบฟอร์มและตัวอย่างประกอบ เพ่ือให้ผู้สนใจทุกคน
สามารถนาไปใชป้ ระโยชน์ในการเขียนโครงการได้

ประโยชน์ของกำรจัดทำคู่มอื

1. เจ้าหน้าที่ในสานักงานท่ีดิน สามารถศึกษาและทาความเข้าใจในการจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปี
ของหน่วยงานและสามารถดาเนินการจดั ทาแผนไดใ้ นเบ้อื งตน้

2. การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของหน่วยงานที่มีมาตรฐานเดียวกัน ส่งผลให้การปฏิบัติงานมี
ความเรียบรอ้ ยสามารถตอบสนองต่อวิสัยทัศน์ ภารกจิ พันธกิจ และประเด็นยุทธศาสตรอ์ ย่างเป็นกระบวนการ

คู่มือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานที่ดิน

บทท่ี 2

ความรู้พืน้ ฐานทใี่ ช้ประกอบการจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี

การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักงานท่ีดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก และอาเภอ มีความจาเป็น
จะต้องจัดทาให้สอดคล้องกบั แผนยทุ ธศาสตร์ในระดบั ต่างๆ ไดแ้ ก่ แผนยุทธศาสตร์ในระดับชาติ แผนยุทธศาสตร์
ของกระทรวงมหาดไทย แผนยทุ ธศาสตร์ของกรมท่ดี ิน แผนพัฒนาจังหวดั /กลุม่ จงั หวดั /แผนพัฒนาภาค รวมท้ัง
ตอ้ งสอดคล้องกับภารกจิ อานาจหน้าท่ีของสานักงานท่ีดินเอง ดังน้ันความรู้พ้ืนฐานท่ีใช้ประกอบในการพิจารณา
จดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปขี องสานกั งานที่ดิน สรปุ ได้ดังน้ี

ร่างยทุ ธศาสตรช์ าติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579)

วิสยั ทัศน์
“ประเทศไทยมคี วามมั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง” หรือเปน็ คตพิ จน์ประจาชาติว่า “มน่ั คง มง่ั คง่ั ยง่ั ยืน”
ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติประกอบไปด้วย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่

ยทุ ธศาสตรด์ ้านความมั่นคง กรอบแนวทางทีต่ อ้ งให้ความสาคัญ
(๑) การเสริมสร้างความม่ันคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษตั รยิ ท์ รงเป็นประมขุ
(๒) การปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชั่น สร้างความ
เชื่อม่นั ในกระบวนการยุติธรรม
(๓) การรักษาความม่ันคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน ตลอดจนการบริหารจัดการ
ความมน่ั คงชายแดนและชายฝ่งั ทะเล
(๔) การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่างประเทศทุกระดับ และรักษาดุลยภาพ
ความสมั พนั ธก์ ับประเทศมหาอานาจ เพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาความมัน่ คงรูปแบบใหม่
(๕) การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกาลังป้องกันประเทศ การรักษาความสงบเรียบร้อย
ภายในประเทศ สรา้ งความร่วมมอื กบั ประเทศเพ่อื นบา้ นและมิตรประเทศ
(๖) การพฒั นาระบบการเตรียมพรอ้ มแหง่ ชาติ และระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ รักษาความมั่นคงของ
ฐานทรัพยากรธรรมชาติสิง่ แวดลอ้ ม
(๗) การปรับกระบวนการทางานของกลไกทีเ่ กี่ยวข้องจากแนวดงิ่ สแู่ นวระนาบมากข้นึ

ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน กรอบแนวทางท่ตี อ้ งใหค้ วามสาคัญ
(๑) การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ ได้แก่ การรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจและสร้างความเช่ือมั่น
การส่งเสริมการค้าและการลงทุนท่ีอยู่บนการแข่งขันที่เป็นธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนการพัฒนา
ประเทศสคู่ วามเปน็ ชาติการคา้ เพอื่ ให้ได้ประโยชน์จากห่วงโซ่มูลค่าในภูมิภาค และเป็นการยกระดับไปสู่ส่วนบน
ของห่วงโซม่ ลู ค่ามากขนึ้

คู่มอื การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทดี่ ิน

7

(๒) การพัฒนาภาคการผลิตและบริการบนฐานของการพัฒนานวัตกรรมและมีความเป็นมิตรต่อ
ส่ิงแวดล้อม โดยมีการใช้ดิจิทัลและการค้าที่เข้มข้นเพ่ือสร้างมูลค่าเพ่ิมและขยายกิจกรรม การผลิตและบริการ
โดยมุ่งสู่ความเป็นเลิศในระดับโลกและในระดับภูมิภาคในอุตสาหกรรมหลายสาขา และในภาคบริการท่ี
หลากหลายตามรูปแบบการดาเนินชีวิตและการดาเนินธุรกิจที่เปลี่ยนไป รวมท้ังเป็นแหล่งอาหารคุณภาพ สะอาด
และปลอดภัยของโลก

(๓) การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาทักษะผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพ
แรงงานและพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) สู่สากล และพัฒนาวิสาหกิจชุมชนและสถาบัน
เกษตรกร

(๔) การพฒั นาพ้นื ท่ีเศรษฐกจิ พิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และพัฒนาระบบเมือง
ศูนย์กลางความเจริญ จัดระบบผังเมืองที่มีประสิทธิภาพและมีส่วนร่วม มีการจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง และ
โครงสรา้ งพ้นื ฐานทางสังคมและเศรษฐกิจทส่ี อดคล้องกับศักยภาพ

(๕) การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานด้านการขนส่ง ด้านพลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
ส่ือสาร และการวิจยั และพัฒนา

(๖) การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก สร้างความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนากับนานาประเทศ
ส่งเสริมความร่วมมือกับนานาชาติในการสร้างความมั่นคงด้านต่างๆ เพ่ิมบทบาทของไทยในองค์กรระหว่างประเทศ
รวมถึงสรา้ งองค์ความรดู้ ้านการตา่ งประเทศ

ยุทธศาสตร์การพฒั นาและเสริมสรา้ งศกั ยภาพคน กรอบแนวทางท่ีต้องให้ความสาคัญ
(๑) การพฒั นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวติ ให้สนับสนนุ การเจรญิ เตบิ โตของประเทศ
(๒) การยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาและการเรยี นรู้ใหม้ ีคณุ ภาพเท่าเทยี มและท่ัวถึง
(๓) การปลูกฝงั ระเบียบวนิ ัย คุณธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มท่พี ึงประสงค์
(๔) การสร้างเสริมให้คนมสี ขุ ภาวะทดี่ ี
(๕) การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวในการบ่ม
เพาะจิตใจให้เขม้ แขง็
ยทุ ธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม กรอบแนวทางท่ีต้องให้
ความสาคญั
(๑) การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมลา้ ทางดา้ นเศรษฐกิจและสังคม
(๒) การพฒั นาระบบบริการและระบบบริหารจดั การสุขภาพ
(๓) การสรา้ งสภาพแวดล้อมและนวตั กรรมท่ีเอือ้ ต่อการดารงชวี ติ ในสงั คมสงู วยั
(๔) การสร้างความเขม้ แข็งของสถาบนั ทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชน
(๕) การพัฒนาการส่ือสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนบั สนนุ การพัฒนา
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม กรอบแนวทางท่ี
ต้องใหค้ วามสาคัญ
(๑) การจดั ระบบอนรุ กั ษ์ ฟ้นื ฟแู ละป้องกนั การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
(๒) การวางระบบบริหารจัดการน้าให้มีประสิทธิภาพท้ัง ๒๕ ลุ่มน้า เน้นการปรับระบบการบริหาร
จดั การอุทกภยั อยา่ งบรู ณาการ
(๓) การพัฒนาและใช้พลงั งานท่ีเป็นมิตรกบั สงิ่ แวดล้อม
(๔) การพัฒนาเมอื งอุตสาหกรรมเชิงนเิ วศ และเมืองท่เี ป็นมติ รกบั สิ่งแวดลอ้ ม

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทดี่ ิน

8

(๕) การรว่ มลดปัญหาโลกรอ้ นและปรับตัวใหพ้ รอ้ มกับการเปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอากาศ
(๖) การใช้เคร่อื งมอื ทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพือ่ สิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ กรอบแนวทางท่ีต้องให้
ความสาคัญ
(๑) การปรบั ปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจของหน่วยงานภาครฐั ใหม้ ีขนาดท่ีเหมาะสม
(๒) การวางระบบบรหิ ารราชการแบบบูรณาการ
(๓) การพฒั นาระบบบริหารจัดการกาลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ
(๔) การตอ่ ตา้ นการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ
(๕) การปรบั ปรุงกฎหมายและระเบียบตา่ งๆ ใหท้ นั สมัย เป็นธรรมและเป็นสากล
(๖) การพฒั นาระบบการให้บรกิ ารประชาชนของหน่วยงานภาครฐั
(๗) การปรบั ปรุงการบรหิ ารจัดการรายได้และรายจา่ ยของภาครัฐ

แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)

การพัฒนาประเทศไทยในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี 12 จะมุ่งบรรลุเป้าหมายในระยะ 5 ปี ซึ่ง
แปลงยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) สู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม โดยกาหนด
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเปา้ หมายการพฒั นา ดังนี้

วตั ถปุ ระสงค์ ประกอบด้วย
(1) เพื่อวางรากฐานให้คนไทยเป็นคนท่ีสมบูรณ์ มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย ค่านิยมที่ดี มีจิต
สาธารณะ มีสุขภาวะและสุขภาพที่ดี ตลอดจนเป็นคนเก่งท่ีมีทักษะความรู้ความสามารถและพัฒนาตนเองได้
ต่อเนือ่ งตลอดชีวิต
(2) เพื่อให้คนไทยมีความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ผู้ด้อยโอกาสได้รับการพัฒนาศักยภาพ รวมท้ัง
ชมุ ชนมคี วามเข้มแข็งพ่งึ พาตนเองได้
(3) เพื่อให้เศรษฐกิจเข้มแข็ง แข่งขันได้ มเี สถียรภาพ และมีความยง่ั ยนื
(4) เพื่อรักษาและฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ
(5) เพื่อให้การบรหิ ารราชการแผน่ ดินมีประสิทธภิ าพ โปรง่ ใส และมีการทางานเชงิ บรู ณาการ
(6) เพื่อให้มีการกระจายความเจรญิ ไปสภู่ มู ภิ าค และ
(7) เพ่ือผลักดนั ให้ประเทศไทยมคี วามเช่ือมโยงกับประเทศต่างๆ ได้อย่างสมบูรณ์และมปี ระสทิ ธิภาพ

เปา้ หมายรวม ประกอบด้วย
(1) คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยท่สี มบูรณ์
(2) ความเหล่ือมล้าทางด้านรายได้และความยากจนลดลง
(3) ระบบเศรษฐกจิ มีความเข้มแข็งและแขง่ ขนั ได้
(4) ทุนทางธรรมชาติและคณุ ภาพส่ิงแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตทเ่ี ป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
(5) มีความม่ันคงในเอกราชและอธิปไตยและเพ่ิมความเชื่อมนั่ ของนานาชาติตอ่ ประเทศไทย และ
(6) มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอานาจ และมีส่วน
ร่วมจากประชาชน

คูม่ ือการจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานทด่ี นิ

9

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ประกอบดว้ ย 10 ยทุ ธศาสตร์ ดังน้ี
(1) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ให้ความสาคัญกับการวางรากฐานการ
พฒั นาคนให้มคี วามสมบรู ณ์ เร่ิมตง้ั แต่กลุม่ เดก็ ปฐมวัยทต่ี อ้ งพัฒนาใหม้ ีสุขภาพกายและใจท่ีดี มีทักษะทางสมอง
ทกั ษะการเรียนรู้ และทักษะชีวิต เพ่ือให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็น
คนดี มีสุขภาวะท่ีดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้และ
ความสามารถปรับตัวเท่าทันกับการเปล่ียนแปลงรอบตัวท่ีรวดเร็วบนพ้ืนฐานของการมีสถาบันทางสังคมที่
เข้มแขง็ ท้ังสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันชุมชน และภาคเอกชนท่ีร่วมกันพัฒนา
ทนุ มนษุ ยใ์ หม้ ีคุณภาพสูง อกี ทั้งยงั เปน็ ทุนทางสังคมทส่ี าคัญในการขบั เคลื่อนการพัฒนาประเทศ
(2) ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในสังคม ดาเนินการยกระดับ
คุณภาพบริการทางสังคมให้ท่ัวถึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการศึกษาและสาธารณสุข รวมทั้งการปิดช่องว่าง
การคุ้มครองทางสังคมอ่ืนๆ ต่อเน่ืองจากที่ได้ผลักดันในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับท่ี ๑๑ และมุ่งเน้นในเรื่องการเพ่ิม
ทักษะแรงงานและการใช้นโยบายแรงงานที่สนับสนุนการเพิ่มผลิตภาพแรงงานและเสริมสร้างรายได้สูงขึ้น และ
การสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสนับสนุนในเร่ืองการสร้างอาชีพ รายได้และให้
ความช่วยเหลือที่เชื่อมโยงการเพ่ิมผลิตภาพสาหรับประชากรกลุ่มร้อยละ ๔๐ รายได้ต่าสุด ผู้ด้อยโอกาสสตรี
และผสู้ งู อายุ และในขณะเดียวกนั กต็ ้องเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งบประมาณเชิงพ้ืนท่ีและบูรณาการเพ่ือการลด
ความเหล่อื มล้า
(3) ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน เน้นการพัฒนาและใช้
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมขันก้าวหน้าที่เข้มข้นมากขึน การพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล การพัฒนาและ
ยกระดับคุณภาพของก้าลังคน และความคิดสร้างสรรค์ในการขยายฐานเศรษฐกิจและฐานรายได้ใหม่ควบคู่ไป
กับการเพ่ิมผลิตภาพของฐานการผลิตและบริการเดิม รวมทังการต่อยอดจากการผลิตและบริการเดิมโดยใช้
ดิจิทัล และเทคโนโลยีอัจฉริยะ นอกจากนันให้ความส้าคัญกับการใช้ศักยภาพของทรัพยากรชีวภาพการส่งเสริม
การเชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่มูลค่าอย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาพืนท่ีเศรษฐกิจใหม่และการพัฒนาตามแนว
ระเบยี งเศรษฐกจิ การผสมผสานภาคบริการเขา้ กับการค้าและการเตรยี มความพร้อมของภาคบริการให้สามารถ
รองรับการแข่งขันที่เสรีขนึ การเสรมิ สรา้ งศักยภาพการแขง่ ขนั ให้กบั SMEs รวมทังการสรา้ งสังคมผู้ประกอบการ
ท่ผี ลิตไดข้ ายเปน็
(4) ยทุ ธศาสตรก์ ารเติบโตที่เป็นมติ รกบั สงิ่ แวดล้อมเพอ่ื การพัฒนาท่ีย่ังยืน โดยการสร้างความม่ันคง
ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดบั คุณภาพสง่ิ แวดลอ้ ม เพื่อสนับสนนุ การเติบโตที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
และคุณภาพชีวิตของประชาชน เร่งแก้ไขปัญหาวิกฤติส่ิงแวดล้อมเพ่ือลดมลพิษที่เกิดจากการผลิตและการ
บรโิ ภค พัฒนาระบบบริหารจัดการท่ีโปรง่ ใสเป็นธรรม สง่ เสรมิ การผลติ และการบริโภคที่เป็นมิตรกับส่ิงแวดล้อม
เป็นวงกว้างมากขึน ต้องเร่งเตรียมความพร้อมในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและเพ่ิมขีดความสามารถในการ
ปรับตัวต่อการเปล่ียนแปลงสภาพภมู อิ ากาศ รวมทังบริหารจดั การเพือ่ ลดความเสีย่ งดา้ นภัยพบิ ัติ ทางธรรมชาติ
(5) ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างความม่ันคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่นค่ังและยั่งยืน ให้
ความสาคัญต่อการฟ้ืนฟูพ้ืนฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยสาคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประเทศ โดยเฉพาะการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติของผู้มีความเห็นต่างทางความคิดและอุดมการณ์ บนพ้ืนฐาน
ของการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และการเตรียมการรับมือกับอาชญากรรม
ข้ามชาติ ซ่ึงจะส่งผลกระทบอย่างมีนัยยะสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ ๒๐ ปี
ขา้ งหน้า

คู่มอื การจัดทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทีด่ ิน

10

(6) ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบ และธรรมาภิบาลใน
สงั คมไทย โดยเร่งปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐให้เกิดผลสัมฤทธิ์อย่างจริงจังเพื่อให้เป็นปัจจัยสนับสนุนส้าคัญที่
จะช่วยส่งเสริมการพัฒนาประเทศในทุกด้านให้ประสบผลส้าเร็จ บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ท่ี ๑๒ และวางพืนฐานเพื่อให้บรรลุตามกรอบเป้าหมายอนาคตในปี ๒๕๗๙ ของการพัฒนาในด้านต่างๆ และระบบ
การบรหิ ารจัดการภาครฐั โดยตอ้ งใหค้ วามสา้ คัญกบั การส่งเสริมและพฒั นาธรรมาภิบาล ในภาครัฐอย่างเป็นรูปธรรม
ทังในด้านระบบการบริหารงานและบุคลากรในส่วนการบริหารจัดการภาครัฐให้โปร่งใส มีประสิทธิภาพ
รับผิดชอบ ตรวจสอบได้อย่างเป็นธรรม และประชาชนมีส่วนร่วม มีการกระจายอ้านาจ และแบ่งภารกิจ
รับผดิ ชอบท่เี หมาะสม ระหว่างส่วนกลาง ภมู ิภาค และทอ้ งถน่ิ

(7) ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและระบบโลจิสติกส์ โดยมุ่งเน้นการขยายขีด
ความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการ เพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพืนท่ีเศรษฐกิจหลัก และ
ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม สนับสนุนให้เกิดความเชื่อมโยงในอนุภูมิภาคและในอาเซียน
อย่างเป็นระบบ

(8) ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม โดยให้ความส้าคัญกับการ
ใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิด
สรา้ งสรรค์อยา่ งเข้มข้นทงั ในภาคธุรกิจ ภาครฐั และภาคประชาสังคม รวมทังใหค้ วามส้าคัญกับการพัฒนาสภาวะ
แวดลอ้ มหรือปัจจยั พืนฐานท่ีเออื อ้านวยทงั การลงทนุ ด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากรวิจัย โครงสร้าง
พืนฐานทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และการบริหารจัดการ เพื่อช่วยขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ให้ก้าวสู่
เปา้ หมาย

