The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

นวัตกรรมการจัดทำต้นฉบับ (ปี 2560)

กองการพิมพ์

Keywords: ด้านทั่วไป

นวตั กรรมการจดั ท�ำ ต้นฉบบั
กองการพมิ พ์

กรมท่ีดิน



บทน�ำ

ในปัจจุบันส่ือส่ิงพิมพ์เข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจำ�วันของเรา

แทบทกุ อยา่ ง ไมว่ า่ จะเปน็ วสั ดุ อปุ กรณ์ ของใช้ ตลอดจนการโฆษณาก็
เกย่ี วขอ้ งกบั สอ่ื สง่ิ พมิ พท์ ง้ั นน้ั แมก้ ระทง้ั ปา้ ยประชาสมั พนั ธบ์ อกชอ่ื ถนน
ตา่ งๆ เครอ่ื งหมาย ลกู ศรบอกทาง ใหไ้ ปทางไหน กเ็ กดิ จากสอ่ื สง่ิ พมิ พท์ ง้ั
นน้ั ฯลฯ
การจดั ท�ำ หนงั สอื กเ็ ปน็ สอ่ื สง่ิ พมิ พอ์ ยา่ งหนง่ึ ทเ่ี ปน็ เสมอื นเครอ่ื ง
มอื ทจ่ี ะท�ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจถกู ตอ้ ง และการปฎบิ ตั ไิ ปในแนวทางเดยี วกนั
ตามกระบวนการหรือข้ันตอนท่ีจะทำ�ให้การผลิตหนังสือแต่ละเล่มมี
คณุ ภาพและไดม้ าตรฐาน ใชเ้ ปน็ ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งในการปฎบิ ตั งิ าน
ดงั นน้ั จงึ เปน็ ทม่ี าของหนงั สอื เรอ่ื ง “นวตั กรรมการท�ำ ตน้ ฉบบั ” ซง่ึ กองการ
พิมพ์หวังเป็นอย่างย่ิงว่าจะเป็นประโยชน์กับสำ�นักงานท่ีดิน/กอง/หน่วย
งานภายในกรมท่ดี นิ เพ่อื ให้ทราบถงึ ขอ้ มูลเบอ้ื งต้นในการจดั ทำ�หนังสือ
และเปน็ แนวทางในการปฎบิ ัตทิ ถ่ี กู ต้องเม่อื ต้องการพิมพ์หนังสือต่อไป

กองการพมิ พ์
กันยายน 2560



สารบัญ หนา้
1
การวางแผนงานในการผลติ หนงั สือ 8
ส่วนประกอบของหนงั สือ 10
ข้นั ตอนการเตรียมไฟลง์ าน
- ขน้ั ตอนการแปลงไฟลจ์ าก Microsolf World 10
ใหอ้ อกมาเปน็ ไฟล์ pdf
- ขั้นตอนการท�ำ หนังสอื ดว้ ย 12
โปรแกรม Adobe Indesign CS5 21
ความรู้ทว่ั ไปเก่ยี วกับการพิมพ ์ 21
- ระบบการพิมพ ์ 25
- แมพ่ ิมพ์



1

การวางแผนงานในการผลติ หนงั สือ

การวางแผนงานในการผลิตหนังสือน้ันเป็นการมองภาพรวมของ
หนงั สอื ทจ่ี ะทำ�การผลิต ซ่งึ หน่วยงานท่ีต้องการจดั พิมพจ์ �ำ เป็นตอ้ งทำ�การ
วางรปู แบบของหนังสอื เล่มนัน้ ๆ วา่ ต้องการใหอ้ อกมาในรปู แบบใด ใช้
วัสดุ (กระดาษทตี่ อ้ งการใชพ้ มิ พ์) แบบใด รวมทง้ั สที ี่ต้องการ เปน็ ต้น ซึ่ง
เร่ืองท่ีต้องท�ำ การวางแผนสามารถสรุปได้ดงั นี้
1. จำ�นวนหนา้ การก�ำ หนดจ�ำ นวนหน้าที่ต้องการพิมพ์ จะชว่ ย
ให้ทราบถึงความหนาของหนังสือเล่มน้ันๆซึ่งมีส่วนช่วยในเรื่องของการ
กำ�หนดรูปแบบของการเย็บเล่มและยังเป็นส่วนที่จะนำ�มาพิจารณา
คณุ สมบัตขิ องกระดาษที่จะนำ�มาพิมพห์ นงั สืออีกดว้ ย
2. สี ระบบการพมิ พแ์ บบออฟเซ็ท (Offset) ทก่ี องการพิมพ์ กรม
ท่ีดินใช้ในการพิมพ์อยู่น้ันสามารถรองรับการพิมพ์สีโดยมาตรฐานได้ตั้งแต่
1 สี ถงึ 4 สี ซง่ึ การพมิ พ์หนังสอื แต่ละเลม่ นัน้ หน่วยงานท่ีต้องการจดั พิมพ์
หนงั สือต้องทราบและก�ำ หนดว่ามีความตอ้ งการพิมพแ์ บบใด โดยแยก
ประเด็นการพิมพ์ออกหลกั ๆ 2 ประเด็นคอื 1. การพิมพ์ปก (ท้ังปกหนา้
และปกหลัง) 2. เนื้อหาด้านใน ยกตัวอยา่ งเชน่
เลม่ ท่ี 1 หนังสือขนาด เอส่ี A4 ตอ้ งการพมิ พป์ กหนงั สือ (ทั้งปก
หน้าและปกหลัง) พิมพ์ 4 สี ส่วนเน้ือหาดา้ นใน พมิ พส์ ีเดยี ว (พิมพ์ 1 สี
คอื สดี �ำ )
เลม่ ที่ 2 หนงั สอื ขนาด เอสี่ A4 ตอ้ งการพมิ พป์ กหนงั สือ (ทั้ง
ปกหนา้ และปกหลัง) พมิ พส์ เี ดียว (พมิ พ์ 1 สี คอื สฟี า้ ) ส่วนเนื้อหาดา้ นใน
พมิ พ์สเี ดียว (พิมพ์ 1 สี คอื สดี ำ�)
เล่มท่ี 3 หนังสอื ขนาด เอส่ี A4 ตอ้ งการพิมพป์ กหนังสือ (ทง้ั
ปกหนา้ และปกหลัง) พมิ พส์ ีเดียว (พมิ พ์ 1 สี คือสดี �ำ ) สว่ นเนือ้ หาดา้ นใน
พมิ พส์ เี ดยี ว (พิมพ์ 1 สี คือสดี ำ�)

