สรุปผลการวิเคราะห์ผลการประเมิน RT NT O-NET 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560)
ส านักงานเขตพื้นที่การศกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ึ
การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ผลการวิเคราะห์การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ระดับชั้นประถมศกษาปีที่ 1 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบว่า ปีการศึกษา 2562 มีผลการประเมินที่ต้อง
ึ
พัฒนาเนื่องจากมีผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ คือ การอ่านออกเสียง ประเภทการอ่านค า อักษรควบไม่แท/
้
ตัวสะกดตรงมาตรา ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา/ไม่มีรูปวรรณยุกต์ ส าหรับปีการศึกษา 2561-2560 ไม่มีผลการ
ประเมินที่อยู่ในระดับพอใช้หรือปรับปรุง
การประเมินคุณภาพผู้เรียน NT
ผลการวิเคราะห์ผลการการประเมินผู้เรียน NT 3 ปีย้อนหลัง พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่มีผลการประเมินที่
ต้องพัฒนาเนื่องจากผลการประเมินอยู่ในระดับพอใช้ โดยแบ่งเป็น 2 ด้าน ดังนี้
1. ความสามารถด้านค านวณ (คณิตศาสตร์) คือ สาระการเรียนรู้ จ านวนและการด าเนินการ
การวัด พีชคณิต
2. ความสามารถด้านภาษา (ภาษาไทย) คือ การอาน ส าหรับ หลักการใช้ภาษา และวรรณคดีและ
่
วรรณกรรม มีผลการประเมินในปีการศึกษา 2562 อยู่ในระดับพอใช้ ทั้งนี้ในปีการศึกษา 2561-2560
ไม่ได้ประเมินในสาระนี้
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
ผลการวิเคราะห์การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน รายสาระการเรียนรู้และมาตรฐาน
่
การเรียนรู้ที่มีค่าเฉลี่ยต่ ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศหรือมีคาเฉลี่ยน้อยกว่าร้อยละ 50 3 ปีติดต่อกัน
(2562-2560) ระดับชั้นประถมศึกษาปีทึ่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังนี้
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
รายวิชา สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ภาษาไทย - หลัการใช้ภาษา ท 4.1
ภาษาอังกฤษ - ภาษาเพื่อการสื่อสาร ต 1.3
- ภาษาและวัฒนธรรม ต 2.2
คณิตศาสตร์ - จ านวนและการด าเนินการ ค 1.1 ค 1.2
- การวัด ค 2.2
- เรขาคณิต ค 3.1
วิทยาศาสตร์ - กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ว 6.1
- ดาราศาสตร์และอวกาศ ว 7.2
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
รายวิชา สาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้
ภาษาไทย - การอ่าน ท 1.1
ภาษาอังกฤษ - ภาษาเพื่อการสื่อสาร ต 1.1 ต 1.2 ต 1.3
- ภาษาและวัฒนธรรม ต 2.1
คณิตศาสตร์ - จ านวนและการด าเนินการ ค 1.1 ค 1.2
- การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น ค 5.1 ค 5.2
วิทยาศาสตร์ - กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ว 6.1
- ดาราศาสตร์และอวกาศ ว 7.2
ผลการวิเคราะห์การประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560)
ส านักงานเขตพื้นที่การศกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ึ
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ปีการศึกษา 2562
ตารางที่ 1 แสดงคะแนนผลการประเมินการอ่าน
จากตารางที่ 1 ผลการประเมินการอ่าน ในด้าน การอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
ทั้งสองด้านสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
ตารางที่ 2 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียนจ าแนกตามระดับคุณภาพ
จากตารางที่ 2 จ านวนและร้อยละนักเรียนจ าแนกตามระดับคุณภาพ โดยมีผู้เข้าสอบนักเรียนปกติ
จ านวน 1,840 คน พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านออกเสียง ต่ ากว่าระดับดี จ านวน 415 คน
คิดเป็นร้อยละ 22.55 การอานรู้เรื่อง จ านวน 204 คน คิดเป็นร้อยละ 11.08
่
ตารางที่ 3 ผลการประเมินการอ่านรายด้านและประเภทของค า
่
่
จากตารางที่ 3 ผลการประเมินการอ่านรายด้านและประเภทของค า พบว่า การอานออกเสียง การอาน
่
่
ประโยค การอานข้อความ การอานรู้เรื่อง ทุกด้านมีผลการประเมินในระดับดีขึ้นไป ส าหรับเรื่องที่มีผล
ั
่
การประเมินระดับพอใช้ คือ การอานค า อกษรควบไม่แท้/ตัวสะกดตรงมาตรา ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา/ไม่มีรูป
