The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

อาสา

อาสา

หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั สโุ ขทยั

"อาสาฬหบชู า" สามารถอา่ นได้ 2 แบบ คอื อา-สาน-
หะ-บ-ู ชา หรอื อา-สา-ละ-หะ-บ-ู ชา ซ่งึ จะประกอบดว้ ยคา
2 คา คอื อาสาฬห ทแ่ี ปลวา่ เดือน 8 ทางจันทรคติ กับคาวา่
บูชา ทีแ่ ปลว่า การบชู า เม่ือนามารวมกันจึงแปลว่า การบูชาใน
เดอื น 8 หรอื การบูชาเพ่อื ระลกึ ถงึ เหตกุ ารณ์สาคัญในเดือน 8

ประวตั วิ นั อาสาฬหบชู า

วันอาสาฬหบชู า เป็นวนั สาคัญวันหน่ึงของพระพุทธศาสนา ตรง
กับวันเพ็ญข้ึน 15 ค่า เดือน 8 ในสมัยพุทธกาลมีเหตุการณ์สาคัญ
เกดิ ขึน้ 4 ประการ ดังต่อไปน้ี

1. เป็นวันที่พระบรมศาสดาทรงแสดงพระธรรมเทศนาเป็น
คร้งั แรก แก่ปญั จวคั คยี ์ทงั้ 5 รูป ท่ีป่าอิสปิ ตนมฤคทายวัน ใกล้เมือง
พาราณสี

2. เป็นวันที่พระบรมศาสดาทรงได้พระสาวกองค์แรก คือ
ท่านโกญฑัญญะไดบ้ รรลธุ รรมเป็นพระโสดาบันองค์แรก
3. เป็นวันท่ีมีพระสงฆ์เกิดขึ้นเป็นรูปแรก คือ พระอัญญาโกญ
ฑัญญะ ภายหลังจากทไ่ี ดบ้ รรลุธรรมเปน็ พระโสดาบันแล้ว ก็ได้ทูลขอ
อุปสมบท พระพุทธองค์ทรงประทานการอุปสมบท ยกขึ้นเป็น
พระภกิ ษรุ ปู แรกในพระพทุ ธศาสนา

4. เป็นวันเกิดข้ึนของพระรัตนตรัย คือ พระพุทธ พระธรรม
พระสงฆ์ ครบเปน็ คร้ังแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเม่ือมีพระสงฆ์เกิดข้ึน
เปน็ พยานในการตรัสรู้ธรรม ความเปน็ พระสมั มาสมั พุทธเจ้าของพระ
พุทธองค์ก็ครบถ้วนบริบูรณ์ คือ มิใช่เพียงแค่ตรัสรู้ธรรมเพียง
พระองค์เดยี วอย่างพระปัจเจกพทุ ธเจา้

ความเปน็ มาของวนั อาสาฬหบชู า

ความเปน็ มาของวันอาสาฬหบชู านน้ั เร่ิมต้นจากในคร้งั พทุ ธกาล
หลังจากพระศาสดาตรสั ร้ใู นวันเพญ็ เดือน 6 แล้วทรงเสวยวมิ ตุ ตสิ ขุ คือ
ความสุขจากการหลุดพ้นเปน็ เวลา 7 สปั ดาห์ หลงั จากนนั้ ทรงพระปริวิตกว่า
ธรรมทพ่ี ระองคต์ รสั รู้นล้ี ึกซ้ึงมาก หมูส่ ตั ว์ทยี่ ังมกี เิ ลสหนายากที่จะรูเ้ หน็ ตาม
ได้ ท้าวสหมั บดีพรหมทรงทราบความปริวติ กของพระองค์ จงึ มาทลู
อาราธนาใหพ้ ระพุทธองคท์ รงแสดงธรรม เพราะสตั วท์ ่มี ธี ุลใี นจกั ษนุ อ้ ยยงั มี
อยู่เมื่อพระผู้มีพระภาคเจา้ ทรงอาศยั พระมหากรุณาในหมู่สตั ว์ผยู้ ังเวยี นตาย
เวยี นเกิดอยู่ในภพสาม จึงทรงตรวจดหู มสู่ ัตวด์ ว้ ยพทุ ธจักษุ ทรงเหน็ หมู่สัตว์
ที่มีกเิ ลสน้อยกม็ ี มีกเิ ลสมากก็มี มีอนิ ทรยี แ์ กก่ ล้ากม็ ี มีอนิ ทรียอ์ อ่ นกม็ ี ท่ี
สอนง่ายกม็ ี สอนยากก็มี เหมือนดอกบวั ทเี่ กดิ และเจริญเติบโตในน้า บาง
พวกกอ็ ยูใ่ นนา้ ลึก บางพวกกอ็ ยเู่ สมอนา้ บางพวกกพ็ น้ จากน้าแล้ว คือ บาง
จาพวกยังไมพ่ รอ้ มทจ่ี ะบาน บางจาพวกก็พรอ้ มท่จี ะบาน เช่นเดียวกันกับหมู่
สตั ว์ท่พี อสอนไดก้ ม็ ีอยู่ จึงทรงรับอาราธนาของท้าวสหัมบดีพรหม