2
หมายเหตุ การพมิ พ์ 4 สี ผลท่ไี ด้จากการพมิ พน์ ้นั หากเป็นภาพ
จะไดภ้ าพทมี่ ีสีสนั ใกล้เคยี งกับการมองเหน็ ของมนุษย์ ส่วนการพมิ พแ์ บบ
สีเดยี ว (พมิ พ์ 1 ส)ี นั้น จะมองเหน็ ภาพได้ทง้ั รปู รา่ งและมิติ แตจ่ ะขาด
สสี นั ทสี่ มจรงิ

ภาพประกอบงานพิมพ์สเี ดยี ว ภาพประกอบงานพมิ พ์ 4 สี

3. ปก การวางแผนก�ำ หนดรูปแบบปกของหนังสือนนั้ นอกจากจะ
ค�ำ นึงถงึ ความสวยงานและความน่าสนใจของปกหนังสอื แลว้ สง่ิ ทีห่ น่วย
งานทต่ี ้องการจดั พมิ พห์ นงั สือจะตอ้ งคำ�นงึ ถงึ คือการเข้ารูปเลม่ ซง่ึ งาน
ผลติ หนังสอื ขนาด เอสี่ (A4) ทีม่ ีการผลิตในกองการพมิ พ์ สว่ นใหญ่มี 2
แบบ คือ แบบไสกาวและแบบเยบ็ มุงหลงั คา ซง่ึ ท้งั สองแบบมีลักษณะ
ดังนี้
3.1. เขา้ เลม่ แบบไสกาว (ไสสนั ทากาว) เป็นวิธีท่นี ิยมใช้มาก
ท่สี ุด เพราะเข้าเลม่ ไดเ้ รียบร้อยสวยงามและราคา ถกู เหมาะส�ำ หรบั
หนงั สือเล่มทม่ี คี วามหนาระดบั หนึ่งประมาณ 70 หนา้ ข้นึ ไป เช่น นิตยสาร
หนงั สอื เรียน ความทนทานก็พอใช้ได้ การเข้าเลม่ แบบน้ีจะกางหนงั สอื
ออกมากไม่ได้ หนงั สอื จะหลดุ งา่ ย พอปล่อย มือหนา้ กระดาษจะดดี กลับ
หบุ เขา้ มาเหมอื นเดิม วธิ ีเขา้ เล่มแบบไสกาว คอื นำ�กระดาษทเ่ี รยี ง หน้า
เป็นเล่ม แลว้ มาไสกระดาษดา้ นขา้ งให้เรยี บก่อนแล้วจึงทากาว ท่ีต้องไส
สนั กอ่ นก็เพื่อใหก้ าวแทรกซมึ เข้าไปดขี ึน้ การยึดตดิ ก็จะดีขน้ึ นั่นเป็นที่มา

3
ของคำ�ว่า “ไสกาว”
3.2. เขา้ เลม่ แบบเยบ็ มุงหลงั คา หรอื เยบ็ อก แบบนี้นยิ มใชเ้ ยบ็
สมุด,หนงั สือ ท่มี จี �ำ นวนหนา้ ไม่ควรเกนิ โดยประมาณที่ 80 หน้า (ตอ้ ง
คำ�นงึ ถงึ นำ้�หนัก (แกรม) ของกระดาษด้วยและไมส่ ามารถท�ำ ให้สันมีความ
หนาได)้ วธิ ีการคอื นำ�กระดาษท้ังเล่มมาเรียงกนั แล้วพับคร่ึง จากนน้ั ใช้
เครื่องลวดเยบ็ ลวดตรงแนวพบั 2-3 ตวั
นอกจากนัน้ ยังมรี ูปแบบการเขา้ เลม่ อืน่ ๆ ที่แตกตา่ งจากท่ีกล่าวมา
แล้ว แตเ่ ปน็ งานทไ่ี มพ่ บบอ่ ยเนื่องจากตน้ ทนุ การผลิตสงู และใชร้ ะยะเวลา
การผลติ คอ่ นขา้ งมาก คอื การเข้าเลม่ แบบเย็บกี่ เป็นการเขา้ เล่มหนังสือที่
มคี วามแขง็ แรงทีส่ ดุ (แตแ่ พงทส่ี ุด) เหมาะส�ำ หรบั เข้าเล่มหนงั สอื ท่ีมคี วาม
หนามากๆ เช่น หนงั สอื บันทกึ ชาวดนิ เป็นต้น วิธีการย่งุ ยากพอสมควร
โดยเอากระดาษทง้ั เล่มมาแยกออกเป็นสว่ นยอ่ ย แล้วเยบ็ แยกแตล่ ะส่วน
เปน็ เลม่ เหมือนเย็บมงุ หลังคา แตใ่ ช้ด้ายเย็บ จากน้ันเอาเล่มยอ่ ยๆ มารอ้ ย
รวมกนั เป็นเล่มใหญ่อกี ที แล้วจึงหุ้มด้วยปกอีกชัน้ หน่ึง

4

4. วสั ดุ ในส่วนของงานส่ิงพมิ พน์ นั้ หมายความถงึ กระดาษทใ่ี ชใ้ น
การพิมพ์ ซง่ึ แต่ละชนดิ ของกระดาษน้ันมีคณุ สมบตั ิทีเ่ หมาะแกง่ านพิมพ์
แตกต่างกนั ออกไป จงึ จำ�เป็นที่ตอ้ งทราบในเบื้องต้นเกี่ยวกับคณุ สมบตั ิ
ของกระดาษเพือ่ ใชใ้ นการวางแผนการผลิตตอ่ ไป โดยท่ัวไปน้นั เมือ่ กลา่ ว
ถึงรูปแบบของหนังสือทางส่วนของช่างพิมพ์จะสอบถามถึงชนิดและนำ้�
หนักของกระดาษ (แกรม=กรัม:ตารางเมตร)
ชนิดของวสั ดุ (กระดาษ)
กระดาษอาร์ต (Art Paper) กระดาษชนดิ นี้เน้ือจะแน่น ผิวเรียบ
เหมาะสำ�หรบั งานพมิ พส์ ส่ี ี เช่น โปสเตอร์ โบรชัวร์ ปกวารสาร ฯลฯ มใี ห้
เลอื กหลายแบบ ได้แก่
• กระดาษอารต์ มนั เนื้อกระดาษเรยี บ เปน็ มันเงา พิมพง์ านได้
ใกล้เคยี งกับสจี ริง สามารถเคลอื บเงาไดด้ ี ความหนาของกระดาษมดี งั นี้
85 แกรม, 90 แกรม, 100 แกรม, 105 แกรม, 120 แกรม, 130 แกรม,
140 แกรม, 160 แกรม
• กระดาษอาร์ตด้าน เน้อื กระดาษเรียบ แต่เนอื้ ไมม่ ัน พมิ พง์ าน
สจี ะซีดลงเลก็ นอ้ ย แต่ดูหรู ความหนาของกระดาษมีดงั นี้ คอื 85 แกรม,
90 แกรม, 100 แกรม, 105 แกรม, 120 แกรม, 130 แกรม, 140 แกรม,
160 แกรม
• กระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า เป็นกระดาษอารต์ ทีห่ นาตง้ั แต่
190 แกรมข้ึนไป เหมาะสำ�หรับพิมพ์งานโปสเตอร์ โปสการ์ด ปกหนงั สอื
หรืองานตา่ งๆ ที่ต้องการความหนา
• กระดาษอาร์ตการด์ 1 หนา้ เป็นกระดาษอาร์ตที่มีความแกร่ง
กว่ากระดาษอาร์ตการ์ด 2 หน้า หนาตงั้ แต่ 190 แกรมขึน้ ไป เหมาะ
ส�ำ หรับพมิ พง์ านทีต่ อ้ งการพมิ พแ์ คห่ น้าเดียว เชน่ กล่องบรรจุสนิ ค้าต่างๆ

