The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ฮางฮดสรง : สื่อสัญลักษณ์ สุนทรียภาพ พิธีกรรมและความเชื่อ ในแขวงหลวงพระบาง,นครหลวงเวียงจันทน์และ แขวงจำปาศักคิ์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-04 00:33:26

ฮางฮดสรง

ฮางฮดสรง : สื่อสัญลักษณ์ สุนทรียภาพ พิธีกรรมและความเชื่อ ในแขวงหลวงพระบาง,นครหลวงเวียงจันทน์และ แขวงจำปาศักคิ์

Keywords: ฮางฮดสรง,พิธีกรรม,ความเชื่อ,สื่อสัญลักษณ์

แบบเสนอเค้าโครง ดุษฎบี ณั ฑติ นิพนธ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

ฮางฮดสรง : ส่ือสัญลักษณ์ สนุ ทรียภาพ พธิ ีกรรมและความเช่ือ

ใน แขวงหลวงพระบาง นครหลวงเวียงจันทน์และ แขวงจาปาศักคิ์

The Symbol ,Aesthetic and Belief Ceremony of Haang Hod Song in the
Luang Prabang Province ,Vientiane Capital and Champasack Province

โดย . นาย กนั หา ศรีกุลณวงศ์ .

ปริญญาเอก สาขาวจิ ยั ศิลปะและวฒั นธรรม .
คณะศิลปกรรมศาสตร์ .
มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น .

รุ่นท่ี 2 ปี การศึกษา 2555 .

ภูมิหลงั

ทม่ี า ภูมหิ ลงั ของ ฮางฮดสรง

ฮางฮดสรง เป็นงานศิลปะประติมากรรมไมแ้ บบพ้ืนเมืองอยา่ งหน่ืงท่ีนามาใชเ้ ป็น
สัญลกั ษณ์ในพธิ ีกรรม ทางศาสนา ดง่ั เช่น งานบุญสรงน้าปี ใหม่ หรือ พธิ ีกรรมงานฮดสรง
พระสงฆเ์ พ่ือเล่ือนสมณศกั ด์ิ โดยเกีดจาก ลทั ธิความเช่ือ ประเพณีแบบโบราณ ซ่ืงมีพ้นื
ฐาน วฒั นธรรมประเพณีของคนลาวสะไหมโบราณ ส่วนหลายไดต้ ิดพนั อยกู่ บั ความ เชื่อ
ถือ แบบจิตนิยม โดยส่วนมากแลว้ ชาวลาวจะนบั ถือผตี ่างๆ เช่น ผฟี ้า ผแี ถน ผพี อ่ ผแี ม่ ผี
มะเหสักหลกั เมือง ผถี ้า ตามพวกจีน ตอ่ มาความเช่ือเหลา่ น้ีไดค้ ่อยๆ จางหายไป คงเหลือ
แต่การนบั ถือตามความเช่ือด้งั เดิม นน่ั คือ การนบั ถือผี ท่ีเคยนบั ถืออยแู่ ต่ด้งั เดิมของตนที่
ยงั ไม่มีศาสนา ชื่งปรากฏอยู่ กลุ่มชุมชนท่ีนบั ถือพระพทุ ธศาสนาในกลุ่มวฒั นธรรม ท่ี
เชื่อมโยงสมั พนั ธ์กบั ความเชื่อเรื่องนาคติ ของกลุ่มชุมชนลุม่ แม่น้าโขง

คนลาวท่ีดาลงชีวิตอยเู่ มืองโบราณ สองฝ่ังหลุม่ แม่น้าโขง เคียมีวฒั นธรรม เป็นของ
ตนเอง มาหลายพนั ปี มาแลว้

พายหลงั มา เมื่อประมานตน้ แห่งคริสตศ์ กั ราชไดร้ ับอิทพน วฒั นธรรม จากอินเดย
พระพทุ ธศาสนาไดเ้ ขา้ มาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 3 เมื่อพระเจา้ อโศก
มหาราช ไดส้ ่งพระเถระ 2 รูป คือ พระโสณะ และ พระอุตตระ มาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ
เพอื่ เผยแผพ่ ระพุทธศาสนา เขา้ มาทางฝั่งทะเล ประเทศเวียดนาม กมั พชู า และ สหยาม โดย
เสพาะ แม่นศาสนาพราหมณ์และพทุ ธ เช่น: เทพพระเจา้ สามองค์ ในศาสนาพราหมณ์ คือ
พระพรม,พระวิสนุ(พระนราย) และพระสิวะ ที่แผม่ าจาก อินเดย ไดม้ ีบทบาท อยเู่ หนือ
จิตใจคนลาวโบราณ เร่ีมแต่ หลงั ศตวรรษท่ี5 ,มีสูนกลางอยวู่ ตั พจู าปราสกั ค์ เมืองทุลคม
เมืองแกว้ อุดม ท่งราบเวยี งจนั ทน์ เมื่อศตวรรษท่ี6. ยอ้ นหลงั มีความเชิ่อในอานาจ ท่ียง่ิ ให
ยข่ องเทพเจา้ ในลทั ธิศาสนาพราหมณ์ จิ่งเกีดมีประเพณีบวงสรวงในรูปการต่างฯ เพือ่ ขอ
พรจากเทพเจา้ ใหช้ ่วยปัดเป่ าพยั อนั ตราย ที่อาตจะมีแก่ตนได้ ขอโชคขอลาบ ที่ตนปราถนา
กไ็ ดแ้ ละยอ้ นแฝงอิทธิฤทธ์ิ ของเทพเจา้ ในลทั ธิศาสนาพราหมณ์ จิ่งเกีดมีคาภีไสยศาสตร์

ต่อมาในยกุ พระเจา้ ฟ้างุ่มไดข้ ้ืนปกครองดินแดนลาวลา้ นชา้ งไดน้ าเอาพระพทุ ธ ศาสนา
เขา้ มาเผยแผใ่ นดินแดนลาวลา้ นชา้ ง มาจนถึงปัจจุบนั น้ี (มหา สีลา วิรวงย์ ในพงสาวะดาน
ลาว )