เมื่อท้าวสหัมบดีพรหมกลับไปสู่พรหมโลกแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าก็
ทรงดาริว่า “เราจะแสดงธรรมแก่ใครก่อน ใครจะพึงรู้ท่ัวถึงธรรมนี้ได้เร็ว”
ทรงดาริต่อว่า “อาฬารดาบสและอุทกดาบส เป็นผู้ฉลาดเฉียบแหลม มีกิเลส
เบาบางมานาน หากไดฟ้ ังธรรมกจ็ ะพึงรู้ทั่วถงึ ธรรมไดเ้ รว็ เราควรแสดงธรรม
แก่ท่านทัง้ สองก่อน” ปญั จวคั คีย์ท้ัง 5 ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมาแต่
ไกล จึงได้นัดหมายกันและกันว่า “ท่านท้ังหลาย พระสมณโคดมนี้เป็นผู้มัก
มาก คลายความเพียร เวียนมาเพ่ือความเป็นคนมักมาก กาลังเสด็จมา พวก
เราไม่พึงอภิวาท ไม่พึงลุกข้ึนต้อนรับพระองค์ ไม่พึงรับบาตร จีวร ของ
พระองค์ เพียงแต่วางอาสนะไว้กพ็ อ ถา้ พระองค์ปรารถนากจ็ ะประทบั นั่ง”

ครั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปถึง ด้วยพุทธานุภาพจึงทาให้เหล่า
ปัญจวคั คียน์ ้ันไมต่ ้งั อยใู่ นกติกาของตน ต่างลุกขึ้นตอ้ นรับพระผูม้ ีพระภาคเจ้า
รูปหน่ึงรับบาตร จีวร ของพระผู้มีพระภาคเจ้า รูปหน่ึงปูอาสนะ รูปหนึ่ง
จัดหาน้าล้างพระบาท รูปหนึ่งวางต่ังรองพระบาท รูปหน่ึงนากระเบื้องเช็ด
พระบาทเข้าไปถวาย พระผมู้ ีพระภาคเจ้าประทับนั่งบนอาสนะท่ีปัญจวคั คีย์จัด
ถวาย แล้วทรงล้างพระบาท หลังจากดูแลต้อนรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว
พวกปัญจวัคคีย์ได้เรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยระบุพระนาม และใช้คาว่า
“อาวุโส”

เมื่อพวกปัญจวัคคีย์กล่าวอย่างนั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัส
ห้ามเหล่าปัญจวัคคีย์ว่า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธออย่าเรียกตถาคตโดย
ระบุชอื่ และอยา่ ใชค้ าวา่ อาวโุ ส ดูก่อนทา่ นท้ังหลาย ตถาคตเป็นอรหันต์ ตรัส
ร้เู องโดยชอบแล้ว พวกทา่ นจงเงย่ี โสตสดบั เราได้บรรลุอมตธรรมแล้ว เราจะ
ส่ังสอน จะแสดงธรรม พวกท่านปฏิบัติตามท่ีเราสั่งสอนแล้ว ไม่ช้าก็จะทาให้
แจง้ ซ่ึงคณุ อนั ยอดเยยี่ ม อันเป็นที่สดุ แห่งพรหมจรรย์”