5

โปสเตอร์ โปสการ์ด ปกหนังสือ เปน็ ตน้
กระดาษปอนด์ (Pond Paper) เป็นกระดาษเนอื้ เรียบสีขาว ความ
หนากระดาษที่นิยมใชพ้ ิมพห์ นังสอื อยูท่ ี่ 70-100 แกรม นยิ มใชพ้ มิ พ์งาน
สีเดยี ว หรอื พมิ พส์ ีส่ ีก็ไดแ้ ต่ไมส่ วยเทา่ กระดาษอารต์ สามารถเขยี นได้งา่ ย
กวา่ ทั้งปากกาและดนิ สอ เหมาะสำ�หรบั พิมพเ์ นือ้ ในหนังสอื หรอื กระดาษ
หัวจดหมาย
กระดาษถนอมสายตา (Green Read Paper) เนือ้ กระดาษสคี รมี
ออกสีตุ่นๆและไม่ขาวจั๊วะเหมือนกระดาษขาวทั่วไป ผิวกระดาษที่ไม่
เรียบเทา่ ความสว่างของสีมีปริมาณน้อย ชว่ ยดูดกลืนแสงไดด้ ีท�ำ ใหล้ ด
การสะท้อนแสงเขา้ ตา ประมาณ 15 % ซงึ่ ทำ�ใหช้ ว่ ยทำ�ใหถ้ นอมสายตา
ในการอา่ นหนังสือได้นาน เหมาะกับตำ�ราเรยี น หนงั สือ นิตรสาร สมดุ
ไดอาร่ี ออแกไนเซอร์ เพราะสีกระดาษทน ไมเ่ ปลี่ยนสี ทำ�ใหห้ นงั สอื ไมด่ ู
เก่าลงและมีน้�ำ หนกั เบากว่ากระดาษปอนด์ขาวท่ัวไป พกพาสะดวกกวา่
กระดาษแบงค์ (Bank Paper) เปน็ กระดาษบางไมเ่ คลอื บผิว น�้ำ
หนกั ไมเ่ กนิ 50 กรัม/ตารางเมตร มสี ีใหเ้ ลือกหลายสี ใชส้ �ำ หรับงานพิมพ์
แบบฟอร์มตา่ ง ๆ ที่มีสำ�เนาหลายช้นั
ข้อแนะนำ� ทางกองการพมิ พ์ขอแนะน�ำ กระดาษท่กี องการพมิ พ์มี
การนำ�มาใช้มากท่สี ดุ ในการผลติ หนังสอื ดงั นี้
สว่ นปก กระดาษท่ใี ช้ ไดแ้ ก่ กระดาษอารต์ มัน 190-230 แกรม
ส่วนเน้ือหาด้านใน กระดาษท่ีใช้ ไดแ้ ก่ กระดาษอาร์ตด้าน
130 แกรม หรือกระดาษปอนด์ 70-80 แกรม หรอื กระดาษถนอมสายตา
75 แกรม

6
5. เทคนิคการพมิ พ์ เพือ่ ความสวยงามในสว่ นของปกหนังสอื น้นั
ในปัจจุบันได้มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้ามาทำ�ให้เกิดเทคนิคต่างๆ
เพอื่ ใหง้ านสงิ่ พิมพ์มคี วามน่าสนใจมากยง่ิ ขนึ้ โดยในที่นจ้ี ะขอกลา่ วใน
ส่วนของเทคนิคการพิมพ์ที่กองการพิมพ์สามารถรับมาดำ�เนินการผลิตได้
มีดงั นี้
• การเคลือบลามิเนต เป็นการใช้กาวหรือความร้อนอัดฟิล์ม
แผ่นบางๆให้ติดบนผิวงานพิมพ์สามารถเคลือบได้ทั้งสองด้านของงาน
พิมพ์ มีทั้งฟิล์มด้านและฟิล์มเงา ข้อเสียคือไม่สามารถเคลือบลงบน
กระดาษบางมากๆได้ แต่ข้อดีของการเคลือบลามิเนตจะช่วยเพิ่มมูลค่า
งานพิมพใ์ ห้ดูหรูมรี ะดับ ช่วยในเรอ่ื งของการกันความชืน้ หรอื กันน้ำ�ได้ดี
เพราะฟิลม์ ท่ีใช้มีคณุ สมบัติป้องกนั การซมึ ผ่านของน้�ำ ได้ และการเคลือบ
ลามิเนตช่วยเพ่ิมความหนาและความแข็งแรงให้กับงานพิมพ์ได้ในอีก
ระดบั
• การเคลอื บยูวี เป็นการใชน้ ำ�้ มันยูวีอาบบนผวิ งานพิมพ์ แลว้
อบด้วยแสงยูวี สามารถเคลือบบนกระดาษบางมากๆได้ มีทง้ั แบบดา้ น
และแบบเงาเหมือนกนั แต่ท่นี ิยมกนั จะเป็นการเคลอื บยูวีเงา ส่วนการ
เคลอื บยวู ีดา้ นจะเหน็ กันนอ้ ยมาก เพราะเห็นไม่ชัดเท่ากับการเคลือบลามิ
เนต ลักษณะงานเคลอื บยูวีท่ีได้กจ็ ะเงามากๆ แต่การเคลือบยวู กี ็มขี อ้ เสีย
อย่คู ือ งานพมิ พ์จะมีกลิ่นเหม็น
• การเคลือบสปอตยวู ี (Spot UV) มขี ั้นตอนคล้ายกับการ
เคลือบ UV โดยท่ัวไปแต่การเคลือบ สปอตยูวี จะท�ำ ลงบนชนิ้ งานทเ่ี รา
ตอ้ งการเนน้ เปน็ พิเศษ เชน่ บนรูปภาพ ตัวอกั ษร หรอื ข้อความ โดยการ
เคลอื บ สปอตยูวีนั้นมอี ยหู่ ลายรูปแบบ เชน่ สปอตยวู แี บบเงา สปอตยวู ี
แบบด้าน สปอตยวู ีแบบทราย สปอตยูวีแบบกากเพชร สปอตยูวีแบบมกุ

