The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทความ พะลักพะลาม ในหลวงพระบาง สปป.ลาว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-30 22:32:41

บทความ พะลักพะลาม ลาว

บทความ พะลักพะลาม ในหลวงพระบาง สปป.ลาว

Keywords: พระลัก,พระราม,หลวงพระบาง,ลาว

พระลัก-พระลาม ในหลวงพระบาง มาจากไหน

กฤษฎ์เตชนิ ห์ เสกฐานโชตจิ นิ ดา

วรรณกรรมเรือง “รามายณะ” มาจากคาํ วา่ ราม + อยนะ แปลว่าเรืองรามของพระราม
แตง่ ขนึ โดยฤๅษีวาลมิกิ โดยมีต้นเรืองวา่ แตเ่ ดิมฤๅษีวาลมิกิเป็ นโจรทีร้ายกาจ แตต่ ่อมาภายหลงั ได้บูชา
พระวษิ ณหุ รือพระนารายณ์ทําให้กลบั กลายเป็นฤๅษี ตามประวตั ิกลา่ ววา่ ครังหนึงฤๅษีวาลมิกิได้ถามพระ
นารทฤๅษีวา่ บนโลกนีมีบุคคลทีมีความดีพร้อมทกุ ประการอย่หู รือไม่ พระนารทฤๅษีตอบว่า เคยมีอย่ใู น
อดีตกาลบคุ คลนนั ชือ ราม (หรือรามจันทร์) เป็ นกษัตริย์สรู ิยวงศ์ครองเมืองอโยธยา และเป็ นกษัตริย์ผ้ทู ีมี
ความดงี ามทกุ ประการ พระนารทฤๅษีได้เลา่ เรืองราวของพระรามให้ฤๅษีวาลมกิ ิฟังจนจบ ฤๅษีวาลมิกิเกิด
ความสนใจจงึ คดิ วา่ ต้องการจะบนั ทึกเรืองราวของพระรามไว้เป็นบทขบั ร้องเพือสรรเสริญเกียติของพระราม
แตย่ งั หาคาํ ประพนั ธ์ทีเหมาะสมไมไ่ ด้จึงเกบ็ เรืองราวไว้ก่อน จนกระทงั วนั หนึง ไปอาบนําทีริมฝังแม่นําตม
สา แล้วอทุ านออกมาเป็นทํานองเสียงหนกั เบามคี วามไพเราะเพราะเกิดจากความโศกเศร้าทีได้พบเห็นนาง
นกกะเรียนกลิงเกลอื กศพของนกกะเรียนตวั ผ้ทู ีถกู นายพรานยิงตาย ด้วยเหตนุ ีฤๅษีวาลมกิ ิจึงได้ใช้ลกั ษณะ
คาํ ประพนั ธ์ทีเกิดขนึ ในครังนนั แตง่ เรืองพระรามขนึ ซึงเรียกคําประพนั ธ์ทีแตง่ ขึนนันว่า“โศลก” แปลว่า เกิด
จากความโศก จํานวน 24,000 โศลก และให้ชือวา่ “รามายณะ”เรืองรามายณะของฤๅษีวาลมิกิตามที
ปรากฏในรูปแบบปัจจบุ นั นี (ศกั ดิ ศรี แย้มนดั ดา, 2534)

รามายณะ เป็ นวรรณกรรมทีมีต้นกําเนิดจากประเทศอินเดีย และได้รับความนิยม
แพร่หลายอย่แู ถบเอเชียใต้ ซึง วรรณกรรมนีมีความสําคญั ทังในด้านประวตั ิศาสตร์และศาสนา เกิดการ
แพร่กระจายเข้าสพู่ ืนทีเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้โดย พ่อค้าชาวอินเดีย นําเข้ามาผา่ นราชสํานักขอม รา
มายณะได้รับความนิยมอย่างยาวนานและแพร่หลายไปทวั พืนทีเอเชีย ตะวนั ออกเฉียงใต้ตอ่ มาเนือหาของ
รามายณะจึงได้ถูกปรับเปลียนเพือให้มีความสอดคล้องกับวฒั นธรรมของแต่ละพืนทีจน กลายเป็ น
วรรณกรรมประจําชาติของหลายประเทศ เช่น ประเทศไทยเรียกวา่ รามเกียรติ ประเทศอินโดนีเซียและ
มาเลย์เซีย เรียกวา่ รามายณะ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเรียก พะลกั -พะลาม

วรรณกรรมเรืองพะลกั -พะลาม ถูกพัฒนามาเป็ นการแสดงรับใช้ราชสํานกั เพือแสดง
สถานะและบารมีของ พระมหากษัตริย์ให้แตกต่างไปจากประชาชนทัวไป ใช้ ชือการแสดงตามชือ
วรรณกรรม คือ ฟ้ อนพะลกั -พะลาม โดยต้นกําเนิด ของฟ้ อนพะลกั -พะลามนันมาจากพระนางแก้วเก็งยา
ได้นํานาฏศิลป์ เขมรมาปรับแตง่ จนเกิดเป็นฟ้ อนนางแก้วและฟ้ อนพะลกั พะลาม ใช้แสดงในการพระราชพิธี
และต้อนรับแขกบ้านแขกเมอื ง ฟ้ อนพะลกั -พะลามจึงเป็ นการแสดงทีรวมเอาศิลปะแขนง ต่าง ๆ ของราช
สาํ นกั ลาวเข้าไว้ด้วยกนั เช่น วรรณกรรม วรรณศิลป์ นาฏศิลป์ หัตถศิลป์ ศิลปะการพากย์ ดนตรี
(พิมลพรรณ เลิศล้า, 2558)

2

พะลกั -พะลาม ในปัจจบุ นั มีการแสดงอย่ใู นปัจจบุ ันที โรงละครพะลกั -พะลาม แขวง
หลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว แสดงให้เห็นถึงคณุ ค่าของวรรณศิลป์ ทาง
วรรณกรรม จนกระทงั รูปแบบทางนาฏศิลป์ ทีจดั แสดงอยผู่ ้เู ขยี นได้มโี อกาสเข้าไปชม การแสดงพะลกั -พะ
ลาม ทีโรงละคร พะลกั .พะลาม หอคาํ หลวงพระบาง หรือ หอพิพิธภณั ฑ์แห่งชาติหลวงพระบาง สปป.ลาว.
ผ้เู ขียนได้นงั ชมและมคี วามรู้สกึ วา่ การแสดง พะลกั -พะลาม ของลาวนนั คล้ายคลงึ กบั การแสดงโขนของไทย
และยงั มีความคล้ายคลงึ กบั “ละครโขนกมั พชู า” โดยทีผ้เู ขียนก็เป็นคนในวงการนาฏศิลป์ ของไทย ผ้เู ขียน
จึงมคี วามสนใจทีจะศกึ ษาถงึ ทีมาของการแสดง ท่ารําของตวั ละคร วา่ ได้รับอิทธิพลมาจากชาติใดกันแน่
ซึงก่อนหน้านี ผู้เขียนไมไ่ ด้มีความรู้เรือง พะลกั -พะลาม ทีเป็ นการแสดงของหลวงพระบาง แม้กระทัง
วรรณกรรมทีเป็นต้นแบบของ พะลกั -พะลาม ผ้เู ขียนรู้เพียงแตว่ ่าได้รับอิทธิพลมาจาก เรืองรามายณะ ซึง
เป็นมหากาพย์ของอนิ เดยี เช่นเดียวกนั กบั “โขน” ของประเทศไทย และ “ละครโขนกมั พชู า” ของกมั พชู า