เม่ือพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างน้ีแล้ว เหล่าปัญจวัคคีย์ได้ทูลค้าน
พระผู้มีพระภาคเจ้าว่า “อาวุโสโคดม ที่ผ่านมานั้นท่านได้บาเพ็ญทุกรกิริยา
อย่างย่ิงยวด แต่กย็ งั ไมอ่ าจบรรลุธรรมอันประเสริฐ ก็บัดนี้ท่านเป็นผู้มักมาก
คลายความเพียร เวียนมาเพื่อความเป็นคนมักมาก ไฉนจะบรรลุธรรมเป็น
พระสมั มาสัมพุทธเจา้ ได้เลา่ ”

เม่ือพวกปัญจวัคคีย์กราบทูลอย่างน้ีแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
“ดูก่อนภิกษุท้ังหลาย ตถาคตไม่ใช่เป็นคนมักมาก ไม่ได้เป็นคนคลายความ
เพียร ไมไ่ ด้เวยี นมาเพือ่ ความเปน็ คนมกั มาก ดูก่อนท่านท้ังหลาย ตถาคตเป็น
อรหันต์ ตรัสรู้เองโดยชอบ พวกท่านจงเง่ียโสตสดับ เราได้บรรลุอมตธรรม
แล้ว เราจะส่งั สอน จะแสดงธรรม พวกท่านปฏบิ ตั ิตามท่ีเราสง่ั สอนแล้ว ไม่ช้า
ก็จะทาให้แจ้งซึ่งคุณอันยอดเย่ยี ม อันเปน็ ที่สุดแหง่ พรหมจรรย์” พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าได้ตรัสเช่นน้ีถึง 3 ครั้ง แล้วพระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสต่อไปอีกว่า
“ดูก่อนท่านท้ังหลาย ถ้อยคาเช่นน้ีเราไม่เคยพูดท่ีไหนมาก่อน เราเพิ่งพูดใน
บัดนี้เท่านัน้ ”

พวกปัญจวัคคีย์ เมอ่ื ได้ฟังถอ้ ยคายืนยันอย่างหนกั แนน่ จงึ ยินยอมเชื่อฟงั
และตั้งใจฟงั พระธรรมเทศนาทีพ่ ระผู้มพี ระภาคเจ้าทรงแสดง พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนาแก่ปัญจวคั คีย์ ตรัสถึงขอ้ ปฏิบัติ 2 อยา่ งท่ี
บรรพชติ ไม่พงึ ปฏบิ ตั ิ ไดแ้ ก่

1. การประกอบตนให้พัวพนั ดว้ ยกามสขุ ในกามทั้งหลาย เปน็ ธรรมอัน
เลว เป็นของชาวบ้าน เป็นของปุถุชน ไม่ใช่ของพระอริยะ ไมป่ ระกอบดว้ ย
ประโยชน์

2. การทรมานตนเองใหล้ าบาก สิ่งเหลา่ น้ีไม่ใช่ขอ้ ปฏิบตั ขิ องพระอรยิ ะ
ไมป่ ระกอบด้วยประโยชน์
และทรงยกย่องทางสายกลาง คือ ข้อปฏิบัติท่ีตถาคตไดต้ รสั รดู้ ว้ ยปญั ญาอัน
ย่ิง ไดแ้ ก่ อรยิ มรรคมอี งค์ 8 และ อรยิ สจั 4 จบพระธรรมเทศนา
ทา่ นอัญญาโกณฑัญญะไดด้ วงตาเห็นธรรม บรรลุโสดาปตั ตผิ ล เข้าถงึ พระ
รัตนตรัยภายใน ดว้ ยเหตนุ ้เี อง พระรตั นตรัยจึงไดบ้ งั เกิดขน้ึ ครบถ้วนเปน็ ครัง้
แรก

