The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้ : ลวดลายภาพมงคลจีนบนสิมอีสาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-30 00:05:04

สิมอีสาน

องค์ความรู้ : ลวดลายภาพมงคลจีนบนสิมอีสาน

Keywords: สิมอีสาน

1

ลวดลายภาพมงคงจีนบนสิมอสี าน
Jie Yang

617220021-1
สิมอีสาน หมายถึง อาคารททางพุทธศาสนาท่ีศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีสุด ซ่ึงใชป้ ระกอบการบวช
สวดปาติโมกข์และทาสังฆกรรม สิมอีสานแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ สิมน้า หมายถึง
สิมชว่ั คราว และสิมบก เป็นสิมถาวร และประกอบดว้ ย สิมโปร่งและสิมทึบ และสิมอีสานมีลกั ษณะ
ใหญ่ 4 ประการ ไดแ้ ก่ ประการแรก สิมอีสานพ้ืนบา้ นบริสุทธ์ิ ประการท่ีสอง สิมอีสานพ้ืนบา้ น
ประยุกต์โดยช่างพ้ืนบ้าน (รุ่นหลงั ) ประการที่สาม สิมอีสานพ้ืนบา้ นผสมเมืองหลวง ประการ
สุดทา้ ย สิมอีสานท่ีลอกเลียนเมืองหลวง ส่วนรูปแบบของสิมบก รวมท้งั สิมโปร่ง สิมทึบ ในกลุ่ม
ชนิดสิมโปร่งประกอบดว้ ย สิมโปร่งพ้ืนบา้ นบริสุทธ์ิ มีสองแบบดว้ ยกนั ไดแ้ ก่ แบบไม่มีเสารับปี
กนก และแบบมีเสารับปี กนก และสิมโปร่งพ้ืนบา้ นประยกุ ตโ์ ดยช่างพ้นื บา้ น (รุ่นหลงั ) ในกลุ่มชนิด
สิมทึบประกอบดว้ ย สิมทึบพ้นื บา้ นบริสุทธ์ิมีท้งั สร้างดว้ ยไม้ และสร้างดว้ ยอิฐถือบูน มีท้งั แบบไม่มี
เสารับปักนก และแบบมีเสารับปี กนก และสิมทึบพ้ืนบา้ นประยุกตโ์ ดยช่างพ้ืนบา้ น (รุ้นหลงั ) โดยมี
การใช้พ้ืนบา้ น ไท-อีสาน และมีการใช้ช่างญวน หรือได้รับอิทธิพลช่างญวน ซ่ึงประกอบดว้ ย 4
แบบ คือ แบบไม่มีมุขหนา้ แบบมีมุขหนา้ แบบมีมุขหนา้ และมุขหลงั และแบบมีระเบียงรอบ สิมทึบ
พ้ืนบา้ นผสมเมืองหลวง ซ่ึงเป็ นการแกไ้ ขตดั แปลงสิมเก่าโดยอาศยั งานช่างของภาคกลาง อยา่ งเช่น
แกไ้ ขและเพมิ่ เติมส่วนตกแตง่ ใหเ้ ป็นลวดลายอยา่ งทางกรุงเทพฯ และสิมทึบท่ีลอกเลียนเมืองหลวง
ซ่ึงเป็ นการนาแบบพิมพเ์ ขียวสาเร็จรูปจากกรมศิลปากร มาก่อสร้างโดยตดั แปลงแต่เพียงเล็กนอ้ ย
หรือมิไดต้ ดั แปลงเลย โดยสรุปแลว้ มีรูปแบบทางการช่างต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานแบบเมืองหลวง (วโิ รฒ
ศรีสุโร, 2536)

ภาพท่ี 1 วดั สระบวั แกว้ อ.หนองสองหอ้ ง จ.ขอนแก่น วัดสระบัวแก้ว (ภาพที่
ที่มา: สานกั ที่ 8
1) ต้งั เมื่อปี พ.ศ. 2460 บริเวณท่ีต้งั
วดั มีหนองน้าสาธารณะขนาดใหญ่
ชื่อหนองสระบัวแก้ว จึงต้ังช่ือวัด
ตามช่ื อของหนองน้ าน้ัน ได้รับ
พระราชทานวสิ ุงคามสีมาเม่ือปี พ.ศ.
2482 สิมสร้างเมื่อปี พ.ศ. 2474