ดงั นนั จากทีผ้เู ขยี นได้เข้าไปชมการแสดงทีโรงละคร พะลกั -พะลาม ทีแขวงหลวงพระ
บาง กบั เพือนๆ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ ซึงผ้เู ขียนได้เห็นถึง
กระบวนทา่ รํา ของตวั ละครตา่ งๆ แม้กระทังเพลงทีใช้บรรเลงประกอบการแสดง คล้ายคลึงกับการแสดง
“โขน” ของไทยเป็นอย่างมาก ผ้เู ขียนยงั เห็นอีกว่า มีท่ารําทีคล้ายคลึง “ละครโขนกมั พชู า” อีกด้วย คือท่า
ไหว้ของตวั แสดงตวั ลิง อีกทงั มงกฎุ ทีนางแก้วสวมใส่ กม็ ลี กั ษณะคล้ายคลงึ กนั ด้วย ด้วยเหตนุ ีผ้เู ขียนจึงมี
ความสนใจถึงทีมาทีไปของ พะลกั -พะลาม จงึ ค้นค้าวเอกสาร ตํารา วิทยานิพนธ์ งานวิจัยตา่ งๆทีเกียวข้อง
กบั พะลกั -พะลาม และวรรณกรรม นํามาสรุปได้ดงั นี

วรรณกรรมเรืองรามายณะ รามเกียรติ หรือภาษาลาวและอีสานเรียกวา่ พระลกั พระลาม
เหตทุ ีสาํ นวนลาวใช้ชือวา่ “พระลกั พระลาม” นนั แสดงให้เห็นถงึ การปรบั เปลียนวฒั นธรรมซึงได้รับอิทธิพล
จากอินเดยี และผสมผสานกบั ความเชือพืนถิน จนกลายเป็นวฒั นธรรมและวรรรกรรมแตล่ ะท้องที

มหากาพย์รามายณะถือเป็นวรรณกรรมทีมีอิทธิพลอย่างมากในกล่มุ ชาติพันธ์ตระกลู ไต
หรือไท เนืองจากเป็ นวรรณกรรมร่วมแต่มีชือเรียกต่างกันออกไปตามกลุ่มชาติพันธ์ คนไทยภาคกลาง
เรียกวา่ “รามเกียรติ” คนไตเรียกว่า “ลงั กา 10 หวั ” ทางภาคเหนือประเทศไทยเรียกว่า “พรหมจกั ร” หรือ
“หอระมาน” สว่ นคนลาว หรืออีสาน เรียกวา่ “พระลกั พระลาม” หรือ “พระรามชาดก”

เรืองพระรามชาดกนนั ถือเป็นการปรบั ความเชือของศาสนาพราหมณ์ฮินดใู ห้กลายเป็ น
สว่ นหนงึ ของพระพทุ ธศาสนา สว่ นใหญ่นิยมใช้เทศน์ในงาน “เฮือนดี” หรืองานศพ การเลา่ เรืองของพระราม
ชาดก อธิบายถึงการถือกําเนิดและการเกิดอีกครังของพระลาม พระลกั และ ท้าววราพณาศวร ซึงถือเป็ น
การม้วนชาดกตามแบบฉบบั ของนิทานอีสานและกวีลาว (ยงยทุ ธ เอียมสะอาด,2559)

3

ภูมิหลังพระลักพระลาม

ยงยทุ ธ เอียมสะอาด(2559)กลา่ ววา่ ในสงั คมลาวสมยั ก่อน ตงั แตส่ มยั พระเจ้าฟ้ างุ่ม คน
ส่วนใหญ่นับถือผีเป็ นหลัก แต่เมือพระองค์เสด็จกลับจากเขมร พระเจ้าฟ้ างุ่มได้นําพุทธศาสนาและ
ขนบธรรมเนียมศลิ ปวฒั นธรรมพร้อมกบั พระมเหสีนามวา่ พระนางแก้วเกง็ ยา (แก้วกลั ยา) ธิดาของกษัตริย์
เขมร กลบั ไปหลวงพระบาง ด้วยความทีพระนางแก้วเก็งยานบั ถือศาสนาพทุ ธ เมือพระนางเห็นอํามาตย์
ราชมนตรี ฆา่ ววั ควาย เพือทําพิธีบชู ายญั พระนางแก้วเก็งยาจึงได้กราบทลู เจ้าฟ้ างมุ่ ให้นําพระพทุ ธศาสนา
มาประดิษฐาน ณ ประเทศลาว แทนการนบั ถือผี ไมเ่ ชน่ นนั พระนางจะเสดจ็ กลบั เขมร ทําให้เจ้าฟ้ าง่มุ ต้อง
นําพระพทุ ธศาสนา และศิลปวฒั นธรรมอยา่ งการฟ้ อนอปั สราเข้ามาในเมืองลาว

ต่อมา เมือครังทีหลวงพระบางและล้านนา มีการติดต่อระหวา่ งกันทําให้รามเกียรติ ของ
ล้านนาเข้ามามีอทิ ธิพลในหลวงพระบาง และล้านช้าง พระเจ้าโพธิสารราช ซึงเป็ นกษัตริย์ของหลวงพระ
บาง ได้นําเอาวรรณกรรมดงั กล่าวมาเผยแพร่และแปลเป็ นภาษาลาวในชือว่า “พระลกั พระลาม” การ
ปรบั เปลียนดงั กลา่ วถือเป็นการปะทะสงั สรรค์ทางวฒั นธรรมโดยเฉพาะอยา่ งยิงในแงว่ รรณกรรม

การเลา่ เรืองพระลกั พระลาม เริมต้นจากการสร้างโลก โดยมีพระมหาพรหมลงมากินง้วน
ดนิ ทําให้กลบั ขนึ ไปบนสวรรค์ไมไ่ ด้ จึงสร้างเมอื งสร้างมนษุ ย์ขนึ มา อย่างไรก็ตามเมอื วเิ คราะห์ข้อมลู เรือง
วงศ์ของพระลกั พระลามนนั พบวา่ พระลกั พระลามในสํานวนของทางลาวมีเชือสายเขมร เนืองจากท้าว
ธตรฐได้หลบหนีจากเมอื งอนิ ทปัฏเพือไปสร้างเมอื งเวียงจนั ทร์เพราะน้อยใจท้าวตปั รเมศวร ผ้เู ป็ นบิดาทียก
เมอื งอินทปัฏให้ท้าววิรุฬหะผ้เู ป็นน้องได้ปกครอง

ลกั ษณะดงั กลา่ วสะท้อนให้เหน็ ความเชือของสงั คมลาวอย่างหนึงเหตใุ ดวรรณกรรมพระ
ลกั พระลามจึงต้องใช้ชือ “พระลกั ” ขนึ ก่อน เนืองจากสงั คมลาวนันเน้นการให้เกียรติผ้นู ้อง นําไปสคู่ วาม
เข้าใจทีวา่ สาเหตทุ ีท้าวตปั รเมศวรยกเมอื งอินทปัฏให้ท้าววริ ุฬหะมาจากการให้เกียรติแก่ผ้เู ป็ นน้อง สว่ นผู้
เป็นพีต้องอออกไปสร้างบ้านแปงเมืองใหมด่ ้วยตนเอง