7
สปอตยวู ีแบบยาง เป็นตน้ แตร่ ปู แบบที่ไดร้ ับความนยิ มมากท่สี ดุ จะเป็น
สปอตยูวแี บบเงา
• ปมั้ นนู เปน็ การกดทบั กระดาษให้นูนขึ้นได้รปู ลักษณต์ ามแบบ
ของแมพ่ มิ พท์ ่ใี ชก้ ดทบั เพอื่ ใหบ้ างสว่ นของงานพิมพ์มลี กั ษณะนูนขน้ึ กวา่
ปกติ โดยอาจเป็นรปู ภาพหรอื ข้อความก็ได้ เหมาะส�ำ หรบั งานที่ตอ้ งการ
ความรสู้ กึ ถงึ ความเป็นต้นฉบบั ของแท้ มีคุณค่า ความโดดเดน่ หรูหรา
ไม่ซ้�ำ ใคร อีกทัง้ การป๊ัมนูนยังชว่ ยป้องกันการทำ�สำ�เนาไดอ้ ีกดว้ ย โดยคณุ
ลูกคา้ สามารถออกแบบไดเ้ องตามความตอ้ งการ เพอ่ื ทีจ่ ะน�ำ ปั๊มนนู ไปใช้
งานไดอ้ ยา่ งเหมาะสมในแต่ละประเภทของงานและเกิดประโยชน์สูงสุด

8

ส่วนประกอบของหนงั สือ

โดยทั่วไปในงานพมิ พ์มาตรฐานทกี่ องการพมิ พ์ กรมทดี่ ิน ได้ด�ำ เนนิ
การผลิตและหน่วยงานที่ต้องการจัดพิมพ์หนังสือควรทราบ ซึ่งแบ่งเป็น
2 ประเภท คือ หนงั สอื แบบมีสันปกและหนังสือแบบไม่มสี นั ปก
1. หนังสอื ประเภทท่มี ีสนั ปก เชน่ หนงั สือเขา้ เลม่ แบบไสกาว แบบ
เย็บกี่ หนังสือในรปู แบบนน้ี ัน้ จะมีส่วนของสนั หนงั สอื ตามความหนาของ
จำ�นวนแผ่นกระดาษหรือจำ�นวนหน้านั่นเอง ดังนั้นส่วนประกอบของ
หนงั สือรปู แบบน้ไี ด้แก่ ปกหนา้ สันปก ปกหลัง โดยหนังสอื บางเล่มอาจ
จะมี ปกใน และรองปกดว้ ย ท้ังนีแ้ ล้วแต่ความตอ้ งการของหน่วยงานที่
ต้องการพมิ พ์หนงั สอื เล่มน้ันๆ

ภาพประกอบงานหนังสอื ทม่ี ีสันปก

9
2. หนงั สือประเภทไมม่ ีสันปก ได้แก่ หนงั สอื เข้าเลม่ แบบเยบ็ มงุ
หลงั คา หนังสือประเภทน้ีมีความหนาตามจ�ำ นวนหน้าแตไ่ ม่มสี ันหนงั สอื
เนือ่ งจากเปน็ การรวมเล่มแบบพบั ครึ่ง โดยสว่ นปกหนา้ และปกหลังเปน็
ส่วนที่ต่อเนื่องกัน ดังนั้นส่วนประกอบหลักจึงจะสังเกตเห็นได้เพียงปก
หน้าและปกหลงั ส�ำ หรับส่วนประกอบอน่ื ๆ ไม่ว่าจะเปน็ ปกในและรอง
ปก ยังจะสามารถมีได้ซึ่งแล้วแต่ความต้องการของหน่วยงานที่ต้องการ
พิมพ์หนังสอื เช่นกนั

ภาพประกอบงานหนังสอื ที่ไมม่ สี นั ปก

10

ข้นั ตอนการเตรียมไฟลง์ าน

ไฟลง์ านท่จี ะนำ�สง่ มาใหก้ องการพิมพ์ กรมท่ีดิน จัดทำ�เป็นตน้ ฉบบั
สำ�หรบั ทำ�แม่พิมพน์ นั้ จะตอ้ งเปน็ ไฟล์งานในรูปแบบ PDF จงึ จะทำ�ให้การ
ปฏิบัติงานในข้นั ตอนการวาง Layout ดำ�เนนิ ไปไดร้ วดเรว็ ก่อนทีจ่ ะไปถงึ
กระบวนการสร้างแมพ่ มิ พ์ ซึง่ โดยปกติแล้วไฟล์งานตน้ ฉบับท่ีทางหน่วย
งานทต่ี ้องการจดั พมิ พ์หนงั สือนน้ั ใชใ้ นการจดั ทำ�มกั จะเปน็ โปรแกรม Mic-
rosoft Word ดังนน้ั จงึ ตอ้ งท�ำ การแปลงไฟลใ์ ห้ออกมาเป็นไฟล์ PDF ซ่ึงมี
ข้นั ตอนดงั น้ี
ข้ันตอนการแปลงไฟลจ์ าก Microsolf Word ให้ออกมาเปน็ ไฟล์ PDF
1. เปดิ โปรแกรม Microsolf Word ทตี่ ้องการแปลงไฟล์ แล้วไปที่
แฟ้ม / บันทึกเปน็ จะปรากฎหนา้ ต่างเลก็ ๆข้นึ มา

1

2

11
2. หนา้ ต่างตามรูป จะปรากฎขน้ึ มา ใหไ้ ปเลือกตรงชอ่ ง “ช่ือ
แฟ้ม” คือชือ่ งานท่กี ำ�ลังดำ�เนนิ การ และชอ่ ง“บนั ทึกเปน็ ชนิด” ให้เลอื ก
ไปตรงคำ�ว่า PDF จากนัน้ ก็ทำ�การ กดบันทกึ ก็จะไดไ้ ฟลท์ แ่ี ปลงเปน็ PDF
เรียบร้อยแลว้