จากขอ้ มูลการสัมภาษณ์
กล่าวถึงการสร้างสิมว่า สร้างข้ึนใน
ปี พ.ศ. 2474 โดยพระครูวิบูลพฒั นา
นุยุติ (หลวงพ่อผุย) เจ้าอาวาสใน

2

สมยั น้นั โดยท่านไดใ้ ชร้ ูปแบบจากสิมวดั บา้ นยาง อาเภอบรบือ จงั หวดั มหาสารคาม บา้ นเกิดของ
ท่านเป็ นแบบในการก่อสร้าง

สิมทึบก่ออิฐถือปูน มีขนาด 3 หอ้ ง หลงั คาทรงจว่ั มุงสังกะสี มีปี กนกและเสารองรับ
โดยรอบท้งั สี่ดา้ น ต้งั บนฐานประทกั ษิณสูงจากพ้ืนดินประมาณ 50 เซนติเมตร มีประตูดา้ นหน้า
ดา้ นเดียว ผนงั ดา้ นหลงั ก่อทึบ ผนงั ดา้ นขา้ งเจาะช่องหนา้ ต่างสี่เหล่ียมขนาดเล็กที่สองห้องแรกผนงั
หอ้ งท่ีสามก่อทึบ หนา้ ต่างแบบเรียบ แกะสลกั ลวดลายลอ้ มรอบกรอบหน้าต่างเป็ นลายกนกเล็กๆ
ราวบนั ไดทารูปสิงห์หมอบปูนป้ัน 1 คู่ และรูปผูช้ ายนง่ั หอ้ ยขาอีก 1 คู่ ดา้ นหนา้ สิงห์ บานประตูทา
เป็นกระจงั ไมป้ ระดบั เหนือประตู

ภายหลงั ทางวดั ไดถ้ มดินจนเสมอกบั ฐานประทกั ษิณ และในช่วง พ.ศ. 2536 ไดร้ ้ือ
หลงั คาเดิม แลว้ ก่อเสริมผนงั ข้ึนไปท้งั สี่ดา้ นพร้อมท้งั ก่อสร้างหลงั คาทรงจว่ั ซอ้ นรูปแบบภาคกลาง
ทาสีเหลืองแดงฉูดฉาดตา และต่อมาใน พ.ศ. 2542 สยามสมาคม ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้
ดาเนินการอนุรักษ์สิมหลงั น้ีอีกคร้ัง ดว้ ยการร้ือหลงั คาแบบภาคกลางออกแลว้ สร้างหลงั คาทรงจว่ั
ซ้อนมีปี กนกและเสารองรับโดยรอบ เลียนรูปแบบด้งั เดิม หนา้ บนั ไมท้ าลวดลายตาเวนเปล่งรัศมี
หลงั คามุงดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบ เครื่องบนประดบั ดว้ ยโหง่ ลายอง หางหงส์

จิตรกรรมฝาผนงั ฮูปแตม้ เขียนท้งั ผนงั ดา้ นนอกและผนงั ดา้ นใน ช่างแตม้ คืออาจารยจ์ ึ
อาจารย์ทองมา อาจารย์น้อย บ้านโศกธาตุ และอาจารย์พรหมมา จากอาเภอวาปี ปทุม จงั หวดั
มหาสารคาม ใชส้ ีฝ่ นุ วรรณเยน็ เนน้ ท่ีสีคราม สีเขียว สีเหลืองอมน้าตาล สีน้าตาลแดง และสีดา

ผนงั ดา้ นในเขียนเร่ืองพุทธประวตั ิ สินไซ ผนงั ดา้ นนอกเขียนเร่ื องพระลกั พระราม
(รามเกียรต์ิ) การลาดบั ภาพผนงั ดา้ นใน เร่ิมจากผนงั ดา้ นหนา้ เวยี นไปทางผนงั ดา้ นซา้ ย ส่วนฮูปแตม้
ผนงั ดา้ นนอกลาดบั ภาพเร่ิมจากผนงั ดา้ นขา้ งองคพ์ ระประธานเวยี นมาทางผนงั ดา้ นหนา้ ไปจบที่ผนงั
ดา้ นหลงั องคพ์ ระประธาน การเขียนภาพเขียนเตม็ ผนงั มกั เป็ นภาพบุคคลหนั หนา้ ดา้ นขา้ งมากกวา่
ด้านหน้า ภาพอาคารได้แก่ ปราสาทราชวงั เน้นวาดเครื่องบนด้วยการลงสีหลากหลายและลง
รายละเอียดของกระเบ้ือง เครื่องยอดหลงั คา ท่ีเสาหลอกคนั่ แต่ละห้องของผนังด้านนอก เขียน
ลวดลายดอกไมด้ ว้ ยสีครามและเขียนสีสวยงามมาก ผนงั ดา้ นบนสุดเขียนเป็ นภาพครุฑกางปี ก เป็ น
แถวตลอดผนงั สามดา้ น ยกเวน้ ดา้ นหนา้