พระลกั พระลามของลาว เป็ นสํานวนทีมีความยาวมาก ผ้แู ต่งได้จดั เป็ น 2 ภาคแบ่งเนือ
เรืองเป็ นบนั ต่างๆ ในพระลกั พระลาม ภาคที 1 จะดําเนินเรืองคล้ายกบั วรรณกรรมเรืองสงั ข์ศิลป์ ชัยหรือ
ภาษาอีสานภาษาลาวเรียกวา่ “สนิ ไชย” วรรณกรรมเอกในลมุ่ นําโขงมตี วั ละครทีสาํ คญั คือ นางจนั ทา

สว่ นพระลกั พระลาม ภาคที 2 จะกลา่ วถึงเรืองนางสีดาฉะนัน ความต่างของพระลกั พระ
ลามกบั รามเกียรติ ของไทยคอื การซําอนภุ าค การซําอนภุ าคในทีนีหมายถึง การซําเรืองของการพลดั พราก
หรือเรืองของการลกั พาตวั จะเหน็ ได้วา่ ในสาํ นวนไทยมกี ารลกั พาตวั แคค่ รังเดยี วคอื นางสีดา แตส่ ํานวนใน
ลาวนนั มีการลกั พาตวั ถึงสองครัง และครังแรกเป็ นการลกั พาตวั นางจนั ทา ซึงเป็ นพีสาวของพระลกั พระ

4

ลามและครังทีสองเป็นการลกั พาตวั นางสีดา และความต่างอีกประการคือนางสีดาในสํานวนของลาวนนั
เป็นธิดาของท้าวราพณาศวร (ทศกณั ฑ์) และนางจนั ทาพฒั นาการของการบนั ทึกเรืองพระลกั พระลาม

พฒั นาการของการบนั ทกึ เรืองพระลกั พระลามในลมุ่ นําโขง นับตงั แตส่ มยั พระเจ้าฟ้ าง่มุ ที
พระลกั พระลามเข้ามาในลาว มเี พียงการจารลงในใบลานเท่านนั แตม่ ไิ ด้มกี ารจดั พิมพ์เป็นหนงั สือแตอ่ ย่าง
ใด โดย ดร. สเุ นตร โพธิสาร ได้กลา่ ววา่ การเรียบเรียงเรืองพระลกั พระลามนันมีการดําเนินการหลายครัง
ตามแตต่ ้นฉบบั ทีตา่ งกนั

ตอ่ มาในปี พ.ศ. 2513 ศาสตราจารย์ ดร.สจั จิดานนั ดะสหาย ชาวอินเดียได้เดินทางเข้า
มาสอนหนงั สือทีวทิ ยาลยั ครู และเกิดความสนใจในเรืองพระลกั พระลามสํานวนลาวจากใบลานอกั ษรธรรม
หลงั จากนนั ก็รวบรวมเพือปริวรรตและเรียบเรียงเป็นหนงั สอื ดงั กลา่ วในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2516

อย่างไรก็ตาม มีจ้อสงสยั จากคําว่า “นครหลวงกรุงเทพธนบุรี” ซึงปรากฏในหนังสือ
ดงั กลา่ วเป็นเหตใุ ห้นกั วชิ าการบางคน เชน่ ทรงฤทธิ โพธิ เงิน เสนอวา่ พระลก-ั พระลามน่าจะแตง่ ขนึ ในสมยั
เจ้ าอนุวงศ์ เนืองจากยุคนันมีการเรียกกรุงเทพมหานครว่า นครหลวงกรุงเทพธนบุรี เพราะคําว่า
กรุงเทพมหานคร เพิงเปลียนมาใช้ในปี พ.ศ. 2515 ตรงกับยคุ ที ศาสตราจารย์ ดร.สจั จิดานนั ดะสหาย
ปริวรรตเรียบเรียงพระลกั -พระลาม ซึงทําให้เหน็ วา่ บริบทในวรรณกรรมมกี ารปรบั เปลยี นไปตามเหตกุ ารณ์
และ สภาพการณ์ในแตล่ ะสมยั สอดคล้องกบั แนวคิดของอาจารย์สงสาร พรหมจนั ทร์ผ้อู ํานวยการโรงเรียน
สอนฟ้ อนพระลกั พระลาม ซึงกล่าวว่าอิทธิพลของการเมืองมีสว่ นอย่างมากในการปรับแก้บทฟ้ อนหรือ
วรรณกรรม

นอกจากนี ในวรรณกรรมท้องถินของลาวและของอีสานจะไม่ปรากฏชือคนเขียน
เนืองจากเนือหาสว่ นใหญ่มกั เป็นเรืองผกู โยงกบั ราชาธิปไตยหรืออํานาจของพระราชา ดงั นนั หากมีการระบุ
ชือผ้แู ตง่ ในเนือเรืองทีไปกระทบตอ่ เบืองสงู หรือไปเกียวข้องกบั การเมือง ผ้ปู ระพันธ์หรือกวีของเรืองนันอาจ
ต้องโทษได้ แม้กระทังการเก็บข้อมลู เพือการศึกษาวิจัยเรืองพระลักพระลาม ยังมีความละเอียดอ่อน
โดยเฉพาะในประเดน็ ทีเกียวข้องกบั ความมนั คงปัจจุบนั สงั คมลาวบันทึกและสืบทอดวรรณกรรมพระลกั
พระลามผา่ นรูปแบบของศลิ ปกรรมการแสดง และเป็นสว่ นหนงึ ของแบบเรียนในระดบั การศึกษาขนั สงู ของ
ประเทศ (ยงยทุ ธ เอียมสะอาด,2559)

ฟ้ อนพระลัก-พระลาม มีรูปแบบการแสดงได้รับอิทธิพลของการแพร่กระจายทาง
วฒั นธรรม คือ อิทธิพลจากเขมร อิทธิพลจากประเทศไทย และอิทธิพลจากแบบฟ้ อนพืนเมือง จนพัฒนา
กลายเป็ นรูปแบบนาฏศิลป์ หลวงพระบางในปัจจุบัน โดยรูปแบบการฟ้ อนท่าทีสามารถแบ่งออกตาม
ลกั ษณะตวั ละครหลกั 4 คือ ท้าว นาง ยกั และลงิ และการถ่ายทอดทา่ ฟ้ อนเป็นการถ่ายทอดความรู้ระหวา่ ง

5

ครูกบั ศิษย์โดยตรงท่าฟ้ อนจงึ เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของแตล่ ะบคุ คล ด้วยความเป็นธรรมชาติของการใช้
ร่างกายผา่ นกระบวนทา่ ฟ้ อนของช่างฟ้ อนในแตล่ ะบคุ คล (พิมลพรรณ เลศิ ลาํ . 2558)