(9) ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพ้ืนท่ีเศรษฐกิจ มุ่งเน้นการพัฒนาและเร่งด้าเนินการใน
ประเด็นท้าทาย ได้แก่ การสร้างความเข้มแข็งของฐานการผลิตและบริการเดิมและขยายฐานการผลิตและบริการ
ใหม่ที่สร้างรายได้ส้าหรับประชาชนในภาค การพัฒนาเมืองให้เติบโตอย่างมีคุณภาพ การพัฒนาและฟื้นฟูพืนที่
บริเวณชายฝ่ังทะเลตะวันออกให้รองรับการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมแห่งอนาคตอย่างมีสมดุล และการ
บริหารจัดการพืนท่ีเศรษฐกิจชายแดนให้เจริญเติบโตและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน รวมทังการเพิ่มประสิทธิภาพ
กลไกการขับเคล่ือนการพัฒนาภาคและเมอื งให้เกดิ ผลอยา่ งเปน็ รูปธรรม

(10) ยุทธศาสตร์ความร่วมมือระหว่างประเทศเพ่ือการพัฒนา โดยให้ความส้าคัญกับการประสานและ
พัฒนาความร่วมมือกันระหว่างประเทศทังในเชิงรุกและรับอย่างสร้างสรรค์ ด้าเนินการให้เกิดความชัดเจนต่อ
กลุ่มประเทศเพ่ือนบ้านถึงบทบาทของประเทศไทยจากมุมมองของการพัฒนาอนุภูมิภาคและภูมิภาค
โดยเฉพาะอย่างย่ิงในกลุ่มประเทศเพ่ือนบ้าน ตลอดจนควรปรับปรุงกลไกความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยเน้น
กลไกทสี่ รา้ งสรรค์และเปน็ ธรรม

แผนยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560 – 2564

แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2560 – 2564 กาหนดจุดยืน (Positioning) ของกรมที่ดินว่า
“ดาเนินงานเก่ียวกับสิทธิการถือครองที่ดินของเอกชนและการจัดการท่ีดินของรัฐ เพื่อลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
และเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขง่ ขัน” โดยกาหนดรายละเอียดตา่ งๆ ไวด้ ังนี้

วิสยั ทัศน (Vision)
ประชาชนมรี ากฐานการดารงชีวิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

คมู่ ือการจัดทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ดี นิ

11

นยิ ามวสิ ัยทัศน์

รากฐานการดารงชวี ติ  ดูแลประชาชนทุกชวงชีวติ ตั้งแตเ่ กดิ จนตาย

 ลดความยากจน

 เขา้ ถงึ บริการภาครัฐ

พัฒนาสอู่ นาคต  พฒั นาสู Thailand 4.0 และ S Curve

 สง่ เสรมิ เศรษฐกิจและสังคมดิจทิ ัล

 ส่งเสรมิ การพัฒนาภาค เมอื ง และพ้ืนท่เี ศรษฐกิจ

ม่ันคง  ม่ันคงจากสาธารณภัย

 มน่ั คงในพนื้ ท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต

 มน่ั คงในการถือกรรมสิทธิ์ท่ดี ิน

 มนั่ คงในการรักษาความสงบเรียบร้อยและรับมอื ภัยคุกคาม

รูปแบบใหม่ เช่น ยาเสพติด แรงงานต่างดา้ ว การค้ามนษุ ย์ เป็นตน้

สมดุล  สมดุลระหว่างคนกับคน

 สมดลุ ระหว่างคนกับธรรมชาติ

 สมดุลดา้ นสิง่ แวดลอ้ ม

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง  คานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันท่ีดี

ในตัวภายใต้เง่อื นไขการใช้ความรูควบคูกับการมีคุณธรรมเป็นพื้นฐาน

ในการตดั สินใจและการกระทา

พนั ธกจิ (Mission)
๑. รกั ษาความสงบเรยี บรอ้ ย ความปลอดภัย และความมนั่ คงภายใน
๒. เสรมิ สร้างความเขม้ แข็งของชมุ ชนและเศรษฐกจิ ฐานราก
๓. สง่ เสรมิ การพฒั นาเมอื งและโครงสร้างพน้ื ฐาน
๔. สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การบรหิ ารราชการในระดบั พ้นื ที่

เป้าหมาย (Goal)
๑. ชมุ ชนเข้มแข็ง
๒. ชุมชนมคี วามปลอดภัย
๓. สังคมมีความสงบเรียบรอ้ ย
๔. หนว่ ยงานภาครัฐมีการบรหิ ารจัดการที่ดี และองคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่นเข้มแข็ง
๕. พ้นื ทภี่ มู ภิ าคและพ้ืนที่เศรษฐกจิ มขี ีดความสามารถในการแข่งขนั

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ (Strategic Issue) ประกอบด้วย 5 ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ ดงั นี้

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ การเสริมสรา้ งสังคมเขม้ แข็งและพัฒนาเศรษฐกจิ ฐานราก

ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ การเพมิ่ ศกั ยภาพการพัฒนาสภาพแวดล้อมสูอ่ นาคต

ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การเสรมิ สรา้ งความสงบเรียบร้อยและความมน่ั คงภายใน

ประเด็นยุทธศาสตรท์ ่ี ๔ การวางรากฐานการพฒั นาองคก์ รอยา่ งสมดลุ

ประเดน็ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๕ การพฒั นาภมู ิภาค เมอื ง และพื้นท่เี ศรษฐกจิ

คู่มือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทดี่ ิน

12

แผนยุทธศาสตร์กรมท่ดี นิ

แผนยทุ ธศาสตร์ตามภารกิจเฉพาะด้านของกระทรวงมหาดไทย ๑๐ ปี จัดท้าโดยก้าหนดให้น้าทฤษฎี
การวางแผนตามสถานการณ์ (Scenario Planning) มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการวิเคราะห์ เพื่อวางแผนยุทธศาสตร์
และกา้ หนดแนวทางในการด้าเนินงาน

จดุ ยืนทางยุทธศาสตร์ (Sub Positioning) 6 จุดยนื ดังน้ี
1. เร่งรดั จดั ที่ดินให้แกป่ ระชาชนผู้ดอ้ ยโอกาสทางสงั คมทั่วประเทศ
2. ระบบการจัดการที่ดินของรัฐมีแนวเขตที่ดินที่ชัดเจน ม่ันคงถาวร มีความครบถ้วน ถูกต้อง ใช้ประโยชน์
ในการบรหิ ารจดั การประเทศไดอ้ ยา่ งคมุ้ คา่ สูงสดุ
3. มีเอกสารสิทธปิ ระเภทโฉนดทด่ี ินระบบเดียวท่ัวประเทศ
4. เป็นศูนยข์ ้อมูลทีด่ ินและแผนท่ีแหง่ ชาติ ท่มี ีศกั ยภาพ รองรับการพัฒนาประเทศและรองรับการบริการ
ในระดบั สากล
5. ระบบการบริการประชาชนมีมาตรฐานสากล และบุคลากรมขี ีดความสามารถสูง
6. ใหบ้ ริการดา้ นทีด่ ินด้วยระบบออนไลนท์ วั่ ทงั้ ประเทศ

วสิ ัยทัศน์
“เป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนการจัดการที่ดินให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน และการพัฒนา
ประเทศด้วยมาตรฐานการจดั การ การบริการ ระดับสากล”

พนั ธกจิ ดงั น้ี
1. คมุ้ ครองสิทธิดา้ นทด่ี นิ ใหแ้ ก่ประชาชนให้เปน็ ไปตามกฎหมาย
2. บรู ณาการร่วมกันของหนว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งกับการออกโฉนดทดี่ นิ แก่ประชาชน มีความเป็นเอกภาพ
เป็นไปในทศิ ทางเดียวกันทงั้ ประเทศ ทัง้ เชงิ นโยบายและการปฏบิ ตั ิ
3. เป็นศนู ยข์ อ้ มูลท่ดี นิ และแผนท่ีแห่งชาติ ท่มี รี ะบบฐานข้อมลู ท่ดี นิ ของประเทศเป็นมาตรฐานเดียวกัน
สามารถรองรับการใช้ประโยชน์จากท่ีดนิ ในการพัฒนาประเทศ ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม และความมน่ั คง
4. ให้บริการด้านการทะเบียนที่ดินของประเทศไทยท่ีมีความทันสมัย บริการออนไลน์ทั่วท้ังประเทศ
และเช่อื มโยงกบั สากล พร้อมทัง้ มบี ุคลากรดา้ นทะเบยี นทดี่ ินของประเทศ ทมี่ ขี ดี ความสามารถสงู ในระดบั สากล
เป้าประสงคร์ ะยะยาวของแผนยุทธศาสตร์
1. ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมไดร้ ับการจัดทด่ี ินอยา่ งท่วั ถึง
2. รัฐมีการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ มีแนวเขตท่ีดินท่ีชัดเจน ม่ันคงถาวร มีความครบถ้วน ถูกต้อง
ใชป้ ระโยชน์ในการบรหิ ารจดั การประเทศไดอ้ ยา่ งค้มุ ค่าสงู สุด
3. ประชาชนมีเอกสารสิทธิประเภทโฉนดทด่ี ินระบบเดียวท่ัวประเทศ
4. รัฐมีฐานข้อมูลที่ดินและแผนที่แห่งชาติ ที่มีศักยภาพ รองรับการพัฒนาประเทศและรองรับ
การบรกิ ารในระดับสากล
5. ประชาชนได้รับการบริการที่มีมาตรฐานสากล ออนไลน์ทั่วทั้งประเทศ ด้วยบุคลากรมีขีด
ความสามารถสูง มีความพร้อมในการปฏิบัติงานเพื่อใหบ้ รกิ ารประชาชน

คู่มือการจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทดี่ ิน

13

ประเด็นยทุ ธศาสตร์
ประเด็นยุทธศาสตร์ตามภารกิจด้านที่ดิน ของกระทรวงมหาดไทย ประกอบด้วย 5 ประเด็น
ยทุ ธศาสตร์ ดงั น้ี
ประเด็นยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 : พฒั นาระบบการจดั การที่ดนิ ของรัฐให้มีประสทิ ธิภาพ เกิดประโยชน์สูงสดุ
เป้าประสงค์ที่ 1.1 ที่ดินของรัฐมีแนวเขตที่ชัดเจน มีความครบถ้วน ถูกต้อง ใช้ประโยชน์ในการ
บรหิ ารจดั การประเทศได้อย่างคุม้ คา่
กลยทุ ธ์
- เร่งรดั การออกหนงั สือสาคญั สาหรบั ที่หลวงใหค้ รอบคลุมทั่วประเทศ
- ปรับปรุงฐานข้อมูลและสารสนเทศท่ีดินสาธารณประโยชน์ให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
เพือ่ นาไปใช้ในการบรหิ ารจดั การอย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประโยชนส์ งู สุด
เป้าประสงค์ท่ี 1.2 ที่ดินของรัฐได้รับการบริหารจัดการและนาไปใช้เพื่อผู้ด้อยโอกาสอย่างมี
ประสิทธภิ าพ
กลยุทธ์
- พัฒนาระบบการบริหารจัดการท่ีดินเพื่อขยายโอกาสให้แก่ผู้ด้อยโอกาสท่ัวประเทศ ได้มีที่ดินทากิน
และอยอู่ าศยั เพือ่ ให้เกดิ การกระจายการถือครองที่ดินอยา่ งเป็นธรรมและยกระดบั คุณภาพชวี ติ ให้ดีขึ้น
ประเดน็ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 : พัฒนาระบบการออกเอกสารสิทธิให้เป็นมาตรฐานเดียวกันท่วั ประเทศ
เปา้ ประสงค์ท่ี 2.1 ประชาชนได้รบั เอกสารสทิ ธิประเภทโฉนดประเภทเดยี วทั่วประเทศ
กลยุทธ์
- เร่งรัดและพัฒนาระบบการบริหารจัดการการออกโฉนดที่ดินให้ครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อรองรับ
นโยบายการจัดพื้นท่ี Zoning ของประเทศ
- สรา้ งมาตรฐานข้อมลู ทีด่ นิ เพือ่ ประโยชน์ในการออกโฉนดทด่ี ินแบบบูรณาการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : พัฒนาระบบข้อมูลท่ีดินและแผนท่ีแห่งชาติ ท่ีมีศักยภาพ รองรับการพัฒนา
ประเทศและรองรบั การบริการในระดบั สากล
เปา้ ประสงค์ 3.1 รัฐมฐี านขอ้ มูลทีด่ นิ และแผนท่ีรูปแปลงที่ดินที่เป็นเอกภาพ เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพ
การแขง่ ขันของประเทศ
กลยทุ ธ์
- สร้างมาตรการในการบูรณการข้อมูลท่ีดินท่ีจะจัดเก็บของหน่วยงานอื่นๆ ให้เป็นระบบเดียวกัน
เพื่อให้ข้อมูลมีความครบถ้วนถูกต้อง รวมท้ังพัฒนาระบบการจัดทาฐานข้อมูลที่ดินให้เป็นเอกภาพ เพื่อ
เสรมิ สร้างศกั ยภาพการแข่งขันของประเทศ
- พัฒนาระบบฐานข้อมูลที่ดนิ และแผนทีข่ องกรมที่ดินให้เป็นมาตรฐานสากล
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 : พัฒนาระบบการบริการประชาชนด้วยระบบออนไลน์ท่ัวท้ังประเทศ
มมี าตรฐานสากล ด้วยบุคลากรมขี ดี ความสามารถสงู
เป้าประสงค์ 4.1 ประชาชนมีความเชื่อมัน่ ในระบบงานบรกิ ารดา้ นท่ดี นิ ทีม่ มี าตรฐานสากล
กลยุทธ์
- พัฒนาคุณภาพการให้บริการประชาชนในสานกั งานท่ีดนิ สู่เกณฑร์ างวลั คุณภาพแห่งชาติ
เป้าประสงคท์ ่ี 4.2 การบริหารจดั การระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีดนิ มปี ระสิทธภิ าพ
กลยทุ ธ์
- พัฒนาการบริหารจัดการระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทด่ี นิ

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานักงานท่ีดนิ

14

แผนพฒั นาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และแผนพฒั นาภาค

การจัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานักงานที่ดินจังหวัด/สาขา/ส่วนแยก และอาเภอ รวมท้ัง
การขอรับการสนับสนุนงบประมาณ นอกจากจะขอรับการสนับสนุนผ่านงบประมาณของกรมท่ีดินแล้ว
ยังสามารถขอรับการสนับสนุนผ่านแผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด และแผนพัฒนาภาคได้อีกทางหน่ึงด้วย
ดงั นนั้ ความรู้พน้ื ฐานสาคญั ทสี่ านกั งานที่ดนิ จะต้องรู้และเข้าใจ คือ เร่ืองการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด กลุ่มจังหวัด
และแผนพัฒนาภาค ในคู่มือเล่มน้ีคงไม่สามารถนายุทธศาสตร์จังหวัดและกลุ่มจังหวัดทั้งหมดมารวบรวมไว้ได้
จะขอนารายละเอียดมากล่าวไว้พอสังเขปเท่านั้น ในรายละเอียดทุกท่านสามารถสืบค้นผ่านเว็บไซต์ของสานักงาน
จังหวดั ได้โดยตรง

แผนพัฒนาจงั หวัดและกลุ่มจงั หวัด
ตามเจตนารมณข์ องบทบัญญตั ติ ามพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บบริหารราชการแผน่ ดิน ฉบับท่ี 7 พ.ศ. 2550
และพระราชกฤษฎกี าว่าดว้ ยการบริหารงานจงั หวดั และกลมุ่ จงั หวัดแบบบรู ณาการ พ.ศ. 2551 มี 2 ประการ คอื
1. เพ่ือการบริหารแบบบูรณาการในลักษณะยึดพื้นที่ (Area Base Approach) เป็นหลักในการพัฒนา
เพ่ือกระจายการพัฒนาและลดความเหลื่อมล้าของความเจริญเติบโตระหว่างพ้ืนที่ต่างๆ ในประเทศ (แบ่งเป็น
18 กลุ่มจังหวัด และ 76 จังหวัด) และให้แต่ละพื้นที่มียุทธศาสตร์ทิศทางการพัฒนาท่ีชัดเจน โดยคานึงถึง
ความสอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และความต้องการของประชาชน
ในทอ้ งถิน่ ในจังหวัด โดยจัดทาเปน็ แผนพฒั นาจงั หวัดและแผนพฒั นากลมุ่ จงั หวดั รวมทั้งการแปลงแผนพัฒนาฯ
ไปสู่แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ซึ่งทิศทางการพัฒนาดังกล่าวจะต้องผ่าน
การเห็นชอบร่วมกันจากทุกภาคส่วนในจังหวัดเพื่อให้เกิดความย่ังยืน และร่วมมือร่วมใจกันในการขับเคล่ือน
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาดงั กลา่ ว
2. ความรว่ มมือในการบริหารจดั การท่ดี ี จะเปน็ การจัดการความสัมพันธ์แนวด่ิงระหว่างส่วนกลาง ส่วน
ภูมิภาค ส่วนท้องถ่ิน โดยแบ่งหน้าที่กันทาตามแต่ละยุทธศาสตร์ ซึ่งจะช่วยลดความซ้าซ้อนของการใช้
งบประมาณแผ่นดิน หรือระดมทรัพยากรเข้ามาใช้ร่วมกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์
รวมท้ังเป็นการจัดการความสัมพันธ์แนวนอน ระหว่างภาครัฐและภาคส่วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชนและภาค
ประชาสังคม) โดยทุกภาคส่วนจะมีการดาเนินการที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดซ่ึงเป็น
แผนท่ีผา่ นความเห็นชอบร่วมกนั เพ่ือประโยชน์ต่อประชาชนในพื้นท่ี ท้ังน้ีเพื่อให้เกิดความร่วมมือในการบริหาร
จัดการที่ดตี ามหลักการบริหารงานจังหวัดและกลุม่ จงั หวัดแบบบูรณาการ กฎหมายจงึ กาหนดให้ “ผวู้ า่ ราชการจังหวัด”
เป็นผู้ประสานเพื่อบูรณาการการดาเนินการของฝ่ายต่างๆ ให้สัมพันธ์และเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาจังหวัดและ
แผนพัฒนากลุม่ จังหวัด
สาหรับการกาหนดจังหวัดท่ีเป็นศูนย์ปฏิบัติการกลุ่มจังหวัด เพื่อทาให้มีจังหวัดท่ีเป็นผู้แทนหนึ่งเดียว
ของกลุ่มจังหวัด ในการเป็นแกนกลางของการบริหารจัดการภายใน การจัดทาแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และ
การประสานงานในเชงิ ยทุ ธศาสตร์และขบั เคลือ่ นยทุ ธศาสตร์ของกลุม่ จังหวัดได้อยา่ งเปน็ เอกภาพ

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานที่ดนิ

15

การจัดต้ังกลุ่มจังหวัดและการกาหนดจงั หวัดท่เี ปน็ ศูนย์ปฏิบัติการกลมุ่ จังหวดั ทีป่ ระกาศใน ประกาศ
คณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจงั หวดั และกลุ่มจงั หวดั แบบบูรณาการ มรี ายละเอยี ด 18 กลุ่มจังหวดั
6 ภาค ดังนี้

จังหวัดทีเ่ ป็น

ภาค/กลุ่มจงั หวัด จงั หวัด ศูนย์ปฏิบตั ิการของ

ภาคกลาง กลุม่ จงั หวดั
ภาคกลางตอนบน
ชยั นาท พระนครศรอี ยุธยา ลพบรุ ี พระนครศรีอยุธยา
ภาคกลางปริมณฑล
สระบุรี สงิ หบ์ รุ ี อา่ งทอง
ภาคกลางตอนลา่ ง 1
ภาคกลางตอนล่าง 2 นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม นครปฐม