1
2

3

12

ขน้ั ตอนการท�ำ หนังสือ ด้วยโปรแกรม Adobe Indesign CS 5
ในที่นี้ขอกล่าวถึงการทำ�งานโดยใช้ไฟล์สำ�เร็จที่แปลงไฟล์งาน
เรยี บร้อยแลว้ เปน็ ไฟล์ PDF เนอ่ื งจากง่ายและสะดวกส�ำ หรบั การจดั หนา้
หนังสอื แตถ่ า้ มกี ารแกไ้ ขงาน ไฟล์ PDF นีจ้ ะไม่สามารถแก้ไขได้ ดังน้ัน
ก่อนและหลงั ทำ�การแปลงไฟล์เป็น PDF ใหต้ รวจสอบความถูกตอ้ งของ
ขอ้ มูลทุกครง้ั
1. ตงั้ คา่ หนา้ กระดาษ
เมอ่ื เข้าโปรแกรมแล้ว ใหไ้ ปทเ่ี มนู File/new/Document จะ
ปรากฎหนา้ ต่างขึน้ มาใหเ้ ราตงั้ คา่ หนา้ กระดาษ ให้ท�ำ การต้ังค่าขนาดงาน
ที่ Page Size ในทน่ี ้จี ะขอกล่าวถงึ งานขนาด 8 หน้ายก (185x265 mm)
Facing Page ถ้าติ๊กถูกงานจะเป็นหน้าคู่ ถา้ ไมต่ ิก๊ งานจะเปน็ หนา้ เดีย่ ว
ใหท้ �ำ การตงั้ คา่ หน้ากระดาษตามภาพ โดยระยะตดั ตกเผอื่ ตดั เจียน ทุก
ช่องต้องเป็น 3 mm จากน้ันกดปมุ่ OK

จ�ำ นวนหน้า ระยะหา่ งระหว่างคอลัม
เรม่ิ หนา้ ท่ี
ขนาดงาน ระยะหา่ งด้านในกระดาษ
ระยะห่างด้านนอกกระดาษ
ความกว้างของพน้ื ท่ี
ความสงู ของพ้ืนท่ี

จำ�นวนแบ่งคอลมั
ระยะขอบ

ระยะหา่ งด้านบนกระดาษ
ระยะหา่ งด้านล่างกระดาษ

ระยะเผอื่ ตัดเจียน

13
2. หนา้ กระดาษ
เมือ่ กดปุ่ม OK จะได้หน้ากระดาษทมี่ ขี นาดตามตงั้ ค่าไว้ กรอบสี
ดำ� (Page Size) คือ ขนาดของงาน, กรอบสแี ดง (Bleed) คือ ระยะเผือ่
ตดั เจียนเลม่ , กรอบสมี ่วง (Margins) คอื ระยะขอบของหน้ากระดาษ ใน
การทำ�งานแตล่ ะคร้ังข้อมูลทัง้ หมดสว่ นใหญ่จะตอ้ งอยใู่ นพน้ื ที่ Margins
ยกเวน้ Black Ground พืน้ หลงั จะต้องใสใ่ หเ้ ตม็ ถงึ ระยะเผ่ือตดั เจียน

Bleed
Margins

3. การเพิม่ หนา้ กระดาษ
ในการจัดการเพิม่ จ�ำ นวนหน้าหนงั สอื สามารถเลอื กได้ท่ี Page
โดยเมนูจะอยู่ดา้ นขวา หรือสามารถเข้าไปไดท้ ี่ Window แล้วเลือก Page
จะปรากฎเปน็ ดงั ภาพ ถ้าตอ้ งการเพ่ิมจำ�นวนหนา้ สามารถเพิม่ ได้โดยการ
กด Create new page หรอื ลากหนา้ กระดาษจาก A - Master

14

Create new page

เม่ือทำ�การเพิ่มจำ�นวนหน้าแล้วให้ลองดูที่หน้าหลักจะเห็นว่ามีหน้า
เพ่มิ ข้นึ มา ทง้ั ทางดา้ นซา้ ยและขวาเหมอื น กบั หนังสอื และข้นั ตอนต่อไป
จะท�ำ การใสข่ ้อความและตัวหนังสือใน Page

15
4. การใส่ข้อความตัวหนังสือลง Page
เมอื่ ตอ้ งการใส่ขอ้ ความตวั หนงั สอื ใหค้ ลก๊ิ เลอื กเคร่อื งมอื Type
Tool หรือกดตัวอักษร T เมอื่ ต้องการพิมพข์ ้อความจะตอ้ งสรา้ ง
กรอบข้ึนมาเพอ่ื เป็นขอบเขตของตัวข้อความหนังสือดงั ภาพ

5. การทำ�งานร่วมกบั หน้า Master
การทำ�หนังสือที่มจี �ำ นวนหลายๆหนา้ ตอ้ งทำ�การสรา้ ง Text ใน
หน้า Master เพื่อให้สามารถใสข่ ้อความไดท้ กุ ๆหนา้ โดยไม่ตอ้ งสรา้ ง
กรอบ Text ใหม่
การสรา้ งกรอบข้อความ Text ในหน้า Master แรก หลังจากนัน้ ให้
สังเกตมุ มุ ล่างขวาจะมีสเี่ หลยี่ มอยู่ ใหก้ ดเลือกจะเปน็ ไอคอนรปู ล้ิงที่เมาส์
ใหท้ �ำ การวาดเป็นกรอบสีเ่ หล่ียมทีห่ น้า Master ด้านขวา เพ่อื เป็นการลิ้ง
จากหนา้ ซ้าย

16
จากนั้นให้ออกจากหนา้ Master แล้วเลอื กที่หนา้ ธรรมดา สรา้ ง
กรอบ Text อีกครั้ง

17
6. การน�ำ ไฟล์หนงั สือมาใสใ่ น Page
ในที่นี้ขอยกตวั อยา่ งไฟล์ PDF ซึง่ เป็นไฟลส์ �ำ เร็จ น�ำ มาวางใส่ใน
หนา้ Page ซ่งึ ท�ำ ไดโ้ ดยไปท่ี File แล้วกด Place จากนนั้ เลอื กไฟล์หนังสือ
ทต่ี ้องการมาวางใสใ่ นหนา้ Page จะไดด้ ังภาพ เม่ือครบจำ�นวนหนา้ แลว้ ก็
ทำ�การ Save