เมือ่ พระพุทธองค์ทรงประกาศธรรมจกั รให้เปน็ ไปแลว้ บรรดาเทวดา
ท่วั ทุกชั้นฟา้ ก็บันลือเสยี ง ตงั้ แต่ภมุ มเทวาไปจนถึงช้ันพรหมโลกต่างช่ืนชม
อนโุ มทนา ทว่ั ทั้งหมนื่ โลกธาตไุ ดไ้ หวสะเทือนสะทา้ น ทงั้ แสงสวา่ งอนั ยง่ิ ใหญ่
หาประมาณมไิ ด้กส็ ว่างรุ่งเรืองไปท่วั เพราะอานุภาพของเหล่าเทวดา

เมือ่ เราได้ทราบประวตั ิความเป็นมาของวันอาสาฬหบชู าแล้ว พวกเราชาว
พทุ ธทกุ คนจงึ ควรทาจติ ให้เล่ือมใสในพระรัตนตรยั และตัง้ ใจประพฤติปฏบิ ัติ
ธรรมใหเ้ ข้าถึงพระรัตนตรัยภายในโดยเร็ว ประเพณนี ยิ มในวนั อาสาฬหบูชา

ปฐมเทศนาในวนั อาสาฬหบูชา

วันอาสาฬหบูชาเป็นวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เน่ืองจาก
เหตกุ ารณส์ าคัญท่ีเกดิ ขน้ึ เม่อื 45 ปี กอ่ นพทุ ธศักราช ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน
8 คอื วนั เพญ็ เดอื นอาสาฬหะ ณ ป่าอสิ ิปตนมฤคทายวัน เมืองพาราณสี อัน
เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา คือ ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
แก่ปัญจวัคคีย์ การทปี่ ฐมเทศนานี้ไดร้ ับการขนานนามว่าธมั มจกั กัปปวัตนสูตร
ดังกล่าว ก็เนือ่ งด้วยปฐมเทศนานี้เปรยี บประดจุ ธรรมราชรถ ซึ่งพระสัมมาสัม
พุทธเจ้าทรงปรารถนาจะใช้บรรทุกสรรพเวไนยสัตว์ทั้งหลายออกจากห้วง
วัฏสงสารไปสู่แดนเกษม คือพระอมตนิพพาน โดยมีพระพุทธองค์ทรงเป็น
สารถี ส่วนประกอบสาคัญประการหน่ึงที่จะทาให้รถแล่นไปสู่ที่หมายก็คือ ล้อ
รถหรือที่เรียกว่า จักร นั่นเ อง ดังน้ัน ล้อแห่งธรรมราชรถจึงได้ช่ือว่า จักร
ธรรม หรือ ธรรมจกั ร

ตามธรรมดา “ล้อ” หรือ “จักร” ย่อมประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ
ดมุ กา และ กง ส่วน “จกั รธรรม” น้ี สมเดจ็ พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอุปมา
เปรียบโพธิปักขิยธรรมเป็นดุม ปฏิจจสมุปบาทธรรมเป็นกา และอริยสัจ 4
เป็นกง

สาระสาคัญของธัมมจักกัปปวัตนสูตรนี้ คือ การประกาศทางสายกลาง
(มชั ฌิมาปฏิปทา) ซ่ึงเป็นขอ้ ปฏบิ ตั ทิ ไี่ ม่เอียงไปทางกามสุขัลลิกานุโยค อัน
เป็นการประกอบตนแสวงหาความสุขจากกามคุณท้ัง 5 และไม่เอียงไป
ทางอัตตกลิ มถานุโยคอนั เป็นการทรมานตนโดยหาประโยชนม์ ไิ ด้ ซึ่งข้อปฏิบัติ
ทางสายกลาง คือ มัชฌิมาปฏิปทาน้ีเป็นข้อปฏิบัติอันเป็นไปเพื่อความสงบ
ระงับ เพ่ือความรู้ย่ิง เพ่ือความรู้ดีเพ่ือความดับตัณหา เพื่อพ้นไปจากข้าศึก
คือ กิเลส เป็นทางของพระอริยเจ้าผู้ละจากสภาวะฆราวาสออกบรรพชาใน
พระพุทธศาสนาแล้วพึงปฏิบัติตามหนทางสายกลางน้ีเท่านั้น ซึ่ง
มัชฌิมาปฏิปทาน้ีประกอบด้วยองค์ 8 คือ สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมาสติ
สมั มาสมาธิ