ภาคใต้ สมุทรปราการ
ภาคใตฝ้ ่งั อา่ วไทย
กาญจนบุรี ราชบุรี สุพรรณบุรี ราชบรุ ี
ภาคใตฝ้ ั่งอนั ดามัน
ภาคใต้ชายแดน ประจวบคีรขี ันธ์ เพชรบรุ ี สมุทรสงคราม เพชรบุรี
ภาคใต้ชายแดน
ภาคตะวนั ออก สมทุ รสาคร
ภาคตะวนั ออก 1
ภาคตะวันออก 2 ชุมพร นครศรธี รรมราช พทั ลุง สุราษฎรธ์ านี
สรุ าษฎร์ธานี สงขลา ภเู ก็ต
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื กระบ่ี ตรัง พงั งา ภเู กต็ ระนอง สตูล
ตอนบน 1
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื นราธิวาส ปัตตานี ยะลา ยะลา
ตอนบน 2
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ฉะเชงิ เทรา ชลบุรี ระยอง ชลบุรี
ตอนกลาง ปราจีนบุรี
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ จนั ทบุรี ตราด นครนายก ปราจีนบรุ ี
ตอนล่าง 1 สระแก้ว
ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื
ตอนลา่ ง 2 บงึ กาฬ เลย หนองคาย หนองบัวลาภู อุดรธานี
อุดรธานี สกลนคร

นครพนม มุกดาหาร สกลนคร

กาฬสินธ์ุ ขอนแกน่ มหาสารคาม ขอนแก่น
ร้อยเอ็ด นครราชสมี า

ชัยภูมิ นครราชสมี า บุรีรมั ย์ สุรนิ ทร์

ยโสธร ศรีสะเกษ อานาจเจริญ อุบลราชธานี
อุบลราชธานี

คูม่ อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานทดี่ นิ

16

ภาค/กลุม่ จงั หวัด จังหวดั จังหวดั ท่เี ป็น
ศนู ย์ปฏิบัตกิ ารของ
ภาคเหนอื เชียงใหม่ แมฮ่ ่องสอน ลาปาง ลาพูน
ภาคเหนือตอนบน 1 เชียงราย น่าน พะเยา แพร่ กลมุ่ จงั หวัด
ภาคเหนือตอนบน 2 ตาก พิษณโุ ลก เพชรบูรณ์ สุโขทยั
ภาคเหนอื ตอนล่าง 1 อุตรดติ ถ์ เชยี งใหม่
กาแพงเพชร นครสวรรค์ พจิ ติ ร เชยี งราย
ภาคเหนือตอนลา่ ง 2 อุทยั ธานี พิษณโุ ลก

นครสวรรค์

แผนพฒั นาภาค
เน่ืองจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 กาหนดยุทธศาสตร์ที่ 9 ยุทธศาสตร์
การพฒั นาภาค เมอื ง และพ้ืนท่เี ศรษฐกิจ โดยมวี ตั ถุประสงคส์ าคัญ คือ
๑) เพื่อกระจายความเจริญสู่ภูมิภาคให้สามารถสร้างโอกาสการประกอบอาชีพและการเพ่ิมรายได้
อย่างทัว่ ถงึ นาไปสกู่ ารยกระดับคุณภาพชวี ิตประชาชนและลดความเหล่อื มล้าของคนในภาค
๒) เพอื่ พฒั นาเมืองศูนย์กลางของจังหวดั ให้เปน็ เมอื งนา่ อยู่และปลอดภัย มีการจัดการสิ่งแวดล้อม เมือง
ตามมาตรฐาน และมีการพฒั นาระบบขนสง่ สาธารณะในเขตเมืองอยา่ งทว่ั ถึง
๓) เพ่ือเปิดพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ให้เจริญเติบโตอย่างย่ังยืน ซ่ึงจะนาไปสู่การกระจายความเจริญและ
การเพิม่ ขดี ความสามารถในการแข่งขัน
๔) เพือ่ ฟ้นื ฟฐู านเศรษฐกิจหลักให้ขยายตวั อย่างมีสมดลุ และไดร้ ับการยอมรบั จากชมุ ชน
ท้ังน้ี สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้จัดทากรอบ
ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคที่ยดึ กระบวนการมสี ว่ นรว่ มของทุกภาคส่วน รวมทกุ จังหวดั ทั้ง ๔ ภูมิภาคขึน้ ดังนี้

1. แนวคิดและหลักการ
1.1 ยึดแนวคิดการพัฒนาตาม “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ให้เกิดการพัฒนาที่สมดุล เป็นธรรม

และมภี มู คิ มุ้ กันตอ่ ผลกระทบจากกระแสการเปลย่ี นแปลงท้งั จากภายนอกและภายในประเทศ ควบคู่กับแนวคิด
“การพัฒนาแบบองค์รวม” ท่ียึด คน ผลประโยชน์ของประชาชน ภูมิสังคม ยุทธศาสตร์พระราชทาน เข้าใจ
เข้าถึง และการพัฒนา ยึดหลักการมีส่วนร่วมของทุกภาคภาคีการพัฒนา และหลักธรรมาภิบาล เพ่ือให้สังคม
สมานฉนั ทแ์ ละอย่เู ย็นเปน็ สุขรว่ มกัน

1.2 หลักการ มุ่งสร้างความเช่ือมโยงกับแผนระดับชาติต่างๆ นโยบายรัฐบาล แผนการบริหาร
ราชการแผ่นดนิ เพือ่ สรา้ งโอกาสทางการพฒั นา สอดคลอ้ งกบั ภูมสิ งั คมของพ้นื ที่ โดย

(1) กาหนดรูปแบบการพัฒนาเชงิ พ้นื ท่ีของประเทศและภาค รวมถึงชุมชน
(2) กาหนดบทบาทและยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาคให้สอดคล้องกับศกั ยภาพและโอกาสของพนื้ ที่

๒. ทศิ ทางการพฒั นาเชงิ พื้นที่
ภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ทมี่ ีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สภาพแวดล้อมภายนอกเป็นปัจจัยสาคัญ

ต่อการพฒั นาประเทศ เป็นผลใหจ้ าเป็นตอ้ งเตรียมการรองรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวให้เหมาะสม การพัฒนา
ท่สี มดุล ดงั นน้ั จึงกาหนดทิศทางการพัฒนาพืน้ ท่ขี องประเทศ ดงั นี้

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานที่ดิน

17

2.1 พัฒนาพ้ืนท่ีในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพ่ือ
เป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตรและการแปรรูปการเกษตร และการท่องเที่ยวของภูมิภาค
โดยเฉพาะ

2.1.1 พัฒนาพื้นที่เชื่อมโยงทางเศรษฐกิจตามแนวตะวันออก-ตะวันตก (East West Economic
Corridor) เช่น พื้นที่เขตเศรษฐกิจแม่สอด-สุโขทัย-พิษณุโลก-ขอนแก่น-มุกดาหาร แนวสะพานเศรษฐกิจพ้ืนท่ี
อรญั ประเทศ-สระแก้ว-ปราจนี บุรี พนื้ ท่ีเศรษฐกิจระนอง-ชุมพร-บางสะพาน แนวสะพานเศรษฐกิจพังงา-กระบ่ี-
สรุ าษฎรธ์ านี-นครศรธี รรมราช และแนวสะพานเศรษฐกจิ สตลู -สงขลา

2.1.2 พฒั นาพ้นื ที่เชื่อมโยงทางเศรษฐกจิ ตามแนวเหนือ-ใต้ (North South Economic Corridor)
ไดแ้ ก่ แนวเศรษฐกิจเชียงของ-เชียงราย-พิษณุโลก-นครสวรรค์-จังหวดปริมณฑล แนวเขตเศรษฐกิจหนองคาย-
อุดรธานี-ขอนแก่น-นครราชสีมา-จังหวัดปริมณฑล พ้ืนท่ีแหลมฉบัง-ชลบุรี-ฉะเชิงเทรา-สระแก้ว-บุรีรัมย์-
มกุ ดาหาร

2.2 พัฒนาบริการพื้นฐานของชุมชนเพ่ือรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจเชื่อมโยงระหว่างประเทศ โดยเน้น
พ้ืนท่ชี มุ ชนตามแนวเขตเศรษฐกิจเหนือ-ใต้ และตะวนั ออก-ตะวันตก โดยเฉพาะชมุ ชนเศรษฐกจิ ชายแดน

2.3 พฒั นาระบบโลจสิ ตกิ ส์และโครงขา่ ยคมนาคมขนส่ง เพ่ือสนับสนุนการเพ่ิมขีดความสามารถใน
การแข่งขนั เชงิ พนื้ ที่ เช่น การพัฒนาระบบรถราง เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการขนส่งทางน้า และเพิ่มประสิทธิภาพการ
เชื่อมโครงขา่ ยการคมนาคมบรเิ วณจุดตดั เช่น พิษณุโลก และขอนแก่น

2.4 สร้างความมนั่ คงของฐานทรพั ยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ
ให้ยั่งยืน ได้แก่ พัฒนาแหล่งน้าให้เพียงพอต่อการเกษตร พัฒนาส่ิงแวดล้อมเมืองและแหล่งอุตสาหกรรม และ
การจัดให้มีการจัดการใชป้ ระโยชนท์ ่ีดนิ อย่างมีประสิทธิภาพ

๓. ยุทธศาสตร์การพฒั นาภาคเหนอื
3.1 ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นา
(1) ปรับโครงสร้างการผลิตสู่การพึ่งตนเองตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และปรับ

ระบบการผลิตท่ีสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างสมดุล เพื่อคงความเป็นฐานเศรษฐกิจอย่างย่ังยืน เช่น การพัฒนา
ประสิทธภิ าพการผลิตและสร้างมลู ค่าเพ่มิ ให้ผลติ ภณั ฑก์ ารเกษตร

(2) ยกระดับการค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน ทันต่อการเปล่ียนแปลงของกระแสตลาด
เนน้ การพฒั นาบคุ ลากร โครงสร้างพนื้ ฐาน และส่ิงอานวยความสะดวกตา่ งๆ เช่น ระบบโลจิสติกส์เพ่ือสนับสนุน
การคา้ การพฒั นาแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว

(3) พัฒนาเมืองศูนย์กลางความเจริญและเมืองชายแดนเพ่ือรองรับการเช่ือมโยงในระดับ
นานาชาติ

(4) พัฒนาคนและสังคมให้พร้อมรับการเปล่ียนแปลง มีความมั่นคงและอยู่เย็นเป็นสุข
รว่ มกนั เชน่ ด้านสุขภาพ ดา้ นการศึกษา แรงงาน ฯลฯ

(5) พัฒนาศักยภาพของสถาบันครอบครัวและชุมชนให้มีความเข้มแข็งในการพัฒนาท่ีนาไปสู่
การพึ่งตนเอง มีภมู คิ ุม้ กันตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

(6) บรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างย่ังยืน เน้นการอนุรักษ์ฟ้ืนฟูและ
ใชป้ ระโยชน์อยา่ งสมดลุ และเตรียมการปอ้ งกนั และรบั มอื ภัยธรรมชาติ

ค่มู ือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานท่ดี นิ

18

3.2 ทศิ ทางการพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวดั ใหม้ ีความเช่อื มโยงกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2551 – 2554 และแผนพัฒนาฉบับที่ 10 รวมท้ังแผนพัฒนาด้านต่างๆ ดงั น้ี

(1) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๑ ประกอบด้วย เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง และแม่ฮ่องสอน
มีทิศทางการพัฒนาด้านการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ พัฒนาบริการพื้นฐานของเมืองและส่ิงแวดล้อม พัฒนา
โครงข่ายคมนาคม และสร้างมูลค่าเพิ่มทางภาคการผลิตและบริการบนพ้ืนฐานของความรู้และวัฒนธรรม
ภูมปิ ัญญา

(2) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน ๒ ประกอบด้วย เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน มุ่งพัฒนา
เชียงรายให้เป็นประตูการค้า การลงทุน พัฒนาการเกษตรอินทรีย์ พัฒนาการท่องเที่ยวชายแดนและการท่องเที่ยว
อนรุ ักษ์และสบื สานวฒั นธรรมล้านนาและภูมิปญั ญาท้องถ่นิ และเรง่ ฟนื้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาติ

(3) กลุม่ จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 1 ประกอบด้วย สุโขทัย ตาก เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ และ
พิษณุโลก เน้นการสนับสนุนให้เกิดความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้และน้า สร้างมูลค่าเพิ่มการท่องเท่ียว
เชงิ ประวตั ิศาสตร์และศาสนา การพฒั นาให้เปน็ ศนู ย์กลางการคา้ บริการ การขนสง่ และการกระจายสนิ ค้า

(4) กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง 2 ประกอบด้วย กาแพงเพชร นครสวรรค์ พิจิตร และ
อทุ ยั ธานี เน้นพัฒนาข้าวและผลิตภัณฑ์แปรรูปการเกษตรอย่างครบวงจร พัฒนาอุตสาหกรรมพลังงานทดแทน
จากผลผลติ และวัสดุทางการเกษตร พัฒนาให้เป็นศูนย์กลางการกระจายสินค้า พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีความ
โดดเดน่ และการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม

3.3 โครงการสาคัญ (Flagship Project)
(1) โครงการพัฒนามลู ค่าเพม่ิ ให้กับเกษตรกรผผู้ ลติ สินค้าเกษตรอินทรยี ์
(2) โครงการยกระดับสินค้าหตั ถกรรมและการท่องเทยี่ วลา้ นนาสูส่ ากล
(3) โครงการพัฒนาเมืองเชียงใหม่-ลาพูน รองรับการเป็นศูนย์กลางความเจริญท่ีเช่ือมโยง

กับนานาชาตแิ ละอนุภูมภิ าคลมุ่ นา้ โขงตอนบน
(4) โครงการสบื สานพัฒนาองค์ความรูภ้ มู ปิ ญั ญาและศลิ ปวฒั นธรรมลา้ นนา
(๕) โครงการพฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การน้าในระดบั ชุมชน
(6) โครงการเพิม่ สมรรถนะการบริหารจดั การนา้ ต้นทุน

๔. ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื
4.1 ยุทธศาสตร์การพัฒนา
(1) เพิ่มศกั ยภาพการแข่งขนั ด้านเศรษฐกิจ โดยการยกมาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิต

การเกษตร การพัฒนาศักยภาพการประกอบการด้านอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมบริการและการท่องเที่ยว การตั้ง
องค์กรร่วมภาครัฐและเอกชนระดับพื้นท่ี เพ่ือส่งเสริมอานวยความสะดวกด้านการค้าการลงทุน และส่งเสริม
ความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพอื่ นบา้ น

(2) สร้างคนให้มีคุณภาพ เพื่อพัฒนาคนให้มีสุขภาวะดีท้ังร่างกาย จิตใจและสติปัญญา รอบรู้
เท่าทนั การเปลย่ี นแปลง สามารถดารงชีพไดอ้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ

(3) สร้างสังคมและเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง เพ่ือสร้างความม่ันคงด้านอาหาร แก้ไข
ปัญหาความยากจน หน้ีสิน และการออมของครัวเรือน มีสัมมาอาชีพท่ีม่ันคง สามารถพึ่งพาตนเองและดูแล
ครอบครัวได้อยา่ งอบอนุ่

(4) ฟืน้ ฟูทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มใหส้ มบูรณ์ โดยเร่งอนุรักษ์และฟ้ืนฟูพื้นที่ป่าไม้
ให้ได้ 15.9 ล้านไร่ หรือร้อยละ 25 ของพ้ืนท่ีภาค ป้องกันการรุกพ้ืนที่ชุ่มน้า พัฒนาแหล่งน้าและระบบ
ชลประทาน ฟ้ืนฟดู ิน ยับยัง้ การแพร่กระจายดินเคม็ และเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการจัดการโดยสง่ เสรมิ ทาเกษตรอินทรยี ์

ค่มู ือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานที่ดนิ

19

4.2 ทศิ ทางการพฒั นากลุ่มจงั หวดั และจังหวัด
(1) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๑ ประกอบด้วย อุดรธานี หนองคาย

หนองบัวลาภู และเลย เน้นการฟ้ืนฟูระบบนิเวศน์เพื่อรักษาสมดุลธรรมชาติ การปรับโครงสร้างการผลิตด้าน
การเกษตร การส่งเสริมการคา้ การลงทุนและการท่องเที่ยวเชอ่ื มโยงกบั ประเทศเพอื่ นบ้าน

(2) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ๒ ประกอบด้วย สกลนคร นครพนม และ
มุกดาหาร เน้นให้ความสาคัญกับความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศเพ่ือนบ้าน เพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
สนิ ค้าการเกษตร สง่ เสรมิ พื้นท่ชี ลประทาน การทาปศุสัตว์โดยเฉพาะโคเนือ้

(3) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบด้วย ขอนแก่น กาฬสินธ์ุ
มหาสารคาม และร้อยเอ็ด เน้นการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมืองรองรับการเป็นศูนย์กลางการค้าบริการ
และการลงทุนของภาค การใช้ประโยชน์พ้ืนที่ชลประทานให้เกิดประโยชน์สูงสุด การทาการเกษตรก้าวหน้า
การเตรียมการรองรับอตุ สาหกรรมพลงั งานทดแทน (Ethanol) ควบคู่กับการเพม่ิ ประสิทธภิ าพการผลิต

(4) กลุ่มภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ๑ ประกอบด้วย นครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์
สุรินทร์ มุ่งเน้นการพัฒนาระบบชลประทานให้เต็มศักยภาพ การเตรียมการรองรับอุตสาหกรรมพลังงาน
ทดแทน (Ethanol) พัฒนาการท่องเที่ยวทั้งการท่องเท่ียวเชิงนิเวศและอารยธรรมขอมด้วยการสร้างคุณค่าเพ่ิม และ
พฒั นาเสน้ ทาง

(5) กลมุ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนลา่ ง ๒ ประกอบด้วย อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร
และอานาจเจริญ มุ่งเน้นการพัฒนาแหล่งนา้ และระบบบรหิ ารจดั การเพ่ือแก้ไขปัญหาน้าท่วมและขาดแคลนน้า
การสร้างงานและรายไดจ้ ากการทอ่ งเทีย่ วให้มากขึ้น

4.3 โครงการท่ีสาคัญ (Flagship Project)
(๑) โครงการผลิตข้าวหอมมะลิอินทรยี ์ในทงุ่ กลุ าร้องไหเ้ พอื่ การสง่ ออก
(๒) โครงการพฒั นาเมืองมกุ ดาหารเป็นประตูสู่อนิ โดจนี
(๓) โครงการพฒั นาเส้นทางทอ่ งเท่ียวอารยธรรมขอม
(๔) โครงการจัดการผลิตเอทานอลในภาคอีสาน
(๕) โครงการยกมาตรฐานการเรยี นการสอนดว้ ยระบบศกึ ษาทางไกล
(๖) โครงการเกษตรยงั่ ยืนเพอ่ื ชุมชนเข้มแข็ง
(๗) โครงการฟื้นฟลู มุ่ นา้ ชีตอนบนและลุ่มน้ามูลตอนบน แบบบูรณาการเพอื่ การผลติ ทีย่ งั่ ยืน