การแบง่ คนั่ ภาพ ใชเ้ ส้นแนวพ้นื ดิน แนวร้ัวกาแพง เส้นทางน้า เป็ นตน้ ช่างไดส้ อดแทรก
วถิ ีชีวติ วฒั นธรรม ประเพณีแบบอีสานไวใ้ นภาพหลายตอน เช่น ประเพณีฮดสรงพระลกั พระลามท่ี
ผนงั ดา้ นหน้า การทาคลอดโดยหมอตาแย ขบวนร่ืนเริงเป่ าแคน การแต่งกายของหญิงสาวอย่าง
สวยงาม

ผนงั ดา้ นหนา้ มีเสาหลอกกลางผนงั ๒ เสา ขนาบบานประตู และเสาหลอกที่มุมดา้ นละ ๑
เสา จึงทาใหผ้ นงั ดา้ นหนา้ แบ่งเป็น 3 ช่อง ช่องกลางเจาะประตูและเขียนลวดลายดอกไมด้ ว้ ยสีคราม

3

สีเขียวเยน็ ตา เหนือกรอบประตูวาดภาพราหูอมจนั ทร์ อีกสองช่องขา้ งซา้ ยขวาจึงวาดภาพเรื่อง พระ
ลกั พระลาม (สานกั ศิลปากรที่ 8 ขอนแก่น)

ลาดลายคา้ งคา้ วที่ประกฎ (ภาพที่1 ภาพที่2 และภาพท่ี3) ผูว้ ิจยั สังเกตวา่ ไม่ไดเ้ น้น
ความหมายของคา้ งคาวมากนกั และไม่ไดเ้ นน้ ตวั เลขของคา้ งคาว ซ่ึงอาจสันนิษฐานวา่ เป็ นแค่สัตว์
ประกอบทว่ั ไป โดยไมม่ ีความหมายเหมือนในประเทศจีน

ภาพที่ 2 ฮูปแตม้ วดั สระบวั แกว้ อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น
ท่ีมา: ภายถ่ายโดยผวู้ จิ ยั ในวนั ที่ 20 ตุลาคม 2561

ภาพท่ี 3 ฮูปแตม้ วดั สระบวั แกว้ อ.หนองสองห้อง จ.ขอนแก่น
ท่ีมา: ภายถ่ายโดยผวู้ จิ ยั ในวนั ท่ี 20 ตุลาคม 2561

4

วดั โพธาราม เป็นวดั เก่าแก่สร้าง

ข้ึนต้งั แต่สมยั รัชกาลท่ี 3 โดยชาวลาวที่

อพยพมาจากเวยี งจนั ท์ บา้ นดงบงั ต้งั อยู่

บนโพนสูงลอ้ มรอบดว้ ยป่ าไมห้ นาทึบจึง

ชื่อวา่ “ดงบงั ”ประชากรเป็ นชาวไทยลาว

ต้งั บา้ นคร้ังแรกท่ีบา้ นเก่านอ้ ย โดยต้งั

พร้อมกบั บา้ นตาบางเขต อ.ปทุมรัตต์

บริเวณที่ต้งั บา้ นดงบงั สนั นิษฐานวา่ เห็น

เมืองของเก่า เนื่องจากมีคูน้าลอ้ มรอบ มี

ภาพที่ 4 วดั โพธาราม จ.มหาสารคาม แทง่ ศิลาแลงและขดุ วตั ถุโบราณ กระปุก

ที่มา: ฐานขอ้ มูลทางดา้ นศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม รูปชา้ ง และโครงกระดูกจานวนมาก แต่
เดิมมีหอไตรและโบสถเ์ ก่าสร้างอยกู่ ลาง
พ้ืนถิ่น ดา้ นพทุ ธศิปป์ ในภาคอีสาน
น้าเป็นอุทกฺกขเขปสีมา (หรือท่ีเรียกกนั