ระบอบการปกครอง ของลาวสมยั เก่า

ระบอบการปกครอง ยงั มีอิท ธิพลของความเชื่อด้งั เดีม ตามฮีตสิบสอง ครองสิบส่ี ตก
ทอดมาจากทางเหนืออยมู่ าก โดยเฉพาะอิทธิพลแบบจีนซ่ืงมกั จะโนม้ ไปในทางวตั ถุนิยม หรือ
เช่ือในสิ่งที่คุณเคยเห็น โทษมาแลว้ เช่น บิดา มารดา บรรพบุรุษ วริ ะบุรุษ ผลู้ ่วงลบั ตายเป็นผไี ป
แลว้ (ต่างกบั ผหี ลอก) ไดร้ ับการยกยอ่ งเชีดชูมากจนมีการ เช่นไหวบ้ วงสรวงกนั หลายละดบั
 ตำแหน่งในเมอื งหลวง ซ่ืงป็นเอกรำชหรือเป็นประเทศรำช

1 .ประมุขของรัฐมีฐำนะเป็นกษตั ริย์ ดังน้นั จ่งื ใช้คำหน้ำว่ำ “พระเจ้ำ”
2 .อปุ รำด(อปุ รำช) เป็นตำแหน่งรองของกษตั ริย์
3 .รำชวงศ์ เป็นตำแหน่งอนั ดบั สำม
4 .รำชบุตร เป็นตำแหน่ง อนั ดับส่ี
 ตำแหน่งในอนั ดับ 2,3, 4 น้ี เป็นเช้ือพระวงศ์ มคี ำนำหน้ำว่ำ “เจ้ำ”
 ช้ันเสนำบดีหรือขนุ นำงช้ันผู้ใหญ่ มคี ำนำหน้ำว่ำ “พญำ” (พระยำ)

ตาแหน่งในหัวเมืองต่างฯ

มีโครงสร้าง หรือองคก์ ารแบบเดียวกบั เมืองหลวง แต่อาจจะเรียกชื่อต่างกนั ไปบา้ ง คือ 1. ประมุขหรือหวั หนา้ เรียกวา่
เจา้ เมือง 2 .อุปราด เรียกวา่ อุปราช ตาแหน่งในอนั ดบั 1 ถืง 4 ดงั กล่าวในขา้ งตน้ มกั จะเป็นเช้ือสาย วงศ์ ญาติของเจา้
เมือง ตา แหน่ง ในอนั ดบั 5 ถืง 16 เป็นขา้ ราชการช้นั ผใู้ หญ่ของเมือง เป็นคณะกรรมการเมือง หรือ ตา แหน่งประจามีคา
นาหนา้ วา่ “เพีย” (ไม่ไช่เพ้ีย) คาวา่ พญา หรือ เพีย น้ีกค็ งมีท่ีมาจาก คาวา่ เพียร และพีระ ตรงกบั วา่ พระยาของคนทางใต้

ถา้ หากเมืองใดมีงานมาก อาจจะแต่งต้งั ตาแหน่งพเิ ศษเพ่ีมข้ืนไดอ้ ีกซื่งมีคานาหนา้ ชื่อวา่ เพยี ท้งั น้นั

ตาแหน่งในชุมชนเลก็

1. ทา้ วฝ่ าย หรือนายเสน้ เทียบกบั ตาแหน่งนายอาเพี เจา้ เมือง, 2. ตาแสง หรือ นายแขวง เทียบกบั ตาแหน่ง กานนั , 3.
นายบา้ น หรือ กวนบา้ น เทียบกบั ตาแหน่ง ผใู้ หญ่บา้ น, 4. จ่าบา้ น เป็นผชู้ ่วยผใู้ หยบ่ า้ น อาจจะมีหลายคนกไ็ ด้

คานาหน้าชื่อ

ถา้ มีเช้ือสาย เจา้ หรือราชวงศ์ กใ็ ชค้ านาหนา้ วา่ “เจา้ ” หรือ “เจา้ นาง”
ถา้ มีเช้ือสายขนุ นางขา้ ราชการ ฝ่ ายชายใชค้ าวา่ “ทา้ ว” ฝ่ ายหญิงใช้ “นาง”

 การปกครองประเทศ ในสมยั พระยาฟ้ าง่มุ (Administration in Fa Ngum’s time)

1.คาเรียกนามยศของกษตั ริยด์ ว้ ยคาวา่ พระยา , 2.ละดบั ทีสอง – มี2ขนุ ตาแหน่งสูงสุด

3. ผบู้ นั ชาการ กองทพั มี 5 ขนุ , 4. ราชวตั กานา มี 2 ขนุ , 5. ราชวตั กาลาง มี 2 ขนุ , 6. ผรู้ ักษา
พระราชวงั และพระราชฐาน มี 2 ขนุ , 7. ขนุ ใหญ่ กวานเมือง มี 6 ขนุ , 8. ขนุ ใหญ่ คอบ มี 5 ขนุ , 9.
เจา้ เมืองคอบดาน ใน ทิศตะวนั ตก 4ขนุ , 10. เจา้ เมืองคอบดาน ในทิศใต้ 9 พระยา , 11. เจา้ เมืองคอบ
ดาน ใน ตาวนั ออกเฉียงใต้ 9 พระยา , 13. เจา้ เมืองคอบดาน ในขอบเขต พวน 10 พระยา , 14. เจา้ เมือง
คอบดาน ในภาคเหนือ 13 พระยา , 15. เจา้ เมืองคอบดาน ในทิศเหนือ 13 พระยา, 16. เจา้ เมืองคอบ
ดาน ในภาคเหนือ 16 พระยา, 17. เจา้ เมือง ในทิศตาวนั ตกของอ่างแม่น้าโขง 17พระยา

  ระบอบการปกครอง สมยั พระเจ้าสุริยวงสา

ประมุขของรัฐมีฐานะเป็นกษตั ริย์ จื่งใชค้ าหนา้ วา่ “พระเจา้ ”, 2. ตาแหน่งสูงสุดอีก 3 เจา้ คื 4 .ราช
บุตร เป็นตาแหน่ง อนั ดบั ส่ี.,3.เสนา ขวา พระยา ,4.เสนา ส่วนกลาง มี 7 พระยา , 5.เสนา ชา้ ย มี 7
พระยา, 6. ผบู้ งั คบั บญั ชาการทหาร มี 6 พระยา , 7. พราหมณ์ หรือ มฮอง: คูในคมั ภีร์ที่นามาเป็น
เร่ืองแสดงธรรมะ10 พระยา , 8. หวั หนา้ คปั ฟาชุม (ดนตรี) 3พระยา , 9. หวั หนา้ มหาเลก็ 2 พระยา
, 10.หวั หนา้ ใหญ่กองรักษาการณ์ 4 พระยา , 11. หวั หนา้ กองตารวจ 4พระยา , 12. หวั หนา้ ผแู้ สดง
ตีกองใหญ่ 4พระยา , 13. หวั หนา้ คณะรับตอ้ นแขก 4พระยา , 14. หวั หนา้ กรมคลงั หลวง 5 พระยา ,
15. พระยา แอน นงั สูแอ 4 พระยา