๕. ยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาภาคกลาง
5.1 ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา
(๑) พัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศให้มีการพัฒนาอย่างต่อเน่ือง เพื่อรักษา

เสถียรภาพการพฒั นาอตุ สาหกรรม เกษตร การบรกิ าร การลงทนุ ให้มีความมั่นคงและเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถ
ในการแข่งขนั ของประเทศ เชน่ สง่ เสรมิ การพัฒนาพ้นื ที่นิคมอุตสาหกรรม สง่ เสริมอุตสาหกรรมขนาดกลางและ
ขนาดยอ่ ม พัฒนาการเกษตร ฟืน้ ฟกู ารบรหิ ารจดั การแหลง่ ทอ่ งเที่ยว พฒั นาประสิทธภิ าพโลจสิ ตกิ ส์

(2) พัฒนาศักยภาพคน ครอบครัว ชุมชนและสังคมให้มีคุณภาพ มีธรรมาภิบาล เพ่ือพร้อม
รับการเปล่ียนแปลงเศรษฐกิจโลก ควบคู่กับการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีข้ึน เช่น ส่งเสริมการเรียน
การสอนนอกระบบ การอาชีวศึกษา ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา โดยเฉพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สง่ เสรมิ บทบาทของครอบครัว ชมุ ชน และภาคประชาสังคมในการสร้างวฒั นธรรมในการดแู ลสขุ ภาพ

คูม่ ือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานทด่ี นิ

20

(3) อนุรักษ์พื้นฟู และพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมให้มีความสมดุลต่อระบบ
นิเวศ เพ่ือสนับสนุนการพัฒนาฐานเศรษฐกิจหลักของประเทศ โดยเร่งแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝ่ังทะเล
ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม ฟ้ืนฟูคุณภาพน้าแม่น้าเจ้าพระยา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนาอนุรักษ์
และรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสงิ่ แวดล้อม

(4) เสริมสร้างศักยภาพการพัฒนาเมืองและพ้ืนท่ีชายแดนตามแนวเศรษฐกิจกับประเทศ
เพ่ือนบา้ นทง้ั แนวเหนือ-ใต้ และแนวตะวันออก-ตะวันตก เพื่อเป็นประตูการค้าเชื่อมโยงประเทศเพ่ือนบ้านและ
นานาชาติ

(5) บริหารจัดการพัฒนาพนื้ ที่เมอื งและชนบทอยา่ งมีส่วนร่วมและเก้ือกูลกัน เพ่ือให้มีการจัด
ระเบียบรูปแบบการพัฒนาเมืองและชุมชนได้สอดคล้องกับการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานและความต้องการของ
ชุมชน

5.2 ทศิ ทางการพัฒนากลุ่มจังหวดั
(1) กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๑ ประกอบด้วย นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา

และสระบุรี เน้นการพัฒนาเป็นผู้นาในภูมิภาคด้านอุตสาหกรรมสะอาด ส่งเสริมการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมใน
การพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องจักร ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาการออกแบบผลิตภัณฑ์และคุณภาพวัตถุดิบ สร้าง
มลู คา่ เพ่ิมของหว่ งโซก่ ารผลติ ในกลมุ่ อุตสาหกรรม และพัฒนาอนรุ กั ษแ์ หล่งท่องเที่ยวเพ่ือให้เป็นแหล่งท่องเท่ียว
ทางมรดกโลก

(2) กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน ๒ ประกอบด้วย ชัยนาท ลพบุรี สิงห์บุรี และอ่างทอง
เน้นการรักษาความม่ันคงทางอาหารโดยการดูแลรักษาฐานทรัพยากรเกษตรที่สาคัญ การสร้างมูลค่าเพิ่ม
ผลิตภัณฑ์หลักในพ้ืนที่ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์วัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรและอุตสาหกรรม พัฒนาการผลิต
อาหารส่งออกประเภทธัญพืช พืชไร่ และปศุสัตว์ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์และผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญา
ท้องถิน่ และพฒั นาเส้นทางขนส่งตลอดลานา้

(3) กลุ่มจังหวดั ภาคกลางตอนลา่ ง กลุ่ม ๑ ประกอบด้วย นครปฐม ราชบุรี กาญจนบุรี และ
สุพรรณบุรี เน้นพัฒนาการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรอุตสาหกรรมด้วยระบบการผลิตที่ปลอดภัยต่อ
สง่ิ แวดลอ้ ม จัดตั้งศูนย์เครือข่ายการศึกษาข้ันอุดมศึกษาและสนับสนุนสถาบันการศึกษา ส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงนเิ วศ และส่งเสริมการจดั ต้งั ศูนยอ์ ตุ สาหกรรมบริเวณชายแดน

(4) กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนล่าง กลุ่ม ๒ ประกอบด้วย เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สุมทรสาคร
และสมุทรสงคราม เน้นสนับสนุนการศึกษาวิจัย การจัดตั้งศูนย์ประมงครบวงจรและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง
ส่งเสริมงานวิจัยพัฒนาการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรและสัตว์น้า สนับสนุนการขยายการก่อสร้างท่าเรือน้าลึก
ท่ีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และพัฒนาเครือข่ายการท่องเท่ียวเชื่อมโยงสหภาพพม่าและฝั่งอ่าวไทยตะวันออก-
ตะวนั ตก

(5) กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ประกอบด้วย สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา นครนายก
ปราจีนบุรี และสระแก้ว เน้นการสร้างมูลค่าการผลิตให้สูงขึ้น การป้องกันการขยายตัวของพื้นที่ชุมชนและ
อตุ สาหกรรมเพ่ือไมใ่ หบ้ ุกรุกพ้นื ท่เี กษตรทอ่ี ุดมสมบูรณ์ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพและมาตรฐานด้านความปลอดภัยของ
สนิ ค้าเกษตร ยกระดับคุณภาพผลิตภณั ฑ์ของกลุ่มอุตสาหกรรมสู่สากล ขยายเครือข่ายอุตสาหกรรมขนาดกลาง
และขนาดย่อม ส่งเสรมิ การวจิ ยั และพัฒนารวมท้งั การออกแบบนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ให้
สมบรู ณย์ ิ่งข้ึน

คู่มอื การจัดทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานทดี่ นิ

21

(6) กลุ่มจังหวัดภาคตะวันออก ประกอบด้วย ชลบุรี ระยอง ตราด และจันทบุรี มุ่งเน้นการเร่ง
แก้ไขปัญหาการขาดแคลนน้าจากภาวะฝนแล้งให้เพียงพอต่อการอุปโภค บริโภค และอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ี
จังหวัดชลบุรี-ระยอง บริหารจัดการด้านการผลิต การแปรรูป และระบบการกระจายสินค้าและการตลาด
ส่งเสริมการประมงแบบเพาะเล้ียงชายฝ่ังในจังหวัดจันทบุรีและตราด พร้อมฟ้ืนฟูอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ชายฝ่งั ทะเล สนับสนุนอุตสาหกรรมอัญมณี จัดระเบียบแหล่งท่องเที่ยว สนับสนนุการค้าการลงทุนกับประเทศ
เพอ่ื นบา้ น เรง่ รัดปรับปรุงและขยายระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่งให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และพัฒนาความรู้และ
ทักษะฝมี ือแรงงานให้สอดคลอ้ งกับความต้องการของตลาด

5.3 โครงการท่สี าคญั (Flagship Project)
(1) โครงการพัฒนาจังหวดั สมุทรสาครใหเ้ ป็นศนู ย์กลางการประมงและอตุ สาหกรรมตอ่ เนอ่ื ง
(2) โครงการจดั ทาแผนแม่บทเพื่อบริหารจดั การพื้นทเ่ี มอื งจังหวดั พระนครศรีอยุธยา
(3) โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกดั เซาะชายฝัง่ ทะเลอา่ วไทย
(4) โครงการผลิตกาลงั คนดา้ นอาชีวศกึ ษาเพอื่ ตอบสนองต่อภาคการผลติ และบริการ

๖. ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาภาคใต้
๖.๑ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นา
(1) การเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคการผลิตหลักให้เจริญเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและย่ังยืน

โดยพัฒนาการเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูป พัฒนาประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตสินค้าอาหาร
พัฒนาการท่องเท่ียว

(๒) ขยายฐานเศรษฐกิจเพ่ือเพิ่มความหลากหลายของแหล่งสร้างรายได้และการจ้างงาน
ให้แก่ภาคโดยพัฒนาความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านภายใต้กรอบโครงการ JDS และกรอบโครงการ IMT-GT
พฒั นารองรบั การขยายการลงทุนอุตสาหกรรมทม่ี ศี กั ยภาพของประเทศ และพัฒนาการคมนาคมขนสง่ ทางทะเล

(3) พัฒนาคนและสังคมให้มีคุณภาพและมีภูมิคุ้มกันที่ดีเพื่อเสริมสมรรถนะการพัฒนา
โดยการพัฒนาความรู้ คุณธรรม และสุขภาวะ การสร้างความมั่นคงในการดารงชีวิตของคนจน คนด้อยโอกาส
ให้สามารถพึ่งตนเองได้ การพัฒนาศักยภาพคนเพื่อเพ่ิมผลิตภาพการผลิตและเพิ่มโอกาสด้านอาชีพและรายได้
และการอานวยความเป็นธรรมและสร้างภูมิคุ้มกันแก่คนกลมุ่ เส่ียง เพ่อื แก้ปญั หาความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้

(4) เสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคมระดับชุมชน โดยสร้างกระบวนการ
เรียนรู้ เพื่อสร้างความเข้มแข็งของชุมชนสู่การพึ่งตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน โดยการเพิ่มโอกาสการมี
รายได้จากทรัพยากรในท้องถิ่น และส่งเสริมการใช้กระบวนการชุมชนเข้มแข็งเพื่อสร้างสันติสุข โดยเฉพาะการใช้
กระบวนการชุมชนเขม้ แขง็ แกไ้ ขปัญหายาเสพตดิ

(5) ฟื้นฟูและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพ่ือรักษาสมดุลเชิงนิเวศ
อย่างย่ังยืน โดยฟื้นฟูและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติเพ่ือรักษาความสมดุลเชิงนิเวศ สร้างความอุดมสมบูรณ์
ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นฐานการผลิตอย่างยั่งยืน และควบคุมคุณภาพส่ิงแวดล้อมเพ่ือลดผลกระทบด้าน
คณุ ภาพชีวติ

๖.๒ ทิศทางการพัฒนากลุม่ จงั หวดั
(๑) กล่มุ จังหวัดภาคใตฝ้ ง่ั อ่าวไทย ประกอบด้วย ชุมพร สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และ

พัทลุง เน้นการพัฒนาฐานอุตสาหกรรมแปรรูปผลผลิตจากน้ามันปาล์ม พัฒนาการปลูกข้าวและการเล้ียงปศุสัตว์
พฒั นาการเกษตรยงั่ ยืนเพื่อผลติ สนิ ค้าเกษตรเชิงคุณภาพ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์บริเวณชายฝ่ังทะเล
และการเตรยี มความพร้อมพ้นื ที่ทีม่ ศี ักยภาพรองรับการพฒั นาอตุ สาหกรรมใหม่

คมู่ ือการจัดทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานทด่ี ิน

22

(๒) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน ประกอบด้วย ระนอง พังงา ภูเก็ต กระบ่ี และตรัง เน้น
การรักษาความมีมนต์เสน่ห์ของศูนย์กลางการท่องเท่ียวทะเล เพ่ิมความหลากหลายของกิจกรรมการท่องเท่ียว
และการบริการ พัฒนาแหลง่ ทอ่ งเที่ยวชายฝ่งั ทะเลและบนบก และพัฒนาบุคลากรรองรบั การทอ่ งเทย่ี ว

(๓) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายเลน ประกอบด้วย สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส
เน้นการคุ้มครองความปลอดภัย การอานวยความเป็นธรรมเพื่อเสริมสร้างความเชื่อม่ันในอานาจรัฐ และสร้าง
ภูมิคุ้มกันแก่คนกลุ่มเสี่ยง โดยเฉพาะการช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับผลกระทบ การเสริมสร้างความมั่นคงด้าน
อาชีพและรายได้แก่ผู้มีรายได้น้อย การพัฒนาคุณภาพคนเพ่ือสร้างโอกาสการมีงานทาและยกระดับคุณภาพชีวิต
การเสริมสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและพัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศ และการบริหารจัดการเขต
พฒั นาพิเศษเฉพาะกจิ จงั หวัดชายแดนภาคใต้

๖.๓ โครงการท่ีสาคญั (Flagship Project)
(๑) โครงการพัฒนาสงขลาเปน็ ศูนย์กลางการผลิตการแปรรปู และคา้ ยางพาราของประเทศ
(2) โครงการพฒั นาสรุ าษฎร์ธานีเป็นศนู ย์กลางการผลติ และแปรรปู ปาลม์ น้ามนั แบบครบวงจร
(3) โครงการพฒั นาลุม่ นา้ ปากพนังและลมุ่ น้าทะเลสาบสงขลาเปน็ อู่ข้าวอู่น้า
(4) โครงการพัฒนาธุรกจิ บริการกลมุ่ Mice และ Marina เกาะภเู ก็ต
(5) โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารฮาราลในจังหวดั ชายแดนภาคใต้
(๖) โครงการแกไ้ ขปัญหาความยากจนเชงิ บูรณาการในจงั หวัดชายแดนภาคใต้
(๗) โครงการพฒั นาแรงงานในจังหวดั ชายแดนภาคใต้เพ่ือไปทางานในต่างประเทศ
(๘) โครงการพัฒนาขา้ วสงั ข์หยดเปน็ สนิ ค้าเชงิ คณุ ภาพ
(9) โครงการผลิตสินค้าอาหารฮาราลระดับชุมชนในจังหวัดชายแดนภาคใต้แบบครบวงจร
(10) โครงการอ่าวปัตตานี (ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของชายฝั่งทะเล)
(11) โครงการฟ้ืนฟูการทานาในพื้นท่ีนารา้ งในจังหวัดชายแดนภาคใต้

ขอ้ มูลภาพรวมของสานกั งานท่ีดิน

ขอบเขต อานาจหน้าที่ โครงสร้างและอตั รากาลังของสานกั งานที่ดนิ
ขอบเขตและอานาจหน้าท่ีของสานักงานทีด่ นิ
ตามกฎกระทรวงการแบ่งสว่ นราชการกรมที่ดนิ กระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2557 กาหนดอานาจหน้าที่
ของสานักงานท่ีดนิ จังหวดั และสานักงานทีด่ นิ อาเภอ ไว้ดงั น้ี
สานักงานท่ดี นิ จงั หวดั มีอานาจหนา้ ท่ีดงั ตอ่ ไปน้ี
(๑) ดาเนินการตามประมวลกฎหมายทด่ี นิ กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยอาคารชุด
กฎหมายว่าด้วยช่างรังวัดเอกชน และกฎหมายว่าด้วยการเช่าอสังหาริมทรัพย์เพื่อพาณิชยกรรม และอุตสาหกรรม
ในเขตจังหวัด
(๒) ปฏิบัติงานเกี่ยวกับการออกหนังสือแสดงสิทธิในท่ีดิน หนังสือกรรมสิทธ์ิห้องชุด การจดทะเบียน
สิทธิและนิติกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การรังวัด การรังวัดพิสูจน์
สอบสวนการทาประโยชน์ สอบเขต หรือตรวจสอบเน้ือที่ การแบ่งแยกท่ีดินออกเป็นหลายแปลง การรวมที่ดิน
หลายแปลงเข้าเป็นแปลงเดียวกัน การทาแผนที่สาหรับท่ีดิน รวมท้ังการจัดเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย และภาษี
อากร เกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธแิ ละนิตกิ รรม หรือการดาเนินการเกย่ี วกบั อสังหารมิ ทรัพย์

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานทีด่ นิ

23

(๓) กากับดูแล ให้คาปรึกษา และสนับสนุนการปฏิบัติงานของสานักงานท่ีดินจังหวัดสาขา และ
สานกั งานทดี่ ินอาเภอ

(๔) ปฏบิ ตั งิ านร่วมกบั หรอื สนบั สนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้องหรือท่ีได้รับมอบหมาย
สานักงานท่ีดนิ อาเภอ มอี านาจหน้าทดี่ ังต่อไปนี้
(๑) ดาเนินการตามประมวลกฎหมายท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรท่ีดิน และกฎหมายว่าด้วยการเช่า
อสังหารมิ ทรพั ย์เพ่ือพาณิชยกรรมและอตุ สาหกรรม ในเขตอาเภอ
(๒) ปฏิบัติงานในด้านการออกใบจอง การออกหนังสือรับรองการทาประโยชน์ การจดทะเบียนสิทธิ และ
นิตกิ รรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การรังวัดพิสูจน์สอบสวนการทาประโยชน์
หรือตรวจสอบเนื้อที่ การแบ่งแยกท่ีดินออกเป็นหลายแปลง การรวมที่ดินหลายแปลงเข้าเป็นแปลงเดียวกันในท่ีดิน
ที่มีหนังสือรับรองการทาประโยชน์ รวมทั้งการจัดเก็บค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่าย และภาษีอากรเกี่ยวกับการจด
ทะเบยี นสิทธิและนิติกรรมหรือการดาเนนิ การเกยี่ วกับอสงั หาริมทรพั ย์
(๓) ปฏิบตั ิงานร่วมกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นทเี่ กี่ยวข้องหรอื ท่ีไดร้ ับมอบหมาย

การแบ่งองค์กรของสานกั งานทีด่ ิน (ข้อมูล ณ วนั ท่ี ๕ กันยายน 2560)

สานักงานทดี่ ินทวั่ ประเทศ มจี านวนทั้งสนิ้ 830 แหง่ แบ่งออกเปน็

สานักงานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร จานวน 1 แหง่

สานักงานทดี่ ินกรงุ เทพมหานครสาขา จานวน 16 แห่ง

สานกั งานทด่ี ินจังหวัด จานวน 76 แหง่

สานกั งานท่ีดนิ จังหวัดสาขา จานวน 3๓๓ แห่ง

สานกั งานทดี่ ินส่วนแยก จานวน 3๔ แหง่

สานกั งานทดี่ ินอาเภอ จานวน 370 แห่ง

(รวมสานักงานท่ีดนิ จงั หวดั สาขา สว่ นแยก จานวน 460 แห่ง)

แผนภูมกิ ารแบ่งงานภายในของสานักงานทีด่ นิ
แผนภูมิแบ่งงานภายในของสานักงานทีด่ ินกรงุ เทพมหานคร

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ดี ิน

24

แผนภูมิแบ่งงานภายในของสานกั งานท่ีดินกรงุ เทพมหานคร สาขา ๑๖ แห่ง
แผนภูมิแบง่ งานภายในของสานกั งานทีด่ นิ จงั หวดั ๗๖ จังหวัด

