The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

วัฏสงสาร_๓๑_ภูมิ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pichitmcu, 2021-01-13 05:31:53

วัฏสงสาร๓๑ภูมิ

วัฏสงสาร_๓๑_ภูมิ

วฏั สงสาร ๓๑ ภมู ิ

วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ผนู้ ำเสนอ : พระมหาไพศาล อธิวโร
ผ้พู ิสจู นอ์ ักษร : พระมหาธเนศ ธมฺมทินโฺ น / พระรตั นพล รตั โน
ผใู้ หค้ ำแนะนำ : พระมหาศภุ ฤกษ์ มคโฺ ล

ผู้จัดพิมพ์ พระมหาปยิ ะพนั ธิ์ โสภณสีโล
: กลมุ่ ลกู ศิษยท์ ่านพ่อลี ธมมฺ ธโร วดั อโศการาม

ขอขอบคุณ “พระภกิ ษทุ ุกรูป และญาตโิ ยม อบุ าสก อุบาสิกาทกุ ท่าน
และทุกคนท่ใี ห้การสนบั สนุน”

Dhammaintrend รว่ มเผยแพรแ่ ละแบง่ ปันเป็ นธรรมทาน

๓วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

คำนำ

หนังสือ “วฏั สงสาร ๓๑ ภมู ”ิ ฉบับน้ี จดั ทำขึน้ จากแผนภมู ิ “วัฏสงสาร ๓๑
ภมู ”ิ ฉบับปรับปรงุ ใหม่ ลงวันท่ี ๑๖ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๙ ของพระสมบุญ วราสโย
นำมาจัดเรียงพิมพ์เป็นหนังสือให้อ่านง่ายขึ้น เพื่อเผยแพร่เป็นธรรมทานแก่
พุทธศาสนิกชนทั้งหลาย ด้วยความมุ่งหมายให้ผู้ที่สนใจได้เห็นความเกี่ยวเนื่องกัน
ของกรรมหรอื การกระทำของมนษุ ย์ ที่จะส่งผลตดิ ตามชาตภิ พภูมิอนั เปน็ ที่ไปทดี่ ี
กล่าวคือ สวรรค์ สว่ นผ้ทู ่ีกระทำกรรมช่ัว ผลกรรมยอ่ มส่งผลใหม้ ภี พภูมอิ ันเปน็ ท่ไี ป
สคู่ วามลำบาก กล่าวคอื นรก นนั่ เอง พุทธศาสนิกชนผสู้ นใจใฝ่ศกึ ษา พึงขจัดมจิ ฉา-
ทิฏฐิ คอื ความเหน็ ผิด ออกไปจากจิตใจ เปิดใจให้กว้าง เห็นจริงในสจั ธรรมทว่ี ่า ทำดี
ไดด้ ี ทำชว่ั ได้ชว่ั แล้วย่อมเปน็ การเริ่มตน้ การประพฤตปิ ฏิบัติตามหลกั ธรรมคำสัง่ สอน
ของพระพทุ ธองค์ คือการกระทำความดี ละเวน้ ความชว่ั ตลอดจนการทำจติ ใจให้
บรสิ ทุ ธิ์น่นั เอง

หนงั สอื วฏั สงสาร ๓๑ ภูมิ ฉบบั นี้ จะได้แสดงภพภมู เิ ป็นที่ไปของสตั ว์ผูม้ กี รรม
แตกต่างกนั แบง่ เป็นส่วนของสวรรคแ์ ละนรก ในแต่ละสว่ นกย็ งั แยกยอ่ ยไปต่างๆ
มแี สดงลกั ษณะของกรรมท่ีได้กระทำมา อนั เป็นเหตใุ หต้ อ้ งมาอยใู่ นภพภมู ินัน้ ๆ คณะ
ผู้จัดทำไดเ้ ล็งเห็นว่าหนังสือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่พุทธศาสนา จึงได้จัดพิมพ์
แจกเปน็ ธรรมทาน และขอคุณพระศรรี ัตนตรัย และส่งิ ศกั ดส์ิ ทิ ธิท์ ัง้ หลาย จงอำนวย
พรแด่ท่านผู้อ่าน ผู้ได้ทราบถึงสัจธรรมแห่งผลกรรมตามสนองอย่างนี้ และเป็นผู้
เพยี รประกอบกรรมดี หมน่ั ทำบญุ ทำทาน รกั ษาศีล ปฏิบตั ภิ าวนา ใหจ้ ิตใจ บริสุทธิ
ผอ่ งใสจงเปน็ ผูป้ ระสพความสขุ ความเจรญิ และเป็นผู้มีสุคติ เปน็ ท่ี ไปในเวลาทส่ี ดุ
แห่งอัตภาพเทอญ

พระมหาปยิ พนั ธ์ โสภณสีโล / ผเู้ ขียน

๔ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๕วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

โลกเบ้อื งต่ำ

อบายภูมิ ๔

ได้แก่ นรก เปรต อสรุ กาย เดรจั ฉาน
โลกนรกประกอบดว้ ย

มหานรก ๘ ขุม อุสสทนรก ๑๒๘ ขุม

ยมโลกนรก ๓๒๐ ขมุ โลกันตร์นรก ๑ ขุม
มหานรก ๘ ขมุ

(แต่ละช้นั ห่างกันประมาณ ๑๕,๐๐๐ โยชน)์
๑. สัญชวี นรก นรกทส่ี ัตวน์ รกไม่มวี นั ตาย อายุ ๕๐๐ ปีอายุกัป
(๑ วันนรก = ๙ ลา้ นปีมนุษย)์

บพุ กรรม เม่อื เป็นมนุษยม์ จี ติ ไม่บรสิ ทุ ธ์ิ หยาบช้าลามกก่อ
กรรมทำเขญ็ เชน่ ฆา่ เนือ้ เบอื่ สัตว์ เบยี ดเบียนบุคคลที่ต่ำกว่าตน
โดยความไม่เปน็ ธรรมให้ไดร้ บั ความเดอื ดรอ้ นเป็นนจิ ฯลฯ
๒. กาฬสุตตนรก นรกทลี่ งโทษดว้ ยเสน้ เชอื กดำ แลว้ ก็ถากหรอื
ตดั ด้วยเครื่องประหาร อายุ ๑,๐๐๐ ปีอายุกัป (๑ วนั นรก = ๓๖
ลา้ นปมี นุษย์)

บุพกรรม เมอื่ เป็นมนุษยม์ ีใจบาป ทำการทรมานสตั วด์ ้วย
การตดั เทา้ หู ปาก จมกู ทำรา้ ยบิดามารดา ครู ฯลฯ เบียดเบยี นหรอื

๖ วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ฆา่ ภกิ ษุสามเณร ดาบส หรอื เป็นเพชฌฆาต
๓. สงั ฆาฏนรก นรกทม่ี ีภเู ขาเหล็กใหญม่ ไี ฟลกุ โพลงบดขยส้ี ัตว์
นรก อายุ ๒,๐๐๐ ปอี ายุกปั (๑ วนั นรก = ๑๔๔ ลา้ นปีมนุษย์)

บพุ กรรม เมื่อเปน็ มนุษย์ใจบาปหยาบชา้ ดว้ ยใจอกศุ ลกรรม
ไรค้ วามเมตตากรณุ า ทำทารณุ กรรมสตั วด์ ว้ ยวิธกี ารต่างๆ เป็นประ
จำ หรอื บคุ คลทท่ี รมานเบยี ดเบียนสัตว์ที่ตนใช้ประโยชน์ และพวก
นายพราน

๔. โรรวุ นนรก (ธมู โวรวุ หรือจูฬโรรวุ ) นรกทีเ่ ตม็ ไปดว้ ยเสยี งรอ้ ง
ไห้ครวญครางดังของสัตวน์ รกที่ถูกควนั ไฟอบอา้ ว อายุ ๔,๐๐๐ ปี
อายกุ ปั (๑ วันนรก = ๕๗๖ ลา้ นปีมนุษย์)

บุพกรรม เมอื่ เปน็ มนษุ ยม์ ีใจบาปเผาสัตวท์ ้งั เปน็ ตดั สินความ
ไมย่ ตุ ิธรรม รกุ ทด่ี นิ เอาสาธารณสมบตั มิ าเป็นของตน กนิ เหลา้ เมา
ประทุษรา้ ยผูอ้ ่ืน ชาวประมง คนทเ่ี ผาปา่ ทสี่ ัตวอ์ าศัยอยู่
๕. มหาโรรวุ นรก (ชาลโรรุว) นรกทเ่ี ต็มไปดว้ ยเสยี งรอ้ งไห้ครวญ
ครางดงั กว่าโรรวุ นรก อายุ ๘,๐๐๐ ปีอายกุ ปั (๑ วนั นรก = ๒,๓๐๔
ลา้ นปมี นษุ ย์)

บุพกรรม เม่ือเป็นมนุษยม์ ีใจบาป ตดั คอสัตวแ์ ละมนุษย์ ฆ่า
สัตวด์ ว้ ยความโกรธ ปลน้ ขโมยทรพั ยส์ มบัติของพอ่ แม่ ครูบาอา-
จารยแ์ ละของศาสนา เชน่ ของภกิ ษุ สามเณร ดาบส แม่ชี และส่ิงของ

๗วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

เครอ่ื งสักการะที่เขาบูชาพระรัตนตรัย ปลน้ โกงเอามาเปน็ ของตน
๖. ตาปนรก (จฬู ตาปน) นรกทที่ ำใหส้ ัตวเ์ รา่ รอ้ น ดว้ ยการใหน้ ่ัง
ตรึงติดอยู่ในหลาวเหล็กอันร้อนแดงแล้วให้ไฟไหม้อยู่ อายุ
๑๖,๐๐๐ ปีอายุกปั (๑ วันนรก = ๙,๒๑๖ ล้านปมี นุษย)์

บุพกรรม เมอ่ื เป็นมนุษยเ์ ปน็ คนใจบาป ประกอบกรรมดว้ ยโล
ภะ โทสะ โมหะ เช่น ฆ่าสตั วเ์ พ่ือเล้ยี งชพี และคนทเี่ ผาบา้ นเมอื ง กฏุ ิ
โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรยี ญ ปราสาท ทำลายเจดยี ์
๗. มหาตาปนรก (ปตาปน) นรกทเ่ี ต็มไปดว้ ยความเรา่ รอ้ นอยา่ ง
มากมายเหลือประมาณ อายุ ครงึ่ อันตรกัปของมนุษย์