วรรณยุกต์
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ปีการศึกษา 2561
ตารางที่ 4 แสดงคะแนนผลการประเมินการอ่าน
จากตารางที่ 4 ผลการประเมินการอ่าน ในด้าน การอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
ทั้งสองด้านต่ ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
ตารางที่ 5 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียนจ าแนกตามระดับคุณภาพ
จากตารางที่ 5 จ านวนและร้อยละนักเรียนจ าแนกตามระดับคุณภาพ โดยมีผู้เข้าสอบเด็กปกติ จ านวน
1,788 คน พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านออกเสียง ต่ ากว่าระดับดี จ านวน 548 คน คิดเป็นร้อย
ละ 30.65 การอ่านรู้เรื่อง จ านวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 14.60
ตารางที่ 6 แสดงคะแนนประเมินการอ่าน รายสมรรถนะและรายองค์ประกอบ
่
จากตารางที่ 6 แสดงผลการประเมินการอานรายสมรรถนะและรายองค์ประกอบ พบว่า ในแต่
สมรรถนะและองค์ประกอบมีผลการประเมินในระดับดีขั้นไปทุกสมรรถนะ
ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ปีการศึกษา 2560
ตารางที่ 7 แสดงคะแนนผลการประเมินการอ่าน
จากตารางที่ 7 ผลการประเมินการอ่าน ในด้าน การอ่านออกเสียง การอ่านรู้เรื่อง พบว่า มีคะแนนเฉลี่ย
ทั้งสองด้านสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ
ตารางทิ่ 8 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียน จ าแนกตามระดับคุณภาพ
จากตารางที่ 8 จ านวนและร้อยละนักเรียนจ าแนกตามระดับคุณภาพ โดยมีผู้เข้าสอบเด็กปกติ จ านวน
1,749 คน พบว่า นักเรียนที่มีผลการประเมินการอ่านออกเสียง ต่ ากว่าระดับดี จ านวน 287 คน คิดเป็นร้อย
ละ 16.41 การอ่านรู้เรื่อง จ านวน 217 คน คิดเป็นร้อยละ 12.41
ตารางที่ 9 แสดงคะแนนประเมินการอ่าน รายสมรรถนะและรายองค์ประกอบ
จากตารางที่ 9 แสดงผลการประเมินการอ่านรายสมรรถนะและรายองค์ประกอบ พบว่า ในแต่สมรรถนะ
และองค์ประกอบมีผลการประเมินในระดับดีขั้นไปทุกสมรรถนะ
ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพผู้เรียน NT
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ส านักงานเขตพื้นที่การศกษาประถมศึกษาล าปาง เขต 1
ึ
ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพผู้เรียน NT ปีการศึกษา 2562
ตารางที่ 10 แสดงผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามสังกัด
จากตารางที่ 10 ผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามสังกัด พบว่า ผลการประเมินด้านคณิตศาสตร์
ด้านภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 49.82 50.99 ตามล าดับ
ุ
ตารางที่ 11 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียน จ าแนกตามระดับคณภาพ
จากตารางที่ 11 จ านวนนักเรียนที่เข้าสอบกลุ่มเด็กปกติ 1,694 คน เมื่อจ าแนกตามระดับคุณภาพ พบว่า
ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับคุณภาพดี จ านวน 931 คน คิดเป็นร้อยละ 54.96
ความสามารถด้านภาษาไทย มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับดี จ านวน 815 คน คิดเป็นร้อยละ 48.11
ตารางที่ 12 แสดงคะแนนประเมินรายด้านและรายมาตรฐาน ความสามารถด้านคณิตศาสตร์
จากตารางที่ 12 คะแนนประเมินรายด้านและรายมาตรฐาน ความสามารถด้านคณิตศาสตร์ พบว่า
ั
มีมาตรฐานและตัวชี้ที่ต้องพฒนาเนื่องจากมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ คือ มาตรฐาน ค 1.2
ตัวชี้วัด ป.3/1 ป.3/2 มาตรฐาน ค 2.2 ตัวชี้วัด ป.3/1 ป.3/3 มาตรฐาน ค 4.1 ตัวชี้วัด ป. 3/1
ตารางที่ 13 แสดงคะแนนประเมินรายด้านและรายมาตรฐาน ความสามารถด้านภาษาไทย
จากตารางที่ 13 คะแนนประเมินรายด้านและรายมาตรฐาน ความสามารถด้านภาษาไทย พบว่า
ั
มีมาตรฐานและตัวชี้ที่ต้องพฒนาเนื่องจากมีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพพอใช้ คือ มาตรฐาน ท 1.1
ตัวชี้วัด ป.3/8 มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด ป.3/4 ป.3/5 มาตรฐาน ท 4.1 ตัวชี้วัด ป.3/1 ป.3/2
มาตรฐาน ท 5.1 ตัวชี้วัด ป.3/1 ป.3/3 ตัวชี้วัดที่อยู่ในระดับคุณภาพปรับปรุง คือ มาตรฐาน ท 4.1
ตัวชี้วัด ป.3/5
ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพผู้เรียน NT ปีการศึกษา 2561
ี่
ตารางท 14 แสดงผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามสังกัด
จากตารางที่ 14 ผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามสังกัด พบว่า ผลการประเมินด้านภาษา
ด้านค านวณ ด้านเหตุผล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 56.90
52.00 51.96 ตามล าดับ
ตารางที่ 15 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียน จ าแนกตามระดับคุณภาพ
จากตารางที่ 15 จ านวนนักเรียนที่เข้าสอบกลุ่มเด็กปกติ จ านวน 1,604 คน เมื่อจ าแนกตามระดับ
คุณภาพ พบว่า ความสามารถด้านภาษา มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับคุณภาพดี จ านวน 743 คน คิดเป็น
ร้อยละ 46.32 ความสามารถด้านค านวณ มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับดี จ านวน 854 คน คิดเป็นร้อยละ
53.24 ความสามารถด้านเหตุผล จ านวน 793 คน คิดเป็นร้อยละ 49.43
ตารางที่ 16 แสดงคะแนนประเมินรายด้านและรายมาตรฐาน
ั
จากตารางที่ 16 ผลการประเมินความสามารถด้านภาษา พบว่า มีผลการประเมินที่ต้องพฒนาเนื่องจาก
ั
ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ คือ บอกความหมายของค าและประโยคจากเรื่องที่ ฟง ดู และอาน
่
บอกความหมายของเครื่องหมายสัญลักษณ์ และคาดคะเนเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นจากเรื่องที่ฟัง ดู และอ่าน
ตารางที่ 17 แสดงคะแนนประเมินรายด้าน ความสามารถด้านค านวณ
จากตารางท 17 ผลการประเมินความสามารถด้านค านวณ พบว่า มีผลการประเมินที่ต้องพัฒนา
ี่
เนื่องจาก ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ คือ จ านวนและการด าเนินการ การวัด เรขาคณิต และ
พีชคณิต
ผลการวิเคราะห์การประเมินคุณภาพผู้เรียน NT ปีการศึกษา 2560
ตารางที่ 18 แสดงคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามระดับสังกัด
จากตารางที่ 18 ผลคะแนนเฉลี่ยร้อยละจ าแนกตามสังกัด พบว่า ผลการประเมินด้านภาษา
ด้านค านวณ ด้านเหตุผล มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศทุกด้าน โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 57.11 42.91
และ 48.51 ตามล าดับ
ตารางที่ 19 แสดงจ านวนและร้อยละนักเรียน จ าแนกตามระดับคุณภาพ
จากตารางที่ 19 จ านวนนักเรียนที่เข้าสอบกลุ่มเด็กปกติ จ านวน 1,604 คน เมื่อจ าแนกตามระดับ
คุณภาพ พบว่า ความสามารถด้านภาษา มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับคุณภาพดี จ านวน 743 คน คิดเป็น
ร้อยละ 46.32 ความสามารถด้านค านวณ มีผลการประเมินต่ ากว่าระดับดี จ านวน 854 คน คิดเป็นร้อยละ
53.24 ความสามารถด้านเหตุผล จ านวน 793 คน คิดเป็นร้อยละ 49.43
ตารางที่ 20 แสดงคะแนนประเมินรายด้าน ความสามารถด้านภาษา
จากตารางที่ 20 ผลการประเมินความสามารถด้านภาษา พบว่า มีผลการประเมินที่ต้องพัฒนาเนื่องจาก
ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ คือ บอก เล่าเรื่องราวที่ได้จากการฟัง ดู และอ่านอย่างง่ายๆ
ตารางที่ 21 แสดงคะแนนประเมินรายด้าน ความสามารถด้านค านวณ
จากตารางที่ 21 ผลการประเมินความสามารถด้านคานวณ พบว่า มีผลการประเมินที่ต้องพัฒนา
เนื่องจาก ผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ พอใช้ คือ จ านวนและการด าเนินการ การวัด เรขาคณิต พีชคณิต
และ การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น
การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) แยกตามสาระการเรียนรู้
และมาตรฐานการเรียนรู้ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ตารางที่ 22 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 22 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยทุกสาระการ
ิ
เรียนรู้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
ต่่ากว่าร้อยละ 50 มีจ่านวน 2 สาระการเรียนรู้ คือ หลักการใช้ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย = 41.30) และ วรรณคดีและ
วรรณกรรม (ค่าเฉลี่ย =46.97) ตามล่าดับ
ตารางที่ 23 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 23 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
ิ
มาตรฐานการเรียนรู้ เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่ามี จ่านวน 2 มาตรฐานการ
เรียนรู้ คือ มาตรฐาน ท 4.1 (ค่าเฉลี่ย = 41.30) และ ท 5.1 (ค่าเฉลี่ย =46.97) ตามล่าดับ