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานที่ดนิ

25

แผนภมู ิแบง่ งานภายในของสานักงานท่ดี นิ จงั หวัด สาขา ๓33 สาขา (ส่วนภูมิภาค)
แผนภูมิแบ่งงานภายในของสานักงานท่ดี ินสว่ นแยก/อาเภอ 404 แหง่

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานท่ดี นิ

26

แผนผังกระบวนการจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี (Work Flow)

เชิงคณุ ภาพ ศกึ ษา/รวบรวมข้อมลู ขอบเขตและอานาจหนา้ ที่
ความพึงพอใจของ ลกั ษณะสาคัญของหนว่ ยงานและ โครงสร้างการแบ่งองค์กร
ความเช่ือมโยงของนโยบายและแผน
ประชาชน โครงสร้างอตั รากาลัง
วิเคราะห/์ รวบรวมขอ้ มลู สาหรบั แผนภูมแิ บง่ งานภายใน
ความพึงพอใจของ การวางแผนและติดตามประเมนิ ผล
หนว่ ยงานภายใน เชิงปริมาณ
เพื่อหาแนวโน้มในอนาคต
องคป์ ระกอบ และกาหนดเปา้ หมาย ประมวลสถิตผิ ลการ
ของแผน ดาเนินงานทผี่ า่ นมา
วิเคราะห์โอกาสที่จะพฒั นาและกาหนด
รปู แบบของแผน ภารกจิ สาคัญทตี่ ้องดาเนินการ ยอ้ นหลงั 3 ปี

ประชุมพจิ ารณา (ร่าง) แผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ปรมิ าณงาน
เพ่ือวิเคราะห์จัดลาดบั ความสาคัญภารกจิ กบั การจดั เกบ็ รายได้
ปรมิ าณเอกสารสทิ ธิ
งบประมาณท่ไี ด้รับ
งานตามภารกิจหลกั
งานตามโครงการ
งานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

เสนอผ้บู ริหารใหค้ วามเห็นชอบ ผู้อานวยการสานกั /กอง
แผนปฏิบตั งิ านประจาปีฉบบั สมบรู ณ์ เจา้ พนักงานทดี่ ินจงั หวดั

ผวู้ า่ ราชการจังหวดั

คูม่ อื การจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานทดี่ นิ

27

ข้ันตอนการจดั ทาแผนปฏิบัติงานประจาปี

๑. ศึกษา/รวบรวมข้อมูลลักษณะสาคัญของหน่วยงาน และแผนภูมิแสดงความเช่ือมโยงของนโยบาย
แต่ละระดับ ดังนี้

๑.๑ ศึกษา/รวบรวมขอ้ มลู ลักษณะสาคญั ของหนว่ ยงาน
๑.๑.๑ สว่ นกลาง (สานกั /กอง)

- ขอบเขตและอานาจหน้าทข่ี องสานัก/กอง
- โครงสร้างอตั รากาลงั เจา้ หน้าที่ของสานัก/กอง เชน่ มเี จา้ หนา้ ทท่ี ั้งหมดกี่คน
แบ่งเป็นข้าราชการกี่คน ลูกจา้ งประจากคี่ น
- แผนภมู แิ บ่งงานภายในของสานัก/กอง

๑.๑.๒ ส่วนภูมภิ าค (สานกั งานที่ดนิ จงั หวดั /สาขา/ส่วนแยก/อาเภอ)
- ขอบเขตและอานาจหนา้ ท่ีของสานักงานทีด่ นิ
- การแบ่งองค์กรของสานักงานที่ดิน เช่น ในจังหวัดประกอบด้วยสานักงานท่ีดิน
จังหวดั /สาขา/ส่วนแยก/อาเภอ จานวนกแ่ี หง่ แต่ละแหง่ มเี ขตพนื้ ทคี่ วามรบั ผดิ ชอบกีอ่ าเภอ
- โครงสร้างอตั รากาลังเจ้าหน้าที่ เช่น มีเจ้าหน้าที่ท้ังหมดก่ีคน แบ่งเป็นข้าราชการกี่คน
ลูกจา้ งประจากีค่ น

- แผนภมู ิแบ่งงานภายในของสานกั งานทด่ี ิน
๑.๒ ศกึ ษาความเชอื่ มโยงของนโยบายและแผน

๑.๒.๑ ส่วนกลาง
- ศึกษาข้อมูลจากแผนภูมิแสดงความเช่ือมโยงแผนงานในการจัดสรรงบประมาณ
ยุทธศาสตร์ในระดับต่างๆ และตารางเช่ือมโยงประเด็นนโยบายและยุทธศาสตร์ ของกรมที่ดิน ที่กองแผนงาน
จดั ทาข้นึ

- นโยบายกรมท่ีดิน/นโยบายของผู้บริหาร และนโยบายผู้บริหารกรมที่ดินศึกษาจาก
ข้อมติและขอ้ สัง่ การในการประชุมระดบั ผบู้ ริหารซึ่งจะกาหนดเป็นนโยบาย หรือข้อสั่งการ จากการประชุม กรมที่ดิน
ซ่ึงสานักเลขานุการกรมจะสรุปข้อส่ังการต่างๆ ในที่ประชุม และแจ้งเวียนให้สานัก/กอง/สานักงานท่ีดินท่ัวประเทศ
เพอื่ ทราบและนาไปเป็นแนวทางในการปฏิบตั งิ าน เพ่ือสนองตอบนโยบายของกรมท่ีดนิ

๑.๒.๒ ส่วนภมู ภิ าค นอกเหนอื จากการศึกษาขอ้ มูลตามนัยขอ้ ๑.๒.๑ ข้างต้นแล้ว สานักงานที่ดิน
ในส่วนภมู ภิ าคตอ้ งคานึงถึงนโยบายจงั หวดั /กลุม่ จงั หวดั และนโยบายของ ผูว้ ่าราชการจงั หวัด อกี ทางหนงึ่ ด้วย

๒. วิเคราะห์/รวบรวมข้อมูลสาหรับการวางแผนและติดตามประเมินผล เพ่ือหาแนวโน้มในอนาคต
กาหนดเป้าหมาย ดังนี้

๒.๑ เชงิ ปรมิ าณ ประมวลสถิตผิ ลการดาเนินงานที่ผา่ นมายอ้ นหลัง ๓ ปี
๒.๑.๑ ปริมาณ
- บริการดา้ นทะเบยี นที่ดิน
- บริการด้านรังวดั ท่ีดนิ
- บริการดา้ นการออกเอกสารสิทธิ
๒.๑.๒ ปริมาณเอกสารสิทธิ

- บริการดแู ลรักษาหลกั ฐานทางทะเบยี นทีด่ ิน

คู่มือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานที่ดนิ

28

๒.๑.๓ การจัดเก็บรายได้
- คา่ ธรรมเนียมจดทะเบยี นสทิ ธิและนติ กิ รรม
- รายไดส้ ่งองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่
- จดั เกบ็ รายไดเ้ ข้ารฐั ในรปู ภาษีเงนิ ได้หกั ณ ทจ่ี า่ ย
- เก็บรายไดเ้ ข้ารัฐในรปู ภาษธี รุ กิจเฉพาะ
- จดั เกบ็ รายไดเ้ ข้ารัฐในรปู อากรแสตมป์

พิจารณาหาแนวโน้มปริมาณงาน ปริมาณเอกสารสิทธิและการจัดเก็บรายได้ใน
อนาคต เพ่ือวางแผนในการดาเนนิ งาน ตลอดจนกาหนดเป้าหมายงานและการจัดเกบ็ เงนิ รายได้

๒.๒ เชิงคุณภาพ สารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการ เพ่ือนามาพัฒนาคุณภาพการให้บริการ
อยา่ งตอ่ เนื่อง ได้แก่

๒.๒.๑ ความพงึ พอใจของประชาชน
๒.๒.๒ ความพงึ พอใจของหนว่ ยงานภายในกรมทด่ี ิน
๓. วิเคราะห์โอกาสทีจ่ ะพฒั นาและกาหนดภารกจิ สาคญั ที่ต้องดาเนินการ ดังน้ี
นาเขา้ ข้อมลู ผลการวเิ คราะห์ในข้อที่ ๒ มาวิเคราะห์หาโอกาสที่จะพัฒนาและกาหนดภารกิจสาคัญ
ท่ตี อ้ งดาเนนิ การเป็นอันดับแรก โดยกาหนดองค์ประกอบและรปู แบบของแผน ดังนี้
๓.๑ ช่ือผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม ควรจะมีความหมายชัดเจน สามารถส่ือถึงส่ิงท่ีต้องการ
ดาเนนิ การโดยบคุ คลทวั่ ไปเขา้ ใจไดต้ รงกัน
๓.๒ เป้าหมาย ควรกาหนดในเชิงปริมาณ เพราะสามารถวัดผลได้อย่างเป็นรูปธรรมและพิจารณา
ถึงความเป็นไปได้ในการท่จี ะบรรลเุ ปา้ หมาย
๓.๓ สถานทีแ่ ละระยะเวลาดาเนนิ งาน ควรระบุระยะเวลาในการดาเนินการตลอดแผนปฏิบัติงาน
ในรูปแบบ Gantt chart พร้อมท้ังกาหนดสถานทีด่ าเนินงาน เช่น เฉพาะจงั หวดั ใด หรอื ทว่ั ประเทศ
๓.๔ ขั้นตอนการดาเนินงาน ควรระบุเป็นขั้นตอนย่อๆ เฉพาะการดาเนินงานที่สาคัญ โดยเรียงลาดับ
ใหเ้ ป็นขั้นท่ีสอดคลอ้ งกบั การดาเนนิ งานจริง
๓.๕ งบประมาณ ควรให้เหมาะสมกับผลผลิต/โครงการ/กิจกรรม โดยให้การใช้จ่ายเงิน
งบประมาณเกิดประโยชน์สงู สดุ
๓.๖ ผรู้ ับผิดชอบ ควรกาหนดกลมุ่ งาน/ฝ่าย ท่รี บั ผดิ ชอบอยา่ งชดั เจน
๔. ประชุมพิจารณา (ร่าง) แผนปฏิบัติงานประจาปี เพื่อวิเคราะห์จัดลาดับความสาคัญภารกิจท่ี
สอดรับกบั งบประมาณทไ่ี ดร้ บั จัดสรร ดังนี้
๔.๑ งานตามภารกิจหลัก หน้าที่ตามกฎหมายของส่วนราชการ ต้องดาเนินการตามบทบาทหน้าที่ท่ี
ปรากฏอยู่ในโครงสร้างของแต่ละหน่วยงาน มีแผนงานโครงการอย่างไร มีแนวโน้มจะทาอะไร รวมถึงให้ระบุงานท่ี
หน่วยงานตอ้ งการปรบั ปรงุ และพัฒนาตามระบบการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครฐั (PMQA)
๔.๒ งานตามโครงการ ทีน่ อกเหนอื จากงานตามภารกจิ หลัก เปน็ โครงการท่ีสานักงานทีด่ ินจังหวัด/
สาขา/ส่วนแยก จัดทาข้ึน รวมทั้งต้องระบขุ ั้นตอนและวิธีการดาเนนิ งานให้ครบทุกกิจกรรม
๔.๓ งานทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ไดแ้ ก่ โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัด/กลุม่ จงั หวดั งบท้องถ่ิน เป็นตน้
พิจารณาจัดสรรงบประมาณให้กับงานตามภารกิจหลักเป็นอันดับแรก จากน้ันจึงพิจารณาให้
งบประมาณแก่โครงการตา่ งๆ ซึง่ สานักงานท่ดี นิ จงั หวดั /สาขา/ส่วนแยก/อาเภอ ได้จัดทาและส่งเข้ามาภายในเดือน
ตุลาคมของแต่ละปี เพ่ือขอรับการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ และบรรจุลงในแผนปฏิบัติงาน โดยในระหว่างปี

คูม่ อื การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทีด่ นิ

29

แต่ละสานกั งานสามารถขอรับงบประมาณเพิ่มจากจังหวัดได้ หากงบประมาณท่ีได้รับไม่เพียงพอท่ีจะใช้ดาเนินงาน
ใหบ้ รรลุตามเป้าหมาย หรืองบประมาณไมเ่ พียงพอเน่ืองจากปริมาณทเี่ พ่มิ ขนึ้ มากกว่าทีป่ ระมาณการไว้

๕. เสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ โดยจัดทาเป็นคารับรองการปฏิบัติราชการ ระหว่างผู้อานวยการ
สานกั /กอง กบั อธบิ ดีกรมที่ดิน (ในสว่ นกลาง) หรอื ระหว่างเจ้าพนักงานที่ดิน กับผู้ว่าราชการจังหวัด/อธิบดีกรมท่ีดิน
เพ่ือใชเ้ ปน็ แนวทางในการพิจารณาความดีความชอบประจาปี

๖. แผนปฏิบัติงานประจาปีฉบับสมบูรณ์ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการดาเนินงานและการบริหาร
งบประมาณ รวมทง้ั การติดตามประเมินผลของผ้บู รหิ าร

ค่มู ือการจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานที่ดิน

32

บทที่ ๓
แบบฟอร์มทใี่ ช้ในการจัดทาแผนปฏบิ ัติงานประจาปีของสานกั งานที่ดิน

แบบฟอร์มที่ใช้ในการจดั ทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของสานกั งานทีด่ ิน เป็นแบบฟอรม์ ท่ีสานักงานท่ีดินจะต้องจัดทา
และนาส่งใหก้ รมที่ดิน ๒ แบบฟอร์ม โดยจะอธิบายในรายละเอียดของแต่ละแบบฟอรม์ ดงั น้ี

แบบฟอรม์ ที่ใช้ประกอบการจัดทาคาขอต้ังงบประมาณประจาปี

แบบฟอร์มท่ีใช้ประกอบการจัดทาคาขอตั้งงบประมาณประจาปี กองแผนงานจะจัดส่งให้สานักงานที่ดินดาเนินการ
ประมาณเดือนกันยายน – ตุลาคม โดยจะให้ทาคาขอต้ังงบประมาณล่วงหน้าเป็นเวลา ๑ ปี เช่น คาขอตั้งงบประมาณ
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 จะแจ้งเวียนให้ทาประมาณเดือนตุลาคม 2560 (ต้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2561)
เช่นเดียวกับคาขอตั้งงบประมาณประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จะแจ้งเวียนให้สานักงานที่ดินดาเนินการ ประมาณ
เดอื นกันยายน – ตลุ าคม 2561

โดยท่ีกองแผนงานจะแจ้งเวียนให้สานักงานท่ีดินดาเนินการจัดทาแบบฟอร์มใน ๒ ส่วน คือ แบบฟอร์มการจัดทา
แผนงานบริการประชาชนของสานักงานท่ีดินและแบบฟอร์มคาของบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ ในคู่มือเล่มน้ี
จะขออธิบายเฉพาะในสว่ นของแบบฟอรม์ การจดั ทาแผนงานบริการประชาชนของสานกั งานที่ดนิ เทา่ นัน้ ดังนี้

แบบฟอร์มทใ่ี ชป้ ระกอบการจดั ทาคาขอตั้งงบประมาณประจาปี มที ง้ั ส้ิน ๓ ตาราง คือ
แบบ ผส. 01 สรปุ เปา้ หมายและงบประมาณทต่ี ้องการใช้
แบบ ผส. 02 เป้าหมายและกรอบงบประมาณรายจ่ายลว่ งหน้าระยะปานกลางของงาน/โครงการ จาแนกตาม
แหลง่ เงนิ
แบบ ผส. 03 แบบแสดงรายละเอยี ดรายจ่ายประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ..............
ซึ่งจะอธบิ ายในแต่ละแบบ ดังน้ี

คมู่ อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ีดิน

31

- แบบฟอร์ม -

แบบฟอร์มการจัดทาแผนงานบรกิ ารประชาชนของสานกั งานท่ีดิน
เพือ่ ขอต้ังงบประมาณรายจา่ ยประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .................

แผนงานพื้นฐานดา้ น : การปรับสมดุลและพฒั นาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ผลผลติ : งานด้านทะเบยี นและรงั วัดทดี่ ินทบี่ ริการให้ประชาชน
แผนงานบริการประชาชนในสานกั งานทด่ี นิ ประกอบด้วย ๓ แผนงานย่อยในมิตดิ ้านพื้นที่ ดังนี้

๑. แผนงานบริการประชาชนในสานักงานทดี่ นิ จังหวดั
๒. แผนงานบริการประชาชนในสานกั งานที่ดนิ จังหวดั สาขา / ส่วนแยก
๓. แผนบริการประชาชนในสานักงานทีด่ นิ อาเภอ
ซง่ึ ท้งั ๓ แผนงาน ประกอบด้วย ๓ งาน คอื
๑. งานบรกิ ารดา้ นทะเบยี นที่ดนิ
๒. งานบรกิ ารด้านรังวดั ที่ดิน
๓. งานบรกิ ารรกั ษาเอกสารสิทธิทด่ี ินฉบบั หลวง
โดยมกี จิ กรรมย่อยในแต่ละแผนงานย่อยดา้ นมติ ิพืน้ ท่ี คือ
๑. กิจกรรมที่ ๑ บริการด้านทะเบียนทด่ี นิ
๒. กิจกรรมที่ ๒ บรกิ ารด้านรังวัดทีด่ นิ
๓. กิจกรรมท่ี ๓ บริการด้านวชิ าการท่ดี นิ
๔. กจิ กรรมท่ี ๔ บริการด้านข้อมูลทด่ี นิ
๕. กจิ กรรมท่ี ๕ ควบคุมและรักษาหลักฐานทีด่ นิ
๖. กจิ กรรมท่ี ๖ อานวยการ
๗. กิจกรรมที่ ๗ โครงการพัฒนาสานักงาน
ในการจัดทาแผนปฏิบัติงานบริการประชาชนของสานักงานท่ีดิน เพ่ือขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. .................. ให้สานกั งานทด่ี ินจงั หวดั และสานักงานท่ีดินแตล่ ะแห่งในจงั หวัด ดาเนนิ การ ดังนี้
1. สานักงานท่ีดินจังหวัด จัดทาแผนปฏิบัติงานบริการประชาชน และคาขอต้ังงบประมาณรายจ่ายประจา ปี..........
และสรปุ ในภาพรวมของสานักงานในพื้นทรี่ ับผดิ ชอบ ตามแบบ ผส...........-๐๑ , ผส............-๐๒ และ ผส ...........-๐๓
2. สานักงานท่ีดินแต่ละแห่งในจังหวัด จัดทาแผนปฏิบัติงานบริการประชาชน และคาขอตั้งงบประมาณรายจ่ายประจา
ปี พ.ศ. ............... และจัดทากรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง ตามแบบผส.........-๐๑, ผส........-๐๒ และ
ผส................-๐๓

แบบฟอรม์ ทีก่ าหนด
แบบ ผส……..-01 แบบเป้าหมายและงบประมาณทตี่ ้องการใชใ้ นการดาเนินงานปี.................. ตามแผนงานบริการ

ประชาชนในแต่ละสานักงานที่ดิน
แบบ ผส……..-02 แบบเป้าหมายงานและกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางของแต่ละงาน/โครงการ

จาแนกตามแหล่งเงิน
แบบ ผส….….-03 แบบแสดงรายละเอยี ดงบรายจ่ายประจาปี.............................