1
2

7. วิธีการ Export งานเปน็ PDF และการตงั้ ค่า
ในการท�ำ งาน Indesign เมื่อทำ�งานเสร็จหรือต้องการทจี่ ะ export
งานออกมา ซ่ึงโดยส่วนใหญจ่ ะท�ำ การ export มาในรูปของไฟล์ pdf ซ่งึ
การ export แต่ละแบบงาน มีลักษณะท่ีแตกตา่ งกนั ออกไปทง้ั เร่ืองของสี
และรปู ภาพ
ในท่ีนจ่ี ะทำ�การตั้งคา่ โดยพ้ืนฐานของการ export ไฟล์ pdf ซึง่ มวี ธิ ี
การดังตอ่ ไปน้ี

18
7.1 ให้ท�ำ การคลิ๊กท่เี มนู File จากน้ันเลอื กที่ Export

1

2

7.2 เมือ่ กด Export จะปรากฎหนา้ ตา่ งขนึ้ ดงั ภาพ ท�ำ การเลือกท่ี
ประเภทของ Save as type จะมรี ูปแบบใหเ้ ลือกดังภาพดา้ นล่าง ในท่ีนี้
จะท�ำ การ Export เป็นไฟล์ pdf ให้เลือกท่ี Adobe PDF (Print) จากนนั้
กด Save

1

19
7.3 เมอื่ กด Save จะเกดิ หน้าตา่ งการตัง้ คา่ งานที่จะ Export ให้
เลอื ก Preset ทตี่ อ้ งการและต้ังค่า โดยสว่ นใหญจ่ ะตง้ั คา่ ท่ี General และ
Mark and Bleeds

1
2

7.4 การตั้งค่า General ในท่นี ีใ้ ห้เลอื กเปน็ All เพื่อ Export ออก
มาทกุ หนา้ และเลอื กเปน็ Page โดยแสดงออกมาเปน็ หน้าเดย่ี ว

1
2

20
7.4 การตงั้ คา่ Mark and Bleeds เป็นการต้งั ค่าเพอ่ื แสดงเสน้ สว่ น
ตัดของหน้ากระดาษ ในสว่ น Marks ใหค้ ล๊ิกเลือก Crop Marks (Crop
Marks คือ เส้นท่ีเมื่อ Export ออกมาจะเปน็ เส้นที่มมุ แตล่ ะมมุ เพ่ือ
เป็นการบอกถงึ แนวตดั ของกระดาษ)
ในส่วนของ Bleed and Slug ใหค้ ลก๊ิ เลือก Use Document
Bleed Setting เพ่อื เปน็ การใช้ Bleed จากการตั้งคา่ ในตอนเร่ิมจากการ
สร้าง Document เสรจ็ แลว้ ทำ�การคล๊ิกท่ี Export

1
2
3

7.5 เม่ือ Export ออกมาจะได้ไฟล์ pdf แล้วจะสังเกตได้วา่ จะมี
เส้นสดี ำ�ท่ีมุมของขอบทั้ง 4 ด้าน กค็ ือ Crop Marks หรือ Marks ตดั ตก
เป็นเสน้ บอกแนวตดั เทา่ น้กี ็จะได้ไฟล์ pdf เพือ่ เตรยี มไปใช้ในกระบวน
การของโรงพมิ พ์ต่อไป

21

ความรู้ทวั่ ไปเกี่ยวกบั งานพิมพ์

ระบบการพิมพ์

ระบบงานพมิ พแ์ บบออฟเซ็ท (Offset) เป็นระบบการทำ�งานโดย
เคร่อื งจกั รทก่ี องการพมิ พ์ กรมที่ดนิ มีและใช้ในการผลติ งานพมิ พ์ตา่ งๆ
ระบบการพิมพอ์ อฟเซ็ท (Offset) เป็นระบบการพมิ พ์ทีใ่ ช้กนั มากท่สี ุดท่วั
โลกในปจั จุบัน เพราะมีความคมชดั สวยงามคณุ ภาพสูง มคี วามละเอยี ด
มาก การออกแบบอาร์ตเวิรค์ ไม่วา่ จะออกแบบอย่างไร การพิมพก์ ไ็ มย่ ่งุ
ยากมากจนเกินไป ประกอบกับความก้าวหนา้ ในการท�ำ เพลทแมพ่ ิมพ์
และการแยกสี เพื่อออกฟลิ ์ม และ เพลทแม่พิมพ์ ซึ่งในปัจจบุ นั ท�ำ ให้ยิ่ง
พมิ พ์จ�ำ นวนมากเท่าไหร่กจ็ ะย่ิง ถกู ลงมากเท่านัน้ สิ่งพิมพ์และจ�ำ นวน
พิมพ์ ที่จะพมิ พด์ ว้ ยระบบออฟเซ็ทควรมลี กั ษณะดงั ต่อไปนี้
1. มจี �ำ นวนใบพมิ พต์ ั้งแต่ 500 ใบพิมพข์ ้ึนไป
2. มีภาพประกอบหรอื งานประเภท กราฟฟิคสงู ภาพเหมือนจริง
ภาพถ่าย ความละเอียดสูง
3. ต้องการความรวดเร็วในการพมิ พจ์ �ำ นวนเยอะๆ 1 ช่ัวโมง
สามารถพิมพ์ได้ 5,000-1,0000 ใบพิมพ์
4. ตอ้ งการความละเอยี ดสงู สีสวย คมชดั สวยงาม สอดสไี ลโ่ ทนสี
สวยงาม
5. เป็นการพมิ พ์หลายสี สามารถท�ำ ได้ตงั้ แต่ 1 สี ถึง 4 สี + สีพิเศษ
หรือภาพสีทตี่ อ้ งการความสวยงาม มากๆ
6. มีอาร์ตเวริ ค์ รปู แบบ ที่มคี วามยุ่งยากสลบั ซบั ซอ้ นมาก ราย
ละเอยี ดคอ่ ยขา้ งเยอะ ตัวหนังสือเล็กมาก
7. มีงบประมาณในการจัดพมิ พเ์ พียงพอ เพราะระบบพมิ พ์ออฟ