ตารางที่ 24 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 24 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยทุกสาระการ
เรียนรู้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
ต่่ากว่าร้อยละ 50 มีจ่านวน 2 สาระการเรียนรู้ คือ หลักการใช้ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย = 45.15)
ตารางที่ 25 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 25 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
มาตรฐานการเรียนรู้ เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่ามี จ่านวน 2 มาตรฐานการ
ิ
เรียนรู้ คือ มาตรฐาน ท 4.1 (ค่าเฉลี่ย = 45.15)
ตารางที่ 26 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 26 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยทุกสาระการ
ิ
เรียนรู้สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
ต่่ากว่าร้อยละ 50 มีจ่านวน 3 สาระการเรียนรู้ คือ หลักการใช้ภาษาไทย (ค่าเฉลี่ย = 45.15) วรรณคดีและ
วรรณกรรม (ค่าเฉลี่ย = 43.57) และ การอ่าน (ค่าเฉลี่ย = 47.39)
ตารางที่ 27 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
ื้
จากตารางที่ 27 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
ิ
มาตรฐานการเรียนรู้ เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่ามี จ่านวน 3 มาตรฐานการ
เรียนรู้ คือ มาตรฐาน ท 4.1 (ค่าเฉลี่ย = 45.15) มาตรฐาน ท 5.1 (ค่าเฉลี่ย = 43.57) มาตรฐาน ท 1.1
(ค่าเฉลี่ย = 47.39)
ิ
เมื่อพิจารณาผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายมาตรฐานการเรียนรู้และรายสาระการเรียนรู้รายวชา
ภาษาไทย 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกมาตรฐานและทุก
สาระการเรียนรู้ แต่เมอพิจารณาสาระการเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ที่มคะแนนเฉลี่ยต่่ากวาค่าเฉลี่ย
ื่
ี
่
่
ระดับประเทศหรือมคะแนนเฉลี่ยน้อยกวาร้อยละ 50 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระ หลักการใช้ภาษา
ี
มาตรฐาน ท 4.1
ตารางที่ 28 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 28 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
ิ
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ แต่เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่า มี 3
สาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าร้อยละ 50 คือ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (ค่าเฉลี่ย = 34.06)
ภาษาเพื่อการสื่อสาร (ค่าเฉลี่ย = 36.80) และ ภาษาและวัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย = 38.58) ตามล่าดับ
ตารางที่ 29 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 29 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
มาตรฐานการเรียนรู้ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยระดับเขตเขตที่ พบว่าทุกมาตรฐานที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50
โดยมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ ต 4.1 (ค่าเฉลี่ย = 34.06) ต 2.2 (ค่าเฉลี่ย
=34.76) ต 1.3 (ค่าเฉลี่ย =37.02) ตามล่าดับ
ตารางที่ 30 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 30 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่
การศึกษา กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
ทุกมาตรฐานการเรียนรู้ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยระดับเขตเขตที่ พบว่าทุกมาตรฐานที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ
50 โดยมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ ต 2.2 (ค่าเฉลี่ย =35.13 ต 1.1 (ค่าเฉลี่ย
=38.83) ) ต 1.3 (ค่าเฉลี่ย = 34.06) ตามล่าดับ
ตารางที่ 31 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 31 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่า มี 3
สาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าร้อยละ 50 คือ ภาษาเพื่อการสื่อสาร (ค่าเฉลี่ย = 42.10) ภาษากับ
ความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (ค่าเฉลี่ย = 43.76) และ ภาษาและวัฒนธรรม (คาเฉลี่ย = 45.16) ตามล่าดับ
่
ตารางที่ 32 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 32 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 พบว่า มี 3
สาระการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าร้อยละ 50 คือ ภาษาเพื่อการสื่อสาร (ค่าเฉลี่ย = 38.22) ภาษาและ
วัฒนธรรม (ค่าเฉลี่ย = 42.08) และ ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก (ค่าเฉลี่ย = 49.27) ตามล่าดับ
ตารางที่ 33 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
ื้
จากตารางที่ 33 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
และระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
มาตรฐานการเรียนรู้ แต่เมื่อพิจารณาคะแนนเฉลี่ยระดับเขตเขตที่ พบว่าทุกมาตรฐานที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50
โดยมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ ต 1.1 (ค่าเฉลี่ย =35.10) ต 1.2 (ค่าเฉลี่ย =
38.26) ต 2.2 (ค่าเฉลี่ย =38.91) ตามล่าดับ
ิ
ื่
เมอพิจารณาผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายมาตรฐานการเรียนรู้และรายสาระการเรียนรู้วชา
ั
่
่
ี
ภาษาองกฤษ 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบวา มคะแนนเฉลี่ยสูงกวาค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกมาตรฐาน
และทุกสาระการเรียนรู้ แต่เมื่อพิจารณาสาระการเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากวาค่าเฉลี่ย
่
่
ี
ระดับประเทศหรือมคะแนนเฉลี่ยน้อยกวาร้อยละ 50 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระการเรียนรู้
ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.3 สาระการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.2
ตารางที่ 34 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 34 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
น้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น (ค่าเฉลี่ย=20.35) เรขาคณิต (ค่าเฉลี่ย=
25.69) และจ่านวนและการด่าเนินการ (ค่าเฉลี่ย=36.87)
ตารางที่ 35 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 35 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่
การศึกษากับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าระดับประเทศ 1 มาตรฐานการ
เรียนรู้ คือ มาตรฐาน ค 2.2 (ค่าเฉลี่ย=25.45)
ตารางที่ 36 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 36 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
น้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก เรขาคณิต (ค่าเฉลี่ย=32.16) การวัด (ค่าเฉลี่ย=34.66) และจ่านวนและการด่าเนินการ
(ค่าเฉลี่ย=37.32)
ตารางที่ 37 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 37 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่
ิ
การศึกษากับระดับประเทศ พบว่า ทุกมาตรฐานการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าระดับประเทศ เมื่อพจารณา
ค่าเฉลี่ยที่ต่่ากว่าค่าเฉลี่ยร้อยละ 50 3 ล่าดับ คือ ค 1.4 (ค่าเฉลี่ย= 22.26) ค 2.2 (ค่าเฉลี่ย= 26.40)
ค 1.1 (ค่าเฉลี่ย= 29.45) ตามล่าดับ
ตารางที่ 38 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 38 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ เมื่อพิจารณารายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
น้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก การวัด (ค่าเฉลี่ย=29.60) จ่านวนและการด่าเนินการ (ค่าเฉลี่ย=38.50)และเรขาคณิต
(ค่าเฉลี่ย=43.00)
ตารางที่ 39 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 39 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่
ื้
การศึกษากับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าระดับประเทศ 1 มาตรฐานการ
เรียนรู้ คือ มาตรฐาน ค 3.1 (ค่าเฉลี่ย=21.17)
ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ และรายมาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์
่
่
3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบวา สาระการเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ที่มคะแนนเฉลี่ยต่่ากวาค่าเฉลี่ย
ี
ี
่
ระดับประเทศหรือมคะแนนเฉลี่ยน้อยกวาร้อยละ 50 3 ปี ติดต่อกัน คือ สาระการรเรียนรู้ จ่านวนและการ
ด่าเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 มาตรฐาน ค 1.2 สาระการเรียนรู้การวด มาตรฐาน