กลุ่มแผนงานและยทุ ธศาสตร์ : โทร. ๐๒-๑๔๑๕๖๕๔ – ๕๖
เจา้ หน้าท่ีผู้ประสานงาน : .......................................................................................

ติงานคมู่ อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทีด่ ิน
ประจาปี ของสานกั งานท่ดี นิ

32 แบบ ผส………-01

แผนปฏบิ ัตงิ านบรกิ ารประชาชนในสานักงานท่ีดนิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ………..………..
สรปุ เป้าหมายและงบประมาณที่ต้องการใช้

สานกั งานท่ีดนิ จังหวดั ................................................................

กิจกรรม / โครงการ เปา้ หมาย ประมาณการจัดเก็บ งบประมาณที่ต้องการ เหตผุ ล / ความจาเปน็
หนว่ ยนบั ปริมาณ รายได้ (บาท) ใชใ้ นการดาเนนิ งาน

(บาท)

1. บรกิ ารด้านทะเบียนท่ดี นิ ราย

2. บรกิ ารด้านรังวดั ท่ีดิน ราย
32

- แบบฟอรม์ -

ค่มู ือการจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานักงานท่ีดนิ
3. บริการดา้ นวิชาการทด่ี นิ (ด้านพิจารณาตอบข้อหารือ) ราย

4. บรกิ ารด้านขอ้ มูลทดี่ ิน เร่ือง

5. ควบคุมและรักษาหลกั ฐานที่ดนิ

5.1 ด้านทะเบยี นที่ดิน แปลง

5.2 ด้านรังวัดท่ดี ิน ระวาง

6. อานวยการ เรอื่ ง

7. โครงการพฒั นาสานักงานท่ีดิน รายการ/ **ได้แก่ประเด็นปัญหางาน/สถานท่ี
โครงการ แผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่ม
จังหวัด/ความต้องการของประชาชน
รวมท้ังสิน้ ฯลฯ

หมายเหตุ : ส่งมาในภาพรวมของจงั หวัด

33

- แบบฟอรม์ -

แบบ ผส.........-02

แผนปฏบิ ตั ิงานบรกิ ารประชาชนของสานกั งานทีด่ นิ เพื่อขอต้งั งบประมาณรายจ่ายประจาปี
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .................

เป้าหมายและกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางของงาน / โครงการ จาแนกตามแหล่งเงนิ

หนว่ ย : ลา้ นบาท (ทศนยิ ม 4 ตาแหน่ง)

งาน/โครงการ หนว่ ยนับ แผนงาน/งบประมาณ ประมาณรายจา่ ยลว่ งหนา้
1. บริการด้านทะเบียนทด่ี ิน
2. บริการดา้ นรงั วัดทด่ี นิ ปี 25..... (๑) 25...... (๒) 25.....(๓) 25...... 25......
๓. บรกิ ารด้านวิชาการท่ดี นิ
๔. บรกิ ารด้านข้อมลู ทด่ี ิน (แผน)....... (แผน)....... (แผน)...... (แผน)....... (แผน).......
๕. ควบคุมและรกั ษาหลกั ฐานท่ดี นิ (ผล).........
๖. อานวยการ
๗. โครงการพฒั นาสานกั งานท่ดี ิน (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......
(ผล).........

(แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......
(ผล).........

(แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......

(ผล).........

(แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......

(ผล).........

(แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......

(ผล).........

(แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน)....... (แผน).......
(ผล).........

รวมทงั้ สิน้ ล้านบาท (4) (๕) (๖)

เงนิ งบประมาณ ลา้ นบาท

- งบบคุ ลากร ล้านบาท
- งบดาเนนิ งาน ลา้ นบาท
- งบลงทุน ลา้ นบาท
- งบเงินอดุ หนุน ลา้ นบาท
- งบรายจ่ายอน่ื ล้านบาท

เงินนอกงบประมาณ ล้านบาท

- เงนิ กใู้ นประเทศ ลา้ นบาท
- เงนิ กู้ต่างประเทศ ล้านบาท
- เงินรายได้ ล้านบาท
- เงินชว่ ยเหลือจากตา่ งประเทศ ล้านบาท
- เงินและทรัพยส์ ินชว่ ยราชการ ล้านบาท
- นวตั กรรมทางการเงนิ ล้านบาท
- เงินนอกงบประมาณอ่ืนๆ ลา้ นบาท

เชน่ (ผล) * เปน็ ผลการดาเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ. ............(ตุลาคม ............ - ธันวาคม ..........)
หมายเหตุ ส่งมาในภาพรวมของจงั หวัด

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานที่ดิน

แบบ ผส..........-03

แผนปฏบิ ตั ิงานบรกิ ารประชาชนของสานกั งานที่ดนิ เพ่ือขอตัง้ งบประมาณรายจ่ายประจาปี

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. .....................

แบบแสดงรายละเอียดรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ............................

สานกั งานท่ีดินจังหวดั ......................................................................................

หนว่ ย : ลา้ นบาท (ทศนยิ ม ๔ ตาแหน่ง)

หน่วยงาน / แผนงาน งบบคุ ลากร งบดาเนินงาน งบลงทุน งบเงนิ งบราย รวม

/ โครงการ / กจิ กรรม เงนิ ค่าจ้าง ค่าจ้าง ค่าตอบแทน รวม ค่า ค่าใชส้ อย คา่ วัสดุ คา่ สาธาร- รวม ค่า ท่ีดินและ รวม อดุ หนนุ จ่ายอ่ืน ท้ังสิ้น

เดอื น ประจา ชว่ั คราว พนกั งาน ฯ ตอบแทน ณูปโภค ครุภณั ฑ์ ส่ิงกอ่ สรา้ ง

สานักงานท่ดี ิน :
……………………..

แผนงาน………………….... ๓4

ผลผลติ ……………………… - แบบฟอรม์ - ๘

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานักงานที่ดิน(1) รวมกิจกรรม............
- กจิ กรรมหลกั ..........
- กจิ กรรมย่อย............
- กิจกรรมยอ่ ย............
ฯลฯ
- กิจกรรมรอง.............
- กิจกรรมสนับสนุน....

หมายเหตุ ส่งมาในภาพรวมจงั หวัด ผ้จู ดั เกบ็ ข้อมูล........................................
เบอร์โทร................................................

๓5

คาอธบิ ายแบบฟอรม์ แผนปฏบิ ัติงานบรกิ ารประชาชนในสานักงานทดี่ นิ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ................ ๓
แบบ ผส...................-01

แบบสรุปเปา้ หมายและงบประมาณท่ีต้องการใชใ้ นการดาเนนิ งาน ตามแผนงานบริการประชาชน
เป็นตารางภาพรวมกรอบเป้าหมายและงบประมาณที่ต้องการใช้ในการดาเนินงานของสานักงานท่ีดิน
จังหวัด/สาขา/ส่วนแยก ทั้งจังหวัด โดยให้สานักงานท่ีดินจังหวัดเป็นผู้จัดทาเอง หรือรวบรวมรายละเอียดของ
สานักงานทีด่ ินสาขา/สว่ นแยก /อาเภอ นามารวมกนั เปน็ ภาพรวมของท้ังจงั หวัด (ไม่มีการแยกรายสานักงาน)

คาอธบิ ายแนวนอน จากซา้ ยไปขวา
1. กิจกรรม/โครงการ : กิจกรรม/โครงการ ที่สานักงานท่ีดินได้ดาเนินการ หรือมีแผนท่ีจะดาเนินการ
โดยในแบบฟอร์มได้ระบุกิจกรรมในภาพรวมไว้เรียบร้อยแล้ว สานักงานท่ีดินเติมเฉพาะในส่วนของ ข้อ ๗
โครงการพฒั นาสานักงานทีด่ ินเท่านน้ั วา่ มโี ครงการอะไรบ้าง
2. เป้าหมาย ปริมาณงาน : เป้าหมายจานวนปริมาณงานท่ีสานักงานที่ดินคาดว่าจะดาเนินการในปีท่ีจัดทา
คาขอตงั้ งบประมาณ
3. ประมาณการจัดเก็บรายได้ (บาท) : ประมาณการจัดเก็บรายได้ของสานักงานท่ีดินในภาพรวม โดยให้
ใสเ่ ฉพาะงานทะเบยี นและดา้ นงานรงั วัดเทา่ นนั้
4. งบประมาณท่ีต้องการใช้ในการดาเนินงาน (บาท) : ประมาณการรายจ่ายงบบุคลากร งบดาเนินงาน
งบลงทนุ โดยแยกตามแตล่ ะกจิ กรรม/โครงการในปนี ้นั ๆ เพื่อใช้เป็นกรอบคาขอต้งั งบประมาณของสานกั งานทดี่ ิน
5. เหตผุ ล/ความจาเป็น : ใหร้ ะบเุ หตผุ ล/ความจาเปน็ ในกิจกรรม/โครงการน้ันๆ

คาอธบิ ายแนวตั้ง จากบนลงล่าง
1. กิจกรรม/โครงการ บรกิ ารดา้ นทะเบียนท่ดี ิน

ด้านเป้าหมาย : ช่องปริมาณงาน : ประกอบไปด้วยกิจกรรมท่ีดาเนินงานในฝ่ายทะเบียน เช่น การขาย

ขายฝากแลกเปลยี่ น ให้ มรดก จานอง เป็นต้น โดยจดั เก็บขอ้ มลู จากแบบรายงานการปฏบิ ตั งิ านประจาเดือน (บทด.72)
หรือบญั ชรี บั ทาการประจาวัน (บทด.2) โดยจดั เก็บจากข้อมลู ย้อนหลงั 3 ปี นามาเปรียบเทียบและหาค่าเฉลี่ย และ
นาคา่ เฉลยี่ มากาหนดเป็นเป้าหมายของปนี น้ั เชน่

- ผลงานปี 2558 = 200,050 บาท
- ผลงานปี 2559 = 250,179 บาท
- ผลงานปี 2560 = 278,000 บาท
แลว้ นาผลงาน 3 ปี มาหาค่าเฉลย่ี = 242,743 บาท เปา้ หมายทจ่ี ะใช้ในแบบฟอรม์ ปี 2562 คือ 242,700 บาท
ช่องประมาณการจดั เกบ็ รายได้ (บาท) : จัดเกบ็ ข้อมูลแบบรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน (บทด. 72)
และงบหลังปดิ ใบส่ังเงินค่าธรรมเนยี มประจาวัน ซ่ึงรายได้ต่างๆ นัน้ จดั เกบ็ อย่ใู นรปู แบบของ
- ค่าธรรมเนียมทีด่ นิ (650)
- รายไดเ้ บด็ เตล็ด (830)
- ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา (001)
- ภาษีเงินไดน้ ิติบุคคล (002)
- อากรแสตมป์ (104)
- อากร ปก. 37 + อากรตัวเงิน

คู่มอื การจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานกั งานที่ดนิ

๓6

- ภาษธี รุ กิจเฉพาะ ๓
- รายได้ส่วนทอ้ งถิน่
- คา่ ธรรมเนียมข้อมลู ข่าวสาร ฯ (771) ๓
- เงนิ รายได้ อปท. (779)
โดยนาผลการจดั เก็บรายไดย้ ้อนหลงั 3 ปมี าหาคา่ เฉล่ียและกาหนดเป็นเปา้ หมายการจดั เกบ็ รายได้
และแบ่งเป็น ๓ ประเภท ดังน้ี
- คา่ ธรรมเนยี ม แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คือ

๑) รายได้เขา้ รฐั
๒) รายได้องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ิน
- ภาษเี งินได้ หัก ณ ทีจ่ ่าย
- ภาษีธุรกจิ เฉพาะ
- คา่ อากรแสตมป์

โดยท่ีตารางช่องประมาณการจัดเก็บรายได้ จะระบุเฉพาะกิจกรรม ข้อ ๑ และ ๒ เท่าน้ัน ส่วนช่องกิจกรรม
ขอ้ ๓ – ๖ ไมต่ ้องใสเ่ ปา้ หมายในชอ่ งประมาณการจัดเก็บรายได้

2. กจิ กรรม/โครงการ บริการด้านรงั วัด
ด้านเป้าหมาย ช่องปริมาณงาน : ประกอบไปด้วยกิจกรรมท่ีดาเนินงานในฝ่ายรังวัดทุกกิจกรรมเก็บ

ข้อมูลมาจากแบบรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน (บทด.72) ในช่องงานเสร็จของฝ่ายรังวัด โดยใช้
ค่าเฉล่ียจากการดาเนินงานย้อนหลัง ๓ ปี มากาหนดเป็นค่าเป้าหมาย

ช่องประมาณการจัดเก็บรายได้ (บาท): จัดเก็บข้อมูลมาจากแบบรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน
(บทด.72) เช่น เงินมัดจารังวัดทุกประเภท ค่าธรรมเนียมรังวัดและค่าหลักเขตท่ีดินท่ีเกิดจากการถอนจ่ายของ
ช่างรังวัด หรือจัดเก็บข้อมูลเงินมัดจารังวัดจากงบหลังปิดบัญชีใบสั่งเงินมัดจารังวัดประจาวัน งบหลังปิดบัญชี
ใบส่ังเงินค่าธรรมเนียมรังวัดและค่าหลักเขตที่ดินประจาวัน โดยนาค่าเฉล่ียจากผลการดาเนินงานย้อนหลัง ๓ ปี
มากาหนดเป็นคา่ เป้าหมาย

3. กิจกรรม/โครงการ บริการด้านวิชาการทด่ี ิน (ด้านพจิ ารณาตอบข้อหารือ)
ด้านเป้าหมาย : ปริมาณงาน : นาข้อมูลจากตาราง 5 ในแบบรายงานการปฏิบัติงานกลุ่มงานวิชาการท่ีดิน

ของแบบรายงานผลการปฏิบัติงานประจาเดือนของสานักงานท่ีดิน (บทด.72) โดยใช้ค่าเฉล่ียของผลการดาเนินงาน
ยอ้ นหลงั ๓ ปี มากาหนดเปน็ คา่ เป้าหมาย

4. กจิ กรรม/โครงการ บริการดา้ นขอ้ มูลทด่ี ิน
ดา้ นเป้าหมาย : ปรมิ าณงาน : จัดเก็บข้อมูลมาจากแบบรายงานการปฏิบัติงานประจาเดือน (บทด.72)

ในช่องคาขอเบ็ดเตล็ด คาขอตรวจสอบหลักทรพั ย์ เป็นตน้
คาขอเบ็ดเตล็ด หมายถึง ข้อมูลเกี่ยวกับคาขอทาธุระกรรมต่างๆ ที่ไม่มีการจดทะเบียนแต่ผู้ขอ

จะต้องเสยี ค่าธรรมเนียม
“คาขอ” เชน่ คาขอตรวจหลักฐานทะเบียนท่ีดินและสงิ่ สาคัญต่างๆ ขอคัดเอกสาร ขอให้รับรองสาเนา

ขอให้รับรองราคาประเมิน ขอแก้ชื่อ เป็นต้น และรวมถึง คาขอตรวจสอบหลักทรัพย์ (มีค่าธรรมเนียมและไม่มี
คา่ ธรรมเนยี ม)

โดยนาค่าเฉลย่ี ของผลงานยอ้ นหลัง ๓ ปี มากาหนดเปน็ คา่ เปา้ หมาย

คูม่ อื การจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานทีด่ นิ

37

5. กจิ กรรม/โครงการ ควบคมุ และรกั ษาหลักฐานที่ดิน
ด้านทะเบียนทดี่ นิ
ด้านเป้าหมาย : ปริมาณงาน : จัดเก็บข้อมูลมาจากปริมาณคาขอจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม (ท.ด.1)

บญั ชีคุมการเบิก/ยืม เอกสารสทิ ธิ หลกั ฐานทด่ี ิน และสารบบทด่ี ินของฝา่ ยทะเบียน
ดา้ นรงั วดั ทีด่ นิ
ดา้ นเปา้ หมาย : ปริมาณงาน : จัดเก็บข้อมูลมาจากบัญชีระวางในความรับผดิ ชอบท้งั หมด โดยนา

คา่ เฉล่ียของผลงานย้อนหลัง ๓ ปี มากาหนดเปน็ ค่าเป้าหมาย
6. กิจกรรม/โครงการ อานวยการ
ด้านเปา้ หมาย : ปรมิ าณงาน : งานแต่ละประเภทที่ฝ่ายอานวยการดาเนินการตามกระบวนงานของ

แต่ละเร่ือง ท้ังนี้อาจเกิดจากการรับเร่ืองจากฝ่ายอ่ืนๆ ในสานักงานท่ีดิน หรือจากการรับคาขอ เช่น การขออนุญาต
ตามมาตรา 9 เกิดจากหนังสือสั่งการ หรือกรณีอื่นๆ เช่น หนังสือร้องเรียน เป็นต้น โดยได้มีการลงบัญชีรับเรื่อง
ของฝ่ายอานวยการ โดยใชค้ า่ เฉล่ยี ของผลงานยอ้ นหลงั ๓ ปี มากาหนดเปน็ คา่ เปา้ หมาย

7. กิจกรรม/โครงการ โครงการพฒั นาสานกั งานทีด่ ิน
ด้านเปา้ หมาย : ปรมิ าณงาน : จัดเก็บข้อมูลมาจากงานกิจกรรมและโครงการพัฒนาต่างๆ ของสานักงาน

ทงั้ หมดทไี่ ดจ้ ัดทาขึ้น
- กรณีโครงการเก่าท่ีเคยส่งโครงการเข้ามาแล้ว ให้ระบุว่าเคยขอมาเม่ือใด พร้อมระบุเลขหนังสือ และ

วันทสี่ ่งโครงการเขา้ มา
- กรณีโครงการใหม่ที่ยังไม่เคยของบประมาณ ให้จัดส่งเอกสารโครงการเข้ามาด้วยซ่ึงโครงการดังกล่าว

ตอ้ งมรี ายละเอยี ดครบถว้ น ซ่งึ จะกล่าวถงึ ในบทที่ ๔
ข้อสังเกต ค่าเป้าหมายท่ีถูกกาหนดข้ึนจากค่าเฉล่ียของผลงานย้อนหลัง ๓ ปี ขอให้กาหนดเป็นตัวเลข

กลมๆ หลัก 100 เช่น ค่าเฉล่ียเท่ากับ 338,446 ขอให้ใช้ตัวเลข 338,400 เป็นค่าเป้าหมาย ซ่ึงสามารถใช้
ตัวเลขได้ท้ัง 338,400 หรือ 338,500 ก็ได้ ขอให้ผู้จัดทาดูจากค่าเฉลี่ยว่าไปทางค่อนข้างมาก หรือค่อนข้าง
น้อยเป็นหลัก

ติงานค่มู อื การจดั ทาแผนปฏิบตั ิงานประจาปี ของสานักงานทีด่ นิ
ประจาปี ของสานักงานทดี่ ิน

ตาราง บทด. 72

แบบรำยงำนผลกำรปฏบิ ตั ิงำนประจำเดือนของสำนักงำนทด่ี ิน*

ตำรำง 1 แบบรำยงำนปริมำณงำนและกำรจัดเกบ็ รำยได้

สำนกั งำนทด่ี ินจังหวัด/สำขำ/สว่ นแยก/อำเภอ จังหวัด ประจำเดือน เมษายน พ.ศ.