บพุ กรรม เมื่อเปน็ มนษุ ยม์ ีใจบาปหนาไปดว้ ยอกศุ ลมลทนิ เชน่
ประหารคนหรือประหารสัตว์ใหต้ ายเป็นหมู่มาก ๆ ไม่คำนึงถึง
ชวี ติ เขาชวี ิตท่าน และคนทม่ี ีอจุ เฉททฏิ ฐิ สัสสตทฏิ ฐิ นัตถิกทิฏฐิ
อเหตุกทฏิ ฐิ และอกริ ิยาทิฏฐิ อยา่ งใดอย่างหนง่ึ หรือ หลายอยา่ ง
๘. อเวจีนรก นรกที่ปราศจากคล่ืนคอื ความบางเบาแห่งความทกุ ข์
อายุ ประมาณ ๑ อนั ตรกัปของมนุษย์

บุพกรรม เมื่อเป็นมนุษย์ได้ทำอนันตริยกรรมอย่างใดอย่าง
หนงึ่ คือ ฆ่ามารดาบิดา พระอรหันตท์ ำร้ายพระพทุ ธเจ้าให้หอ้ พระ-
โลหิต ทำสงั ฆเภท ยุยงให้สงฆแ์ ตกกนั และบุคคลท่ีทำลายพระพุทธ
เจดีย์ พระพุทธรูป ตน้ โพธทิ์ ี่ตรัสรู้โดยจติ คดิ ประทุษรา้ ย บคุ คลทีต่ -ิ

๘ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

เตียนพระอริยบุคคลพระสงฆ์ผู้มีคุณแก่ตน ผู้ที่ยิดถือนิยตมิจฉา
ทฏิ ฐิ ๓

อุสสทนรก ๑๒๘ ขมุ
(อยู่รอบ ๔ ทศิ ทิศละ ๔ ของมหานรกแต่ละขุม)
๑. คถู นรก สตั วน์ รกที่มาเกดิ ไดร้ บั ทุกขเวทนาอยู่ในนรกอจุ จาระ
เน่าโดยถูกหนอนกัดกินทั้งเนื้อและกระดูกตลอดจนอวัยวะภายใน
ท้ังหมด จนกว่าจะสนิ้ กรรมช่ัวของตน
๒. กกุ กฬุ นรก สัตวน์ รกทเ่ี กดิ มาไดร้ บั ทกุ ขเวทนา โดยถูกเผาด้วย
ขีเ้ ถ้าร้อนระอุ ร่างกายไหมย้ บั ยอ่ ยละเอยี ดเปน็ จณุ จนกว่าจะสิ้น
กรรมชัว่ ของตน
๓. สิมปลวิ นนรก สัตวน์ รกทง้ั หลายที่ยังมเี ศษอกศุ ลกรรมเหลอื
อยถู่ ึงแมพ้ น้ จากนรกขี้เถา้ รอ้ นแลว้ กย็ งั ไม่หลุดพน้ ยงั ต้องเสวยทุกข์
จากนรกป่าไมง้ ้วิ ต่อไปจนกว่าจะสน้ิ กรรมชัว่ ของตน
๔. อสปิ ตั ตวนนรก สตั ว์นรกท่มี าเกดิ ไดร้ บั ทุกขจ์ ากป่าไมใ้ บดาบ
เช่น ใบมะม่วงซงึ่ เปน็ หอกดาบและมีสนุ ัข แรง้ คอยทรมารขบกัดกิน
เลือดเนอื้ จนกว่าจะส้นิ กรรม
๕. เวตรณนี รก สัตว์นรกที่เกดิ มาได้รบั ทกุ ขจ์ ากน้ำเค็มแสบ ท่มี ี
เครอื หวายหนามเหลก็ ใบกลบี บัวหลวงเหล็กตง้ั อยูก่ ลางนำ้ ซ่ึงคม

๙วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

เป็นกรด มเี ปลวไฟลกุ โชนอยูต่ ลอดเวลา จนกว่าจะสิ้นกรรมชั่วของ
ตน

ยมโลกนรก (๓๒๐ ขมุ )
(อยู่รอบ ๔ ทิศ ทิศละ ๑๐ ของมหานรกแตล่ ะขมุ )
๑. โลหกมุ ภนี รก เปน็ หม้อเหลก็ ขนาดใหญเ่ ทา่ ภเู ขา เต็มไปดว้ ย
น้ำแสบร้อนเดือดพล่านตลอดเวลา สัตว์ที่มาเกิดต้องรับทุกขท์ ั้ง
แสบทั้งรอ้ นเสวยทุกขเวทนาอย่างแสนสาหัส ถูกต้มเคี่ยวในหมอ้
เหลก็ นรกน้นั จนกว่าจะสิน้ กรรมชวั่ ที่ตนได้ทำมา
บุพกรรม เช่น จับสตั วเ์ ปน็ ๆ มาตม้ ในหม้อน้ำรอ้ น แล้วเอามา
กนิ เป็นอาหาร
๒. สิมพลนี รก เตม็ ไปด้วยปา่ งิ้วนรก มหี นามแหลมคมเปน็ กรด
ยาวประมาณ ๓๖ องคุลี ลกุ เปน็ เปลวไฟแรงอยูเ่ สมอ สตั ว์นรกท่ีมา
เกิดตอ้ งรับทุกขท์ รมานจนสนิ้ กรรมชว่ั ของตน
บพุ กรรม เชน่ คบชู้ส่สู าว ผิดศีลธรรมประเพณี ชายเป็นชู้กับ
ภรรยาของผู้อ่ืน หญิงเปน็ ชู้กับสามีของผอู้ ืน่ หรือชายหญงิ ทีม่ ภี รรยา
หรือสามี ประพฤตินอกใจไปสหู่ าเป็นช้กู ับผู้อื่น มักมากในกามคุณ
๓. อสินขะนรก สัตว์นรกที่มาเกิดมรี ูปรา่ งแปลกพิกล เช่น เลบ็ มอื
เลบ็ เทา้ แหลมยาว กลบั กลายเปน็ อาวธุ หอก ดาบ จอบ เสยี ม สัตว์

๑๐วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

นรก เหล่านี้เหมอื นคนบา้ วิกลจริต บา้ งนั่ง บ้างยนื เอาเลบ็ มอื ถาก
ตะกยุ เนอ้ื หนงั ของตนกินเปน็ อาหารตลอดเวลา จนกว่าจะสน้ิ กรรม

บพุ กรรม เช่น เมอ่ื เปน็ มนุษยช์ อบลกั เล็กขโมยนอ้ ย ขโมยของ
ในสถานทีส่ าธารณะและของท่เี ขาถวายแด่พระพทุ ธ พระธรรม พระ
สงฆ์
๔. ตามโพทะนรก มหี ม้อเหล็กต้มนำ้ ทองแดงปนดว้ ยหนิ กรวด
รอ้ นระอตุ ลอดเวลา สตั วน์ รกทม่ี าเกดิ ต้องรบั ทกุ ข์ โดยการถกู กรอก
ด้วยน้ำทองแดง และกรวดหนิ เข้าไปทางปากจนกวา่ จะส้ินกรรม

บพุ กรรม ดว้ ยผลกรรมท่ที ำไว้ในชาตกิ ่อนๆ เป็นคนใจอ่อนมัว
เมาประมาท ดมื่ กินสรุ าเมรยั แสดงอาการคล้ายคนบ้าเปน็ เนือง
นจิ

๕. อโยคฬุ ะนรก เต็มไปดว้ ยกอ้ นเหล็กแดงเกลือ่ นกลาดไปหมด
อกุศลกรรมบันดาลสัตว์นรกที่มาเกิดเห็นกอ้ นเหล็กแดงเป็นอาหาร
เมื่อกินเข้าไปแล้วเหลก็ แดงนน้ั กเ็ ผาไหมไ้ สพ้ งุ ได้รบั ทกุ ขเวทนาจน
กว่าจะสน้ิ กรรม

บพุ กรรม เช่น แสดงตนว่าเป็นคนใจบญุ ใจกศุ ล เรื่ยไรทรพั ย์ว่า
จะนำไปทำบญุ สรา้ งกศุ ล แต่กลบั ยกั ยอกเงินทำบญุ ของผูอ้ ่ืนมาเปน็
ของตน การกุศลกท็ ำบ้างไม่ทำบา้ งตามที่ได้อา้ งไว้ หลอกหลวงผู้อน่ื

๑๑วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๖. ปิสสกปพั พตะนรก มีภูเขาใหญ่ ๔ ทิศ เคลือ่ นที่ได้ไม่หยุด
หย่อนกลิ้งไปมาบดขยี้สัตว์นรกที่มาเกิดให้บี้แบนกระดูกแตกป่น
ละเอียดจนตายแล้วฟื้นขึ้นมาอีก ถูกบดขยี้อีกจนตายเรื่อยไปจน
สน้ิ กรรมของตน

บพุ กรรม เช่น เคยเป็นเจ้าหนา้ ทีฝ่ า่ ยปกครอง ประพฤติตนเปน็
เปน็ คนอันธพาล กดขข่ี ่มเหงราษฎร ทำร้ายร่างกาย เอาทรัพยเ์ ขา
มาให้เกินพิกัดอัตราที่กฏหมายกำหนด ไม่มีความกรุณาแก่คนทั้ง
หลาย

๗. ธุสะนรก สตั วน์ รกทม่ี าเกิดมีความกระหายนำ้ มาก เมื่อพบสระ
มีน้ำใสสะอาดก็ดื่มกินเข้าไป อำนาจของกรรมบันดาลให้น้ำนั้น
กลายเป็นแกลบ เปน็ ข้าวลีบลกุ เป็นไฟเผาไหม้ท้องและลำไส้ เสวย
ทกุ ขเวทนาแสนสาหัสจากกรรมชั่วทท่ี ำมา

บุพกรรม เช่น คดโกง ไม่มคี วามซ่ือสตั ย์ ปน ปลอมแปลงอาหาร
ละเครื่องใชแ้ ล้วหลอกขายผู้อื่น ได้ทรัพย์สินเงินทองมาโดยมิ-
ชอบ

๘. สีตโลสติ ะนรก เต็มไปด้วยน้ำเย็นยะเยือก เมือ่ สัตว์นรกทม่ี า
เกดิ ตกลงไปกจ็ ะตาย ฟ้นื ขน้ึ มาก็ถกู จบั โยนลงไปอกี เรือ่ ยไปจนสนิ้

กรรมชว่ั ของตน

๑๒วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

บพุ กรรม เช่น จบั สัตวเ์ ป็น ๆ โยนลงไปในบ่อ ในเหว ในสระ
น้ำ หรอื มัดสตั วเ์ ปน็ ๆ ท้งิ นำ้ ใหจ้ มน้ำตาย หรือทำใหเ้ พ่ือนมนษุ ย์
ด้วยกันไดร้ ับความทกุ ขแ์ ละตายเพราะนำ้
๙. สนุ ขะนรก เตม็ ไปดว้ ยสนุ ขั นรก ซึง่ มี ๕ พวก คอื หมานรกดำ
หมานรกขาว หมานรกเหลอื ง หมานรกแดง หมานรกต่างๆ และยงั
มีฝูงแรง้ กา นกตะกรุม สตั วน์ รกท่ีมาเกิดจะถูกสุนัข แรง้ กา ไล่ขบ
กัดตรงลกู ตา ปากและส่วนต่างๆ ไดร้ บั ทกุ ขเวทนาจากผลกรรมช่ัว
ทางวจที ุจรติ