การแสดงฟ้ อนพระลัก - พระลาม ในสมัยเจ้าศรีสว่างวงศ์ได้มีการนําครูฟ้ อนจาก
ประเทศกมั พชู าเข้ามาสอนและฟื นฟู ฟ้ อนพระลกั – พระลามขึนใหมซ่ ึงต่อมาได้พระราชทานนามยศเป็ น
แสนมะออ่ งอนั เป็นต้นตระกลู นรเดชนรราช และ นรสิงห์ (ศภุ ชัยสิงห์ ยะบุศน์: หลวงพระบางเมืองมรดก
โลก) รวมถึงได้สง่ อาจารย์อ่นุ คา อาจสมยั (บ้านผานม) เข้ามาเรียนการพากย์โขนทีประเทศไทย และ
มอบหมายให้เจ้าอปุ ราชเพชราชเป็นผ้ดู แู ลศิลปะการแสดงแขนงนี มีชาวลือบ้านผานมรับใช้ราชสานักด้วย
การเป็นนกั แสดงรวมถงึ ได้มีการจดั ตงั โรงละครพะลกั - พะลามขนึ ไว้สาหรับเป็ นทีพักและฝึ กซ้อมนกั แสดง
(ปัจจบุ นคือโรงแรมรามายณะ) และมเี พั ั ียสงิ เป็ นผ้ดู แู ลเรืองค่าใช้จ่ายในสว่ นนักแสดง รวมถึงการตดั เย็บ
เสือผ้าทีใช้ในงานแสดงอีกด้วย้ซงึ การแสดงพระลกั – พระลาม นนั ถือเป็นมหรสพหลวงทีจัดการแสดงใหญ่
ให้ชมกนั ทกุ ปี ในช่วงงานบญุ สงกรานต์ และออกแสดงในงานเลียงต้อนรบั แขกอาคนั ตกุ ะของเจ้ามหาชีวิต
รวมถงึ งานบญุ หรืองานมหรสพสมโภชตา่ งๆ ทีราชสานกั หลวงพระบางจะจดั ให้มกี ารแสดงขนึ
(ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ ,2560)

รูปแบบการฟ้ อนแม่ท่าของตัวละครหลัก 4 ตัว คอื ท้าว นาง ยกั ลงิ

ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ (2560) กลาววา จากการสมั ภาษณ์กลมุ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิ หรือช่างฟ้ อน
รุ่นใหมท่ ีได้ทําการแสดงอยใู่ นปัจจบุ นั คือ ท้าวอไุ รดอนสี วิมน แสดงเป็นทดสะกัน ท้าวบุญทวี แสงมนี
แสดงเป็นหะนมุ าน ซงึ เป็นกลมุ่ ช่างฟ้ อนรุ่นแรกของคณะฟื นฟู สรุปได้ว่า เบืองต้นก่อนจะเป็ นตวั ละครนนั
จะต้องมกี ารฝึ กฝนท่าพืนฐานเสียก่อน นนั คือการยําเท้า จะต้องฝึ กเดินยําเท้าเป็ นจังหวะให้ได้เสียก่อน
จากนนั จึงคอ่ ยแยกไปฝึกตามตวั ละครทีครู ได้คดั เลือกให้ ซึงวธิ ีการตอ่ กระบวนทา่ รํานนั จะตอ่ ให้เป็ นตอนๆ
ของการแสดงไปโดยฟังจากเนือความทีครู จะบอกให้ท่าตาม ซึงแตเ่ ดิมนนั มีแบบฟ้ อนของตวั ละครหลกั ๆ
ทีใช้ในการฝึกฝน แตเ่ นืองจากเวลาฝึกฝนและพฒั นานันมีเวลาจากดั จึงใช้วิธีการฝึ กซ้อมแบบเป็ นตอนๆ
ทีใช้ในการแสดงแทน การฝึกเป็ นท่าเฉพาะของแม่ท่าเหมือนแตก่ ่อน ยกตวั อย่างเช่นแบบฟ้ อนท่ายักษ์มี
ทงั หมด 10 ทา่ แตผ่ ้ปู ฏิบตั ิท่าได้เพียงแค่ 6 ท่า เนืองจากใน 6 ท่านัน มีคําร้อง ตรงกนั กับการแสดงในแต่
ละตอนทีได้ตอ่ ท่าการแสดงไว้เชน่ เดียวกบั คาอธิบายของพอ่ เผย กํามะประดิด ผ้คู วบคมุ ดแู ลและฝึ กซ้อม
เฉพาะตวั ท้าวและตวั นางให้กบั คณะฟ้ อนพระลกั - พระลาม ได้อธิบายวา่

“ท่าแบบฟ้ อนนางแก้วมี ทังหมด 17 ท่าก็จริง แตใ่ นการสอนนันจะเลือกใช้กับผ้เู รียนที
ต้องมาแสดงเป็ นเรืองเป็ นตอนของฟ้ อนพระลกั -พระลาม ตามแต่ผู้เรียนจะสามารถรับได้ ไม่จําเป็ นว่า
จะต้องใช้ท่าใดทา่ หนงึ กอ่ นหรือหลงั ซึงในท่าฟ้ อนแบบท้าวมีจํานวนทงั สิน 11 ท่า แตจ่ ะเลือกใช้กับผ้เู รียน
ตามทกั ษะและความสามารถ” ซึงในถา่ ยทอดทา่ รํานนั ตงั แตอ่ ดีตจนถงึ ปัจจบุ นั จะเป็นการถ่ายทอดท่ารํา
ระหวา่ งครูกบั ศิษย์ไมม่ โี รงเรียน หลกั สตู รหรือแบบแผนการเรียนการสอนทีตายตวั เพราะเชือวา่ การได้รับ

6

การถา่ ยทอดจากครูฟ้ อนโดยตรงจะมีความศกั ดิ สิทธิ มากกว่ารวมถึงความเชือความศรัทธาในตวั ผ้เู รียน
ด้วยจึงไมม่ ีโรงเรียนไมม่ กี ารบงั คบั ลกั ษณะของการถา่ ยทอดจะเป็นการฟ้ อนตามครู ผ้ฝู ึกสอน ไมม่ ีลกั ษณะ
ของนาฏศัพท์เฉพาะของท่ารําความงามของท่าฟ้ อนไมม่ ีมาตรฐานในการวดั ความงามในการฟ้ อนเป็ น
ความงามตามแตล่ ะบคุ คล ความงามล้วนเกิดจากความศรทั ธา เพราะเชือ วา่ ผ้ฟู ้ อนกําลงั ฟ้ อนถวายให้กับ
เทพเทวดาทงั หลาย ซงึ เป็นกระบวนท่าฟ้ อน

แม่ท่าของตัวละครหลัก 4 ตัว มีดังนั ี

กระบวนท่ารําแบบฟ้ อนตวั ท้าว (พระ) นนั จะมีท่ารําแม่ท่าหลกั จํานวนทังสิน 11 ท่า โดย
ในแตล่ ะท่านนั จะมี กระบวนท่าทีใช้เป็นองค์ประกอบในการเคลือนไหวรวมทงั สินจานวน 60 กระบวนท่า
ซงึ ในกระบวนท่าแมท่ ่าสว่ นใหญ่นนั กระบวนท่าจบสดุ ท้ายของแตล่ ะท่ามกั มีกระบวนท่าทีซํากนั และมีท่า
หลกั เพียงทา่ เดียวทีไมม่ ีกระบวนทา่ ประกอบคือ ท่าประลองยุด ลกั ษณะสําคญั ทีปรากฏในแบบฟ้ อนตวั
ท้าวนนั จะใช้อวยั วะในการเคลอื นไหวสว่ นลาํ ตวั ช่วงบนตงั แต่ศีรษะ แขน มือ และลําตวั มากกว่าสว่ น
ของร่างกายด้านลา่ ง ซงึ ตงั แตเ่ อวสะโพกและขาทงั สองข้าง