ท่ีดิน หรือทดี่ ินพรอ้ ม ส่ิงปลูกสร้ำง อำคำรชดุ ภำษอี ำกร จำนวน สำเหตุทคี่ ้ำง
งำนเกิด งำนเสรจ็ งำนเกิด งำนเสรจ็ ภำษเี งินได้ ภำษธี ุรกิจเฉพำะ
รำยกำร ส่ิงปลูกสรำ้ ง ค่ำธรรมเนียม ภำษเี งินได้ บคุ คลธรรมดำ อำกร งำนค้ำง ประ คัด ฟ้อง แจ้ง เตือน รอ อ่ืน ๆ
งำนเกิด งำนเสร็จ นิติบคุ คล ทง้ั หมด กำศ ค้ำน ศำล

ฝำ่ ยทะเบยี น

1. จดทะเบียน

1.1 ขาย
1.2 ขายฝาก

1.3 แลกเปลี่ยน

1.4 ให้
1.5 มรดก

1.6 จานอง

1.7 เช่า
1.8 ประเภทมที นุ ทรัพย์อื่น ๆ

1.9 ประเภทไมม่ ที นุ ทรพั ย์

1.10 คำขอเบด็ เตล็ด

1.11 คำขอตรวจสอบหลักทรัพย์

1.11.1 มคี า่ ธรรมเนยี ม

1.11.2 ไมม่ คี า่ ธรรมเนยี ม

1.12 คำขอรังวดั
๓8
1.12.1 ออกโฉนดเฉพาะราย (รวมถึงออกแบบทอ้ งถ่ินดว้ ย)ค่มู ือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ดี นิ ๓
1.12.2 ออก น.ส. 3 ก, น.ส. 3 เฉพาะราย

1.12.3 แบ่งแยก รวม เปล่ียน สอบเขต ตรวจสอบเนอื้ ท่ี อื่น ๆ ค่ำธรรมเนียมรังวดั ฯ ค่าหลักเขต
2. ออกโฉนดเฉพาะราย (รวมถึงออกแบบทอ้ งถิ่นด้วย)
3. ออก น.ส. 3 ก, น.ส. 3 เฉพาะราย งานรัง ัวด

4. ออกใบจอง

5. แบ่งแยก รวม เปลี่ยน สอบเขต ตรวจสอบเนอื้ ท่ี อื่น ๆ

6. ออกใบแทน*

7. การขอได้มาซ่ึงทด่ี นิ ของคนต่างด้าว

8. จัดสรรทด่ี นิ

9 จดทะเบียนอาคารชุด 1.คา่ ธรรมเนยี มรวม บาท

10.ออกหนงั สือกรรมสิทธ์ิหอ้ งชุด - รายได้เขา้ รัฐ บาท

11.จดทะเบียนนติ ิบุคคลหมบู่ ้านจัดสรร/อาคารชุด - รายได้องค์กรปกครอง บาท
12. จดทะเบียนเปล่ียนแปลงขอ้ บังคบั หมบู่ ้านจัดสรร/อาคารชุด ส่วนทอ้ งถิ่น

ฝำ่ ยอำนวยกำร/กลมุ่ งำนวชิ ำกำรทีด่ ิน 2.ภาษเี งินไดห้ กั ณ ทจี่ ่าย บาท
3. คา่ ภาษธี รุ กจิ เฉพาะรวม

13. การขอใช้ทด่ี ินของรฐั /ขอนาขนึ้ ทะเบียนตาม ม.8 ทวิ - คา่ ภาษีธุรกิจเฉพาะ บาท

14. สัมปทาน/การจัดหาผลประโยชนใ์ นทดี่ นิ ของรฐั - รายไดส้ ่วนทอ้ งถ่ิน บาท

15. การขออนญุ าตตามมาตรา 9 งานเกิดรวม ราย 4.ค่าอากรแสตมป์ บาท

16. รายได้อื่น ๆ งานเสร็จรวม ราย รวมทงั้ สิ้น บาท

ตาราง 5 แบบรายงานการปฏิบัตงิ านกลุ่มงานวิชาการท่ีดนิ

ฝา่ ยอานวยการ /กลมุ่ งานวิชาการที่ดิน งานค้าง จานวน การพิจารณา การพิจารณา สาเหตุงานค้าง ติดตอ่ เจา้ ของ/ อน่ื ๆ
ยกมา งานเกิด งานเสร็จ งานค้าง ของเจา้ หนา้ ท่ี ของจงั หวัด การพิจารณา รอผลจาก
รายการ ทัง้ หมด ผู้ร้องเรยี น/ผู้เกี่ยวขอ้ ง
ของกรมฯ หนว่ ยงานอน่ื
1. เร่ืองแก้ไขเพิกถอนการออกหนงั สือ
แสดงสิทธิในท่ีดนิ และการจดทะเบยี นสิทธิฯ
2. เร่ืองการขอออกหนงั สือแสดงสิทธิในท่ีดินเกิน 50 ไร่
3. เรื่องขอ้ หารือเกี่ยวกับปญั หากฎหมาย
4. เรื่องร้องเรียน
5.* เร่ืองอนื่ ๆ

* เรื่องอนื่ ๆ หมายถึงเร่ืองอน่ื ๆ ของสานกั งานท่ีดนิ นอกเหนอื จาก ขอ้ 1 - 4 และตารางท่ี 1 ขอ้ ท่ี 13-16

ตาราง 6 แบบรายงานการรับคาขอจดทะเบยี นสทิ ธิและนติ ิกรรม และการขอรับรองราคาประเมินทดี่ ิน ต่างสานักงานทดี่ ิน

ฝ่ายทะเบยี น (หนว่ ย : จานวนราย)

ประเภทมี ประเภทไมม่ ี รับรองราคา *คา่ ธรรมเนยี ม คา่ ใชจ้ า่ ยอน่ื ๆ
ทนุ ทรัพย์อน่ื ๆ ทนุ ทรัพย์ (บาท)
ประเภทเอกสารสิทธิ ๓9ขาย ขายฝาก แลกเปลี่ยน ให้ จานองเชา่ ประเมนิ (บาท) หมายเหตุ
ค่มู ือการจัดทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานกั งานท่ดี นิ
โฉนดท่ดี ิน ๓

น.ส.3ก น.ส.3

อาคารชดุ

รวม

* ค่าธรรมเนยี ม ได้แก่ ค่าคาขอ และค่ารับรองฯ ทผ่ี ู้ขอจะตอ้ งชาระใหแ้ ก่สานกั งานท่ีรับคาขอเพื่อจดั เก็บเปน็ รายไดข้ องสานกั งานน้นั ๆ

ท่ี

เรียน อธิบดกี รมท่ีดนิ

เพื่อโปรดทราบและดาเนนิ การตอ่ ไป

ลงชอื่ ....................................................... เจา้ หนา้ ที่ ลงชอ่ื …………………………………………

ลงชอื่ ....................................................... หวั หนา้ งาน (.............................................................)
หวั หนา้ ฝ่าย ตาแหนง่ .........................................................
ลลงงชชอ่ืือ่ .............................................................................................................. จพด/จพอ. วันท.่ี ...............................................................
ลงช่ือ.......................................................

40

คาอธิบายแบบฟอร์มเป้าหมายและกรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางของงาน/โครงการ ๓
จาแนกตามแหลง่ เงิน แบบ ผส........-.02

คาอธิบายแนวนอน จากซา้ ยไปขวา
1. งาน/โครงการ : งาน/โครงการ ทีส่ านักงานท่ีดนิ ดาเนินการ
2. หนว่ ยนบั : หนว่ ยนบั ของงาน/โครงการ โดยระบุเป็น ราย โครงการ แผน่ ฯลฯ
3. แผนงาน/งบประมาณ :

แผน : แผนงานของปีก่อนของบประมาณ และงบประมาณท่ไี ด้รับ
ผล : ผลการดาเนนิ งานในปีก่อนของบประมาณ และผลการใช้จ่ายงบประมาณ
แผน : แผนงานของปที ี่ของบประมาณ และงบประมาณที่คาดว่าจะขอรับการสนบั สนุน
4. ประมาณการรายจ่ายลว่ งหนา้ : โดยประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า 3 ปี
โดยหากเปน็ คาขอตัง้ งบประมาณ ปี 2562 ช่องแรก (1) จะเป็นข้อมูลของปี 2561 ช่องที่ (๒) จะเป็น
ข้อมลู ของปี 2562 และประมาณรายจ่ายลว่ งหน้า ช่อง (๓) จะเป็นงบปี 2563 - 2565

งาน/โครงการ :
1. บรกิ ารด้านทะเบียนทีด่ ิน
2. บรกิ ารด้านรังวัดทดี่ นิ
3. บรกิ ารด้านวิชาการทด่ี นิ
4. บริการดา้ นข้อมลู ทด่ี นิ
5. ควบคมุ และรักษาหลกั ฐานทดี่ นิ
6. อานวยการ
7. โครงการพฒั นาสานักงานที่ดิน

คาอธิบาย
ให้สานักงานทีด่ ินจงั หวัดดาเนินการรวบรวมข้อมูลจากสานักงานที่ดินสาขา/ส่วนแยก/อาเภอ และนาส่ง
กองแผนงานเพยี งชดุ เดยี ว ดังน้ี
(๑) ใหใ้ ช้ขอ้ มูลเป้าหมายจากแผนปฏิบตั ิงานประจาปีของสานักงานท่ีดิน หรือจะอ้างอิงข้อมูลเป้าหมาย
จากแผนปฏิบัตกิ ารกรมท่ดี นิ ประจาปี............. แผนสานักงานทดี่ ิน มากาหนดเป็นข้อมูลแผนและนาผลการปฏิบัติงาน
ท่ีสานักงานทด่ี ินสามารถให้บรกิ ารประชาชนไดจ้ รงิ โดยใช้ข้อมลู ที่ประมวลผลจาก บทด.72 ในรอบ ๑ ปี
(๒) จะเป็นข้อมูลของแผนงานในปีท่ีขอรับการสนับสนุนงบประมาณ และข้อมูลของแผนในแต่ละงาน/
โครงการ ตอ้ งตรงกับขอ้ มลู ทีร่ ะบใุ นแบบ ผส..........-01
(๓) ให้คาดการณ์ว่าในอีก 3 ปีข้างหน้า เป้าหมายการให้บริการประชาชนของสานักงานที่ดินควรจะ
เป็นจานวนเท่าใด โดยทั่วไปจะคาดการณ์เพ่ิมขึ้นปีละประมาณ ร้อยละ 5 – 10 หรือหากในพื้นท่ีใดมีความเจริญสูง
อาจประมาณการไดม้ ากกวา่ นี้
(๔) ใหใ้ ส่งบประมาณท่ีไดร้ ับในปปี ัจจุบนั (ปีก่อนจดั ทาคาขอตัง้ งบประมาณ) และผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณ
(ถา้ ม)ี ใส่เฉพาะภาพรวมเทา่ นัน้ ไมจ่ าเปน็ ต้องแยกรายหมวด
(๕) ให้ใช้คาขอตั้งงบประมาณแยกเป็นรายหมวด ซึ่งข้อมูลต้องตรงกับข้อมูลในแบบ ผส........-03 และ
ตรงกับข้อมูลในแบบฟอร์มคาของบประมาณรายจ่ายประจาปี ซ่ึงโดยท่ัวไปจะต้องทาแบบฟอร์มคาขอให้
เรยี บร้อยก่อนจงึ นาขอ้ มูลมากรอกในแบบ ผส ........02 และ ผส........03

ค่มู อื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานักงานทีด่ นิ

41

โดยในแต่ละหมวดมคี วามหมาย ดงั น้ี
เงินงบประมาณ

- งบบคุ ลากร น า ข้ อ มู ล ม า จ า ก เ งิ น เ ดื อ น แ ล ะ ค่ า จ้ า ง ป ร ะ จ า จ า ก บั ญ ชี ถื อ จ่ า ย
- งบดาเนนิ งาน (รวมกบั อัตราว่าง)
โดยนาข้อมูลรายจ่ายที่เคยเกิดข้ึนจากงบประมาณปีก่อน แล้วนามา
- งบลงทนุ เปรียบเทียบกับราคา ณ ปัจจุบัน จึงจะทาให้ได้ยอดประมาณการท่ี
- งบเงนิ อดุ หนุน ใกล้เคียงความเป็นจรงิ
- งบรายจ่ายอน่ื
ข้อมูลรายจ่ายที่ต้องการก่อสร้าง/ซ่อมแซม/ปรับปรุง อาคารสานักงาน
และสิ่งอานวยความสะดวกตา่ งๆ ภายในสานกั งาน

ข้อมูลรายจ่ายท่ีเป็นลักษณะเงินบารุง หรือเพื่อช่วยเหลือ สนับสนุนการ
ดาเนนิ งานของหนว่ ยงาน

ข้อมูลรายจ่ายท่ีไม่เข้าลักษณะประเภทงบรายจ่ายใด รายจ่ายหนึ่ง เช่น
เงนิ ค่าปรบั ท่จี า่ ยคืนให้แกผ่ ้ขู ายหรอื ผ้รู บั จ้าง เป็นตน้

น เงนิ นอกงบประมาณ

- เงนิ กใู้ นประเทศ เงินกใู้ นประเทศ เพ่ือใช้จ่ายในโครงการท่ีมีการขอตั้งงบประมาณไว้และ
จาเป็นตอ้ งกูเ้ งินเพอื่ ชดเชยการขาดดุลงบประมาณ

- เงินกูต้ ่างประเทศ เ งิ น กู้ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เ พ่ื อ น า ม า ใ ช้ จ่ า ย ใ น โ ค ร ง ก า ร ท่ี ไ ม่ ไ ด้ ต้ั ง ไ ว้ ใ น ๓
- เงินรายได้ งบประมาณ

เงินทั้งปวงที่ส่วนราชการจัดเก็บหรือได้รับไว้เป็นกรรมสิทธิ์ตาม
กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือจากนิติกรรม หรือนิติเหตุและ
กฎหมายวา่ ด้วยเงนิ คงคลังและกฎหมายด้วยวธิ กี ารงบประมาณ บัญญัติ
ไมใ่ หส้ ่วนราชการน้นั ๆ นาไปใช้จ่าย หรือหักไว้เพ่อื การใดๆ

- เงนิ ช่วยเหลือจากต่างประเทศ เงินท่ีส่วนราชการได้รับโดยตรงในลักษณะให้เปล่า รวมทั้งดอกผล
ซึ่งเกิดข้นึ ตามโครงการช่วยเหลอื หรือรว่ มมือจากต่างประเทศ องค์การ
สหประชาชาติ ทบวงการชานัญพิเศษแห่งสหประชาชาติ ซึ่งมีโครงการ
ใชจ้ า่ ยเงินอย่างแน่นอนแล้ว เช่น เงินกองทุนโลก เงินองค์การอนามัยโลก
เป็นตน้

- เงนิ และทรัพย์ช่วยราชการ เงินหรือทรัพยส์ นิ ที่บุคคล บริษัท ห้างร้าน สถาบัน บริจาค เพ่ือช่วยเหลือ
แกส่ ว่ นราชการตามวัตถปุ ระสงค์ต่างๆ

- นวตั กรรมทางการเงิน เคร่ืองมือทางการเงินชนิดใหม่ๆ ท่ีถูกคิดค้นขึ้น เพ่ือให้มีประสิทธิภาพ
มากยิ่งขึ้น

- เงนิ นอกงบประมาณอ่ืนๆ เงินนอกงบประมาณอ่นื นอกเหนือจากท่ีระบุ

คู่มือการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิงานประจาปี ของสานักงานท่ดี ิน

42

(๖) ให้ประมาณการรายจ่ายล่วงหน้าราย ๓ ปี หากปีท่ีขอรับการสนับสนุนงบประมาณให้ใส่เฉพาะ ๓
งบประมาณภาพรวมเท่านั้น ไม่ต้องแยกรายหมวด โดยงบประมาณท่ีระบุในช่องประมาณการ ๓ ปี น้ี ควรจะ
สอดคลอ้ งกบั เปา้ หมายที่กาหนดตาม ขอ้ (๓) หากกาหนดเป้าหมายการให้บริการสูง งบประมาณที่ขอรับการสนับสนุน ๓
ควรสูงตามไปดว้ ย

คาอธบิ ายแบบฟอร์มแบบแสดงรายละเอียดงบประมาณรายจ่ายประจาปี แบบ ผส. ...........-03

คาอธิบายแนวนอน จากซ้ายไปขวา
1. หนว่ ยงาน/แผนงาน/ผลผลติ /โครงการ/กิจกรรม

หน่วยงาน/แผนงาน/ผลผลิต/โครงการ/กจิ กรรม ท่สี านกั งานทีด่ ินจะดาเนนิ การ

2. งบบคุ ลากร
รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพื่อการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะเงินเดือน

คา่ จา้ งประจา คา่ จ้างชั่วคราว และค่าตอบแทนพนักงานราชการ รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอื่นใด
ในลักษณะรายจ่ายดงั กลา่ ว ประกอบด้วย

- เงินเดือน เงินที่จ่ายให้แก่ข้าราชการและพนักงานของรัฐทุกประเภทเป็นรายเดือน รวมถึงเงินที่
กระทรวงการคลงั กาหนดให้จา่ ยในลักษณะเงินเดอื นและเงินเพิ่มอืน่ ทจี่ า่ ยควบกบั เงินเดือน

- ค่าจ้างประจา เงินท่ีจ่ายเป็นค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างประจาของส่วนราชการรวมถึงเงินที่กระทรวง
การคลังกาหนดใหจ้ ่ายในลกั ษณะคา่ จ้างประจา และเงนิ เพ่มิ อนื่ ท่จี ่ายควบกบั คา่ จ้างประจา

- ค่าจ้างชั่วคราว เงินที่จ่ายเป็นค่าจ้างสาหรับการทางานปกติแก่ลูกจ้างช่ัวคราวของส่วนราชการ
รวมถงึ เงินเพ่ิมอืน่ ทจี่ ่ายควบกับคา่ จ้างชัว่ คราว

- ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เงินท่ีจ่ายเป็นค่าตอบแทนในการปฏิบัติงานให้แก่พนักงานราชการ
ตามอัตราท่ีกาหนดในประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ รวมถึงเงินท่ีกาหนดให้จ่ายในลักษณะ
ดงั กลา่ ว และเงินเพ่ิมอนื่ ท่จี า่ ยควบกบั ค่าตอบแทนพนักงานราชการ เชน่ เงนิ ชว่ ยเหลอื การครองชพี พิเศษ เป็นต้น

3. งบดาเนินงาน
รายจ่ายท่ีกาหนดให้จ่ายเพ่ือการบริหารงานประจา ได้แก่ รายจ่ายท่ีจ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ค่าใช้สอย