บุพกรรม คอื ด่าว่าบิดามารดา ปยู่ ่าตายาย พช่ี ายพ่สี าว และ
ญาตทิ ัง้ หลายไมเ่ ลอื กหนา้ ไมว่ ่าจะเปน็ ผ้เู ฒา่ ผู้แก่ ตลอดจนพระภกิ -
ษสุ งฆส์ ามเณร
๑๐. ยันตปาสาณะนรก มีภเู ขาประหลาด ๒ ลูก เคล่ือนกระทบ

กันตลอดเวลา สตั วน์ รกทีม่ าเกดิ จะถกู ภเู ขาบีบกระแทก ไดร้ บั ทุกข
เวทนาแสนสาหัส ตายแล้วก็กลับเป็นขึ้นมาจนกว่าจะสิ้นกรรมชั่ว
ของตน

บุพกรรม เช่น เปน็ หญงิ ชายใจบาปหยาบชา้ ด่าตคี คู่ รองด้วย
ความโกรธ แลว้ หันเหประพฤตนิ อกใจไปคบช้เู ป็นสามีภรรยากบั คน
อนื่ ตามใจชอบ

๑๓วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

โลกนั ตรน์ รก
เปน็ นรกขมุ ใหญ่ อยนู่ อกจกั รวาล มืดมนไมม่ แี สง มองไม่เหน็
อะไร เลยและเต็มไปดว้ ยทะเลน้ำกรดเยน็
ทตี่ ้ัง อย่รู ะหว่าง โลกจักรวาล ๓ โลก เหมอื นกับวงกลม ๓ วง
ติดกนั คอื บรเิ วณช่องว่างของวงทัง้ ๓ สตั วน์ รกท่มี าเกิดตอ้ งรับทุก
ขเวทนาเปน็ เวลา ๑ พทุ ธันดร จากผลกรรมชวั่ เชน่ ทรมานประทุษ
รา้ ยต่อบิดามารดา และผ้ทู รงศีลทรงธรรม หรอื ทำปาณาติบาตเปน็
อาจิณ ฆ่าตัวตายเป็นตน้

เปตติวสิ ยภูมิ (โลกเปรต)

โลกที่อยู่ของสัตว์ผู้ห่างไกลจากความสุข มีมหิทธิกเปรตเป็น
เจา้ ปกครองดูแล อายุ ไม่แนน่ อนแลว้ แต่กรรม ได้แก่

เปรต ๑๒ ชนดิ คือ ๑. วนั ตาสเปรต กนิ นำ้ ลาย เสมหะ อาเจียน
เป็นอาหาร ๒. กณุ ปาสเปรต กนิ ซากศพคน หรือสัตว์เปน็ อาหาร
๓. คูถขาทกเปรต กนิ อุจจาระต่างๆ เป็นอาหาร ๔. อคั คิชาลมขุ
เปรต มเี ปลวไฟลุกอยู่ในปากเสมอ ๕. สจู มิ ุขาเปรต มีปากเท่ารเู ขม็
๖. ตณั หฏั ฏติ เปรต ถกู ตัณหาเบยี ดเบยี นใหห้ วิ ขา้ ว หิวน้ำอย่เู สมอ
๗. สนุ ชิ ฌามกเปรต มลี ำตัวดำเหมือนตอไมเ้ ผา ๘. สัตถงั คเปรต มี
เล็บมือเลบ็ เทา้ ยาวและคมเหมอื นมดี ๙. ปพั พตงั คเปรต มีรา่ งกาย

๑๔ วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

สูงใหญ่เทา่ ภูเขา ๑๐. อชครงั คเปรต มรี า่ งกายเหมือนงูเหลอื ม ๑๑.
เวมานกิ เปรต ต้องเสวยทกุ ขใ์ นเวลากลางวนั แต่กลางคืนไดไ้ ปเสวย
สุขในวมิ าน ๑๒. มหิทธิกเปรต มีฤทธิ์มาก ทอี่ ยู่ เชิงภเู ขาหิมาลัยใน

ป่าวชิ ฌสฏวี

เปรต ๔ ประเภท คือ ๑. ปรทัตตปุ ชีวกิ เปรต มีการเล้ียงชวี ติ

อยโู่ ดยอาศัยอาหารทผี่ อู้ ่นื ให้ ๒. ขปุ ปิปาสิกเปรต ถูกเบียดเบยี น
ดว้ ยการหวิ ขา้ ว หวิ น้ำ ๓. นิชฌามตัณหิกเปรต ถูกไฟเผาให้เร่ารอ้ น
อยเู่ สมอ ๔.กาลกญั จกิ เปรต (ชอ่ื ของอสูรกาย ทีเ่ ป็นเปรต) มรี า่ งกาย
สูง๓ คาวุต มเี ลือดและเนอื้ น้อยไม่มแี รง มีสีสันคล้ายใบไมแ้ หง้
ตาถลนออกมาเหมือนตาปู และมปี ากเทา่ รูเขม็ ตัง้ อยู่กลางศรีษะ

เปรต ๒๑ จำพวก คอื มงั สเปสิกเปรต มเี น้ือเปน็ ช้นิ ๆ ไมม่ ีกระ
ดกู กุมภัณฑ์เปรต มอี ัณฑะใหญโ่ ตมาก นิจฉวติ กเปรต เปรตหญงิ
ท่ไี ม่มหี นัง ทคุ คนั ธเปรต มกี ล่ินเหม็นเนา่ อสีสเปรต ไม่มศี รี ษะ ภกิ -
ขเุ ปรต มรี ูปร่างสัณฐานเหมือนพระ สามเณรเปรต มรี ปู ร่างสัณฐาน
เหมือนสามเณร ฯลฯ

บุพกรรม ประพฤติอกุศลกรรมบท ๑๐ ประการ เม่ือขาดใจ

ตายจากมนุษยโลก หากอกศุ ลกรรมสามารถนำไปสูนิรยภูมิได้ ต้อง
ไปเสวยทกุ ขโทษในนรกกอ่ น พอสน้ิ กรรมพน้ จากนรกแลว้ เศษบาป

๑๕วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ยังมีก็ไปเสวยผลกรรมเป็นเปรตต่อภายหลัง หรือมีอกุศลกรรมที่
เกิดจากโลภะนำมาเกิด

คตินมิ ิต นมิ ติ ทบี่ ่งบอกถึงโลกเปรต เชน่ เหน็ หุบเขา ถำ้ อันมืด
มิดที่วงั เวง และปลอดเปล่ียว หรอื เห็นเปน็ แกลบ และข้าวลบี มาก
มายแล้วรสู้ ึกหวิ โหยและกระหายน้ำเป็นกำลัง บางทเี หน็ ว่าตนด่มื
กินเลือดน้ำหนองที่น่ารังเกียจสะอิดสะเอียน หรือเห็นเป็นเปรตมี
ร่างกายผา่ ยผอมนา่ เกลียดน่ากลวั เน้ือตวั สกปรกรกรงุ รงั ฯลฯ หาก
ภาพเหล่านมี้ าปรากฏทางใจแลว้ จติ ยดึ หน่วงเป็นอารมณ์ เมอื่ ดับจติ
ตายขณะนั้น ต้องบังเกิดเป็นเปรตเสวยทุกขเวทนาตามสมควรแก่
กรรมอยา่ งแนน่ อน

อสรุ ภายภมู ิ (โลกอสุรกาย)

ภูมิอนั เปน็ ทีอ่ ย่ขู องสัตวอ์ นั ปราศจากความเป็นอสิ ระและสนกุ
รืน่ เรงิ แบ่งเปน็ ๓ ประเภท คอื เทวอสุรา เปตติอสรุ า นริ ยอสุรา

เทวอสุรา มี ๖ จำพวก คอื ๑. เวปจติ ตอิ สรุ า ๒. สุพลิอสุรา
๓. ราหุอสุรา ๔. ปหารอสรุ า ๕. สมั พรตือสรุ า ๖. วินปิ าติกอสรุ า
๕ จำพวกแรกเปน็ ปฏปิ กั ษต์ ่อเทวดาช้นั ตาวติงสา อยู่ใต้ภูเขาสเิ นรุ
สงเคราะหเ์ ขา้ ไปในจำพวกเทวดาชัน้ ตาวติงสา ส่วนวนิ ปิ าตกิ อสุรา
มีรปู รา่ งสัณฐานเลก็ กว่า และอำนาจก็นอ้ ยกว่าเทวดาช้นั ดาวติงสา

๑๖ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

เท่ียวอาศัยอยใู่ นมนุษย์โลกท่วั ไป เช่น ตามป่า ตามเขา ตน้ ไม้ และ
ศาลทเ่ี ขาปลกู ไว้ ซึง่ เปน็ ที่อยขู่ องภุมมัฏฐเทวดาทงั้ หลาย แต่เปน็
เพียงบรวิ ารของภุมมัฏฐเทวดาเท่านนั้ สงเคราะหเ์ ข้าในจำพวกเทว-
ดา ชน้ั จาตุมหาราชกิ า

เปตตอิ สรุ ามี ๓ จำพวก คอื ๑. กาลกัญจิกเปรตอสุรา ๒. เว-
มานกิ เปรตอสรุ า ๓. อาวุธิกเปรตอสรุ า เปน็ เปรตท่ีประหัตประหาร
กนั และกันด้วยอาวธุ ตา่ งๆ

นริ ยอสรุ า เป็นเปรตจำพวกหน่งึ ทเ่ี สวยทุกขเวทนาอย่ใู นนรก
โลกนั ตร์ นรกโลกันตรต์ ง้ั อย่รู ะหว่างกลางของจกั รวาลทัง้ สาม อสรุ -
กายน้ีหมายเอาเฉพาะกาลกัญจิกเปรตอสรุ กายเทา่ นนั้

อายุและบุพกรรม เชน่ เดียวกบั โลกเปรตนรก

ดิรจั ฉานภมู ิ (โลกเดรัจฉานอย่ใู นโลกมนุษย)์

โลกของสัตวท์ ี่มคี วามยินดีในเหตุ ๓ ประการ คอื การกนิ
การนอน การสืบพันธุ์ แบ่ง เปน็ ๔ ประเภทคือ