กระบวนทา่ รําแบบฟ้ อนตวั นางนนั จะมที า่ รําแมท่ า่ หลกั จํานวนทงั สนิ 17 ทา่ โดยในแต่ละท่านนั
จะมีกระบวนท่าทีใช้เป็นองคป์ ระกอบในการเคลอื นไหวรวมทงั สินจํานวน 25 กระบวนท่า และมีท่ารําแม่
ทา่ ทีไมม่ กี ระบวนทา่ ประกอบจานวน 5 ทา่ ได้แก่ ท่าทดั มาลาเคยี งไหล่ ท่ากินนาลอนเลียบถํา ท่าช้าง
ประสานงา ทา่ สิงโตหลินหางงามงอน และท่าจิดสะเหน่หา ลกั ษณะสําคญั ทีปรากฏในแบบฟ้ อนตวั
นางคือ ทา่ รําในแมท่ า่ ตวั นางบางท่าจะมกี ารเริมต้นทีเหมอื นกนั แตเ่ มือมีการเคลือนไหวจะมีกระบวนท่าที
ตา่ งออกไป เช่น ท่าพมสหี น้าในกระบวนทา่ ที 2 เมอื ไมม่ กี ารเคลือนทีเปลียนทิศจะกลายเป็ นแมท่ ่า
ช้างประสานงา และท่าพิดสะไหมเรียงหมอน จะมที า่ ทีเหมือนกบั ทา่ กินนารอนเลียบถํา นกั แสดงหญิง
จะมีการปรบั เปลียนนักแสดงอย่บู ่อยครังเนืองจากมีความเชือว่าผ้ฟู ้ อนหญิงจะขนึ ฟ้ อนได้นันจะต้องเป็ น
เพียงสาวบริสทุ ธิ เท่านนั หากชา่ งฟ้ อนหญิงคนไหนแตง่ งานแล้วก็จะไมส่ ามารถแสดงตอ่ ไปได้ ทําให้การ
ฝึกซ้อมและการสืบทอดในกลมุ่ ช่างฟ้ อนหญิงค่อยข้างกระจดั กระจายและมีอยู่จํานวนมากกว่ากล่มุ ช่าง
ฟ้ อนชาย ลําดบั การสืบทอดจงึ ไมแ่ นน่ อนตายตวั

กระบวนทา่ รําแบบฟ้ อนตวั ยกั มีท่ารําแมท่ า่ หลกั จํานวนทงั สนิ 10 ท่า แตผ่ ้ฟู ้ อนได้รับการ
ต่อท่ารําเพียง 6 ท่าเท่านนั ในแตล่ ะท่านันจะมีกระบวนท่าทีใช้เป็ นองค์ประกอบในการเคลือนไหว
รวมทงั สนิ จานวน 43 กระบวนทา่ ทงั นี เนืองจากได้รบั การต่อท่าด้วยวิธีการตอ่ ท่ารําพร้อมกับบทละคร
ประกอบการแสดงไปด้วย ไมไ่ ด้รับการฝึกหดั แมท่ ่าเบืองต้นกอ่ นแตอ่ ยา่ งใด โดยแบบฟ้ อนท่ารําแมท่ า่ หลกั
ทีไมไ่ ด้รบั การตอ่ ท่าคอื ท่าเป็นเหดให้ทืบตีนแผน่ ดินไหว ท่ากวดั แกวง่ ค้อนตะบองให้เป็นไฟ ท่าแต่พเู ขา
สเุ มนกูยกได้ และท่ามวนเทพพระไท้กอยังย้ ามกู โดยท่า มีอปุ กรณ์สําคัญทีใช้ประกอบท่ารําคือ

7

กระบองยกั ทีต้องถือประกอบการฟ้ อน ลกั ษณะท่ารําโดยมากเน้นถึงท่วงท่าความสง่าผ่าเผยของตวั ละคร
การวางเท้ามกั จะตงั เหลียมกว้างเพือแสดงให้เหน็ ถึงความมนั คง แขง็ แรงและไม่ย่อเขา่ ให้ลงตํากับพืนมาก
นกั การใช้วงมอื และแขนดกู ว้างเพือบง่ บอกถงึ ความใหญ่โตของร่างกาย ท่ารําไมซ่ ับซ้อน ในตอนท้ายของ
กระบวนทา่ รําแมท่ า่ มลี กั ษณะใกล้เคียงกนั ในตอนจบแตล่ ะท่า และไมม่ ี ท่าศพั ท์ (นาฏยะศพั ท์) เฉพาะที
ใช้เรียกท่าทางของการรํา

กระบวนทา่ รําแบบฟ้ อนตวั ลงิ นนั จะมที ่ารําแมท่ า่ จํานวนทงั สิน 8 ท่า โดยในแตล่ ะ
ทา่ นนั จะมีกระบวนท่าทีใช้เป็ นองค์ประกอบในการเคลือนไหวรวมทงั สินจานวน 23 กระบวนท่าซึงใน
กระบวนท่าแมท่ ่าสว่ นใหญ่นันกระบวนท่าจบสดุ ท้ายของแต่ละท่ามกั มีกระบวนท่าทีซํากันและมีท่าหลกั
เพียงท่าเดียวทีไมม่ ีกระบวนท่าประกอบคือ ท่าวานอนได้รบั แสงอาลนุ ตนื ขนึ มา ไมป่ รากฏชือเฉพาะทีใช้
เรียกท่าราหรือการเคลือนไหวในแบบท่าฟ้ อนตวั ลงิ ลกั ษณะท่ารําไมซ่ บั ซ้อนไมเ่ น้นท่าทีโลดโผนมากนกั แต่
ก็ว่องไวสมบทบาทของตวั ละครลิง กระบวนท่ารําในตอนท้ายของแม่ท่าหลกั จะมีท่ารําทีซํากนั หลาย
กระบวนท่า