ค่าวัสดุ และค่าสาธารณูปโภค รวมถึงรายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายจากงบรายจ่ายอ่ืนใดในลักษณะรายจ่ายดังกล่าว
ประกอบด้วย

- ค่าตอบแทน เงินทจี่ ่ายตอบแทนให้แกผ่ ู้ทปี่ ฏิบตั งิ านให้ทางราชการตามที่กระทรวงการคลงั กาหนด
- ค่าใช้สอย รายจ่ายเพ่ือให้ได้มาซ่ึงการบริการ (ยกเว้นบริการสาธารณูปโภค สื่อสารโทรคมนาคม)
รายจา่ ยท่ีเกย่ี วกับการรบั รองและพธิ ีการ และรายจ่ายท่เี กยี่ วเนื่องกบั การปฏิบตั ิราชการท่ไี มเ่ ข้าลกั ษณะรายจา่ ยอ่นื ๆ
- ค่าวัสดุ รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่งสิ่งของท่ีมีลักษณะโดยสภาพไม่คงทนถาวร หรือตามปกติมีอายุการใช้
งานไม่ยนื นาน สิ้นเปลือง หมดไป หรอื เปลีย่ นสภาพไปในระยะเวลาอันสั้น รวมถึง รายจา่ ยดังตอ่ ไปนี้
(๑) รายจา่ ยเพ่ือประกอบ ดดั แปลง ตอ่ เติม หรอื ปรบั ปรงุ วัสดุ
(๒) รายจ่ายเพอ่ื จดั หาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทีม่ ีราคาตอ่ หนว่ ยหรือต่อชุด ไม่เกนิ 20,000 บาท
(๓) รายจ่ายเพอื่ จัดหาส่งิ ของที่ใชใ้ นการซอ่ มแซมบารุงรกั ษาทรัพย์สินให้สามารถใช้งานไดต้ ามปกติ
(๔) รายจา่ ยทตี่ อ้ งชาระพรอ้ มกับคา่ วสั ดุ เช่น ค่าขนส่ง ค่าภาษี คา่ ประกนั ภยั คา่ ตดิ ตงั้ เปน็ ต้น
- ค่าสาธารณูปโภค รายจ่ายค่าบริการสาธารณูปโภค ส่ือสารและโทรคมนาคม รวมถึงค่าใช้จ่ายที่ต้อง
ชาระพรอ้ มกนั เช่น ค่าบริการ ค่าภาษี เปน็ ตน้

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานักงานที่ดนิ

43

4. งบลงทุน ๓
รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเพ่ือการลงทุน ได้แก่ รายจ่ายที่จ่ายในลักษณะค่าครุภัณฑ์ ค่าท่ีดินและ

สิ่งก่อสรา้ ง รวมถงึ รายการทก่ี าหนดใหจ้ ่ายจากงบรายจ่ายอืน่ ใดในลกั ษณะรายจา่ ยดงั กลา่ ว ประกอบด้วย
- ค่าครุภัณฑ์ รายจ่ายเพื่อให้ได้มาซ่ึงส่ิงของท่ีมีลักษณะโดยสภาพคงทนถาวร หรือตามปกติมีอายุ

การใช้งานยนื นาน ไมส่ ้นิ เปลือง หมดไป หรือเปลย่ี นสภาพไปในระยะเวลาอันสน้ั รวมถึงรายจ่าย ดังตอ่ ไปน้ี
(1) รายจ่ายเพื่อประกอบ ดดั แปลง ตอ่ เตมิ หรือปรบั ปรงุ ครุภณั ฑ์
(2) รายจา่ ยเพอ่ื จดั หาโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทมี่ รี าคาตอ่ หนว่ ย หรือตอ่ ชุด เกนิ กว่า 20,000 บาท
(3) รายจ่ายเพื่อซ่อมแซมบารุงรักษาโครงสร้างของครุภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เครื่องบิน

เคร่ืองจักรกลยานพาหนะ เป็นต้น ซึง่ ไม่รวมถงึ ค่าซ่อมบารงุ ปกติ หรอื ค่าซ่อมกลาง
(4) รายจา่ ยเพอ่ื จา้ งทปี่ รึกษาในการจดั หา หรอื ปรบั ปรุงครุภัณฑ์
(5) รายจา่ ยท่ีตอ้ งชาระพร้อมกับคา่ ครภุ ัณฑ์ เชน่ ค่าขนส่ง คา่ ภาษี ค่าประกนั ภยั คา่ ตดิ ตงั้ เป็นตน้
- ที่ดินและส่ิงก่อสร้าง รายจ่ายเพ่ือให้ได้มาซึ่งที่ดินและส่ิงก่อสร้าง รวมถึงสิ่งต่างๆที่ตรึงกับท่ีดิน

และ/หรือสิ่งก่อสรา้ ง ดังต่อไปน้ี
(๑) รายจา่ ยเพื่อจัดหาท่ีดิน สิ่งก่อสร้าง
(๒) รายจ่ายเพ่อื ปรบั ปรุงทด่ี นิ รวมถงึ รายจา่ ยเพ่อื ดดั แปลง ตอ่ เตมิ หรอื ปรับปรุงส่ิงก่อสร้าง ซ่ึงทา

ให้ที่ดนิ สิง่ ก่อสร้าง มมี ูลค่าเพิ่มข้ึน
(๓) รายจ่ายเพื่อติดต้ังระบบไฟฟ้า หรือระบบประปา รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นการติดต้ังคร้ังแรก

ในอาคาร ท้ังท่ีเป็นการดาเนินการพร้อมกัน หรือภายหลังการก่อสร้างอาคาร รวมถึงการติดต้ังคร้ังแรกในสถานที่
ราชการ

(๔) รายจา่ ยเพื่อจา้ งออกแบบ จา้ งควบคุมงานทจ่ี ่ายให้แก่เอกชน หรอื นติ บิ ุคคล
(๕) รายจ่ายเพอื่ จ้างทีป่ รึกษาในการจัดหา หรอื ปรับปรงุ ที่ดินและส่ิงก่อสรา้ ง
(๖) รายจ่ายเกี่ยวเนื่องกับท่ีดินและสิ่งก่อสร้าง เช่น ค่าเวนคืนที่ดิน ค่าชดเชยกรรมสิทธ์ิที่ดิน
ค่าชดเชยผลอาสนิ เป็นต้น

๕. งบเงินอดุ หนุน
รายจ่ายที่กาหนดให้จ่ายเป็นค่าบารุง หรือเพ่ือช่วยเหลือ สนับสนุนการดาเนินงานของหน่วยงาน

อิสระตามรัฐธรรมนูญ หรือหน่วยงานของรัฐท่ีมิใช่ราชการส่วนกลาง ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการ
แผ่นดิน หน่วยงานในกากับของรัฐ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สภาตาบล องค์การ
ระหวา่ งประเทศ นิตบิ คุ คล เอกชน หรือกจิ การอนั เปน็ สาธารณประโยชน์ รวมถึงเงินอุดหนุน งบพระมหากษัตริย์
เงนิ อุดหนุนการศาสนา และรายจ่ายที่สานกั งบประมาณกาหนดใหจ้ า่ ยในงบรายจา่ ยนี้ ประกอบด้วย

- เงนิ อุดหนุนทัว่ ไป เงนิ ทก่ี าหนดใหจ้ ่ายตามวตั ถุประสงค์ของรายการ เช่น คา่ บารุงสมาชิกองคก์ ร เปน็ ตน้
- เงนิ อดุ หนุนเฉพาะกิจ เงินที่กาหนดให้จ่ายตามวัตถุประสงคข์ องรายการ และตามรายละเอียดที่สานัก
งบประมาณกาหนด เช่น รายการค่าครุภัณฑ์ หรอื ค่าส่งิ กอ่ สร้าง เป็นต้น
รายจ่ายงบเงินอุดหนุนรายการใดจะเป็นรายจ่ายประเภทอุดหนุนทั่วไปหรืออุดหนุนเฉพาะกิจ ให้
เป็นไปตามที่สานกั งบประมาณกาหนด

คู่มอื การจดั ทาแผนปฏบิ ตั งิ านประจาปี ของสานักงานทดี่ ิน

44

คาอธิบายแนวต้ัง จากบนลงลา่ ง
แผนงาน แผนงานท่ีวางไว้เป็นแนวในการดาเนินการ ซึ่งจะระบุไว้ตามพระราชบัญญัติงบประมาณ

ประจาปี

ผลผลติ ผลการดาเนนิ งานตามกจิ กรรมที่ดาเนนิ งานโดยหนว่ ยงานของรัฐ ท้ังในรูปแบบของการ
ให้บริการโดยตรง (Service) หรือโดยการใช้วัตถุ ส่ิงของ และหรือส่ิงก่อสร้าง (Product)
- เพอื่ นาไปใช้ในการให้บริการแกป่ ระชาชน หนว่ ยงานภายนอก
- องค์ประกอบของผลผลิต
-
เป็นส่งิ ของหรอื บริการเพอื่ ใหบ้ คุ คลภายนอกใช้ประโยชน์
- เป็นผลผลิตขั้นสุดทา้ ยของหน่วยงานและสามารถควบคมุ การผลติ ผลผลิตได้
เกิดจากการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ และเช่ือมโยงกับผลสาเร็จตาม
เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง
- สามารถวัดผลได้ในเชงิ ปรมิ าณ คุณภาพ ตน้ ทุน และเวลา
สามารถตอบคาถามว่า ไดร้ ับอะไรจากการดาเนินงานของหน่วยงานของรัฐ (What)

รวมกิจกรรม ผลรวมของกิจกรรมทั้งหมด

กิจกรรมหลกั กระบวนการปฏิบัติงานท่ีเกิดข้ึนในองค์กร โดยเป็นการปฏิบัติงานท่ีสอดคล้องกับ
ภารกจิ /พนั ธกิจขององค์กรมีการใช้ทรัพยากรและก่อให้เกิดปริมาณงานหรือบริการที่มี
คุณค่า
องค์ประกอบของกจิ กรรมหลัก
- เป็นภารกิจหลักๆ ของหน่วยงาน ซึ่งหากไม่มีกิจกรรมดังกล่าวแล้วจะไม่สามารถ
ก่อใหเ้ กดิ ผลผลติ หลัก

- จะตอ้ งมีความสมั พันธก์ บั ผลผลติ หลกั โดยมนี ัยสาคัญ
- เปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการจัดทานาส่งผลผลติ หลัก
- สามารถวดั ผลไดใ้ นเชงิ ปรมิ าณ คณุ ภาพ ต้นทุน และเวลา
- ระบใุ นเอกสารงบประมาณประจาปี

กจิ กรรมยอ่ ย กิจกรรมของหนว่ ยงาน ซึ่งหน่วยงานกาหนดขนึ้ เพอื่ ใช้ในการคานวณหาตน้ ทุนต่อหน่วย
กิจกรรม และสามารถเปรียบเทียบต้นทุน ต่อหน่วยกิจกรรมระหว่างปีของหน่วยงานเอง
และเปรียบเทียบระหว่างหน่วยงานอ่ืนได้ นาไปสู่การวัดผลการดาเนินงานของ
หน่วยงาน และการประเมินประสทิ ธภิ าพการใช้ทรัพยากรของหนว่ ยงาน

กิจกรรมรอง กิจกรรมในการจัดทาและส่งมอบผลผลิต/บริการระหว่างหน่วยงานภายในองค์กร เพื่อ
สนับสนุนให้การดาเนินกิจกรรมหลกั มีประสทิ ธภิ าพ

กิจกรรมสนับสนุน กิจกรรมต่างๆ ที่ช่วยสนับสนุนกิจกรรมหลักให้ดาเนินไปได้ดีอย่างมีประสิทธิภาพ
กจิ กรรมสนับสนนุ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมต่อไปนี้ กจิ กรรมด้านโครงสร้างภายในองคก์ ร

ติงานคู่มอื การจดั ทาแผนปฏิบัตงิ านประจาปี ของสานักงานท่ดี นิ
ประจาปี ของสานักงานทีด่ นิ

45

ซงึ่ สานักงานท่ดี นิ ท่ัวประเทศ จะถูกระบอุ ยใู่ น ๓
- แผนงานพื้นฐาน การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจดั การภาครฐั
- ผลผลติ งานด้านทะเบียนและรังวดั ทดี่ ินท่บี ริการใหแ้ ก่ประชาชน ๓
- กิจกรรม จะมีเพยี งกิจกรรมหลกั ๒ กิจกรรม คอื
1. กิจกรรมการให้บริการดา้ นทะเบียนท่ีดินในสานักงานทด่ี ิน
2. กจิ กรรมใหบ้ รกิ ารด้านรังวดั ท่ดี ินในสานกั งานทด่ี ิน

- สาหรับกจิ กรรมยอ่ ยและกิจกรรมสนบั สนุนอน่ื ๆ จะระบหุ รือไมร่ ะบกุ ็ได้

รายละเอียดงบประมาณที่ระบุในแบบฟอร์ม ผส.......-03 น้ี จะต้องมีข้อมูลตรงกับข้อมูลในแบบ ผส.......-02
และรายละเอยี ดคาขอตง้ั งบประมาณประจาปี โดยแยกรายละเอยี ด ดงั น้ี

1. งบบุคลากร ให้นาคา่ ใชจ้ า่ ยของเจ้าพนกั งานทด่ี ิน ฝา่ ยอานวยการ และกลุม่ งานวิชาการท่ีดิน รวมไว้ท่ี
กจิ กรรมหลกั ที่ ๑ (ดา้ นทะเบยี น) นอกน้นั ระบแุ ยกฝา่ ยทะเบยี น/ฝ่ายรงั วดั

๒. งบดาเนินงาน ให้แยกรายละเอียดการขอรับการสนับสนุนงบประมาณแยกออกเป็นแต่ละฝ่าย หาก
แยกไมไ่ ด้ให้ใช้ค่าเฉล่ีย กจิ กรรมหลักท่ี ๑ (ด้านทะเบียน) ร้อยละ ๖๐ และกิจกรรมหลักที่ ๒ (ด้านรังวดั ) รอ้ ยละ ๔๐

๓. งบลงทุน ให้แยกรายละเอียดการขอรับการสนับสนุนงบประมาณ ตามรายการในแต่ละกิจกรรม
ยกเวน้ ค่ากอ่ สรา้ งอาคารในภาพรวม ให้รวมไวท้ ่กี ิจกรรมหลักท่ี ๑ (ด้านทะเบียน) โดยให้ระบุงบประมาณท้ังหมด
ไว้ในชอ่ งรวมกิจกรรม

แบบฟอรม์ ท่ใี ชป้ ระกอบการจดั ทาแผนปฏบิ ตั ิการกรมทดี่ ิน ประจาปี

แบบฟอร์มท่ีใช้ประกอบการจัดทาแผนปฏิบัติการกรมท่ีดิน ประจาปี เป็นแบบฟอร์มท่ีจะจัดทาเพ่ือเป็น
กรอบแนวทางในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในสานักงานที่ดิน กองแผนงานจะแจ้งเวียนให้สานักงานที่ดิน
จัดทาแบบฟอร์มนี้ภายหลังแจ้งเวียนการจัดสรรงบประมาณให้แก่สานักงานที่ดิน ซ่ึงจะแจ้งเวียนให้ดาเนินการ
ภายในเดือนตุลาคม – พฤศจิกายน ของทุกปีงบประมาณ แบบฟอร์มจะประกอบด้วยข้อมูลสาคัญ ๖ ข้อ โดยให้
เฉพาะสานกั งานทีด่ นิ จังหวัดเท่าน้ันเป็นผจู้ ัดทาและนาสง่ ขอ้ มลู มาให้กรมทดี่ ิน

คมู่ ือการจดั ทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานกั งานที่ดนิ

46

- แบบฟอร์ม -

แผนปฏิบตั งิ านประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ..............
สานักงานทด่ี นิ จังหวดั / สาขา / สว่ นแยก / อาเภอ .....................................

ลักษณะสาคญั ๓

วสิ ัยทัศนก์ รมท่ีดนิ ๓
“ เป็นกลไกหลักในการขับเคล่อื นการจดั การท่ีดนิ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสุดแกป่ ระชาชน และการพัฒนา

ประเทศด้วยมาตรฐานการจดั การ การบรหิ าร ระดบั สากล”

1.1 วสิ ัยทศั นส์ านกั งานทด่ี นิ จังหวดั
............................................................................................................................. ....................................................

1.2 ภารกจิ หลักของสานักงานทดี่ นิ
ตามโครงสรา้ งการแบง่ ส่วนราชการของกรมท่ีดนิ ได้กาหนดให้สานักงานที่ดิน มีภารกิจหลักเก่ียวกับการ

ออกหนังสือแสดงสิทธิ หนังสือกรรมสิทธ์ิห้องชุด และให้บริการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเก่ียวกับ
อสังหาริมทรัพย์ เพื่อให้บุคคลมีความม่ันคงในการถือครองท่ีดินและได้รับบริการท่ีมีประสิทธิภาพ โดยให้มี
ขอบเขตและอานาจหนา้ ทดี่ งั ต่อไปน้ี

(1) ดาเนินการตามประมวลกฎหมายท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยการจัดสรรท่ีดิน กฎหมายว่าด้วยอาคารชุด
กฎหมายว่าดว้ ยชา่ งรังวดั เอกชน และกฎหมายว่าดว้ ยการเชา่ อสังหาริมทรัพยเ์ พอื่ พาณชิ ยกรรมและอุตสาหกรรม

(๒) ปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการออกหนงั สือแสดงสทิ ธใิ นทด่ี ิน หนังสือกรรมสทิ ธิ์ห้องชุด จดทะเบียนสิทธิและ
นิติกรรมเก่ียวกับอสังหาริมทรัพย์ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ การรังวัดสอบเขต การแบ่งแยกที่ดิน
ออกเป็นหลายแปลง การรวมท่ดี นิ หลายแปลงเข้าเป็นแปลงเดยี วกัน การทาแผนท่สี าหรบั ท่ดี นิ รวมท้ังการจัดเก็บ
ค่าธรรมเนียม ค่าใช้จ่ายและภาษีอากรเกี่ยวกับการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม หรือการดาเนินการเกี่ยวกับ
อสังหารมิ ทรัพย์

(๓) กากับดแู ล ให้คาปรึกษา และสนบั สนุนการปฏิบัตงิ านของสานกั งานทด่ี ิน จังหวดั สาขา และ
สานกั งานที่ดินอาเภอ

(๔) ปฏบิ ัตงิ านร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกย่ี วขอ้ งหรอื ที่ไดร้ ับมอบหมาย

๑.๓ ความสอดรบั กับประเด็นยทุ ธศาสตรก์ รมทดี่ นิ
ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี ๔ พฒั นาระบบบรกิ ารประชาชนดว้ ยระบบออนไลน์ทว่ั ประเทศ มีมาตรฐานสากล

ด้วยบคุ ลากรทีม่ ีขีดความสามารถสูง

1.4 ความสอดรับกับยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการ
ประจาปีของจงั หวดั และกลุม่ จังหวัด

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

คู่มือการจัดทาแผนปฏิบตั งิ านประจาปี ของสานักงานท่ดี นิ


Click to View FlipBook Version