อปทตริ ัจฉาน (ไม่มีเท้า ไม่มีขา) เช่น งู ปลา ไส้เดอื น ฯลฯ
ทวปิ ทติรจั ฉาน (มี ๒ ขา) เชน่ นก ไก่ ฯลฯ
จตุปทตริ ัจฉาน (มี ๔ ขา) เช่น ววั ควาย ฯลฯ

๑๗วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

พหุปทตริ จั ฉาน (มมี ากกวา่ ๔ ขา) เชน่ ตะขาบ ก้งิ กือ ฯลฯ
อายุ ไม่แนน่ อน แล้วแต่กรรมทนี่ ำไปเกิดในสตั วป์ ระเภทต่างๆ ตาม
อายขุ องสัตวป์ ระเภทนัน้ ๆ

บุพกรรม เป็นมนุษยจ์ ิตไมบ่ รสิ ุทธ์ิ ประพฤตอิ กุศลกรรม อัน
หยาบช้าลามกทั้งหลายหรือเพราะอำนาจของเศษบาปอกุศลกรรม
ทตี่ นทำไว้ใหผ้ ล หรอื เป็นเพราะเมอื่ เป็นมนษุ ย์ไม่ได้ก่อกรรมทำชัว่
อะไร แต่เวลาใกลจ้ ะตายจติ ประกอบดว้ ยโมหะ หลงผดิ ขาดสติ ไม่
มสี รณะเปน็ ท่ีพ่ึงจะยดึ ใหม้ ั่นคง

คตินมิ ติ นมิ ติ ที่ช้บี อกถึงโลกเดรจั ฉานทต่ี นจะไป เชน่ เหน็ เป็น
ทุ่งหญ้า ป่าไม้ ดงหญา้ เชงิ เขา ชายน้ำ แม่นำ้ กอไผ่ และภูเขา เป็น
ต้น บางทีเหน็ เปน็ รูปสัตว์ทง้ั หลาย เช่น ชา้ ง เสือ ววั ควาย หมู หมา
เปด็ ไก่ แรง้ กา เหย้ี นก หนู จิง้ จก ฯลฯ หากภาพเหลา่ นีม้ าปรากฏ
ทางใจ แล้วจิตยึดหน่วงเป็นอารมณ์ เมื่อดับจิตตายขณะนั้นตอ้ ง
เกิดเปน็ สตั วเ์ ดรัจฉานอยา่ งแน่นอน

“ธรรมะ” เมอื่ เกดิ ขนึ้ แล้วไม่ตาย ตายแล้วไม่เกดิ ...ตายแล้วเกดิ
หมายถึงกิเลส อวิชชา ตณั หา อปุ าทานดบั ...
เกิดไม่ตายหมายถึง พทุ ฺโธ ธมฺโม สงโฺ ฆซ่งึ อยใู่ นโลกนี้
ไม่มวี นั สญู ไปไหน...ท่านพ่อลี ธมมฺ ธโร

๑๘ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๑๙วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

โลกเบอื้ งกลาง

เทวภูมิ ๖

กับ

โลกมนุษย์ ๑

(แต่ละชน้ั ห่างกนั ประมาณ ๔๒,๐๐๐ โยชน์)
เทวโลก จุตมิ าดว้ ยอานิสสงฆข์ องทานและศีล ต่างช้นั กนั ไป
ดว้ ย ความประณตี ของทานและความบริสุทธข์ องศลี ท่ีรักษา (อย่าง
น้อยศีล ๕)
เทวภมู ิ ๖

๑. จาตมุ หาราชกิ าภมู ิ (สวรรค์ ช้ันที่ ๑) เป็นทอ่ี ยขู่ องเทพยดาชาว
ฟ้า มีท้าวมหาราช ๔ พระองค์ปกครองคอื ๑. ทา้ วธตรัฐมหาราช
๒. ท้าววริ ฬุ หกมหาราช ๓. ทา้ ววิรปู กั ษ์มหาราช และ ๔. ทา้ วเวสสุ
วณั มหาราช (ทา้ วกุเวร) อายุ ๕๐๐ ปีทิพย์ (๙ ลา้ นปมี นษุ ย)์

บพุ กรรม เมอ่ื เปน็ มนษุ ย์ ชอบทำความดี สนั โดษ ยนิ ดีแต่ของ
ๆ ตน ชกั ชวนใหผ้ ้อู ื่นประกอบการกศุ ล ชอบให้ทาน ในการใหท้ าน
เป็นผ้มู ีความหวังใหท้ าน มจี ิตผกู พนั ในผลแห่งทานแลว้ ใหท้ าน มุ่ง
การสงั่ สมให้ทาน ใหท้ านด้วยความคิดว่า “เราตายแล้วจักไดเ้ สวย
ผลแห่งทานน”้ี และเป็นผูม้ ีศลี ฯลฯ (ผหู้ วังผลของทาน)

๒๐ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๒. ตาวตงิ สาภมู ิ (สวรรค์ ชัน้ ท่ี ๒) ทีเ่ รียกว่าไตรตรึงษห์ รือดาวดึงส์
เป็นเมอื งใหญม่ ี ๑,๐๐๐ ประตู มีพระเกศจฬุ ามณีเจดยี ์ มีไม้ทิพยช์ ่ือ
ปาริชาตกัลปพฤกษ์ สมเด็จพระอมรินทราธิราชเป็นผู้ปกครอง
อายุ ๑,๐๐๐ ปีทิพย(์ ๓๖ ล้านปมี นุษย)์

บพุ กรรม เมอ่ื เป็นมนษุ ยม์ จี ติ บริสทุ ธ์ิ ยนิ ดใี นการบรจิ าคทาน
ในการใหท้ าน เป็นผ้ไู มม่ คี วามหวังใหท้ าน ไมม่ จี ิตผูกพันในผลแห่ง
ทานแลว้ ให้ ไม่มงุ่ การสัง่ สมใหท้ าน ไม่ไดใ้ ห้ทานดว้ ยความคดิ ว่า
“ตายแลว้ เราจักได้เสวยผลทานน”้ี แต่ใหท้ านดว้ ยความคิดว่า “การ
ใหท้ านเปน็ การกระทำด”ี งดงามดว้ ยพยายามรกั ษาศลี ไมด่ ูหมิ่น
ดูแคลนผ้ใู หญใ่ นตระกูล ฯลฯ (ผทู้ ไี่ ม่หวงั ผลของทาน แต่หวงั ใน
ความดี)

๓. ยามาภมู ิ (สวรรค์ ช้นั ที่ ๓) เป็นทอ่ี ยู่ของเทพยดาผ้มู แี ต่ความสขุ
อันเป็นทพิ ย์ มที า้ วสุยามเทวราชเป็นผู้ปกครอง อายุ ๒,๐๐๐ ปี
ทิพย์ (๑๔๔ ลา้ นปมี นษุ ย)์

บุพกรรม เมือ่ เป็นมนุษยม์ จี ติ บริสทุ ธ์ิ พยายามสรา้ งเสบยี ง ไม่
หว่นั ไหวในการบำเพญ็ บุญกุศล ในการใหท้ าน เปน็ ผู้ไม่มคี วามหวงั
ใหท้ าน ไม่มจี ิตผกู พนั ในผลแห่งทานแลว้ ใหท้ าน ไมไ่ ด้ให้ทานด้วย
ความคิดว่า “การใหท้ านเป็นการกระทำดี” แต่ให้ทานดว้ ยความคิด

๒๑วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ว่า “บดิ า มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้ เคยทำมา เรากไ็ ม่ควรทำให้
เสียประเพณ”ี รกั ษาศีล มีจิตขวนขวายในพระธรรม ทำความดดี ว้ ย
ใจจริง (ผู้ที่ไม่หวังความดีตอบแทน แต่ทำทานเพราะเห็นว่า
สมควรทำ)

๔. ตุสิตาภมู ิ (สวรรค์ ชั้นท่ี ๔) เปน็ ทอ่ี ยู่ของเทพเจ้าผมู้ ีความยนิ ดี
แช่มช่ืนเปน็ นิจ มีทา้ วสันดสุ ิตเทวราชปกครอง อายุ ๔,๐๐๐ ปที พิ ย์
(๕๗๖ ลา้ นปมี นษุ ย์)

บุพกรรม เมอื่ เปน็ มนุษยม์ จี ิตบรสิ ทุ ธิ์ ยนิ ดมี ากในการบริจาค
ทาน ในการให้ทาน เปน็ ผไู้ มม่ ีความหวังใหท้ าน ไม่มจี ติ ผกู พันในผล
แหง่ ทานแล้วใหท้ าน ไม่ม่งุ การสง่ั สมใหท้ าน ไมไ่ ด้ใหท้ านดว้ ยความ
คิดว่า “บิดา มารดา ปู่ ย่า ตา ยาย เคยให้เคยทำมา เราไมค่ วรทำ
ใหเ้ สยี ประเพณ”ี แต่ใหท้ านด้วยความคิดว่า “เราหงุ หากนิ แต่สม
ณะหรอื พราหมณท์ ้ังหลายไม่ไดห้ ุงหากนิ เราหุงหากนิ ได้ จะไม่ให้
ทานแก่สมณะหรือพราหมณผ์ ไู้ มห่ ุงหากิน ยอ่ มเปน็ การไมส่ มควร”
ทรงศีล ทรงธรรม ชอบฟงั พระธรรมเทศนาหรอื เป็นพระโพธิสตั ว์รู้
ธรรมมาก ฯลฯ (ใหท้ านดว้ ยความเมตตา)
๕. นิมมานรตีภูมิ (สวรรค์ ช้นั ที่ ๕) เปน็ ที่อยขู่ องเทพเจา้ ผ้ยู ินดีใน
กามคุณอารมณ์ ซง่ึ เนรมติ ข้ึนมาตามความพอใจ มีทา้ วสนุ ิมมิตเทว-

๒๒วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ราชปกครอง อายุ ๘,๐๐๐ ปีทพิ ย์ (๒,๓๐๔ ลา้ นปมี นษุ ย)์
บพุ กรรม เมือ่ เปน็ มนษุ ย์มจี ติ บรสิ ทุ ธ์ิ ยนิ ดยี งิ่ ในการบริจาคทาน