กระบวนการคัดเลือก การฝึ กหัด และการสืบทอด

ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ (2560) กลาววา จากการสมั ภาษณ์ พ่อเผย กํามะปะดิด ครู
ฟ้ อนตวั ท้าวและตัวนาง ได้เลา่ ว่า “ในปี ค.ศ. 1957 สมยั เจ้ามหาชีวิตมีการฝึ กการเรียนทีโรงเรียน
ซึงปัจจบุ นคือ โรงเรียนประถมหลวงพระบาง ซงึ ในพระราชวงั จะมหี นว่ ยทีออกไปตามโรงเรียนตา่ งๆ เพือ
ค้นหาและคดั เลอื กนกั แสดงและนํามาฝึกสอน โดยจะคดั เลอื กนกั เรียนทีมีความสมคั รใจและมีความสนใจ
ทางการฟ้ อน มีอายปุ ระมาณ 14-15 ปี เพือนํามาฝึ กซ้อมในตอนเช้านักเรียนจะเป็ นการเรียนหนงั สือ
จนช่วงบ่ายพกั เรียนหนงั สอื คือ ประมาณ บ่ายสองโมง นกั เรียนจะพากนั ออกมาซ้อม ในบริเวณสนามมี
ครูสอนในทกุ ๆ วนั ซ้อมจนถงึ เวลา 16.00 น. จากทีมาจํานวนมาก แต่สดุ ท้ายก็เหลือน้อยคนทีเป็ นช่าง
ฟ้ อนและจะได้รบั ใช้เจ้ามหาชีวิต ซึงกลมุ่ ช่างฟ้ อนในราชสานกั ทีเหลอื อยปู่ ัจจบุ นั นี ได้แก่ อาจารย์ใหญ่คือ
ทลุ งุ มะนีวง ขดั ติยะลาด ซึงท่านเป็นทีปรึกษาและคนดแู ลภาพรวมทงั หมด ทศกณั ฑ์ 1 คน คือลงุ ทอง
จนั สกุ สะหวดั หะนมุ าน มที ่านบนุ ทนั มะนีวน ท่านสายเพ็ด คําผาสิด แสดงฟ้ อนลําโคมและ
เป็นตวั นกสดายุ และข้าพเจ้าเอง เผย สอนตวั เท้าตวั นาง ซงึ ทกุ ท่านทีกลา่ วมานันได้ร่วมกนั สอนอยู่ทีหอ
แสดงแหง่ นีมารวมกนั อนรุ กั ษ์ฟื นฟขู นึ มาอีกครัง”

ในอดีตการคดั เลอื กนกั ฟ้ อนวา่ จะได้เป็นตวั ละครตวั ใดนนั จะเลือกจากลกั ษณะรูปร่างกอ่ น
ในเบืองต้น เช่น ตวั ยัก จะเลือกเอาผู้ทีห้าวหัน (ตวั ใหญ่ แข็งแรง ทมดั ทะเมง ) ส่วนตัวลิงเอาคนที
คลอ่ งแคลว่ สว่ นนางแก้ว และ สีดา จะคดั เลอื กจากผ้ทู ีรูปร่างออ่ นช้อยสวยงาม โดยจะมีการแยกซ้อมไป
ตามตวั ละครแตล่ ะประเภทซงึ คอื ครูอนุ่ คาํ อาจารย์ฟ้ อนนางแก้ว และตวั ท้าว อาจารย์เผย คนบ้านผานม

8

สอนตวั ลิง สว่ นอาจารย์ทองดี สอนตวั ยัก หากนกั เรียนคนไหนมีพรสวรรค์ มีความขยันตงั ใจเรียน
สามารถสําเร็จ และเกง่ ได้ในเวลา 2 เดือน นอกจากนี ยงั แสดงได้เกือบทกุ ตวั

หลงั จากทีรฐั บาลมกี ารปรบั นโยบายและได้รวมกลมุ่ จดั ตงั เป็ นคณะอนุรักษ์และฟื นฟูแล้ว
นนั มกี ารคดั เลือกและฝึกสอนเดก็ รุ่นใหม่ โดยเริมรุ่นแรกในปี ค.ศ. 2001 ซึงจะมกี ารรับสมคั รและคดั เลือก
ปี ละครัง เมอื ได้รบั การคดั เลือกแล้วจะมีการนดั มาฝึกการฟ้ อนในชว่ งเวลาเสาร์ –อาทิตย์ เท่านันเพราะ
ในวันธรรมดาเด็กจะต้องไปเรียนหนังสือ สําหรับกลุ่มฟ้ อนนางสีดาหรือนางแก้ วนันจะมีการสลับ
ผลดั เปลียนหมนุ เวียนกนั อย่เู รือยๆ เนืองจากผ้ฟู ้ อนจะต้องเป็นสาวบริสทุ ธิเท่านนั หากแตง่ งานออกเรือน
ไปแล้วไมส่ ามารถกลบั มาฟ้ อนได้อีก กล่มุ ฟ้ อนทีเป็ นหญิงจึงมีการผลดั เปลียนอย่เู สมอ โดยการคดั เลือก
นางฟ้ อนจากคณะฟื นฟเู องและเปิ ดรับสมคั รเรียนเป็นระยะ (ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ, 2560)

จากการศึกษาโครงการภาคสนาม ของสาขาวฒั นธรรมศิลปกรรม และการออกแบบ
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น ณ เมอื งหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย
ประชาชนลาวและการเข้าชมการแสดงพระลกั -พระลาม ผ้เู ขยี น ขอนําเสนอทฤษฎีการแพร่กระจายทาง
วฒั นธรรม ดงั ตอ่ ไปนี


ทฤษฎีการแพร่กระจายทางวัฒนธรรม (Cultural Diffusion Theory)


ทฤษฎีนีจะเน้นถึงกระบวนการทางประวัติศาสตร์ทีใช้อธิบายการเปลียนแปลงทาง
วฒั นธรรม เรียกวา่ “ลกั ษณะเฉพาะทางประวตั ิศาสตร์” (Historical Particularism) นักมานษุ ยวิทยาใน
แนวความคิดนีคือ ฟรานซ์ โบแอส (Franz Boas) เป็ นนักมานุษยวิทยาชาวเยอรมนั ทํางานในตําแหน่ง
อาจารย์ในมหาวิทยาลยั โคลัมเบีย ประเทศสหรัฐอเมริกาเน้นวา่ “การแพร่กระจายทางวฒั นธรรมเป็ น
กระบวนการทีมีลกั ษณะสาํ คญั ของ วฒั นธรรมหนึงแพร่กระจาย ไปสอู่ ีกวฒั นธรรมหนงึ โดยปรับเปลียนให้
สอดคล้องกบั วฒั นธรรมใหม”่ นอกจากนนั ยงั เป็นผ้สู นบั สนนุ ให้เกิดแนวคดิ ทีเชือวา่ “วฒั นธรรมสามารถวดั
ได้ โดยนําวฒั นธรรมทีแตกตา่ งกนั มาเปรียบเทียบกนั และพิจารณาคณุ ลกั ษณะทีสงู กวา่ หรือด้อยกวา่ ของ
แตล่ ะวฒั นธรรม แตย่ งั คงเชือวา่ วฒั นธรรมนนั ไมม่ วี ฒั นธรรมใดทีดกี วา่ หรือเลวกวา่ กนั ”

เอช.จี.บาร์เนท(H.G.Barnett)นกั มานษุ ยวิทยาชาวอเมริกนั ผ้ซู ึงสนใจศึกษาในประเด็นที
เกียวกบั นวตั กรรม (Innovation) ทีถือวา่ เป็นตวั แทนจากวฒั นธรรมหนึงและมกี ารถ่ายทอดไปยังวฒั นธรรม
อืน ในงานเขียนชือ “Innovation : The Basis of Cultural Change” (1953) กล่าวไว้ว่านวตั กรรมก็คือ
ความคดิ หรือพฤติกรรมหรือสงิ ใดๆกต็ ามทีเป็นของใหม่ เพราะมนั แตกตา่ งทางด้านคณุ ภาพไปจากรูปแบบ
ทีมีอยู่ บาร์เนทเชือวา่ “วฒั นธรรมเปลยี นไปเพราะนวตั กรรมแตข่ ณะเดียวกนั วฒั นธรรมบางวฒั นธรรมอาจ
เป็นตวั ถว่ งหรือไมส่ นบั สนนุ ให้เกิดมนี วตั กรรมกไ็ ด้ฉะนันเขาจึงเสนอว่าจําเป็ นต้องมีวิธีการส่งเสริมให้เกิด