โดยภาษาพ้ืนถิ่นวา่ “สิมน้า”) อยทู่ างทิศเหนือของโบสถห์ ลงั ปัจจุบนั ซ่ึงเมื่อชารุดแลว้ จึงไดส้ ร้างสิ

มบกข้ึน โดยพระครูจนั ดี เจา้ อาวาสองคท์ ี่ 4 เป็นผอู้ อกแบบเดิมมีช่ือวา่ “วดั โพธ์ิทอง” มาเปลี่ยนเป็น

“วดั โพธาราม” เม่ือ พ.ศ. 2485

ป็ นสถาปัตยกรรมแบบพ้ืนบา้ นอีสาน ฐานสิมยกสูงต้งั อยบู่ นฐานประทกั ษิณซ่ึงบก

สูงอยโู่ ดยรอบมีเสานางเรียงรองรับชายคาปี กนกตลอด หลงั คาเป็นเคร่ืองไมม้ ุงกระเบ้ืองไม้ (แด่เดิม)

มีลายอง หางหงส์เป็นหวั นาค มีโหง และช่อฟ้า อยูก่ ลางสันหลงั คา เป็ นไมแ้ กะสลกั แบบศิลปกรรม

อีสานพ้ืนบา้ นท่ีสวยงามมาก ผนังก่อทึบตลอด เจาะช่องหน้าต่างขา้ งละ 2 ช่อง เพื่อตอ้ งการแสง

สวา่ งโดยไม่ทาเป็ น บานปิ ดเปิ ด พระประธานใช้ พระไม้ ที่แกะสลกั อยา่ งสวยงามตามฝี มือช่างพ้ืน

ถ่ินซ่ึงให้เอกลกั ษณ์ทางพุทธศิลป์ อย่างเต็มเป่ี ยม ส่วนเพิงด้านหน้าน้ันน่าจะทาข้ึนภายหลงั เพื่อ

ป้องกันฝนไม่ให้ทาลายตัวนาคท่ีเฝ้าบันไดท้ังคู่ ซ่ึงนับเป็ นงานประติมากรรมท่ีมีคุณค่าสูง

เช่นเดียวกนั มีฮูปแตม้ ท้งั ภายในและภายนอกช่างเขียนคือ อาจารยซ์ าลาย และนายสิงห์ เป็ นชาวบา้ น

ดงบงั ท้งั คู่ เขียนสีฝ่ นุ ผสมกาวไม่มีรองพ้ืน ใชส้ ีของพ้ืนผนงั สิมเป็ นสีพ้ืนของฮูปแตม้ สีท่ีใช้มีสีฟ้า

เขียว แดง ดา ขาว วรรณะสีส่วนรวมเป็นสีออ่ นไม่ฉูดฉาด ภาพท่ีตอ้ งการเนน้ ให้เป็ นจุดเด่นสะดุดตา

จะเขียนสีตรงขา้ มตดั กนั เช่น สีครามตดั เส้นดว้ ยสีนา้ ตาล ส้มและดา เป็ นตน้ เน้ือหาเป็ นเรื่องพระ

เวสสันดร พระพุทธประวตั พระป่ าเลไลยก์ รามสูร-เมขลา และเร่ืองสังข์ศิลป์ ชัย นอกจากน้ียงั

สะทอ้ นให้เห็นเหตุการณ์ในอดีต อาทิเช่น การแต่งกาย การไวผ้ ม สภาพสังคม การทาบุญ ความ

เป็ นอยปู่ ระจาวนั การเล้ียงดูบุตร การประกอบอาชีพการคา้ ขาย การล่าสัตว์ ขบั ร้องฟ้อนรา เป็ นตน้

นบั เป็นแหล่งท่ีใหท้ ้งั ความงามและความรู้สึกเก่ียวกบั วถิ ีชีวติ ผคู้ นอีสานในอดีตอยา่ งดียงิ่