ในการใหท้ าน เปน็ ผไู้ มม่ คี วามหวงั ใหท้ าน ไม่มจี ติ ใจผกู พนั ในผล
แห่งทานแล้วให้ ไม่มุ่งการส่ังสมใหท้ าน ไม่ได้ให้ทาน ด้วยความคิด
ว่า “เราหงุ หากินไดแ้ ต่สมณะหรอื พราหมณท์ ้ังหลายไม่ได้หงุ หากนิ
เราหุงหากินได้ จะไม่ใหท้ านแก่สมณะหรือพราหมณ์ ผไู้ ม่หงุ หากิน
ย่อมเป็นการไม่สมควร” แต่ให้ทานดว้ ยความคดิ ว่า “เราจักจำแนก
แจกทานเช่นเดียวกับฤาษีท้งั หลายในกาลก่อน” ประพฤตธิ รรมสม่ำ
เสมอ พยายามรักษาศลี ไม่ใหข้ าดได้ มใี จสมบูรณ์ด้วยศีล และมวี ิร-ิ
ยะอตุ สาหะในการบรจิ าคทานเปน็ อันมาก เพราะผลวิบากแห่งทาน
และศลี อันสูงเท่านัน้ จึงอบุ ตั ิเกดิ ในสวรรค์ช้นั นี้ได้ (ให้ทานด้วย
ความเมตตาอย่างม่งุ มั่น)
๖. ปรนิมมติ วสวตั ตภี ูมิ (สวรรค์ ช้นั ที่ ๖) เปน็ ทอี่ ยูข่ องเทพเจา้ ซ่ึง
เสวยกามคุณอารมณ์ แบ่งเปน็ ฝา่ ยเทพดา มีทา้ วปรนมิ มติ เทวราช
ปกครองกบั ฝา่ ยมาร มีทา้ วปรนมิ มิตวสวตั ตมี าราธริ าชเป็นผู้ปก
ครอง อายุ ๑๖,๐๐๐ ปีทพิ ย์ (๙,๒๑๖ ลา้ นปมี นุษย)์

บุพกรรม เมื่อเปน็ มนษุ ย์มจี ิตบรสิ ทุ ธ์ิ อตุ ส่าห์ก่อสรา้ งกองการ
กุศลใหย้ งิ่ ใหญเ่ ป็นอกุ ฤษฏ์ อบรมจิตใจสงู ส่งไปดว้ ยคุณธรรม เมื่อจะ

๒๓วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๒๔ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ใหท้ านรักษาศลี กต็ อ้ งบำเพญ็ กนั อย่างจรงิ ๆ มากไปดว้ ยศรทั ธาปสา
ทะอยา่ งย่ิงยวดและถูกตอ้ ง ในการใหท้ าน เป็นผู้ไมม่ คี วามหวงั ให้
ทาน ไม่มจี ติ ผูกพันในผลแห่งทานแลว้ ใหท้ าน ไมม่ งุ่ การสัง่ สมให้
ทาน ไมไ่ ด้ให้ทานดว้ ยความคิดว่า “เราจักเปน็ ผจู้ ำแนกแจกทาน
เชน่ เดยี วกบั ฤาษที ้ังหลายแต่กาลก่อน” แต่ให้ทานดว้ ยความคดิ ว่า
“เม่อื เราให้ทานอย่างน้ี จิตของเราจะเลือ่ มใส จะเกิดความปล้มื ใจ
และโสมนัส” เพราะวิบากแหง่ ทาน และศีลอันสงู ย่ิงเทา่ น้ัน จึงอบุ ตั ิ
เกิดในสวรรค์ชัน้ นีไ้ ด้ (ใหท้ านด้วยความศรทั ธาในธรรม ทำด้วย
ใจบรสิ ุทธ)ิ์

โลกมนุษย์
มนษุ ยภ์ มู ิ เป็นที่อาศยั ของสัตวผ์ ูม้ ใี จสงู ในเชิงกลา้ หาญทีจ่ ะประ

กอบกรรม ตา่ งๆ ทง้ั ท่เี ปน็ กุศลกรรมและอกุศลกรรมแบง่ เป็น ๔
จำพวก คือ
๑. ผมู้ ืดมาแล้วมืดไป

บคุ คลทีเ่ กดิ ในตระกลู อันต่ำ ยากจน ขดั สน ลำบาก ฝืดเคือง
อยา่ งมากในการหาเลีย้ งชีพ มปี ัจจยั ๔ อย่างหยาบ เช่นมีอาหาร
และนำ้ น้อย มีเครอ่ื งน่งุ ห่มเก่า ร่างกายมอซอ หม่นหมอง หรอื มี

๒๕วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ร่างกายไม่สมประกอบ บา้ ใบ้ บอด หนวก หาทีน่ อน ท่ีอยู่อาศยั
ยารกั ษาโรค ไม่ใคร่ได้ และเขากลับประพฤตทิ จุ รติ ทางกาย วาจา
ใจ เมอื่ ตายไปยอ่ มเข้าถึงทุคตอิ บาย
๒. ผู้มดื มาแลว้ สว่างไป

บุคคลท่เี กดิ ในตระกลู ตำ่ ผิวพรรณหยาบ ฯลฯ แต่เขาเปน็ คน
มีศรทั ธา ไม่มีความตระหน่ี เปน็ คนมีความดำรปิ ระเสรฐิ มีใจไม่
ฟุ้งซ่าน ยอ่ มให้ทาน ย่อมลุกรับสมณะชีพราหมณ์หรือวณิพก
อืน่ ๆ ย่อมสำเนียกในกิริยามารยาท เรียบรอ้ ย ไมห่ า้ มคนที่กำลัง
จะให้ทาน เม่อื ตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์
๓. ผ้สู ว่างมาแล้วมดื ไป

เป็นบคุ คลผ้อู ุบตั ิเกิดในตระกลู สงู เป็นคนมัน่ ค่งั มงั่ มี มโี ภค

สมบตั ิมาก เปน็ ผู้มปี ัจจยั ๔ อันประณตี ทั้งเปน็ คนที่มรี ปู รา่ งสม
ส่วน สะสวย งดงาม ผวิ พรรณดนู ่าชมแต่กลับเป็นคนไมม่ ศี รัทธา
ตระหน่ี ไม่มีความเออื้ เฟอื้ กรณุ าอาทร มีใจหยาบชา้ มักขึ้งโกรธ
ยอ่ มด่า ย่อมบริภาษบคุ คลต่างๆ ไม่เว้นแมก้ ระทัง่ บดิ ามารดา สมณ
ชีพราหมณ์ ย่อมหา้ มคนทก่ี ำลังใหโ้ ภชนาหารแกค่ นทขี่ อ เมือ่ ตาย
ไปยอ่ มเขา้ ถึงทุคติอบาย
๔. ผสู้ ว่างมาแลว้ สว่างไป

เปน็ บุคคลทอ่ี บุ ัติเกิดในตระกลู สูง มีผิวพรรณงามและเขาย่อม

๒๖ วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ประพฤตสิ จุ รติ ทางกาย วาจา ใจ เม่อื ตายไปย่อมเข้าถงึ สุคติโลก
สวรรค์

บพุ กรรม กรรมของมนษุ ยท์ ีท่ ำในกาลก่อน ส่งผลใหม้ ีปฏปิ ทา
ต่างกนั เชน่ บางคนเป็นคนดี บางคนบา้ บางคนรวย บางคนจน บาง
คนมีปญั ญา บางคนเขลา ฯลฯ เพราะเหตปุ จั จยั ต่างๆ อาทิ

ปฏปิ ทาให้มอี ายุสนั้ เพราะเปน็ คนเหย้ี มโหดดุร้าย มกั คร่า
ชวี ิตสัตว์

ปฏิปทาให้มอี ายุยนื เป็นผ้เู ว้นขาดจากการทำชีวติ สัตว์ให้
ตก ล่วงไป มคี วามละอาย เอ็นดูอนเุ คราะห์ดว้ ยความเกื้อกลู
สรรพสตั วแ์ ละภตู อยู่

ปฏิปทามีโรคมาก เป็นผู้มีปกติเบียดเบียนสัตว์ดว้ ยมือ
ท่อนไม้ ก้อนดนิ กอ้ นหิน หรอื ศาตราอาวธุ ต่างๆ

ปฏิปทามโี รคนอ้ ย ไม่เบยี ดเบียนสตั วด์ ้วยมือ หรอื ศาสตรา
อาวุธต่างๆ มมี ดี ขวาน ดาบ ปืน เปน็ ต้น

ปฏิปทาให้มผี วิ พรรณทราม เปน็ คนมักโกรธ มากไปดว้ ย
ความแค้นเคือง ถูกเขาว่าเลก็ น้อยก็ขัดใจโกรธเคอื ง พยาบาทมาด
รา้ ย ทำความโกรธ ความรา้ ยและความขึง้ เคียดใหป้ รากฏ

ปฏปิ ทาใหม้ ีผิวพรรณงาม เป็นคนไมม่ ักโกรธ ไม่พยาบาท

๒๗วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ไม่มาดร้าย ไม่ทำความโกรธความร้าย และความข้งึ เคียดใหป้ รา-
กฏ

ปฏิปทาให้เปน็ คนมีศักดานอ้ ย คอื เปน็ คนมใี จรษิ ยามุ่ง ร้าย
ผูกใจในการอิจฉารษิ ยาในลาภสักการะ ความเคารพ ความ นับถอื

การไหวแ้ ละการบูชาของคนอืน่
ปฏิปทาให้เป็นคนมีศักดามาก เป็นคนไม่มีใจริษยาไม่-

มงุ่ ร้ายยินดดี ว้ ยในลาภสักการะ ความเคารพ ความนบั ถอื การไหว้
และการบชู าของคนอ่ืน

ปฏิปทาให้มีโภคะน้อย เป็นผู้ไม่ให้ขา้ ว น้ำ ผา้ ยาน ท่นี อน
ทอ่ี าศยั เป็นต้น

ปฏิปทาให้มโี ภคะมาก ชอบให้ทานมีอาหาร น้ำเคร่อื งน่มุ -
ห่ม ของหอม ที่นอนที่อาศัย เครื่องตามประทปี แก่สมณะหรือ ชี
พราหมณ์ เป็นตน้

ปฏปิ ทาให้เกิดในตระกลู ตำ่ เป็นคนกระดา้ ง เย่อหย่งิ ไม่
กราบ ไหวค้ นท่คี วรกราบไหว้ ไมล่ ุกรับคนที่ควรลกุ รบั ไม่ใหอ้ าสนะ
แก่คนทค่ี วรให้ ไม่ให้ทางแก่คนที่ควรใหท้ าง เป็นต้น

ปฏิปทาให้เกดิ ในตระกูลสูง เป็นคนอ่อนนอ้ มถอ่ มตน วจไี พ-
เราะ สงเคราะหเ์ อื้อเฟ้ือ รูจ้ ักยืนเคารพ ยืนรบั ยนื คำนับผูเ้ ฒา่ ผใู้ หญ่

๒๘วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

สกั การะแก่คนทีค่ วรสกั การะ เคารพคนทค่ี วรเคารพ นบั ถอื คนที่
ควรนับถือ บชู าคนท่คี วรบูชา เปน็ ตน้

ปฏปิ ทาทำใหม้ ปี ัญญาทราม คอื เป็นผู้ไมเ่ คยเข้าไปหาบณั -
ฑิต สมณะหรอื ชพี ราหมณแ์ ลว้ สอบถามว่า อะไรเป็นกุศล อะไรเป็น
อกศุ ล อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ โี ทษ อะไรควรเสพ อะไรไม่ควรเสพ
เปน็ ต้น