มัชฌิมาปฏิปทานี้เป็นแนวปฏิบัติอันเป็นปัจจัยให้เจ้าชายสิทธัตถะบรรลุพระ
สมั มาสมั โพธิญาณตรัสรู้เป็น พระสัพพัญญูพุทธเจ้า และทาให้ประจักษ์แจ้ง
ในอรยิ สัจ 4 อันประกอบด้วย

1. ทกุ ขอริยสจั คือ ทกุ ขอ์ ยา่ งแทจ้ รงิ
2. ทกุ ขสมุทยั อรยิ สัจ คือ เหตใุ ห้เกดิ ทกุ ขอ์ ยา่ งแท้จรงิ
3. ทกุ ขนิโรธอริยสัจ คือ ความดับทกุ ข์อย่างแทจ้ ริง
4. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทาอริยสัจ คือ ข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์
อยา่ งแท้จริง

ญาณทสั นะหรือปัญญาอนั รเู้ ห็นในอริยสัจ 4 น้นั มรี อบ 3 อาการ 12 คอื

ญาณทัสนะในอริยสัจ 4 อันมีรอบ 3 อาการ 12 ของพระองค์นั้น
หมดจดดีแล้วพระพุทธองค์จึงทรงกล้ายืนยันว่า พระองค์ตรัสรู้พระสัมมา
สัมโพธิญาณอันยอดเยี่ยมท้ังในโลกมนุษย์ เทวโลก มารโลก พรหมโลก ใน
หมู่สัตว์ หมู่สมณะ พราหมณ์ เทวดาและมนุษย์ อาสวกิเลสของพระองค์ไม่
กลับกาเรบิ ขึน้ อกี แล้ว พระชาตนิ เ้ี ปน็ ท่สี ุด จะมีภพใหม่อกี กห็ าไม่

จากหลักฐานอันมีปรากฏอยู่นั้น พบว่าพระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสเทศนา
ธัมมจักกัปปวัตนสูตรแก่ปัญจวัคคีย์ภิกษุทั้ง 5 เป็นปฐมแล้ว มิได้ตรัสแสดง
สูตรน้ีอีกเลยตลอดระยะเวลา 45 พรรษาแห่งการตรัสเทศนาเผยแผ่พระ
ศาสนานั้น ล้วนแต่ทรงแสดงธรรมกถาขยายความแห่งปฐมเทศนาในแต่ละ
หมวดโดยเอกเทศ ยิ่งกว่าน้ันยังเป็นท่ีทราบกันท่ัวไปในหมู่นักปราชญ์
ท้ังหลายว่า การตรัสเทศนาธัมมจักกัปปวัตนสูตรเป็นปฐมนี้ ถือเป็นพระ
ประเพณแี ห่งสมเดจ็ พระสมั มาสัมพุทธเจ้าทุก ๆ พระองค์

การแสดงปฐมเทศนาในคร้ังนั้นทาให้โกณ ฑัญญ พราหมณ์ผู้เป็นหนึ่ง
ในปัญจวัคคีย์ได้ดวงตาเห็นธรรม คือ บรรลุเป็นพระโสดาบัน ท่านจึงขอ
อุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธเจ้า ด้วยวิธีเอหิภิกขุอุปสัมปทา
พระอัญญาโกณฑัญญะจึงกลายเป็นพระสงฆ์องค์แรกในโลก และด้วยเหตุท่ี
ท่านได้บรรลุธรรมเป็นพระอริยบุคคลเป็นท่านแรก จึงทาให้ในวันนั้นมีพระ
รัตนตรัยครบองค์สามบริบูรณ์เป็นคร้ังแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระ
ธรรม และพระสงฆ์ ดว้ ยเหตุน้ีจึงเรียกวันน้ีว่า “วันพระธรรม” หรือ “วันพระ
ธรรมจักร” อนั ไดแ้ กว่ ันทลี่ ้อแห่งพระธรรมของพระพทุ ธเจ้าไดห้ มุนไปเป็นคร้ัง
แรกและ “วันพระสงฆ”์ คือ วนั ท่มี พี ระสงฆเ์ กดิ ข้นึ เปน็ ครงั้ แรก