ั
ค 2.2 และสาระการเรียนรู้เรขาคณิต มาตรฐาน ค 3.1
ตารางที่ 40 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 40 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
ิ
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ เมื่อพจารณารายสาระการเรียนรู้ ที่มีคะแนนเฉลี่ย
น้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ ดาราศาสตร์และอวกาศ (ค่าเฉลี่ย = 31.09) สารและสมบัติของสาร (ค่าเฉลี่ย =
32.49) และ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด่ารงชีวิต (ค่าเฉลี่ย=36.87)
ตารางที่ 41 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 41 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
และระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
ิ
มาตรฐานการเรียนรู้ แต่เมื่อพจารณาคะแนนเฉลี่ยรายมาตรฐานที่มีคะแนนต่่ากว่าร้อยละ 50 โดยมาตรฐานการ
เรียนรู้ที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุด 3 ล่าดับแรก คือ ว 3.1 (ค่าเฉลี่ย = 23.81) ว 7.1 (ค่าเฉลี่ย =28.49) ว 1.1
(ค่าเฉลี่ย =32.13) ตามล่าดับ
ตารางที่ 42 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 42 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ยกเว้น สาระกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
ตารางที่ 43 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2561
ึ
จากตารางที่ 43 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพื้นที่การศกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศทุก
มาตรฐานการเรียนรู้ ยกเว้น มาตรฐาน ว 6.1 ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าค่าเฉลี่ย
ระดับประเทศ
ตารางที่ 44 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 44 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่าแต่ละสาระการเรียนรู้มี
คะแนนเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศทุกสาระการเรียนรู้ยกเว้น สาระกระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
ตารางที่ 45 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2560
ื้
จากตารางที่ 45 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหว่างเขตพนที่
การศึกษากับระดับประเทศ พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยในแต่ละมาตรฐานการเรียนรู้สูงกว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ
ทุกมาตรฐานการเรียนรู้ ยกเว้น มาตรฐาน ว 7.2 ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยต่่ากว่าค่าเฉลี่ย
ระดับประเทศ
ิ
ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ และรายมาตรฐานการเรียนรู้รายวชา
่
ิ
ี
วทยาศาสตร์ 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบวา สาระการเรียนและมาตรฐานการเรียนรู้ที่มคะแนนเฉลี่ยต่่า
่
่
ี
กวาค่าเฉลี่ยระดับประเทศหรือมคะแนนเฉลี่ยน้อยกวาร้อยละ 50 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระการรเรียนรู้
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐานว 6.1 และ ดาราศาสตร์และอวกาศ มาตรฐาน ว 7.2
การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
และมาตรฐานการเรียนรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ตารางที่ 46 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 46 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่เขตพนที่
่
ั
ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระการอาน
ื้
สาระการเขียน สาระวรรณคดีและวรรณกรรม และหลักการใช้ภาษา ตามล่าดับ
ตารางที่ 47 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 47 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศได้แก่
มาตรฐาน ท 1.1 ท 2.1 ท 5.1 ท 4.1 ตามล่าดับ
ตารางที่ 48 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 48 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่เขตพนที่
ื้
ั
ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่
สาระการฟัง การดู และการพูด สาระการอ่าน สาระการเขียน ตามล่าดับ
ตารางที่ 49 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 49 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศได้แก่