ส่วนโครงสร้างและวสั ดุ เป็ นอาคารก่ออิฐสอดินฉาบปูนพ้ืนเมือง (ปะทาย) เคร่ือง

5

บนหลงั คาใช้โครงสร้างไมท้ ้งั หมด เดิมทีมุงกระเบ้ืองไม้ (แป้นเกล็ด) แลว้ มาเปล่ียนเป็ นท่ีสุดเช่น
ปัจจุบนั ส่วนปี กนกย่ืนแบนรานทาเป็ น 2 ช้ัน มีเสาไมร้ ับตลอด มีประโยชน์ใช้ป้องกนั ฝนสาดฮู
ปแตม้ ไดเ้ ตม็ ท่ี เพ่ิงไดร้ ับการบูรณะ จากกรมศิลปากรท้งั ตวั อาคารและจิตรกรรมเสร็จเรียบร้อยแลว้
โครงสร้างและวสั ดุของสิมหลงั น้ีจึงสามารถยนื หยดั ต่อไปไดอ้ ีกนานทีเดียว ท้งั น้ีตอ้ งใหท้ างวดั คอย
สอดดูแลอยอู่ ยา่ งสม่าเสมอดว้ ยอีกทางหน่ึง (ฐานขอ้ มูลทางดา้ นศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมพ้ืน
ถ่ิน ดา้ นพทุ ธศิปป์ ในภาคอีสาน)

ส่วนลาดลายคา้ งคา้ วที่ประกฎ (ภาพที่ 5 ภาพท่ี 6 และภาพท่ี 7) ผูว้ จิ ยั สังเกตวา่ ก็
ไม่ไดเ้ นน้ ความหมายของคา้ งคาวมากนกั และไม่ไดเ้ นน้ ตวั เลขของคา้ งคาวเหมือนกนั แต่รูปร่าง
คา้ งคาวชดั เจนกว่า สามารถดูออกไดว้ ่าเป็ นคา้ งคาว ซ่ึงอาจสันนิษฐานว่า เป็ นแค่สัตวป์ ระกอบ
ทว่ั ไป โดยไมม่ ีความหมายเหมือนในประเทศจีน

ภาพท่ี 5 วดั โพธาราม บา้ นดงบงั อ.นาคูน จ.มหาสารคาม
ที่มา: ภายถ่ายโดยผวู้ จิ ยั ในวนั ท่ี 22 ตุลาคม 2561

6

ภาพที่ 6 วดั โพธาราม บา้ นดงบงั อ.นาคูน จ.มหาสารคาม
ท่ีมา: ภายถ่ายโดยผวู้ จิ ยั ในวนั ที่ 22 ตุลาคม 256

ภาพที่ 7 วดั โพธาราม บา้ นดงบงั อ.นาคูน จ.มหาสารคาม
ท่ีมา: ภายถ่ายโดยผวู้ จิ ยั ในวนั ท่ี 22 ตุลาคม 2561

7

ส่วนลวดลายคา้ งคาวท่ีปรากฎในประเทศจีน คา้ งคาวในภาษาจีน เรียกวา่ 蝙蝠 (bian
fu,เปี่ ยนฝ)ู ดงั น้นั การออกเสียงเหมือนกนั กบั คาวา่ “福” (fu, ฝ)ู ซ่ึงมีความหมาย ความสุข หรือ ตาม
เสียง bian fu (变福) สามารถเขา้ ใจความหมายอีกแง่หน่ึง คือ กลายมีความสุข (Pei Dongying,
2008) หรือ bian fu (遍福) เตม็ ไปดว้ ยความสุข (Chen Youlin, 2013) ลวดลายคา้ งคาวในประเทศจีน
เป็นเครื่องประดบั ในหนา้ ต่าง (ภาพที่ 5)

ภาพท่ี 8 ทศตจีน

ที่มา: Chen Youlin, 2013

และลวดลายคา้ งคาวเป็ นภาพเดี่ยว (ภาพท่ี 9) และลวดลายค้างคาวท่ีคู่กบั ส่ิงศิริมงคลอยา่ งอื่น

กลายเป็ นลวดลายท่ีมีความหมายดีกวา่ คา้ งคาวตวั เด่ียว (ภาพที่ 10) เช่น คา้ วคาว + (ru yi,如意)

คา้ งคาว + กอ้ นเมฆ (xiang yun,祥云) คา้ งคาว + ทอ้ (shou tao,寿桃) คา้ งคาว + (gu

qian,古钱) เป็ นตน้ ซ่ึงมีความหาย เช่น มีความสุข อายุยืนนาน และปลอดภนั โชคดี เป็ นตน้ (Lou

Xiaomeng, 2015)