บทสรุป

"อาสาฬหบชู า" สามารถอา่ นได้ 2 แบบ คือ อา-สาน-หะ-บู-ชา หรือ
อา-สา-ละ-หะ-บู-ชา ซ่ึงจะประกอบด้วยคา 2 คา คือ อาสาฬห ที่
แปลวา่ เดือน 8 ทางจันทรคติ กับคาว่า บูชา ทแี่ ปลว่า การบูชา เมื่อนามา
รวมกันจึงแปลว่า การบูชาในเดือน 8 หรือการบูชาเพ่ือระลึกถึงเหตุการณ์
สาคัญในเดือน 8

วันอา สาฬ ห บูช า คื อวั นที่พ ระพุท ธเจ้า ไ ด้ท รงประกา ศ
พระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก หลังจากตรัสรู้ได้ 2 เดือน โดยแสดงปฐม
เทศนาโปรดพระปัญจวัคคีย์ทั้ง 5 ได้แก่ พระโกณฑัญญะ พระวัปปะ
พระภทั ทิยะ พระมหานามะ และพระอสั สชิ ทปี่ า่ อิสิปตนมฤคทายวัน เมือง
พาราณสี แคว้นมคธ จนพระอญั ญาโกณฑญั ญะ ไดบ้ รรลธุ รรมและขอบวช
เป็นพระภิกษุรูปแรกในพระพุทธศาสนา จึงถือว่าวันน้ีมีพระรัตนตรัยครบ
องค์สามบริบูรณ์คร้ังแรกในโลก คือ มีทั้งพระพุทธ พระธรรม และ
พระสงฆ์ ซึ่งเหตุการณ์น้ีเกิดข้ึนก่อนพุทธศักราช 45 ปี ทั้งนี้ พระธรรมท่ี
พระพุทธเจ้าทรงแสดงแก่ปัญจวัคคีย์ท้ัง 5 เรียกว่า "ธัมมจักกัปปวัตน
สูตร" แปลว่า พระสูตรแห่งการหมุนวงล้อธรรม ซึ่งหลังจากปฐมเทศนา
หรอื เทศนากัณฑ์แรกท่ีพระองค์ทรงแสดงจบลง พระอัญญาโกณฑัญญะก็
ไดด้ วงตาเหน็ ธรรม สาเร็จเป็นพระโสดาบนั จงึ ขออุปสมบทเปน็ พระภกิ ษุใน
พระพุทธศาสนา พระพุทธเจ้าก็ได้ประทานอุปสมบทให้ด้วยวิธีท่ีเรียกว่า
"เอหิภิกขุอุปสัมปทา" พระโกณฑัญญะจึงได้เป็น พระอริยสงฆ์องค์แรก
ในพระพุทธศาสนา ต่อมา พระวัปปะ พระภัททิยะ พระมหานามะ และ
พระอสั สชิ ก็ไดด้ วงตาเหน็ ธรรม และไดอ้ ุปสมบทตามลาดบั

สาหรับใจความสาคญั ของการปฐมเทศนา มหี ลกั ธรรมสาคัญ 2 ประการ คอื

1. มัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง เป็นข้อปฏิบัติท่ีเป็นกลาง ๆ
ถูกต้องและเหมาะสมท่ีจะให้บรรลุถึงจุดหมายได้ มิใช่การดาเนินชีวิตที่เอียงสุด 2
อย่าง หรอื อยา่ งหน่งึ อยา่ งใด คอื

การหมกมุน่ ในความสขุ ทางกาย มัวเมาในรูป รส กลนิ่ เสยี ง รวมความ
เรียกวา่ เปน็ การหลงเพลิดเพลินหมกมุ่นในกามสุข หรือกามสุขลั ลกิ านุโยค

การสร้างความลาบากแก่ตน ดาเนินชีวิตอย่างเล่ือนลอย เช่น บาเพ็ญ
ตบะการทรมานตน คอยพ่ึงอานาจสิ่งศักด์ิสิทธิ์ เป็นต้น ซ่ึงการดาเนินชีวิตแบบที่
ก่อความทุกข์ให้ตนเหนื่อยแรงกาย แรงสมอง แรงความคิด รวมเรียกว่า อัตตกิ
ลมถานุโยค