 การปกครองของสยาม ในปี 1890 -1891
เมืองเอก (เมืองคญั )ของลาวในตาวนั ออก 11เมือง ,2.เมืองเอกลาวทางทิศเหนือ 12 เมือง
3.เมืองเอกลาวทางทิศเหนือ 16 เมือง, 4. เมืองเอกของลาวเขดกลาง 3 เมือง, 5. เมืองเอกของ
ลาวเชียง 6 เมือง,
1.หวั เมืองลาวกาว มี 23 เมืองเอก ,2.หวั เมือง ลาวพวน มี 16 เมืองเอก,3 .หวั เมืองลาวกางมี 3
เมืองเอก ,4. หวั เมืองลาวพงุ ขาว มี 4 เมือง ,5.หวั เมืองลาวพงุ ดา มี 6เมือง
 เมืองหลวงพระบาง พายใต้ การบริหาร ของ เจ้าสรีสะหว่างวงในปี 1904
พระเจา้ สรีสะหวา่ งวงส์ , 2. เจา้ ยามคามอม,3. เสนาผยู้ งิ่ ใหย,่ 4.เสนานอ้ ย

ชื่อทเี่ รียกภิกษุสามเณร

เมื่อกลุ บุตรบรรพชาแลว้ เรียกวา่ จวั จวั น้นั เมื่ออุปสมบทเป็นภิษุภาวะแลว้ เรียกวา่ เจา้ หวั หรือ เจา้ หม่อม
ภิกษุสามเณร ใหเ้ ป็น จวั เป็น เจ้าหัว กน็ บั วา่ เป็นกล ที่ดีอยู่ แมท้ ่ีเรียกวา่ ภิกษุวา่ พระ กช็ ่ือวา่ ยกยอ่ งใหเ้ ป็น เจ้า
เพราะวา่ พระ คาน้ีแปลวา่ ประเสรีฐ คือเป็น จอม กอ็ ยใู่ นวงแห่งหมายวา่ เป็น เจ้า เหมือน กนั . ดว้ ยเหตุน้ี การยกยอ่ ง
ภิกษุเป็น “พระ” ชื่อวา่ ยกใหเ้ ป็น เจ้า แทจ้ รีง ส่วนชาวพายพั เรียก สามเณรวา่ พระ น่าจะมีความหมาย อยา่ งเดียวกนั
แต่เรียก ภิกษุ วา่ ตุ๊ ( คาวา่ ตุ๊ คงจะมาจากคาวา่ สาธุ เพราะทางหลวงพระบาง กเ็ รียก พระที่ไดเ้ ถราภิเษกแลว้ วา่ สาธุ
ถา้ บวช นานไปจนถืง 10 หรือ 20 พรรษา กเ็ รียกวา่ สาธุใหญ่ เพราะแต่ก่อน คาวา่ สาธุ น้ี เป็นคาพระราชทานนาม
ของเจา้ มหาชีวิตถวายใหแ้ ด่คณะสงฆท์ ี่ไดร้ ับเถราภิเษก แลว้ จื่งเรียกวา่ สาธุ )

พิธีเถราภิเษก

คาวา่ เถราภิเษก เป็นคาผสมระหวา่ ง คาวา่ เถระ ซื่งแปวา่ พระผใู้ หย่ ตามพระวินยั กาหนดวา่ พระท่ีมีพรรษา 10 ข้ืนไป
เรียกวา่ เภระ (พระธรรมปิ ฏก, 1995 , ราช บัณ ฑติ ยสถาน ,1996 ) และคาวา่ อภิเษก คือ การแต่งต้งั โดยการทาพิธีรดน้า เช่นพิธี
ข้ืนเสวยราชย์ ของกษตั ริย์ แต่ละสมยั (ราช บัณ ฑติ ยสถาน ,1996) เมื่อรวมความแลว้ อาจหมาย ถืงการแต่งต้งั พระสงฆใ์ หเ้ ป็น
พระผใู้ หญ่ท่ีมีตาแหน่งสูงข้ืน โดยการทาพิธี ฮดสรง หรือ รดน้า.
อภิเษก หมายถืงการรดน้า หรือ ฮดสรง เม่ือค้งั โบราณการน้นั บรพชนถือเอาการรดน้าเป็นสญั ลกั ษณ์ แทนการมอบโอนสิทธ์ิ
ในความเป็นเจา้ ของส่ิงต่างฯ , อภิเษก ยงั หมายถืง การรดน้า เม่ือล่วงเขา้ สู่โอกาส อนั สาคญั ต่างฯ หรือแสดงความเปี ยนแปลง
ทางสถานภาพ

ยอ้ นมีความเชื่อ มนั ไดส้ ะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความสาคญั ของ พระพุทธศาสนาที่ก่อใหเ้ กิดการสร้างรางฮดสรง ในสงั คมชาว
ลาวลา้ นชา้ งต่อวถิ ีชีวิตของชุมชนซ่ึงมีความสมั พนั ธเ์ ชื่อม โยงกนั มาต้งั แต่ อดีตจนถึงปัจจุบนั ฮางฮดสรง เป็นของใชง้ านแบบ
ช่างสิลป ท่ีเกิดจากพิธีกรรม ความเช่ือ ของ งานบุญสรงน้า หรืองานบุญหดสรง พระสงฆใ์ นกลุ่มประเพณี วฒั นธรรมลาว โดย
เฉพาะท่ีปรากฎอยใู่ นกลุ่มชนลา้ นชา้ งและลา้ นนา ในสมยั ก่อน แต่ไม่มีหลกั ฐานการสร้าง ฮางฮดสรง มีมาแต่เม่ือไร ชื่งพบอยู่
ในกลุ่มชุมชน ท่ีนบั ถือพระพุทธ ศาสนาโดยมี ประเพณี ฮีดสิบสอง บุญตรุษสงกรานต์ โดยเฉพาะใน สปปลาว กล่าวคือ ใชส้ า
หลบั พิธีกรรมทางศาสนา การสรงน้าพระภิกษุ เพ่ือเลื่อนสมณสกั ด์ิ ท่ีไดร้ ับอิทธิพล จากวฒั นธรรมกระแสหลกั จากลาวลา้ นชา้ ง
ที่เช่ือมโยงสมั พนั ธ์กบั เร่ือง นาคาคติ และ ยงั รวมถีงการนามาใชส้ าหลบั สรงน้าพระพทุ ธรูปสาคนั ตาม ประเพณีโบราณ .