22

เซท็ จะมตี น้ ทกุ การตัง้ เคร่อื งสงู เชน่ ค่าเพลท แมพ่ มิ พ์ ค่าบล็อกไดคทั คา่
กระดาษตง้ั เครือ่ งพิมพ์ แต่ถ้าจำ�นวนเยอะๆจะคอ่ นข้างถูกกว่าระบบพมิ พ์
ระบบอืน่ หลายเทา่
ระบบพิมพอ์ อฟเซท็ สามารถผลติ งานพิมพท์ ่ีคณุ ภาพได้ดี เพราะ
1. การถ่ายทอดภาพจากเพลทแม่พิมพ์ กระทำ�โดยการถ่ายทอด
ลงบนผา้ ยางแบลงเกตก่อน แลว้ จึงถา่ ยทอดลงบนกระดาษทำ�ใหก้ าร
ถา่ ยทอดหมกึ พมิ พ์ เปน็ ไปอย่างสมำ่�เสมอเรยี บเนยี น และแมพ่ ิมพไ์ มเ่ สยี
2. สามารถใช้เมด็ สกรีนที่มคี วามละเอียดมากๆ ถงึ 150 ,175
เส้น/นิว้ ได้ท�ำ ให้ภาพทอ่ี อกมามีความละเอียด สวยงามในการพมิ พ์ระบบ
ออฟเซท็ ยูวี จะใชเ้ มด็ สกรนี เบอร์ 150 dpi. เพราะจะท�ำ ให้หมึกลงบน
วัสดุ แล้วเม็ดสกรีนของสีไม่หนกั จนเกนิ ไปท�ำ ใหเ้ รียบเนียน สวยงาม สว่ น
การพิมพ์ระบบ ออฟเซท็ ธรรมดาจะใชเ้ ม็ดสกรนี เบอร์ 175 dpi. เพราะ
สามารถเก็บรายละเอียดไดค้ มชดั สวยงามทีส่ ุด
3. การพิมพภ์ าพ 4 สี หรือ + สพี เิ ศษ ( ภาพสอดสี , ภาพเหมือน
จริง ) ท�ำ ไดส้ ะดวก เพราะสามารถปรบั ตำ�แหนง่ ของแมพ่ มิ พแ์ ละกระดาษ
ให้ลงในต�ำ แหน่งทตี่ รงกันของแต่ละสไี ดง้ า่ ย สามารถพมิ พ์ลงบนวสั ดุได้
หลายชนิด อาทิเช่น ระบบออฟเซ็ทธรรมดาสามารถพมิ พไ์ ด้บน สติก๊ เกอร์
กระดาษ งานกระดาษต่างๆ ได้ตั้งแต่ความหนา 60-500 แกรม ส่วนระบบ
พมิ พ์ออฟเซท็ ยวู ีนัน้ เหมาะส�ำ หรบั พมิ พง์ านสติ๊กเกอร์ พีวซี ี สตก๊ิ เกอรพ์ พี ี
กลอ่ งกระดาษฟรอยด์ พลาสตกิ 0.1-0.5 มลิ . และอ่ืนๆ
ขน้ั ตอนและหลักการการพิมพ์ระบบ ออฟเซ็ท
การพิมพ์วิธีน้ีใช้แผ่นเพลทแม่พิมพ์เป็นโลหะพ้ืนแบนแต่นำ�มายึด
ตดิ กับลกู โมแม่พมิ พ์ (Plate cylinder) จะมลี ูกกลง้ิ น้ำ�ทาน้�ำ บนแผน่ แม่

23
พิมพ์ กอ่ นลกู กลง้ิ น้ำ�นเ้ี รยี กวา่ ลกู น้ี (Water roller) หรอื (dampening
roller) แลว้ จงึ มลี ูกหมกึ ทาหมึกบนแมพ่ มิ พ์ หมกึ ที่เกาะติดเพลทแมพ่ มิ พ์
นี้ จะถูกถ่ายทอดลงบนลูกโมยาง (Rubber cylinder) ลูกโมยางนี้เปน็
ลูกโมโลหะทรงกลมแต่ถูกหุม้ ไวด้ ้วย แผ่นยาง โดยจะนำ�แผ่นยางมายึด
ติดกับลูกโม ลกู โมยางน้เี มอ่ื รบั หมึกจากแมพ่ มิ พ์แล้วกจ็ ะน�ำ ไปพิมพ์ ตดิ
บนแผน่ กระดาษ หรอื วัสดอุ นื่ ๆ ท่ีเปน็ ชนดิ งานแผน่ ซึ่งจะมีลกู โมแรง
กด (impression cylinder) อกี ลกู โมหนึ่งจบั กระดาษมากดกบั ลูกโม
ยาง และรบั หมึกจากลูกโมยางให้ตดิ บน กระดาษกจ็ ะได้ชนิ้ งานพมิ พ์ตาม
ต้องการ ระบบการพิมพ์ออฟเซท็ จึงจะต้องมีลูกโม 3 ลกู ขนาดเท่าๆกนั
หมุนพิมพก์ ระดาษ ออกมาแตล่ ะครัง้ ในเมอื่ หมุนรอบหนงึ่ การพมิ พห์ มึก
นั้นไมไ่ ดผ้ ่านจากแมพ่ ิมพ์ออฟเซ็ทมาพิมพ์ แผน่ กระดาษโดยตรงแตถ่ ่าย
ทอดมาโดยผา่ นลูกโมยางกอ่ น ดังนั้นตัวหนงั สอื หรอื ภาพท่ปี รากฏบน
แผน่ แมพ่ ิมพ์จงึ เป็นตวั หนงั สอื ทีอ่ า่ นได้ตามปกติ ภาพกเ็ ปน็ ภาพท่ตี รงกบั
ภาพท่พี ิมพอ์ อกมา เม่ือแม่พมิ พพ์ ิมพต์ ัวหนงั สือลงบนยางตวั หนังสือบน
ลกู โมยางจะกลับ ซ้ายเป็นขวา และขวาเป็นซา้ ย และเม่ือลูกโมยางพมิ พ์
ลงบนกระดาษกจ็ ะได้ ตวั หนังสือและภาพเป็นปกตติ ามเชน่ เดยี วกบั แม่
พมิ พ์ ออฟเซท็ (เพลทแม่พิมพอ์ อฟเซ็ท) การพิมพ์ออฟเซ็ทเป็นวิธีพมิ พ์ที่
แพรห่ ลายอย่มู ากในขณะนี้ เพราะสามารถพิมพ์ภาพได้ชัดเจน สวยงาม
และรวดเร็วในการพมิ พ์จำ�นวนเยอะๆ คณุ ภาพสงู มาก เครอื่ งพิมพ์ออฟ
เซท็ ส่วนใหญ่ทน่ี ยิ มพิมพ์กนั จะเป็นเครอื่ งพิมพ์ชนิดแผ่น สว่ นมากหลกั
ของการพิมพ์ offset คอื น�้ำ กบั น้ำ�มันจะไมร่ วมตัวกันซงึ่ บนแผ่นแมพ่ ิมพ์
จะมที ้ังสองสว่ น คือบรเิ วณทไ่ี ม่มีภาพก็จะเปน็ ทร่ี ับน�ำ้ และในส่วนที่มภี าพ
ก็จะเป็นสารเคมีที่เป็นพวกเดียวกับหมึกหน้าท่ีของบริเวณทั้งสองของแม่
พิมพอ์ อฟเซ็ท คอื 1. ส่วนทไ่ี รภ้ าพและรับน�ำ้ จะทำ�หนา้ ท่ีในการรบั น�ำ้