ปฏิปทาทำให้มีปัญญาหลักแหลม เป็นผู้มักเข้าไปสอบ
ถามบณั ฑติ สมณะหรือชีพราหมณ์ อะไรเปน็ กศุ ล อะไรไม่เป็นกศุ ล
อะไรมโี ทษ อะไรไมม่ ีโทษ อะไรเม่อื ทำลงไปแลว้ ย่อมเป็นไป เพ่อื
ความไม่เป็นประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความทุกข์สิ้นกาลนาน
อะไรเม่อื ทำไปแลว้ ย่อมเปน็ ไปเพอ่ื ประโยชนเ์ กื้อกลู เพอ่ื ความสขุ
ส้นิ กาลนาน ดังนี้

“ผปู้ ฏิบัติธรรม” จะต้องมกี ารเสียสละไม่เหน็ แก่ตวั บุคคลใดมีธรรม
อนั พอจะช่วยให้เปน็ ประโยชนแ์ ก่ผอู้ นื่ ได้ แต่ไม่ช่วย
พระพุทธเจ้าย่อมไม่ทรงสรรเสรญิ บคุ คลชนดิ นน้ั
และตวั เราเองกต็ เิ ตยี น ถ้าหากเราจะทำอย่างนน้ั บ้าง
เราก็สบายไปนานแล้ว ไม่ต้องมาลำบากอย่างนี้
ทุกสงิ่ ทกุ อย่างทท่ี ำไปน่กี เ็ พราะเห็นแก่ศาสนาเป็น
ส่วนใหญ่ ...ท่านพอ่ ลี ธมฺมธโร

๒๙วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๓๐ วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

โลกเบอื้ งสูง

ปฐมฌานภมู ิ ๓, ทตุ ยิ ฌานภมู ิ ๓,

ตติยฌานภูมิ ๓, และพรหมภูมติ ้งั แต่ชั้นที่ ๑๐ - ๒๐

(แต่ละชนั้ ห่างกนั ประมาณ ๕,๕๐๘,๐๐๐ โยชน)์
รปู พรหม ๑๖
อสงไขยปี = เลข ๑ ตามด้วยเลขศนู ย์อีก ๑๔๐ ตัว ๑ รอบ
อสงไขยปี = ๑ อนั ตรกปั
ช้ันท่ี ๑ - ๑๑ จตุ มิ าด้วยอานิสสงส์ สมถภาวนาชัน้ รปู ฌาน
ทง้ั ๔ ชนั้
ชน้ั ที่ ๑๒ - ๑๖ จุติมาดว้ ยอานสิ สงฆว์ ิปัสสนา - ภาวนาจนเกดิ
ปัญญาสำเรจ็ เปน็ พระอนาคามี
๑. พรหมปารสิ ัชชาภมู ิ พรหมโลก ชนั้ ที่ ๑ ภูมิอันเป็นท่ีอยู่
แห่งพระพรหม ผ้เู ป็นบริษทั ทา้ วมหาพรหม พระพรหม อายุ ๒๑
อนั ตรกปั เศษ
บพุ กรรม ผเู้ จริญสมถภาวนาสำเร็จปฐมฌาณไดอ้ ย่างสามญั

๒. พรหมปุโรหิตาภูมิ พรหมโลก ชนั้ ท่ี ๒ ภมู อิ ันเปน็ ท่ีอย่แู ห่ง

พระพรหม ทง้ั หลาย ผทู้ รงฐานะอันประเสรฐิ คอื เป็นปุโรหิตของ
ท่านมหาพรหม พระพรหม อายุ ๓๒ อนั ตรกัป

๓๑วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

บุพกรรม ผู้เจริญสมถภาวนาสำเร็จได้ปฐมฌานอย่างปาน
กลาง

๓. มหาพรหมาภูมิ พรหมโลก ช้นั ท่ี ๓ ภูมอิ ันเป็นท่ีอยแู่ ห่ง
พระพรหมผู้ยง่ิ ใหญ่ท้งั หลาย พระพรหม อายุ ๑ มหากปั

บพุ กรรม ผเู้ จริญสมถภาวนาสำเรจ็ ปฐมฌานไดอ้ ยา่ งประณตี
๔. ปริตตาภาภูมิ พรหมโลก ชน้ั ท่ี ๔ ภมู อิ ันเป็นท่อี ยูแ่ ห่งทา่ น
พระพรหมทั้งหลาย ผู้มรี ศั มีน้อยกว่าพระพรหมทม่ี ีศกั ด์สิ ูงกว่าตน
พระพรหม อายุ ๒ มหากปั

บุพกรรม ผูท้ ีจ่ ะมาอบุ ตั ิบังเกดิ ในชนั้ นีไ้ ด้ตอ้ งสำเร็จทตุ ิยฌาน
ไดอ้ ย่างสามัญ

๕. อัปปมาณาภาภูมิ พรหมโลก ชน้ั ท่ี ๕ ภูมิอันเปน็ ทอ่ี ยู่

แห่งพระพรหมทั้งหลาย ผู้มีรัศมีรุ่งเรืองมากมายหาประมาณมิได้
พระพรหม อายุ ๔ มหากัป

บุพกรรม ผู้เจริญสมถภาวนาสำเร็จทุติยฌานได้อย่างปาน
กลาง

๖. อาภัสสราภูมิ พรหมโลก ชน้ั ท่ี ๖ ภมู ิอันเปน็ ทอ่ี ยู่แห่งพระ-
พรหมทั้งหลาย ผู้มปี ระกายรุ่งโรจนแ์ ห่งรัศมนี านาแสง พระพรหม
อายุ ๘ มหากปั

บุพกรรม ผเู้ จรญิ สมถภาวนาสำเร็จทตุ ิยฌานไดอ้ ย่างประณีต

๓๒วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๗. ปรติ ตสภุ าภมู ิ พรหมโลก ช้ันที่ ๗ ภมู อิ ันเป็นท่ีอยูแ่ ห่งพระ
พรหมทัง้ หลาย ผูม้ ีความสง่าสวยงามแห่งรศั มเี ปน็ สว่ นนอ้ ย
พระพรหม อายุ ๑๖ มหากัป

บุพกรรม ผู้เจริญสมถภาวนาสำเร็จตติยฌานไดอ้ ย่างสามัญ
๘. อัปปมาณสุภาภูมิ พรหมโลก ชัน้ ที่ ๘ ภมู อิ นั เป็นทอี่ ย่แู หง่
พระพรหมทั้งหลาย ผู้มีความสวยงามแห่งรัศมีมากมายไม่มีประ-
มาณ พระพรหม อายุ ๓๒ มหากปั

บพุ กรรม ผูท้ ่ีจะมาอุบตั บิ งั เกดิ ในชั้นน้ีไดต้ ้องสำเรจ็ ตติยฌาน
ไดอ้ ยา่ งปานกลาง

๙. สภุ กิณหาภูมิ พรหมโลก ช้นั ที่ ๙ ภมู ิอันเปน็ ทอี่ ยู่แห่ง
พระพรหมทั้งหลาย ผู้มีความสง่าสวยงามแห่งรัศมีที่ออกสลับ
ปะปนไปอยู่เสมอตลอดสรรี ะกาย พระพรหม อายุ ๖๔ มหากปั

บุพกรรม ผทู้ จี่ ะมาอุบตั บิ งั เกดิ ในชน้ั นไี้ ด้ ตอ้ งสำเร็จตตยิ ฌาน
ไดอ้ ยา่ งประณตี

๑๐. เวหัปผลาภูมิ พรหมโลก ช้นั ท่ี ๑๐ ภมู ิอันเปน็ ทอ่ี ยู่แห่ง
พระพรหมทั้งหลาย ผู้ได้รับผลแห่งฌานกุศลอยา่ งไพบูลย์ พระ-
พรหม อายุ ๕๐๐ มหากัป

บุพกรรม ผทู้ ่ีเจรญิ สมถภาวนาสำเร็จจตุตถฌาน

๑๑. อสญั ญสตั ตาภมู ิ พรหมโลก ช้นั ท่ี ๑๑ ภูมิอันเปน็ ท่อี ย่แู ห่ง

๓๓วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

พระพรหมทั้งหลาย ผูไ้ ม่มสี ญั ญา (พรหมลูกฟกั ) อายุ ๕๐๐ มหากัป
บพุ กรรม ผ้เู จรญิ สมถภาวนาสำเรจ็ จตตุ ถฌาน และเป็นผู้มีสญั -

ญาวริ าคภาวนา

๑๒. อวหิ าสทุ ธาวาสภูมิ พรหมโลก ช้ันท่ี ๑๒ ภูมิเป็นทอ่ี ยอู่ นั

บริสุทธิ์แหง่ พระอนาคามีอริยบุคคลทั้งหลาย ผู้ไม่เสื่อมคลายใน
สมบัติของตนพระพรหมอนาคามี อายุ ๑,๐๐๐ มหากัป

บุพกรรม ผูเ้ จรญิ สมภาวนาไดจ้ ตุตถฌาน และเจริญวปิ ัสสนา
ภาวนาจนสำเร็จเปน็ พระอนาคามีอริยบุคคล มีสทั ธินทรียแ์ ก่กลา้

๑๓. อตัปปาสุทธาวาสภมู ิ พรหมโลก ชั้นที่ ๑๓ ภมู เิ ปน็ ทีอ่ ยู่

อนั บรสิ ทุ ธแิ์ ห่งพระอนาคามีอริยบุคคลทงั้ หลาย ผไู้ ม่มคี วามเดอื ด
ร้อน พระพรหมอนาคามี อายุ ๒,๐๐๐ มหากัป

บุพกรรม ผู้เจริญสมถภาวนาไดจ้ ตตุ ถฌาน และเจริญวิปัสสนา
ภาวนาจนสำเร็จเป็นพระอนาคามีอริยบุคคล โดยมีวิริยินทรีย์
แกก่ ลา้

๑๔. สุทสั สาสุทธาวาสภมู ิ พรหมโลก ชน้ั ๑๔ ภมู ิเป็นท่อี ยูอ่ ัน

บริสุทธิ์แห่งอนาคามีอริยบุคคลทั้งหลาย ผู้มีความเห็นแจ่มใส
พระพรหมอนาคามี อายุ ๔,๐๐๐ มหากัป

บพุ กรรม ผูเ้ จริญสมถภาวนาไดจ้ ตุตถฌาน และเจรญิ วิปัสสนา
ภาวนาจนสำเรจ็ เป็นพระอนาคามีอริยบุคคลโดยมีสตินทรยี แ์ ก่กลา้