มาตรฐาน ท 3.1 ท 1.1 ท 2.1 ตามล่าดับ
ตารางที่ 50 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 50 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่
เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่
สาระการอ่าน สาระการฟัง ดู และ การพูด และ สาระวรรณคดีและวรรณกรรม ตามล่าดับ
ตารางที่ 51 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 51 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศได้แก่
มาตรฐาน ท 1.1 ท 3.1 ท 5.1 ตามล่าดับ
ื่
เมอพิจารณาผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้และรายมาตรฐาน
่
ี
การเรียนรู้ รายวิชาภาษาไทย 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบวา มสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ที่ม ี
ค่าเฉลี่ยต่่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระการเรียนรู้ การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1
ตารางที่ 52 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 52 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่
เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ ภาษาเพอการ
ื่
สื่อสาร และ ภาษาและวัฒนธรรม ตามล่าดับ
ตารางที่ 53 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 53 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
ั
ื้
และระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
ื้
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ต 2.1 ต 1.1 ต 1.2 ต 1.3 ต 2.2 ตามล่าดับ
ตารางที่ 54 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 54 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่
เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ ภาษา
ื้
ื้
ั
เพื่อการสื่อสาร และ ภาษาและวัฒนธรรม ตามล่าดับ
ตารางที่ 55 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 55 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
ั
ื้
และระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
ื้
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ต 2.1 ต 1.2 ต 1.1 ต 1.3 ตามล่าดับ
ตารางที่ 56 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 56 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่
ั
ื้
ื้
เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ ภาษา
เพื่อการสื่อสาร และ ภาษาและวัฒนธรรม ตามล่าดับ
ตารางที่ 57 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 57 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
ื้
ั
ื้
และระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
ื้
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ต 1.3 ต 2.2 ต 1.2 ต 1.1 ต 2.1 ตามล่าดับ
เมื่อพิจารณาผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้และรายมาตรฐาน
้
การเรียนรู้รายวิชาภาษาอังกฤษ 3 ปียอนหลัง (2562-2560) พบว่า มีสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ที่
มีค่าเฉลี่ยต่่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระการเรียนรู้ ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต
1.1 ต 1.2 ต 1.3 และ ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1
ตารางที่ 58 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 58 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่
ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระ
การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น เรขาคณิต จ่านวนและการด่าเนินการ การวัด บูรณาการ และ
พีชคณิต ตามล่าดับ
ตารางที่ 59 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 59 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
ื้
ื้
ั
ื้
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ค 5.2 ค 3.1 ค 5.1 ค 1.2 ค 1.1 ค 3.2
ค 2.1 ค 4.1 บูรณาการ และ ค 4.2 ตามล่าดับ
ตารางที่ 60 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 60 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่
ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระการเรียนรู้ การ