11

รามมายณะแพร่กระจายเข้าสู่ พะลัก-พะลาม ลาว

วรรณกรรมเรืองรามายณะ หรือภาษาลาวและอีสานเรียกวา่ พระลกั พระลามเหตทุ ีสาํ นวน
ลาวใช้ชือวา่ “พระลกั พระลาม” นนั แสดงให้เห็นถึงการปรับเปลียนวฒั นธรรมซึงได้รับอิทธิพลจากอินเดีย
และผสมผสานกบั ความเชือพืนถิน จนกลายเป็นวฒั นธรรมและวรรรกรรมแตล่ ะท้องที

มหากาพย์รามายณะถือเป็ นวรรณกรรมทีมีอิทธิพลอย่างมากในกลมุ่ ชาติพนั ธ์ตระกูลไต
หรือไท เนืองจากเป็ นวรรณกรรมร่วมแต่มีชือเรียกต่างกันออกไปตามกล่มุ ชาติพนั ธ์ คนไทยภาคกลาง
เรียกว่า “รามเกียรติ” คนไตเรียกว่า “ลงั กา 10 หัว” ทางภาคเหนือประเทศไทยเรียกวา่ “พรหมจักร” หรือ
“หอระมาน” สว่ นคนลาว หรืออีสาน เรียกวา่ “พระลกั พระลาม” หรือ“พระรามชาดก”

เรืองพระรามชาดกนัน ถือเป็ นการปรับความเชือของศาสนาพราหมณ์ฮินดใู ห้กลายเป็ น
สว่ นหนึงของพระพทุ ธศาสนา สว่ นใหญ่นิยมใช้เทศน์ในงาน “เฮือนดี” หรืองานศพ การเลา่ เรืองของพระราม
ชาดก อธิบายถงึ การถือกําเนิดและการเกิดอีกครังของพระลาม พระลกั และท้าววราพณาศวร ซึงถือเป็ น
การม้วนชาดกตามแบบฉบบั ของนิทานอสี านและกวีลาว

วรรณกรรมพะลัก-พะลาม สู่กระบวนท่ารําในการแสดง ฟ้ อนพะลัก-พะลาม

ในการแสดงฟ้ อน พะลกั -พะลาม ของลาวนันกระบวนท่ารํานันมีการสืบทอดมาจากทีใด
จากที (ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ ,2560) กลา่ ววา่ ในสมยั เจ้าศรีสวา่ งวงศ์ได้มีการนําครูฟ้ อนจากประเทศ
กมั พชู าเข้ามาสอนและฟื นฟู ฟ้ อนพระลกั – พระลามขนึ ใหมร่ วมถึงได้สง่ อาจารย์อนุ่ คา อาจสมยั (บ้านผา
นม) เข้ามาเรียนการพากย์โขนทีประเทศไทย ก็แสดงให้เห็นวา่ มีการผสมผสานทางวฒั นธรรมการแสดงจาก
ของทงั สองประเทศเข้าด้วยกนั โดยทีประเทศลาวรบั ศลิ ปะ ทงั ด้านกระบวนท่ารํา และคาํ ร้องทํานองเพลง ที
เป็นของชาตอิ ืนเข้ามาผสมผสานเข้ากบั ท้องถิน จนเกิดเป็นทา่ รําพระลกั -พระราม

แตอ่ ย่างไรก็ตามผ้เู ขยี นก็ยงั ความเหน็ วา่ กระบวนท่ารํานนั ได้มกี ารปรบั เปลยี นรูปแบบจาก
ในสมยั ของเจ้าสวา่ งวรี วงศ์หรือไม่ หรือมีพฒั นาเปลียนแปลง จากทีศึกษาเกียวกบั กระบวนการสืบทอดได้
ทราบวา่ กระบวนทา่ รํานนั ในการถ่ายทอดตงั แตอ่ ดตี จนถงึ ปัจจบุ นั จะเป็นการถ่ายทอดท่ารําระหว่างครูกับ
ศิษย์ไมม่ ีโรงเรียน หลกั สตู รหรือแบบแผนการเรียนการสอนทีตายตวั ลกั ษณะของการถา่ ยทอดจะเป็ นการ
ฟ้ อนตามครู ผ้ฝู ึกสอน ไมม่ ลี กั ษณะของนาฏศพั ท์เฉพาะของท่ารํา ความงามของท่าฟ้ อนไม่มีมาตรฐาน
ในการวดั ความงามในการฟ้ อนเป็นความงามตามแตล่ ะบคุ คล การสบื ทอดในกล่มุ ช่างฟ้ อนหญิงคอ่ ยข้าง
กระจดั กระจายและมอี ยจู่ ํานวนมากกวา่ กลมุ่ ช่างฟ้ อนชาย ลาํ ดบั การสืบทอดจงึ ไมแ่ น่นอนตายตวั แตใ่ น
การสอนนนั จะเลอื กใช้กบั ผ้เู รียนทีต้องมาแสดงเป็นเรืองเป็นตอนของ ฟ้ อนพระลกั -พระลาม ตามแตผ่ ้เู รียน
จะสามารถรับได้ ไมจ่ ําเป็นวา่ จะต้องใช้ท่าใดทา่ หนงึ ก่อนหรือหลงั

12

จากข้อความข้างต้นจะเหน็ ได้วา่ ไมม่ กี ารสืบทอดทีเป็นระบบระเบียบแบบแผนเทา่ ไรนกั จงึ
ทําให้ไมส่ ามารถรู้โดยละเอียดวา่ มกี ระบวนการทีแน่ชดั อย่างไร โดยมกี ารสอนหรือถ่ายทอดให้กบั ผ้ทู ีสนใจ
หากไมส่ นใจแล้วกอ็ าจจะไมม่ ารบั การถา่ ยทอดอีกก็เป็นได้ กระบวนทา่ รําหลกั ๆมทีบนั ทกึ ไว้ในเอกสารมีให้
เหน็ ได้ ชือท่าเรียกของท่ารําทีปรากฎอย่ใู นฟ้ อนพระลกั -พระลาม จะมีความคล้ายคลงึ กนั อย่างมากกับท่า
แมบ่ ทเลก็ ของนาฏศิลป์ ไทย สนั นิษฐานได้ว่า ในช่วงทีอาจารย์อ่นุ คา อาจสมยั (บ้านผานม) เข้ามาเรียน
การพากย์โขนทีประเทศไทย อาจนําเอาชือทา่ เหลา่ นีกลบั ไปใช้เรียกชือกระบวนทา่ รํา และปรบั คําบางคาํ ให้
เข้ากบั ท้องถินทีอาศยั ก็เป็ นได้ แต่นีก็เป็ นเพียงข้อสนั นิษฐานของผ้เู ขียนเท่านัน หากผ้อู ่านต้องการทราบ
ข้อเท็จจริงแนะนําให้ลงศกึ ษาในเชิงลกึ ตอ่ ไป