ภาพที่ 9 ลวดลายคา้ งคาวตวั เดี่ยว

8

ที่มา: Lou Xiaomeng, 2015

ภาพท่ี 10 ลวดลายคา้ งคาวตวั เดี่ยว
ที่มา: Lou Xiaomeng, 2015

และลวดลายคา้ งคาวท่ีปรากฎในเครื่องกระเบ้ือง

ในราชวงศช์ ิง (ภาพที่ 11) เป็ นแจกนั ท่ีมีลวดลายคา้ งคาวห้าตวั

เรียงรอบอกั ษรจีน คาว่า 寿 (shou, โซ่ว) ซ่ึงมีความหมายท่ี

เก่ียวข้องกบั อายุ เน้นอายุยืนนาน อย่างไรก็ตาม ลวดลายที่มี

คา้ งคาวหา้ ตวั เรียงรอบอกั ษรจีน มีช่ือเรียกเฉพาะ คือ 五福捧寿

(Wu Fu Peng Shou, หวูฝ่ ูเผิงโซ่ว) ในหนงั สือโบราณจีนได้

ภาพท่ี 11 เครื่องกระเบ่ือง กล่าวถึง 五福 วา่ หน่ึง อายุยืนนาน สอง ร่ารวย สาม สงบสุข ส่ี
ที่มา: Zhao Chunnuan, 2007 ศิลธรรมท่ีดี และ ห้า ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข ไม่มีป่ วยเจ็บ
จนถึงวนั สิ้นชีวติ (Zhao Chunnuan, 2007)

นอกจากที่กล่าวมาขา้ งตน้ ความหมายของลวดลายคา้ งคาว ยงั ข้ึนอยกู่ บั ตวั เลขของ

คา้ งคาวด้วย (ภาพท่ี 9) ได้แก่ คา้ งคาวหน่ึงตวั มีความหมาย คือ ความสุขอยู่ขา้ งๆ เรา เน่ืองจาก

ตวั เลขหน่ึงเป็นการเริ่มตน้ ของทุกส่ิงทุกอยา่ ง ซ่ึงเป็นการเริ่มตน้ ที่ดี ใหค้ วามหวงั แก่คน คา้ งคาวสอง

ตวั ซ่ึงคา้ งคาวปรากฎเป็นคู่ เน่ืองจากความเชื่อของคนจีน ส่ิงดีๆ จะมาแบบคู่ เหมือนทุกสิ่งทุกอยา่ ง

สามารถแบ่งออกเป็ นสองส่วนดว้ ยกนั คา้ งคาวสามตวั ตวั เลขสามในภาษาจีนมีความหมายแทน

จานวนมากมาย ซ่ึงหมายถึงมีความสุขมากๆ แตใ่ นลวดลายศิริมงคลจีนไมค่ ่อยไดพ้ บคา้ งคาวสามตวั

คา้ งคาวส่ีตวั ส่วนมากจะตามเสียงท่ีคลา้ ยกนั คาวา่ 赐福 (ci fu, ฉ้ีฝู) มีความหมายการให้ความสุข

คา้ งคาวหา้ ตวั หมายถึง หน่ึง อายุยนื นาน สอง ร่ารวย สาม สงบสุข ส่ี ศิลธรรมที่ดี และ หา้ ดาเนิน

ชีวิตอย่างมีความสุข ไม่มีป่ วยเจ็บจนถึงวนั สิ้นชีวิต ซ่ึงคา้ งคาวห้าตวั เป็ นลวดลายที่พบมากที่สุด

คา้ งคาวหกตวั หมายถึง ความราบร่ืน ความสุข คา้ งคาวแปดตวั หมายถึง ความราร่วย ความสุข

(Chen Tao, 2008) จากที่กล่าวมาขา้ งตน้ สังเกตไดว้ า่ คา้ งคาวตวั หน่ึง สอง ส่ี ห้าเป็ นลวดลายที่พบ

9

มากท่ีสุด ส่วน สาม หก แปดมีนานวนนอ้ ย และเจ็ดยงั ไม่เคยคน้ พบ เนื่องจากตวั เลขเจ็ดมีนยั ท่ีไม่ดี
ในงานศพสมยั โบราณก็จะเก่ียวขอ้ งกบั ตวั เลขเจ็ดอยา่ งแน่นแฟ้น และเดือนท่ีเจด็ ก็ถือวา่ เป็ นเดือนที่
ประดูนรกจะเปิ ด ผจี ะออกมาสู่โลกมนุษย์ (Chen Tao, 2008) ดงั น้นั รูปแบบและตวั เลขของคา้ งคาว
ในลวดลายศิริมงคลเป็ นรูปแบบท่ีใช้มาจากมมยั โบราณและไม่ค่อยมีการเปล่ียนแปลงมากนัก
โดยเฉพาะ ตวั เลขของคา้ งคาว