๓๔ วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๑๕. สทุ สั สสี ทุ ธาวาสภูมิ พรหมโลก ชัน้ ที่ ๑๕ ภูมิเป็นทอี่ ยอู่ ัน

บริสุทธิ์แห่งพระอนาคามีอริยบุคคลทั้งหลาย ผู้มีความเห็นอย่าง
แจ่มใสมากกวา่ พระพรหมอนาคามี อายุ ๘,๐๐๐ มหากัป

บพุ กรรม ผเู้ จรญิ สมถภาวนาไดจ้ ตุตถฌาน และเจริญวปิ สั สนา
ภาวนาจนสำเร็จเป็นพระอนาคามีอริยบุคคล โดยมีสมาธินทรีย์
แกก่ ลา้

๑๖. อกนิฏฐาสุทธาวาสภูมิ พรหมโลก ช้นั ท่ี ๑๖ ภมู เิ ปน็ ท่อี ยู่

อนั บริสุทธแ์ิ หง่ พระอนาคามีอริยบคุ คลทง้ั หลาย ผทู้ รงคุณวเิ ศษโดย
ไม่มีความเปน็ รองกนั พระพรหมอนาคามี อายุ ๑๖,๐๐๐ มหากปั

บุพกรรม ผเู้ จริญสมถภาวนาไดจ้ ตุตถฌาน และเจรญิ วิปัสสนา
ภาวนาจนสำเร็จเป็นพระอนาคามีอริยบุคคล โดยมีปัญญินทรีย์
แกก่ ลา้

อรูปพรหม ๔

จุตมิ าด้วยสมถภาวนาข้ันอรปู ฌานทงั้ ๔ ถงึ จะสุขมากนานแสน
นาน แต่พระพุทธองคก์ ล่าวว่า “ถงึ การฉิบหายแลว้ ” ขอใหท้ ่านทั้ง-
หลายจงศึกษาดเู องเถดิ ว่า “ฉบิ หายอยา่ งไร”

๑๗. อากาสานัญจายตนภมู ิ พรหมโลก ช้ันที่ ๑๗ ภูมเิ ปน็ ที่

อยู่แห่งพระพรหมผู้วิเศษ ผู้เกิดจากฌานที่อาศัยอากาสบัญญัติซึ่ง
ไมม่ ีที่สุดเปน็ อารมณ์ อรูปพรหม อายุ ๒๐,๐๐๐ มหากัป

๓๕วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

บุพกรรม โยคฤี าษีผู้ไดจ้ ตุตถฌานแลว้ และสำเร็จอากาสานัญ
จายตนฌาน

๑๘. วญิ ญาณญั จายตนภมู ิ พรหมโลก ชั้นท่ี ๑๘ ภมู เิ ป็นที่

อยแู่ ห่งพระพรหมผวู้ ิเศษ ผเู้ กดิ จากฌานท่อี าศัยวญิ ญาณอนั ไม่มที ี่
ส้นิ สุดเป็นอารมณ์ อรปู พรหม อายุ ๔๐,๐๐๐ มหากปั

บุพกรรม โยคีฤาษีผู้ไดอ้ ากาสานัญจายตนฌาน และสำเร็จวญิ
ญาณญั จายตนฌาน

๑๙. อากญิ จญั ญายตนภมู ิ พรหมโลก ชน้ั ที่ ๑๙ ภมู เิ ปน็ ท่ี

อยู่แห่งพระพรหมผู้วิเศษ ผู้เกิดจากฌานที่อาศัยนัตถิภาวบัญญัติ
เป็นอารมณ์ อรปู พรหม อายุ ๖๐,๐๐๐ มหากัป

บุพกรรม เป็นโยคฤี าษีผไู้ ด้วิญญาณญั จายตนฌาน และสำเร็จ
อากญิ จัญญายตนฌาน

๒๐. เนวสญั ญานาสัญญายตนภมู ิ พรหมโลก ชัน้ ท่ี ๒๐ ภูมิ

เป็นที่อยู่แห่งพระพรหมผู้วิเศษ ผู้เกิดจากฌานที่อาศัยความประ-
ณตี เปน็ อยา่ งย่งิ มสี ัญญากไ็ ม่ใชไ่ มม่ ีสัญญาก็ไมใ่ ช่ อรูปพรหม อายุ
๘๔,๐๐๐ มหากปั

บพุ กรรม โยคฤี าษผี ไู้ ดอ้ ากญิ จัญญายตนฌาน

๓๖ วัฏสงสาร
๓ ๑ ภู มิ

อนาคามโี ลกุตรภูมิ (ภูมิพน้ โลก ช้นั ที่ ๓) ผถู้ ึงภมู นิ ้ไี ดช้ ือ่ วา่ พระ
อนาคามี จะไม่กลับมาเกิดในกามภูมิอีก แบ่งเป็น ๕ ประเภท คอื

๑. อนั ตราปรนิ ิพพายี สำเรจ็ เป็นพระอรหนั ต์ ปรนิ พิ พานภาย
ในอายุครึ่งแรกของสทุ ธาวาสภมู ิพรหมโลกทีส่ ถิตอยู่

๒. อปุ ทัจจปรินพิ พายี สำเร็จเปน็ พระอรหันต์ ปรนิ ิพพานภาย
ในอายคุ รงึ่ หลงั ของสุทธาวาสภูมพิ รหมโลกทส่ี ถติ อยู่

๓. อสงั ขารปรินิพพายี สำเรจ็ เป็นพระอรหันต์ ปรินิพพานใน
พรหมโลกท่ีสถติ อยู่โดยสะดวกสบายไมต่ อ้ งใชค้ วามเพยี รมาก

๔. สสังขารปรนิ พิ พายี สำเรจ็ เป็นพระอรหันต์ ปรินิพพานใน
พรหมโลก โดยต้องเร่งความเพียรอย่างแรงกลา้

๕. อุทธังโสตอกนฏิ ฐคามี ไปเกดิ ในสทุ ธาวาส ชัน้ ต่ำทสี่ ุด (อว-ิ

หาสุทธาวาสพรหมโลก) แลว้ จึงจุตไิ ปเกิดช้นั สงู ขึน้ ไปตามลำดับ คอื
อวหิ า อตัปปา สทุ สั สา สทุ สั สี แลว้ สำเรจ็ เปน็ พระอรหนั ตป์ รนิ ิพพาน
ในอกนิฏฐพรหมโลก

โสดาบันโลกุตรภูมิ (ภมู ิพน้ โลก ช้นั ท่ี ๑) ผู้ถงึ ภูมนิ ไ้ี ด้ชอ่ื ว่าพระ
อรยิ บคุ คลโสดาบนั แบง่ ปัน

๑. เอกพชี ีโสดาบนั จะเกิดอกี ชาติเดยี ว แลว้ กบ็ รรลพุ ระอรหัต
ผล ปรนิ พิ พาน

๒. โกลังโกลโสดาบัน จะเกดิ อกี ๒ - ๖ ชาติ เปน็ อยา่ งมากแลว้

๓๗วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

กบ็ รรลุพระอรหัตผล ปรนิ ิพพาน

๓. สัตตกั ขัตตปุ รมโสดาบัน จะเกิดอีกอยา่ งมากไมเ่ กนิ ๗ ชาติ
แลว้ ก็บรรลพุ ระอรหัตผล ปรินิพพาน

อรหัตโลกุตรภมู ิ (หลดุ พน้ โลก) มี ๒ ประเภท
๑. เจโตวิมตุ ติ เปน็ ผปู้ ฏบิ ตั สิ มถกรรมฐานได้ฌานก่อน แลว้
เจริญวิปัสสนากรรมฐานต่อจนสำเร็จพระอรหันต์ หรือผู้ที่ปฏิบัติ
เฉพาะวิปสั สนากรรมฐาน เม่อื ไดม้ รรคผลนน้ั พรอ้ มกบั ไดว้ ชิ ชา ๓
อภญิ ญา ๖ สามารถแสดงฤทธไ์ิ ด้
๒. ปญั ญาวิมุตติ สำเร็จพระอรหันตด์ ้วยการปฏบิ ตั ิวิปสั สนา
กรรมฐานล้วนๆ ไม่ได้บำเพญ็ สมถกรรมฐานมาก่อนเลย เรยี กว่า
สุกขวิปัสสกพระอรหันต์ คือ ผูป้ ฏบิ ัตทิ ำใหฌ้ านแหง้ แลง้
ผถู้ งึ อรหนั ต์ เปน็ ผทู้ ่สี มควรแก่การบูชาของเหล่าเทพยดาและ
มนุษย์ทั้งหลาย เพราะสน้ิ กเิ ลสโดยตัดสังโยชน์ ๑๐ ประการได้ สา-
มารถเขา้ อรหตั ผลสมาบัติ เสวยอารมณ์พระนพิ พานไดต้ ามปรารถ-
นา และไม่ต้องเวียนว่ายตายเกดิ อีกในวฏั สงสาร เม่อื ส้นิ อายุขัยก็
ดบั ขนั ธ ปรินิพพาน

สกทาคามโี ลกตุ รภูมิ (ภูมพิ น้ โลก ช้นั ท่ี ๒) ผู้ถึงภูมนิ ไี้ ด้ชอื่ ว่า
พระอริยบุคคลสกทาคามี ซึ่งจะเกิดอีกเพียงชาติเดียว แบ่งเป็น
๕ ประเภท คอื

๓๘วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

๑.ผู้ถึงภูมินี้ในมนุษยโลก และบรรลุพระอรหัตผลในมนุษย์
โลก

๒. ผถู้ งึ ภมู นิ ้ีในมนุษยโลกแลว้ ไปบรรลุพระอรหตั ผลในเทวโลก

๓.ผู้ถึงภูมินี้ในเทวโลก และบรรลุพระอรหัตผลในเทวโลก
๔. ผถู้ งึ ภูมิน้ใี นเทวโลกแลว้ มาบรรลพุ ระอรหตั ผลในมนษุ ยโลก
๕. ผถู้ งึ ภูมินี้ในมนษุ ยโลกแลว้ จุติไปเกดิ ในเทวโลกแลว้ กลับมา
บรรลพุ ระอรหตั ผลในมนษุ ยโลก

“กิเลส” น้ันถ้าเราพยายามจะปัดทิง้ จรงิ ๆแล้ว
มันก็หลดุ ได้ง่าย คอื ต้องปดั ให้ถูกที่
ถ้าปัดไม่ถกู ที่มันกห็ ลุดยาก เหมอื น
เงินหรือวตั ถุส่ิงของนน้ั ถ้าเราจะท้งิ
มนั ก็ทำได้ง่าย แต่การทีจ่ ะหามาน้ัน
ทำได้ยาก...ท่านพอ่ ลี ธมฺมธโร