จากทฤษฎีแพร่กระจายทางวฒั นธรรม ที ” โรเจอร์” เน้นวา่ “การเปลียนแปลงสงั คมส่วน
ใหญ่เกิดจากการแพร่กระจายทางวฒั นธรรมจากภายนอกเข้ามามากกว่า เกิดจากการประดิษฐ์คิดค้น
ภายในสงั คม และนวตั กรรม (Innovation) ทีถ่ายทอดกันนันอาจเป็ นความคิด (Idea) ซึงรับมาในรูป
สญั ลกั ษณ์ (Symbolic Adoption) ถ่ายทอดได้ยาก หรืออาจเป็ นวตั ถุ (Object) ทีรับมาในรูปการกระทํา
(Action Adoption) ซึงจะเห็นได้งา่ ยกวา่ ” ได้กลา่ ววา่ นวตั กรรมทีจะยอมรับกนั ได้ง่าย และการนําเสนอ
ขนั ตอนการตัดสินใจรับเอานวตั กรรมใหม่ กล่าวถึง ขันตอนในการรับรู้นวัตกรรม เกิดความสนใจใน
นวตั กรรมนันๆ ประเมินค่านวตั กรรม ทดลองใช้นวตั กรรม การรับหรือไม่รับเอานวตั กรรม มีประโยชน์
มากกวา่ ของเดมิ สอดคล้องกบั วฒั นธรรมของสงั คมทีรับ ไมย่ งุ่ ยากสลบั ซบั ซ้อนมาก สามารถแบ่งทดลอง
รบั มาปฏิบตั เิ ป็นครงั คราวได้ สามารถมองเห็นเข้าใจง่าย ผ้เู ขียนเห็นว่า ข้อความของ “โจเจอร์” นันได้
นํามาอธิบายปรากฎการณ์ทีเกิดขึน ระหว่างวรรณกรรม จากรามายณะของอินเดีย ถึงพระลกั - พระ
ลาม จนสู่กระบวนท่ารําของการแสดง พระลกั -พระลาม ทีโรงละคร พระลัก-พระลาม นันมีความ
สอดคล้องกนั อย่างมาก กวา่ คอื รามยะณะ ได้มีอทิ ธิพลตอ่ ผ้คู นในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ยกย่องความ
ยิงใหญ่ของมหากาพย์รามายณะ จนเข้ามาเป็นสว่ นหนึง ของอดุ มการณ์ทางการเมืองในการปกครองราช
อาณาจกั รนนั ๆ แพร่กระมาจนถึงเป็ นรูปแบบของการแสดง นํามาปรับเปลียนปรับปรนให้เข้ากบั ภมู ิภาค
ของตน เป็นการใช้วฒั นธรรมร่วมกนั หลากหลายประเทศ

กระบวนท่ารําของการแสดง พระลกั -พระลาม ลาว เช่นเดียวกัน มีการรับวฒั นธรรมของ
ชาติอนื ๆทีมีอทิ ธิพล หรือมีศิลปะด้านการแสดงทีเดน่ กวา่ ก็อาจจะนํามาพัฒนาปรับปรุง หรือเลียนแบบ
นําเป็นแบบอยา่ งเลยกอ็ าจเป็นเชน่ นนั หากวเิ คราะห์แล้วก็เพียงแตใ่ ห้ความเห็นวา่ การแสดงตา่ งๆบนโลก
มนษุ ย์ แล้วแล้วมาจากจินตนาการของมนษุ ย์ทังนัน ในส่วนทีแตกตา่ งกนั ทีรูปแบบ หรือลกั ษณะของการ
แสดง อาจมีปัจจยั ทีทําให้แตกตา่ งคือ ภมู ภิ าคทีอาศยั ตา่ งกนั วฒั นธรรมตา่ งกนั ความเป็นอย่ตู า่ งกนั ภาษา
ต่างกนั แต่ทังนีทังนัน มหากาพย์ของอินเดีย ทีมีอิทธิพลต่อผ้คู นในแถบนีนันก็มีแหลง่ ทีมาทีเดียวกัน
ทงั นนั

13

ผ้เู ขียนขอสรุปสนั ๆ ดงั นีว่า วฒั นธรรมทีมีมาแต่โบราณนนั ผ้คู นในแถบนีก็ใช้วฒั นธรรม
ร่วมกนั มาอย่างเนินนาน นํามาเป็นแบบอยา่ งแนวทาง จนเกิดเป็ นการแสดงประจําชาติของตนก็มี มีการ
แพร่กระจายทางวฒั นธรรมทียาวนานและกว้างขวา ซึงผ้คู นกใ็ ช้ร่วมกนั หากแตจ่ ะบอกวา่ ของใครดีกวา่ ใคร
คงเป็นสิงทีไมถ่ กู นกั เนืองจากแตล่ ะประเทศกม็ วี ฒั นธรรมและอารยะทีตา่ งกนั หากแตพ่ วกเราซงึ เป็นผ้คู นที
อาศยั อยู่ ช่วยกนั ทํานบุ ํารุงอนุรักษ์ศิลปะวฒั นธรรมทีแต่หวงแหนนี เอาไว้ให้ลกู หลานได้ศึกษาค้นคว้า
และอนรุ ักษ์สบื ไป ศลิ ปะและวฒั นธรรมเหลา่ นีกจ็ ะคงอยคู่ แู่ ผน่ ดินตราบนานเท่านาน

เอกสารอ้างองิ

ธญั ลกั ษณ์ มลู สวุ รรณ(2560).การศกึ ษาเปรียบเทยี บอตั ลักษณ์การแสดงโขนรวมเกียรติ กับ
ฟ้ อนพระลักพระลาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวชิ าวฒั นธรรม
ศิลปกรรมและการออกแบบ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

พิมลพรรณ เลศิ ลํา. (2558). ฟ้ อนพระลัก – พระลาม : รูปแบบนาฏศลิ ป์ ลาวหลาวพระบาง.
วทิ ยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดษุ ฎีบณั ฑิต สาขาวิชาวิจยั ศลิ ปะและวฒั นธรรม
มหาวิทยาลยั ขอนแก่น.

ยงยทุ ธ เอียมสะอาด.(2559).วรรณกรรมข้ามชาตพิ นั ธ์ จากรามายณะ ถงึ รามเกียรติ มุ่งสู่
พระลักพระลาม,บทความ, https://yongyutheiamsaart.blogspot.com.

ศกั ดิ ศรี แย้มนดั ดา.(2534) “รามายาณะ,” ใน วรรณวทิ ยา : รวมบทความทางวิชาการภาค
ภาษาและวรรณคดี ไทย - บาลี - สันสกฤต บางเรือง ของ รองศาสตราจารย์ ดร.
ศักดิศรี แย้มนัดดา. หน้า 11-12. กรุงเทพฯ : จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั .

ศภุ ชยั สิงห์บศุ ย์และคณะ.(2545). โครงการสารคดีลาวตอนล่าง. กรุงเทพฯ : โครงการอาณา
บริเวณศกึ ษา 5 ภมู ภิ าค,สํานกั พิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .


Click to View FlipBook Version