ฮางฮด,โฮงฮด หมายถีง รางรดน้าสรง ในสมยั หลงั นิยมเรียกกนั อยา่ งภาษาปากวา่ โฮงฮด โดยคา
วา่ โฮง น้นั หมายถีง โฮงเรือน อนั เป็นท่ีอยขู่ องเจา้ เมืองอยา่ งที่เรียกวา่ โฮงชาว ส่วนของสามญั ชน
เรียกวา่ เฮือน ส่วนคาวา่ ฮด น้นั กห็ มายถีง การรดน้า ถา้ ใชก้ บั พระหรืเจา้ นายกจ็ ะใชค้ าวา่ หดสรง
ฮด หด กว็ า่ ไดใ้ นแง่ของภาษา และความหมาย ท่ีถูกตอ้ งเก่ียวกบั การเรียกชื่อ งานช่างชนิดน้ี ตาม
ความหมายรูปทรงสณั ฐานและประโยชนใ์ ชส้ อย น่าจะเป็นช่ือ ฮางฮด คาวา่ ฮาง ในภาษาลาวและ
ภาษาอี่สานหมายถีงรางนา้ ใชใ้ นบริบทของงานช่างหมายถีงไมท้ ี่นามาขดุ เป็นร่องสาหลบั รองน้า
ถา้ อยกู่ อ้ งสายคาของบา้ นเรียกวา่ ฮางรีน ( ปรากฏในหนงั สือประเพณีโบราณ อีสาน ของอาจารยป์ รีชา พีณทอง )

รางฮดสรงแม่นเครื่อง ประกรอบพธิ ีการหดสรง
 รางฮดสรงน้ี ถา้ วตั หรือบา้ นใดท่ีใหยโ่ ต มีหลกั ถาน เจา้ วตั สมพาน เป็นอาจานสอนและไดเ้ รียนคาพี

ทงั หา้ ไดส้ าเร็จแลว้ วตั น้นั มกั จะมีรางฮดสรงไวป้ ระจาวตั , สาหลบั บา้ นที่ไม่มีหลกั ฐานเจา้ วตั สม
พาน ไม่เป็นผแู้ ตกสานในธธม ปาลี แมจ้ ะมีฮางฮดสรง แต่กไ็ ม่สวยงาม คงทาเป็นราง ที่วาดสีต่างฯ
ใส่เท่าน้นั ( มหา คาผุน พลิ าวงศ์, 2009 วฒั นธธมและประเพณีโบรานลาว)

 ຮາງຫົ ດແ​ ບ່ ງ​ອອກເປັ ນ 3 ສ່ວນຄ​ື

. 1 ສ່ວນ​ຖານ ​ເຮັ ດ​ດ້ວຍ​ໄມ້ ​ແຂງ ມີ ຮ​ ູ ບ​ແບບຂ​ າ​ຮັ ບໂ​ ຄງສ​ ້າງ ​ແບບ4ຂາແລະແບບ2ຂາ ມີ ຫ​ ລາຍ​

ແບບ ​ເປັ ນ​ແບບຕ່ າງໆ ຄວາມສ​ ູ ງປະມານ1-2ແມດມີ ລວດລາຍ​ຕົ ກ​ ແຕ່ ງຕີ ນ​ເສົ າ​ດ້ວຍ​ບັ ນດາຮ​ ູ ບ​
ສັ ດທາ​ງຄວາມ​ເຊ່ ອໂ​ ຄງສ້າງ​ຮັ ບ​ນ້ າໜັ ກ ບາງແບບ​ຕົ ກ​ແຕ່ ງ​ຢ່ າງວ​ີ ​ຈິ ດງ​ົ ດງ​ າມ​ຕາມ​ແບບສ​ິ ລະ​ປະ​ພ້ ນ​
ບ້ ານ

 2. ສ່ວນຫົ ວ ເປັ ນຮູ ບຫົ ວພະຍານາກ ຊ່ ງມີ ຫລາຍໆແບບທ່ີ ແຕກຕ່ າງກັ ນ

. 3 ສ່ວນຕ​ ົ ວຮ​ າງຫ​ ົ ດ ຮາງ​ລີ ນ​ ​ເຮັ ດ​ດ້ວຍ​ເນ້ ອໄມ້ ​ແຂງທ່ ອນ​ຍາວ ສ່ວນກ​ າງຂ​ ູ ດ​ເຮັ ດເ​ປັ ນຮ​ າງຫລ

ເປັ ນ​ຮ່ອງ​ເໝອນກ​ ັ ບ​ເຮອ​ ຕົ ກແ​ ຕ່ ງຈ​ າຫ​ ລັ ກ​ເປັ ນຮ​ ູ ບ​ພະຍາ​ນາກ ມີ ​ຄວາມຍ​ າວ 3-4ແມດ
ເສ້ັ ນ​

ຜ່ າ​ສູ ນກ​ າງປ​ ະມານ 20-25ຊຕມ ​ແກະ​ສະ​ລັ ກ ບ່ ອນຕ່ ຈາກຫົ ວແລະຕົ ວຮາງເພິ່ ນໄດ້ເຈາະ
ໃຫ້ມີ ຮູ ນ້ າໄຫລອອກ.

 . เฉพาะส่วนบ่อนเทน้า เป็นรูปตวั หง เพอ่ื เป็นบ่อนเทน้าลงใส่ใหไ้ หลลงไปตามราง
ของตวั ของตวั นาก แลว้ บ่อนน้าไหลออกเป็นรูปปากนาก หรือบางแบบมีความ
แตกต่างกนั เจาะเป็นรูกรมฯ เท่าน้นั

 1. ฮางฮดสรง ใชใ้ น พิธีเถราภิเษกหรือฮดสรง งานประเพณีโบราณของชาวลาว

หรือชาวอี่สาน กิจกรรมที่ชาวบา้ น จดั ข้ึนเพืืื่อยกยอ่ งพระท่ีปฏิบตั ิดี ปฏิบตั ิชอบ
มีคุณธรรม มีความสามารถในชุมชนข้ึนเป็น 1 . ช้นั สาเร็จ (บางแห่งเรียก สมเดจ็ ) ,
2. ช้นั ชา(ปรีชา), 3. ช้นั คู (ครู), 4. ช้นั ราชคู(สาหรับครูบา

1. ฮดสรง คร้ังแรก เรียกสาเร็จ สกึ ออกมำเรียก“อำจำรย์”, 2. ฮดสรง คร้ังท่2ี
เรียกซา สกึ ออกมำเรียก“อำจำรยซ์ ำ”, 3. ฮดสรงคร้ังท่3ี เรียกญาครู สกึ ออกมำ
เรียก“อำจำรย์ครู” , 4.ฮดสรงคร้ังท่4ี เรียกญาท่าน สกึ ออกมำเรียก“จำรย์ท่ำน”.