24
หรือความชนื้ และผลักดันหมึกให้ออกนอกบริเวณ 2. ส่วนที่เปน็ ภาพจะ
ท�ำ หนา้ ทร่ี บั หมึกและผลกั ดันน�้ำ มนั ออกนอกบรเิ วณของตน ซ่งึ ในแตล่ ะ
ส่วนจะทำ�หนา้ ท่ีๆ แตกตา่ งกนั

25

แบบแม่พิมพ์ (Plate)

แบบแมพ่ มิ พห์ รอื ทเ่ี รยี นกนั ตามศพั ทท์ างการพมิ พว์ า่ “เพลท (Plate)”
เปน็ แบบแมพ่ มิ พท์ ่ีใช้สำ�หรบั งานพมิ พ์ออฟเซ็ท โดยในส่วนของเพลทท่มี ี
ใช้ในกองการพิมพ์ กรมที่ดินนนั้ เรียกตามศพั ท์ทางการพิมพ์ว่า “เพลท
ขนาด 8 หนา้ ยก” อธบิ ายให้เข้าใจง่ายๆ คอื เพลท 1 แผน่ สามารถวาง
กระดาษ เอสี่ (A4) ได้ 8 แผน่ โดยกองการพิมพ์ กรมทดี่ นิ มีใชอ้ ยู่ 2 ขนาด
คอื 1030 มิลลิเมตร x 790 มิลลิเมตร และ ขนาด 740 มลิ ลิเมตร x 620
มิลลิเมตร ความหนาของเพลทอย่ทู ี่ 0.3 มลิ ลิเมตร ดงั น้ันในขั้นตอนการ
ออกแบบลักษณะหนังสือจึงควรกำ�หนดให้หนังสือแต่ละเล่มมีจำ�นวน
หนา้ ที่ 8 หารลงตัว (ไม่รวมปกหน้า-หลัง) เช่น 64 หน้า, 108 หนา้ , 160
หนา้ , 208 หน้า, 352 หน้า เปน็ ตน้ ในการพมิ พ์ 1 สี จะใช้ เพลท จ�ำ นวน
1 แผ่น ไดห้ นงั สือ 8 หน้า ดังน้นั หากเป็นงานพิมพ์ 4 สี เพลทจะใชถ้ งึ 4
แผ่น แต่ได้หนังสือ 8 หนา้ เท่าเดมิ เนื่องจากงานพิมพโ์ ดยทั่วไปน้นั หาก
ต้องการงานทม่ี ีสีเสมอื นภาพจริงจะตอ้ งพมิ พแ์ บบ 4 สี ในระบบสแี บบ
CMYK เป็นระบบสีทใ่ี ชก้ บั เครื่องพมิ พ์ โดย CMYK ยอ่ มาจาก Cyan (ฟ้า
อมเขยี ว) Magenta (แดงอมมว่ ง) Yellow (เหลอื ง) K Black (สดี �ำ -ไม่ใช้
B เพราะจะซำ้�กับ Blue) ขอยกตัวอยา่ งดังนี้
พิมพ์ 1 ส ี ใช้เพลท 1 แผ่น พมิ พ์หนงั สอื ได้ 8 หนา้
พมิ พ์ 2 สี ใช้เพลท 2 แผน่ พมิ พ์หนงั สือได้ 8 หน้า
พิมพ์ 4 ส ี ใชเ้ พลท 4 แผ่น พิมพห์ นังสอื ได้ 8 หนา้
พมิ พ์ 1 สี ใช้เพลท 44 แผ่น พิมพห์ นงั สอื ได้ 325 หน้า
พมิ พ์ 4 สี ใช้เพลท 176 แผน่ พิมพห์ นงั สือได้ 325 หน้า

26

Cyan (ฟ้าอมเขยี ว) Magenta (แดงอมม่วง) Yellow (เหลือง) K Black(สดี �ำ )

ภาพประกอบ : ระบบสแี บบ CMYK

ภาพประกอบ : เพลท ขนาด 8 หน้ายก

บรรณานกุ รม

“วิธเี ข้าเล่มหนงั สือ.” [ออนไลน]์ , เข้าถึงได้จาก: http://parbpim.com/
information/blog/?p=237 [ม.ป.ป.], สืบค้น 10 พฤษภาคม 2560
“งานพิมพร์ ะบบออฟเซท” [ออนไลน์], เข้าถึงไดจ้ าก: http://www.
sctinterprint.com/[ม.ป.ป.], สืบคน้ 6 พฤษภาคม 2560
“ระบบการพิมพอ์ อฟเซ็ต คอื อะไร?” [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงได้จาก: http://
www.tnt-press.com/[ม.ป.ป.], สบื ค้น 11 พฤษภาคม 2560
“การเข้าเล่มหนังสอื (Binding)” [ออนไลน]์ , เขา้ ถงึ ไดจ้ าก: http://ric-
coprint.com/archives/1037 [ม.ป.ป.], สบื คน้ 10 พฤษภาคม 2560
“ชนิดของกระดาษ” [ออนไลน์], เข้าถงึ ไดจ้ าก: http://www.supreme-
print.net/index.php?lay=show&ac =article&Id=538771416
[ม.ป.ป.], สบื คน้ 6 พฤษภาคม 2560
“การใช้กระดาษส�ำ หรบั งานพมิ พ”์ [ออนไลน์], เขา้ ถงึ ไดจ้ าก; http://
www.supremeprint.net/index.php?lay=show&ac=arti-
cle&Id=538773283 [ม.ป.ป.], สืบค้น 3 พฤษภาคม 2560
“การใชก้ ระดาษสำ�หรับงานพมิ พ”์ [ออนไลน]์ , เขา้ ถึงไดจ้ าก: http://
www.thaipaper.com/products-and-services/product-by-appli-
cation/printing-and-writing-papers/ [ม.ป.ป.], สืบค้น 6 พฤษภาคม
2560
วลิ าศ พรมฤทธ.์ิ รองประธานชมรมธรุ กจิ สง่ิ พมิ พภ์ าคเหนอื . สมั ภาษณ, 13
พฤษภาคม 2560.


Click to View FlipBook Version