ภาพท่ี 12 ตวั -แปดตวั

ที่มา: Chen Tao, 2008

10

จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ จิตรกรรมฝาผนังหรือฮูปแตม้ ในสิมอีสาน ประเทศไทยและ
ประเทศจีนต้งั แต่สมยั โบราณ ซ่ึงตน้ กาเนิดของลวดลายคา้ งคาวเป็ นประเทศจีนต้งั แต่สมยั โบราณ
และไดแ้ พร่กระจายไปสู่พ้ืนที่ดงั กล่าว แต่พ้ืนท่ีท่ีไดร้ ับวฒั นธรรมน้ี อาจไม่ไดร้ ับตน้ แบบอยา่ งเต็ม
ตวั โดยเฉพาะความหมาย และตวั เลขท่ีส่ือความหมายอยา่ งไรของลวดลาย และผวู้ จิ ยั สันนิษฐานวา่
ช่างในประเทศไทยและสปป.ลาวท่ีเขียนลวดลายคา้ งคาว คงไม่มีความรู้ดา้ นวฒั นธรรมจีนอยา่ งลึก
ซ่ึง อาจเขียนดว้ ย เป็นลวดลายมงคลท่ีขาดไม่ได้ ถา้ จะแสดงความเป็ นจีนหรือสื่อความหมายดา้ นศิริ
มงคล

บรรณานุกรม

ฐานขอ้ มูลทางดา้ นศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมพ้ืนถิ่นดา้ นพุทธศิลป์ ในภาคอีสาน. วดั โพธาราม.
คน้ เม่ือ 10 ธนั วาคม 2561, จาก
http://cac.kku.ac.th/esanart/19%20Province/Maha%20Sarakham/potaram/MS%20potaram
.html

วโิ รฒ ศรีสุโร. (2536). สิมอสี าน. กรุงเทพ: ฆาเพรส.
สานกั ศิลปากรท่ี ๘ ขอนแก่น. สิมวดั สระบวั แก้ว บ้านวงั คูณ ตาบลหนองเม็ก อาเภอหนองสองห้อง

จังหวดั ขอนแก่น. คน้ เม่ือ 10 ธนั วาคม 2561, จาก
http://www.finearts.go.th/fad9/parameters/km/item/
Chen Tao. (2008). Jixiang Wenhua Xia De Bianfu Tuan Yanjiu Ji Fuhaohua Jiedu. (In Chinese).
[Study on Bat Logo under Auspicious Culture and Symbolic Explanation]. Master
Degree. Chongqing University.
Chen Youlin, Li Hehsheng. (2013). Minjian Chuantong Jianzhu Chuangge Zhuangshi Zhong De
Bianfu Tuan Jiexi. (In Chinese).[Analysisi of the Bat Patterns in Folk Traditional Window
Decorations]. Journal of East China Jiaotong University, (30)2013, 112-117.
He Qiukun. (2018). Bashu Qingdai Paifang Dongzhiwu Tuan Yanjiu. (In Chinese). [Research on
Animal and Plant Patterns on Bashu Archway in Qing Dynasty]. Master Degree. Sichuan
Normal University.
Lou Xiaomeng. (2015). Zhongguo Chuantong Jixiang Tuan: Bianfuwen Zhi Tansuo. (In
Chinese). [Chinese traditional auspicious patterns: the exploration of bat patterns].
Modern Decoration (Theory), (08)2015, 169-170.
Pei Dongying. (2008). Cong Bianfuxing Wenshi Chutan Zhongguo Chuantong Jixiang Wenhua
De Tezheng. (In Chinese). [Preliminary Study on the Characteristics of Chinese

11

Traditional Auspicious Culture from Bat-shaped Ornaments]. Suzhousichou, (2)2008,
43-45.
Zhang Zhiyan. (2009). Chuantong Bianfu Wenyang Yishu Fuhao Yanjiu. (In Chinese).
[Researching on Art Semiotics of Traditional Bat Pattern]. Master Degree. Hunan Gongye
University.
Zhao Chunnuan. (2007). Qingdai Ciqi Shang De Bianfuwen. (In Chinese). [Bat pattern on
porcelain in the Qing Dynasty]. Shanghai Wenbo Luncong, (2)2007, 36-41.


Click to View FlipBook Version