. 2). บุญสรงน้า หรือ ตรุษสรงกรานต์ มีการรดน้าพระพทุ รูป พระสงฆ์ กบั ผู้

หลกั ผใู้ หญ่คือ ผมู้ ีอายสุ ูง มีความรู้สูงเกิดในตระกลู สูง โดยเป็น พอ่ แม่ ป่ ู ยา่ ตา

ยาย ที่มีสมณศกั ด์ิสูง และ มีการทาบุญถวายทาน การทาบุญสรงน้ากาหนดเอาวนั
ข้ึน15 ค่าเดือน 5 บางทีเรียกวา่ บุญเดือนหา้ ถือเป็นเดือน สาคญั เพราะเป็นเดือนที่
เริ่มตน้ ปี ใหม่ โดยการสร้างหอหรือโฮงไวก้ ลางลานเพอ่ื สะดวกแก่การสรงน้า เว
ลา บ่าย 3 โมง พระสงฆต์ ีกองโฮม ญาติโยมจดั น้าอบน้าหอมาเรือนละหาบรวมกนั
ที่ศาลาโรงธรรม (หอแจก)

( ศุภชัย สิงห์ยะบุศย์, พ้ืนท่ีพิทีกรรมและการต่อรองเชีงอตั ลกั ษณ์ ในกระแสโลกาภิวตั น์ ; หลวงพระบางเมืองมรดก
โลก .2551.)

พธิ ีกรรมบุญปี ใหม่ พ.ส.2549 ในวดั ใหม่สีสุวนั นะพมู ารามใชเ้ ป็นพ้ืนท่ีติดต้งั ”ฮา้ นสรงพระบาง” ในพิธีกรรมสรงน้าพระบาง มีผงั

เป็นรูปส่ีเหลี่ยมจตั ุรัสสร้างข้ืนดว้ ยโครงไม้ มุงหลงั คาดว้ ยใบตองหลวงครอบ คลุม พระบางช่ืงถูกแต่งดว้ ยผนื ผา้ ม่านประดบั ดว้ ยลูกปัด
ดา้ นขา้ งท้งั สองแท่นบุษบกคือ ฮางฮดสรงรูปตวั นาค ครอบ อยทู่ ี่ส่วนจอมของบุษบก ฮางฮดสรง มีสองดา้ นดว้ ยกนั แต่ละดา้ นมีฐานบนั
ใดใหผ้ คู้ นข้ืนไปรีนน้าสรงพระบางอยา่ งสะดวก ใตพ้ ้นื ของแท่นพระบาง มีท่อรองน้าสรงที่ผา่ นการไหล อาบ องคพ์ ระบางใหไ้ หลไป
ตามท่อ ท่ีต่อยนื่ ออกไปยงั ดา้ นหลงั .

ในวดั ใหม่สีสุวนั นะพูมาราม ฮ้านสรง พระบาง ฮางหดสรง มีสองดา้ น

3. เพอ่ื ใชใ้ นพิธีสรงน้ากบั ผหู้ ลกั ผใู้ หญ่คือ ผมู้ ีอายสุ ูง มีความรู้สูงเกิดในตระกลู
สูง โดยเป็น พอ่ แม่ ป่ ู ยา่ ตา ยาย ที่มีสมณศกั ด์ิสูง หรือบางคร้ังกใ็ ชก้ บั เจา้
เมือง ผเู้ ป็นเจา้ บา้ น ทงั สรงเครื่อง ค้าของคูณต่างฯ เป็นตน้

โดยไดก้ าหนด เอาเฉพาะ 3 แขวง คื 1. แขวงหลวงพระบาง, 2. นครหลวงเวยี งจนั ทน์ 3. แขวงจาปรา
สกั ค์ิ ซ่ืงเป็นพ้ืนที่ ท่ีมีประวตั ิความเป็นมาเกี่ยวกบั ประวตั ิศาสตร์ อนั ยาวนาน ไดพ้ บเห็นการใช้ ฮางฮดสรง
เป็นรูปพญานาค เขา้ ในพธิ ีกรรมการฮดสรงเพ่ือถวายสมณศกั ด์ิหรื เถราภิเศก และใชใ้ นวนั บุนสงการปี ใหม่
และมีการหดสรงน้าผใู้ หญ่ คือ ผมู้ ีอายสุ ูง อีกดว้ ย

ฮางฮดสรง คือ สื่อสญั ลกั ษณ์ พิธีกรรม การฮดสรงน้าพระภิกษุ เพอื่ เลื่อนสมณสกั ด์ิ จดั อยใู่ นหมวด
ความเชื่อต่อศาสนาและคติทางศาสนาในบรรดาสิ่งเหนือธรรมชาติท้งั หลาย (อภิศกั ด์ิ โสมอินทร์ ,1994 )
แต่ละศาสนายอ่ มมีพิธีกรรมเป็นเค่ืองหมายหรือ สญั ลกั ษณ์ แตกต่างกนั ไป โดยใชส้ ่ิงท่ีเป็นรูป ธรรม ชื่งมี
ความอนั ละเอียดลืกช้ืง โดยผา่ นศาสนาพธิ ี สิลปกรรม ท่ีแสดงเป็นรูปปฏิมากรรม เมื่อพบสญั ลกั ษณ์
เหล่าน้ี ทาใหเ้ ขา้ ใจไดท้ นั ทีวา่ น้นั เป็นเรื่องของศาสนาน้นั ฯ เช่น เม่ือพบ ฮางฮดสรง เป็นรูปพระยานาค
หรือรูปอ่ืนฯ แกะสลกั ไม้ ประดบั ลวดลายท่ีสวยงาม ทาใหท้ ราบทนั ทีวา่ น่ีคือสญั ลกั ษณ์ในพิธีกรรมทาง
ศาสนาการฮดสรงพระสงฆ์ . ดงั น้นั พธิ ีกรรมในฐานะเป็นสญั ลกั ษณ์หนื่ง ท่ีเชื่อมสมั พนั ธ์ระหวา่ งมนุษญย์
กบั ศาสนา ซ่ืงอาจจะเป็นพธิ ีกรรมท่ีปฏิบตั ิเป็นส่วนบุคคลเช่น สวดมนตห์ รือเป็นพธิ ีกรรมส่วน รวม เช่น
การทาพิธีอุปสมบทและการบูชาในโบสถใ์ นโอกาสต่างฯ กจ็ ะตอ้ งมีบรรยากาสแห่งความศกั ด์ิ สิทธ์ิอยดู่ ว้ ย