๓๙วฏั สงสาร
๓ ๑ ภู มิ

ผรู้ ว่ มพมิ พ์
๑,๐๐๐ เล่ม...พระมหาไพศาล อธวิ โร
๒๐๐ เล่ม.......พระตะวัน เตชวโรและครอบครวั ชนะจิตร, คณุ สรรชัย บุญทวกี จิ และ
ครอบครวั

๑๐๐ เล่ม.......พระธนกร รตโิ ก, พระสขุ ธมมฺ ิสสฺ โร, พระธิฆมั พร อิทธิเตโช,
พระประเสริฐ พลวโร, พระปวริศ วิชาธโร, พระมหาธเนศ ธมมฺ ทนิ โฺ น, พระอานนท์
ฐานิโย, พระอัครวชิ ย์ วิวิตฺโต, พระอภิวัฒน์ อภวิ ฑฺฒโน, พระโกศล ธมฺมปิติโก,
พระนิรตุ ติ ชุตนิ ฺธโร, พระทองคำ จารุโภ, คุณพิมญาภา อทิ ธศิ กั ด์ชิ ชู ัย + คณุ ภรู วิ ัจน์
รหทั พฤฒิวงศ,์ คณุ นันทพร -คุณนงพงา สายววิ ัฒน์ และครอบครัว, คณุ นที ศรีนอก
คณุ ศริ กิ าญจ์ มหาศิริวรพงษแ์ ละครอบครัว, คุณยาใจ ขาวสำอางค,์ คุณสมใจ วรคตุ ,
คุณอรวรรณ อรคุต, คุณกติ ติมา อานันตศริ แิ ละครอบครวั , (คณุ ศุภกร, คุณภทั ราพร

คณุ ชษิ ณุชา, คณุ ศภุ ธชั เลศิ ธนากิจ, คุณเปรมกมล ศักดแิ พทย)์
๙๙ เล่ม.........(คุณสิน พิทักษ,์ คณุ สดุ ากร ศรนี อก, คุณสชุ าติ ศรนี อก, คุณสภุ ัสรา
โพธิ์พนั ธ,์ คุณสมชาย ศรีนอก), คณุ กหุ ลาบ ทิพกระโทก,
๗๐ เล่ม.........พระคำรพ มทฺทโว
๕๐ เล่ม.........พระมหาปยิ พันธ์ โสภณสโี ล, พระมหาสจุ ินต์ เขมะจติ โต, พระกิตติ
เมตตฺ โก, พระณฏั ฐกติ ติ อนงคฺ โณ, พระกติ ติพงษ์ สาตคิโก, พระมหาศุภฤกษ์ มงคโฺ ล,
พระวรอรรจน์ เขมวโร, พระอดลุ ย์ อมโร, คุณวรกันต์ แชม่ เจริญพร, คุณกล่ินแกว้
มณีนอ้ ย + คุณอภวิ ัฒน์แถมมงคล, คณุ กรณุ า อำไพรัตนแ์ ละครอบครวั
๔๙ เล่ม.........พระอทุ ยั อตุ ตฺ โร, คณุ พยอม ทิศกระโทก, (คุณบญุ จันทร,์ คณุ เมตตา,
คณุ อนริ ุท, คุณตวงสทิ ธ,์ิ คณุ กญั ญารัตน์ศรีนอก)
๔๐ เลม่ ..........คุณนภาพร สุขธนกิจและครอบครัว

๓๐ เล่ม.........พระชษิ ณชุ า สิรสิ วุ ณโฺ ณ, แมช่ รี ัชณี ปนั้ เทยี น, คณุ พิไล จันทรกนก
และครอบครวั ,

ผู้ร่วมพมิ พ์
๒๙ เล่ม.........คุณธัญญารัตน์ ก่อนมณีและครอบครวั
๒๐ เล่ม.........คณุ อญั ชลี จิตรรักษา, (คณุ สมจติ ต์ อ่อนสำลี + คณุ วัชรินทร์ มณีนลิ
+ คุณจนั ทร์จริ า ประสาทศิลป์ + ครอบครัวไขต่ ม้ ชโู ฉม), คุณปราณี พงษส์ ุวรรณ,
คณุ ศรัน ส่งศรมี ณกี ลุ , คณุ เมธินี ศรนี อก, คณุ วณษิ ฐา แสงบุญ, น.ส. จิตรา โอภาส-
เสถยี ร และครอบครัว, คุณ อุทุมพร - คุณเพ็ญธิดา ดว้ งจาดและครอบครัว
๑๙ เล่ม.........คณุ ลำไย ศรีนอก, คณุ อาสยา บญุ ศกั ด์นิ มิ ิตและครอบครวั
๑๕ เลม่ .........คณุ ฐาปณยี ์ประทุมชาติ + คุณธรี เชษฐ์ สวุ ภาพ
๑๒ เล่ม.........คุณน้ำทิพย์ + คุณวริศรา + คุณจุฑาทพิ ย์ หงษ์สา
๑๐ เล่ม.........พระเฉลิมพล อสโุ ภ,คุณฉวีวรรณ ไม่ทราบนามสกลุ , คณุ บุญชัย แซ่ฉั่น ,
คุณสภุ าพ ลาทอง, คุณสุภาหวัน พรไธสง, คณุ สดุ ใจ ศรีนอกและครอบครวั ,

คณุ สเุ มธี ประมลู ชัย, พ.จ.อ.ศักดช์ิ าย เรอื งทอง, คณุ พุทธินันท์ ดามพห์ ริ ณั ย,์
คุณมาริณี บุญเต็มและครอบครวั , (คุณวารนิ ทรธ์ ร + คุณมณรี ัตน์ + คณุ จริ าวฒั น์ +
คณุ เอกอนนั ต์ ดามพห์ ริ ัณย์), คุณปา้ วงเดอื น + คุณปวริศา ผอ่ งอำไพ และครอบครวั ,
คุณสุพาส ธรรมบัวชาและครอบครวั , คณุ ธัญทภิ า บุญญานวุ ตั ร, คณุ สาวิตรี ปรสี วสั ดิ,์

คุณจุฑามาศ สุดอุดม, คุณฉัตรมงคล ประจักษ์ภักดี, คุณอาทิตย์ สละวงษ์,
คุณนงรักษ์ อินทร, คุณสทุ ธิลกั ษณ์ แสงศร,ี นายสุริยะ โลหิตานนท์และครอบครัว,
ครอบครัว เทยี นรงุ่ ศร,ี กิลวรรณ สหี พาหแุ ละครอบครวั , รินรส ชำนาญไพร, คุณพร-

ศักด์ิ นลินทิพยวงศ,์ คณุ ธนดล นิลนพรตั น.

๙ เล่ม............คณุ ยรรยงค์ ทิศกระโทก, คุณปภัคสร จุปะวันทอง, คณุ โพธศ์ิ รี ชื่นนอก,
คุณพัชรินทร์ บับการ, คุณขวัญนัยนา กุมประสิทธิ์, คุณธัญญาภรณ์ จำรูญ,
คุณศกั ดนิ์ ิตย์ หนั จรัส, คณุ พรทพิ ย์เจตเกษตรการณ์, คณุ แขไข ภูมี, คุณอฌฏิ ะ ศรีสง่า
๕ เล่ม............คณุ วิไล ร่งแป้น, คุณสมศรี ร่งแปน้ , คุณเผชิญ ร่งแปน้ , คณุ มนัส ร่งแป้น
คณุ รนิ ดา วฒั นะวิรณุ , คุณฉวิ้ น้ี วัฒนะวริ ุณ, คุณจงชัย วฒั นะวิรุณ, คุณนรนิ ทร์

ผ้รู ่วมพิมพ์
๕ เล่ม...........วฒั นะวริ ุณ, คณุ พรเพญ็ เอื้อมศิรเิ ลศิ , คุณเสถียร วัฒนะวริ ุณ, คุณวรพร
วฒั นะวิรณุ , คณุ ลัดดาพร วัฒนะวิรณุ , คุณจนั ทิมา รตั นศิรลิ กั ษณ,์ คณุ ยุภา เอ้ือมศิร-ิ
เลศิ

๔ เล่ม............คณุ ศศิรส + คณุ ไวภพ แก้วพนิ จิ และครอบครวั
๒ เลม่ ............คณุ พมิ ลพรรณ + คณุ สวุ รรณ กลิน่ พงศ,์ คณุ พีรดา พรหมนอ้ ย
๑ เล่ม............คณุ ประภา แซ่โอว้
๕๐๐ เล่ม.......ผูไ้ ม่ประสงค์ออกนาม

อนุโมทนาธรรมโอสถ

อนุโมทนายินดใี นส่วนของกุศลของบารมี ของคณะผู้รว่ มจัดพิมพห์ นงั สือ
วัฏสงสาร ๓๑ ภมู ิเลม่ นี้ โดยถว้ นหนา้ ทกุ ท่านทีไ่ ดม้ สี ่วนร่วมในการใหธ้ รรมเป็นทาน
ในคร้ังน้ี การจดั พิมพ์หนังสือเป็นทานน้นั มักจะผดิ พลาดเสมอ กเ็ ร่อื งพิมพร์ ายนาม
ผู้บริจาคจตปุ จั จยั น่นั เอง ต้องขออภยั ไว้ ณ ท่ีน้ีดว้ ย....

และขอแผ่อานิสสงฆ์บุญกุศลของการรว่ มจัดพิมพ์หนังสือเล่มนี้ให้แก่บิดา
มารดา พระอปุ ัชฌาย์ ครูบาอาจารย์ผสู้ ง่ั สอน และผู้ทรงพระคณุ ทกุ ท่าน รวมทั้งญาติ
มติ ร ตลอดจนถึงสรรพสตั วท์ ง้ั หลายท้งั ปวง พรอ้ มทงั้ เทพเทวดาทัง้ หลาย จงได้รับ
และร่วมอนโุ มทนาส่วนบุญกุศลทั้งหมดท่ีอนั ตวั ข้าพเจ้า (ผรู้ ่วมจดั พิมพ์) ไดอ้ ทุ ิศไปให้
แลว้ ในกาลน้ี โดยทวั่ หน้ากันเทอญ...

สพั เพ สัตตา สะทาโหนตุ อะเวรา สขุ ะชีวิโน.

ขอสัตว์ท้งั หลายอย่าได้มีเวรแก่กนั และกนั จงเปน็ ผดู้ ำรงชพี อยเู่ ปน็ สขุ ทุก
เม่อื เทอญ.

กะตัง ปุญญะผะลงั มัยหัง สัพเพ ภาคี ภะวันต เุ ต.

ขอสัตว์ทั้งหลายจงได้เสวยผลบญุ ทขี่ า้ พเจา้ ได้บำเพ็ญด้วยกาย วาจา ใจ
แลว้ นน้ั เทอญ...

บนั ทึกธรรม
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................
........................................................................................................


Click to View FlipBook Version