ดงั น้ัน เพื่อละเว้นห่างจากการปฏิบัติทางสุดเหล่าน้ี ต้องใช้ทางสายกลาง
ซ่ึงเป็นการดาเนินชีวิตด้วยปัญญา โดยมีหลักปฏิบัติเป็นองค์ประกอบ 8 ประการ
เรยี กวา่ อรยิ อฏั ฐงั คิกมัคค์ หรอื มรรคมอี งค์ 8 ไดแ้ ก่

1. สัมมาทิฏฐิ เหน็ ชอบ คือ รเู้ ข้าใจถูกตอ้ ง เหน็ ตามที่เป็นจรงิ
2. สัมมาสงั กัปปะ ดารชิ อบ คือ คดิ สุจรติ ตงั้ ใจทาสง่ิ ทีด่ ีงาม
3. สมั มาวาจา เจรจาชอบ คือ กลา่ วคาสจุ รติ
4. สัมมากัมมันตะ กระทาชอบ คือ ทาการทีส่ จุ รติ
5. สัมมาอาชวี ะ อาชีพชอบ คอื ประกอบสมั มาชพี หรอื อาชีพท่สี จุ รติ
6. สัมมาวายามะ พยายามชอบ คือ เพียรละชว่ั บาเพ็ญดี
7. สมั มาสติ ระลกึ ชอบ คอื ทาการดว้ ยจิตสานึกเสมอ ไมเ่ ผลอพลาด
8. สัมมาสมาธิ ต้ังจติ มน่ั ชอบ คือ คุมจิตใหแ้ นว่ แน่มัน่ คงไม่ฟ้งุ ซา่ น

2. อริยสัจ 4 แปลว่า ความจริงอันประเสริฐของอริยะ ซ่ึง
คอื บุคคลทีห่ า่ งไกลจากกิเลส ไดแ้ ก่

1. ทุกข์ ได้แก่ ปัญหาท้ังหลายที่เกิดข้ึนกับ
มนุษย์ บคุ คลต้องกาหนดรู้ใหเ้ ท่าทันตามความเป็นจริงว่ามัน
คืออะไร ต้องยอมรับรู้ กล้าสู้หน้าปัญหา กล้าเผชิญความ
จริง ต้องเข้าใจในสภาวะโลกว่าทุกส่ิงไม่เท่ียง มีการ
เปลีย่ นแปลงไปเป็นอยา่ งอน่ื ไมย่ ึดตดิ

2. สมุทัย ได้แก่ เหตุเกิดแห่งทุกข์ หรือสาเหตุ
ของปัญหา ตัวการสาคัญของทุกข์ คือ ตัณหาหรือเส้นเชือก
แหง่ ความอยากซึง่ สัมพันธ์กับปัจจัยอน่ื ๆ

3. นิโรธ ได้แก่ ความดับทุกข์ เริ่มด้วยชีวิตที่
อิสระ อยู่อย่างรู้เท่าทันโลกและชีวิต ดาเนินชีวิตด้วยการใช้
ปญั ญา

4. มรรค ได้แก่ กระบวนวิธีแห่งการแก้ปัญหา
อนั ไดแ้ ก่ มรรคมีองค์ 8 ประการดงั กล่าวข้างตน้

บรรณานุกรม

(2563). วนั อาสาฬหบูชา. สบื คน้ 3 กรกฎาคม 2563,
จาก https://hilight.kapook.com/

สานกั งานพระพทุ ธศาสนาแหง่ ชาต.ิ (2563). อาสาฬหบูชา.
สบื คน้ 3 กรกฎาคม 2563, จาก http://www.onab.go.th/

หอ้ งสมดุ ประชาชนจงั หวัดสุโขทัย
อาเภอเมืองสโุ ขทยั จังหวัดสุโขทัย 64000

หอ้ งสมุดประชาชนจงั หวดั สุโขทยั อาเภอเมอื งสุโขทัย จงั หวดั สโุ ขทัย

0-5561-2675


Click to View FlipBook Version