พธิ ีกรรม เป็นสญั ลกั ษณ์ศาสนาเพราะเป็นกรอบสาหรับถนอมรักษาศาสนาธรรม และ เป็นเครื่อง เสรีม
ศรัทธาในสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิ . งานพทุ ธศิลป์ อยา่ ง ฮางฮดสรง เป็นรูปพญานาค ท่ีใช้ ในการทาพิธีฮดสรงพระ
หรือ ที่เรียกวา่ เถราภิเศก อนั แสดงถืงการนาเอารูปพญานาคเป็น สญั ลกั ษณ์ ในการเป็นตวั กลาง ที่เปล่ียน
ผา่ นสถานภาพทางสงั คม ระหวา่ งชาวบา้ นและพระสงฆ.์

สุนทรียภาพ

สุนทรียภาพ เป็นส่ิงที่มีอยคู่ ู่กบั ศิลปะพ้นื บา้ น ซื่งถือวา่ เป็นหตั ถศิลป์ ที่มีอิทธิพลต่อมวลมนุษยเ์ ป็นอยา่ ง
มาก ในอดีตที่ผา่ นมาจะพบวา่ หลายฯพฤติกรรมของมนุษย์ ท้งั ทางบวกและ ทางลบจะมีการนาศิลปะไปใช้
เป็นส่วน ประกอบท่ีสาคญั อยเู่ สมอ สุนทรียศาสตร์ ที่ทาใหเ้ กิดพลงั ทางสุนทรียภาพ จะเป็น พลงั ที่สามารถ
สร้างความรู้สืก ทางอารมร์ในลกั ษณะต่างฯไม่วา่ จะเป็นอารมณ์สะเทือนใจของมนุษยแ์ ละผลของอารมณ์
น้นั ไปกระทบต่อความ รู้สืกของคนใหเ้ กิดความทุกขแ์ ละความสุข .( เอกชยั สุนทรพงศ์ และ เสาวนิตย์
แสงวเิ ชียร, 1986)

สุนทรียภาพ ของฮางฮดสรงเป็นความงามในบทบาทเคื่องประกอบพธิ ีกรรมทางศาสนาการฮดสรงน้า
พระภิกษเุ พ่อื เล่ือนสมณสกั ด์ิและสรงน้าพระพทุ รูป ตามประเพณี ฮีดสิบสอง และ ความงาม ในตวั ของฮาง
ฮดสรง แม่นสิ่งที่งามในงานศิลปะทางดา้ นปฏิมากรรมท่ีทาจากไม้ ประดบั ดว้ ย ลวดลายท่ีสวยงาม ทาง
รูปทรง รูปหวั และลาตวั พญานาค โดยผา่ นกระบวนการทางดา้ นศิลปกรรมน้นั โดยช่าง หรือ ผเู้ ช่ียวชาญ
ในทางศิลปะเป็นผถู้ ่ายทอดเรื่องราวในทางพระพทุ ธศาสนา โดยอาศยั จินตนาการของตน ถ่ายทอดให้
บุคคลอ่ืนไดร้ ับรู้และช่ืนชมในงานดา้ นศิลปะดงั กล่าว, เพราะศิลปะน้นั มีส่วนช่วยใหม้ นุษยม์ ีสุนทรียภาพ
ใหเ้ ป็นผมู้ ีจิตใจสูงข้ึน (เสาวภา ไพทยวฒั น์ , 1996)

ความเช่ือ และพธิ ีกรรม

ภายในวฒั นธรรมของชุมชนแต่ละชุมชนน้นั ยอ่ มจะมีความเชื่อประเพณี และพิธีกรรม ที่ชุมชนไดส้ ืบ
ทอด ปฏิบตั ิกนั มาอยา่ งต่อเนื่อง โดยความเช่ือ ประเพณี และพิธีกรรมมีส่วนสา คญั ต่อ การกา หนด
พฤติกรรมของคนในชุมชน มีส่วนสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพชีวติ และ เป็นเครื่องยดึ เหนี่ยวทางจิตใจ
พิธีกรรมในฐานะกิจกรรมทางโลก มีความหมายเป็นจุดนดั พบและจุดนดั หมาย โดย เฉพาะสาหรับชุม ชน
หรือหมู่บา้ นในสงั คมน้นั ฯ มึความ สาคญั ต่อจิดใจ มีความศกั ด์ิสิทธ์ิและมีอานาจ มาก สามารถสะ กดใหผ้ ู้
อยใู่ นพิธีทุกคนสงบเงียบ หยดุ กิจกรรมอื่นฯ หนั มาสนใจเตียมทาสิ่งเดียวกนั อยา่ งเอาจริงเอาจงั ทุกคน
สารวมเตรียมตวั เตรียมใจไวพ้ ร้อมที่จะทาเร้ืองน้นั พิธีกรรมอาจเรี่มจากคนสองคนสามคนทาอยา่ ง หน่ิงอ
ยา่ งใดพร้อมเพยี งกนั อาจจะชกั จูงให้ คนจานวนร้อยจานวนพนั ทาตาม ไปได้ ในระยะแรกอาจจะทาตาม
เพยี งสองสามค้งั แต่ถา้ ทาหลายคร้ังหลายหน ทานานฯ ไป จิตใจจะพลอยโนม้ ตามไปดว้ ย ดงั่ น้นั พธิ ีกรรม
จ่ิงมีความศกั ด์ิศิทธ์ิและมีคุนค่าหลายประการ.