วัด เรขาคณิต พีชคณิต และ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น ตามล่าดับ
ตารางที่ 61 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
ื้
จากตารางที่ 61 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
ั
ื้
ื้
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ค 5.2 ค 1.2 ค 2.2 ค 1.1 บูรณาการ
ค 1.4 ค 5.1 และค 5.2 ตามล่าดับ
ตารางที่ 62 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 62 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า มีสาระการเรียนรู้ที่
ั
ื้
ื้
เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระ
จ่านวนและการด่าเนินการ การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็น พีชคณิต และ เรขาคณิต ตามล่าดับ
ตารางที่ 63 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
ื้
จากตารางที่ 63 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับระดับประเทศ พบว่า มีมาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากมีคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่า
ื้
ั
ื้
กว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ค 1.4 ค 1.1 ค 5.2 ค 5.1 ค 1.2 ค 3.2 ค 2.1 และ
ค 4.2 ตามล่าดับ
เมอพิจารณาผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้และรายมาตรฐาน
ื่
การเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ปีย้อนหลัง (2562-2560) พบว่า มีสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ที่ม ี
ค่าเฉลี่ยต่่ากว่าค่าเฉลี่ยระดับประเทศ 3 ปีติดต่อกัน คือ สาระการเรียนรู้ จ่านวนและการด่าเนินการ มาตรฐาน
ค 1.1 ค 1.2 การวิเคราะห์ความน่าจะเป็น มาตรฐาน ค 5.1 ค 5.2
ตารางที่ 64 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
จากตารางที่ 64 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่
ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระ
บูรณาการ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม แรงและการเคลื่อนที่ สารและสมบัติของสาร สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการด่ารงชีวิต
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก และ พลังงาน ตามล่าดับ
ตารางที่ 65 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
ื้
จากตารางที่ 65 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพนที่การศึกษา
กับ ระดับประเทศ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่
ื้
ื้
ั
การศึกษาต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ว 2.1 บูรณาการ ว 4.1 ว 4.2
ว 3.2 ว 1.1 ว 2.2 ว 7.2 ว 3.1 ว 1.2 ว 6.1 และ ว 5.1 ตามล่าดับ
ตารางที่ 66 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 66 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่
ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระ
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สารและสมบัติของสาร และ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของ
โลก ตามล่าดับ
ตารางที่ 67 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามมาตรฐานการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2561
จากตารางที่ 67 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างเขตพื้นที่การศึกษา
กับ ระดับประเทศ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้ที่เขตพื้นที่ควรเร่งพัฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพื้นที่
การศึกษาต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ มาตรฐาน ว 2.1 ว 4.2 ว 4.1 ว 5.1 ว 3.2 ว 3.1 และ
ว 6.1 ตามล่าดับ
ตารางที่ 68 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานแยกตามสาระการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2560
จากตารางที่ 68 ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยรายสาระการเรียนรู้ พบว่า สาระการเรียนรู้ที่
ื้
ั
ื้
เขตพนที่ควรเร่งพฒนาเนื่องจากคะแนนเฉลี่ยของเขตพนที่ต่่ากว่าคะแนนเฉลี่ยระดับประเทศ ได้แก่ สาระ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก แรงและการเคลื่อนที่ ดาราศาสตร์และอวกาศ ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม และ
พลังงาน ตามล่าดับ