1. เป็นเคื่องสร้างความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งมนุษยก์ บั ส่ิงศกั ด์ิสิทธ์ิ .2.เป็นเค่ืองสร้างความ ศทั ธาในสิ่งศกั ด์ิ
สิทธ์ กิจกรรมหรือการปฏิบตั ิในพิธีกรรมในลกั ษณะต่างฯ.3.เป็นเคื่องชกั จงู ให้ เกีดความสะบายใจปราร
ถนาที่จะรักษา รูปแบบเน้ือหา และอุดมคติของพิธีกรรมน้นั ฯ. ( เดือน คาดี , 2002)

สภาพปัญหาปัจจุบัน ในการเปลยี่ นแปลงของโลก

ปัจจุบนั สภาพการณ์ของโลกไดเ้ ปล่ียนแปลงไป และส่งผลกระทบต่อระบบสังคม ในหลาย
ประเทศ เช่น โครงสร้างทางสงั คม ระบบเศรษฐกิจ ระบบการเมืองการปกครอง ศิลปวฒั นธรรม
ประเพณี วิถีชีวิต ความเชื่อ พุทธศาสนา แต่ในสปป.ลาว โดยเฉพาะ3 แขวง ความเช่ือถือของ
ประชาชน ท่ีมีต่อประเพณี วฒั นธรรมในพิธีกรรม การฮดสรงน้าพระภิกษุเพื่อเลื่อนสมณศกั ด์ิ ตาม
แบบประเพณีโบราณในอดีตในแต่ละทอ้ งถิ่นน้ัน ยงั คงรักษาและสืบต่อนับถือตามประเพณีเดิม
ไม่ไดเ้ ปลี่ยนแปลงไปตามกระแส การเปล่ียนแปลงของยคุ โลกาภิวตั น์ ตามที่ ไดล้ งสารวจสภาพ
จริงใน 3 แขวงของ สปป.ลาว การฮดสรง ตามแบบสมยั โบราณที่มีการฮดสรง แบบระบบการ
ปกครอง เจา้ บา้ น เจา้ เมืองเหมือนดงั่ แต่ก่อนน้นั ไม่พบเห็นอีกแลว้ แต่ไดเ้ ห็น เคร่ืองประกอบพิธี
คือ ฮางฮดสรงอยใู่ นแต่ละวดั ยงั คงรักษาไวเ้ ป็นอยา่ งดี เป็นรูปแบบที่สวยงาม หลากหลายแตกต่าง
กนั ซ่ึงฮางฮดสรงเหล่าน้นั เป็ นส่ิงที่ทรงคุณค่าทางศิลปะ การสร้าง ในการรวมเอาหลกั การทาง
ทศั นศิลป์ หลายแขนงเขา้ มาผนวกให้มีคุณค่าทางความงาม ซ่ึงสะทอ้ นใหเ้ ห็นศกั ยภาพสูงสุด ของ
อารยธรรมแต่ละชุมชน และเป็นสัญลกั ษณ์ของดวามเจริญ ศกั ยภาพ ของการประดิษฐ์สร้างสรรค์
ของแต่ละสงั คมในสมยั โบราณของลาว.

วตั ถุประสงคข์ องการวิจยั

 1. เพ่ือศกึ ษำประวัติ ของฮำงหดสรง ใน แขวงหลวงพระบำง,นครหลวง
เวยี งจันทน์ และ แขวงจำปำสกั

2. เพ่ือศึกษำสภำพปัจจุบนั และปันหำ เก่ยี วกบั ฮำงหดสรง ในแขวงหลวง
พระบำง ,นครหลวงเวียงจันทน์ และ แขวงจำปำสกั

 3. เพ่ือศกึ ษำ ส่อื สญั ลักษณ์ สนุ ทรียภำพ พิธกี รรมและควำมเช่ือ ของชุมชนท่มี ี
ต่อฮำงหดสรง ในแขวงหลวงพระบำง ,นครหลวงเวียงจนั ทน์ และ แขวง
จำปำสกั

 ฮนาิยงฮามดสศรัพง,ทห์เฉมพายาถะีง รางน้าทาจากไม้ แกะสลกั เป็นรูปพญานาค ที่ใชใ้ นการฮดสรง หรื เถราภิเศก

พระภิกษเุ พื่อ เล่ือนสมณสกั ด์ิ และงานบุญสรงน้าพระพทุ ธรูป สรงน้าผเู้ ป็นพอ่ แม่ ตา ยาย ครูบา
อาจารย์ ตาม ประเพณี.
 สื่อสัญลกั ษณ์ หมำยถงึ ฮำงฮดสรงท่ี เป็นรปู ร่ำงพญำนำคหรือ รปู เงอื กคล้ำยพญำนำคท่สี ่อื ควำม
หมำยถงึ ควำมศักด์สิ ทิ ธ์ิ ในแบบวฒั ธรรมด้งั เดมิ ซ่ึงใช้ ประกอบพิธเี ถรำภเิ ษก เพ่ือถวำยสมณศกั ด์ิ
แก่พระสงฆ์ และงำนบุญสรงนำ้ พระพทุ ธรปู โดยช่ำงศลิ ปิ นพ้ืนบ้ำน นำรปู พญำนำคมำประกอบ ด้วย
ส่วนหัว ส่วนหำง ส่วนลำตวั ส่วนฐำนขำต้ัง พร้อมด้วยกำรประดบั ลวดลำยสสี นั ต่ำงๆ แทรกลงไปใน

งำนแบบศิลป์ เพ่ือแสดงออกถงึ ควำมเช่ือควำมศรัทธำในผลงำนอย่ำงสดุ ซ้ึงตรึงใจ .
สุนทรียภาพ หมายถึงควำมงำม ของฮำงฮดสรง ซ่ืงประกอบเข้ำในพิธกี รรมทำงศำสนำ ท่สี ำมำด

มองเหน็ ด้วยตำ จับบำยด้วยมือได้ ตำมหลักของ องค์ประกอบศลิ ป์ สี เส้นั รปู ร่ำง รูปทรง ของ

ฮำงหดสรง พ้ืนผวี ลวดลำยประดบั .
พธิ ีกรรม หมายถึง การจดั ต้งั ของชุมชนเพอื่ ทาพิธีกรรมทางศาสนา การสรงน้าพระภิกษุ เพ่อื เล่ือน

สมณสกั ด์ิ หรืองานบุญสรงน้าพระพทุ ธรูป สรงน้าผหู้ ลกั ผใู้ หย(่ เจา้ เมือง) และสรงเครื่องค้าของคูณ
ตาม ประเพณีโบราณ .
ความเช่ือ หมายถืง ควำมสทั ธำในส่งิ ศกั ด์สิ ทิ ธ์ทิ ่มี ีต่อพิธกี รรมทำงศำสนำ ในกำรฮดสรงพระสงฆ์ ของ

ชุมชนท่ไี ด้กระทำข้นื .

ขอบเขตของการวจิ ัย
- ขอบเขตดา้ นเน้ือหา

- ศึกษาประวตั ิความเป็นมาเก่ียวกบั ฮางฮดสรง
- ศึกษาสภาพ ปัจจุบนั และปัญหา เก่ียวกบั ฮางฮดสรง
- ศึกษา ส่ือสญั ลกั ษณ์ สุนทรียภาพ พธิ ีกรรม และความเช่ือ ของชุมชน ท่ีมี

ต่อฮางฮดสรง ใน แขวงหลวงพระบาง นครหลวงเวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปาศกั

- ขอบเขตดา้ นพ้นื ที่

- ในแขวงหลวงพระบาง นครหลวงเวยี งจันทน์ และ แขวงจาปาศัก

ผวู้ จิ ยั ไดก้ านด พ้ืนที่ดงั กล่าวน้ี เพราะเป็นพ้นื ที่ทางประวตั ิศาสตร์ของลาว ซ่ืงชาวบา้ นยงั มีความ
เช่ือในเรื่องความศกั ด์ิสิทธ์ิ ในการทาพิธีกรรม ตามประเพณี แบบเดิม.

ประโยชน์ทคี่ าดว่าจะได้รับ

แม่น สถาบนั ของสงฆ์ ,กรมศาสนา ,หอสมุดแห่งชาติ และ นกั วจิ ยั ในสปปลาว จะไดร้ ับ
ผลประโยชน์ จากขอ้ มูลดงั่ กล่าวน้ีเช่น

1. ไดข้ อ้ มูล ดา้ นประวตั ิความเป็นมา ของฮางฮดสรง ใน แขวง หลวงพระบาง นครหลวง
เวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปาศกั ด์ิ

2. ทาใหท้ ราบถึงสภาปัจจุบนั และปัญหาของฮางฮดสรง ใน แขวงหลวงพระบาง นคร
หลวงเวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปาศกั ด์ิ

3. ทาใหท้ ราบถึง สื่อสญั ลกั ษณ์ สุนทรียภาพ พิธีกรรม และ ความเช่ือ ของชุมชนท่ีมีต่อ
ฮาง ฮดสรง ใน แขวงหลวงพระบาง นครหลวงเวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปาศกั ด์ิ

กรอบแนวคดิ การวจิ ัย

ผวู้ ิจยั ใชก้ รอบแนวคิดในการวิจยั ฮางฮดสรง ประเดน็ เก่ียวกบั ประวตั ิความเป็นมา สภาพปัจจุบนั และปัญหา สื่อ
สญั ลกั ษณ์ สุนทรียภาพ พิธีกรรมและความเชื่อ ของชุมชน ที่มีต่อฮางฮดสรง ใน แขวง หลวง พระบาง ,นครหลวง
เวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปาศกั ค์ิ

โดยใชแ้ นวคิด ทฤษฎี ในงานวิจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งต่าง ๆ ที่มีส่วนเกี่ยวขอ้ งกบั เร่ืองวจิ ยั มาเป็นแนวทางในการศึกษาวจิ ยั
และวิเคราะห์ขอ้ มูลตามความมุ่งหมาย โดยไดก้ าหนดงานวิจยั ตามกรอบแนวคิดดงั น้ี



วรรณกรรม และงานวจิ ัยทเ่ี กยี่ วข้อง

 1.องคค์ วำมรู้เก่ยี วกบั สภำพสงั คมและวัฒนธรรมลำว 5. แนวคิดทฤษฎีหลกั และทฤษฎีเสริม
1.1 ความหมายสงั คมและวฒั นธรรม
1.2 ระบอบกำรปกครอง ของลำวสมัยเก่ำ 5.1 ทฤษฎีหลกั

2. องคค์ วามรู้ เก่ียวกบั งานท่ีวิจยั 5.1.1 - ทฤษฎีโครงสร้างหนา้ ที่
5.1.2 - ทฤษฎีเกี่ยวกบั สัญลกั ษณสัมพนั ธ์
2.1 ควำมร้เู ก่ยี วกบั ฮำงฮดสรง
5.2 ทฤษฎีเสริม
2.2 ควำมรู้เก่ยี วกบั ส่อื สญั ลักษณ์ 5.2.1 - ทฤษฎีเก่ียวกบั สุนทรียศาสตร์
5.2.2 - ทฤษฎีท่ีเก่ียวกบั การแพร่
2.3 ควำมรู้ เก่ยี วกบั สนุ ทรียศำสตร์ กระจาย ทางวฒั นธรรม
5.2.3 - ทฤษฎี เก่ียวกบั พิธีความเช่ือ
2.4 ควำมร้เู ก่ยี วกบั พืธกี รรมควำมเช่ือ 5 2.4 - ทฤษฎีที่เก่ียวกบั ทางวฒั นธรรม
 3. แผนนนโยบายนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ท่ีเก่ียว
6. เอกสารและงานวจิ ยั ที่เก่ียวขอ้ ง
กบั ศลิ ปวัฒนธรรม
6.1 งานวิจยั ในประเทศ
 4. บริบทพืน้ ที่ในการศกึ ษาวจิ ยั
6.2 ງานวจิ ยั ต่างประเทศ

บริบทของพืน้ ทว่ี จิ ัย
พ้ืนท่ีท่ีกาหนดในการศึกษาคร้ังน้ีมีอยู่ 3 แขวง ของ สปปลาว ไดแ้ ก่
แขวงหลวงพระบาง, นครหลวงเวยี งจนั ทน์ และ แขวงจาปราสักค์

แผนทปี่ ะเทดลาว
แขวงหลวงพระบาง

นครหลวงเวยี ง
จทั น์
แขวงจาปราสักค์

การกาหนดพืน้ ทวี่ จิ ัย

อยแู่ ต่ละวดั ในตวั เมืองหลวงพระบางไดพ้ บเห็น ฮางฮดสรงหลายรูปแบบ ที่แตกต่างกนั มีสีสนั ประดบั
ดว้ ยลวดลายทีสวยงาม มีความละเอียดกวา่ ฮางฮดสรงอยทู่ างเวยี งจนั ทน์ ปัจจุบนั ไดก้ ลายเป็นพ้ืนท่ีพทิ ีกรรม
ต่างฯโดยสเพาะบุนปี ใหม่ พิทีฮดสงน้าพระบาง ในบุญปี ใหม่ปะจาปี ที่สาคญั ของคนลาว ที่เมืองหลวงพระ
บาง และ ไดถ้ ูกใชเ้ ป็นพ้นื ท่ีแห่งการเปล่ียนผา่ นเมืองหลวงพระบางจากมรดกทอ้ ง ถ่ินไปสู่มรดกโลก คือ
เมืองมรดกทางวฒั นธรรมของโลก ส่วนอยทู่ าง นครหลวง เวยี งจนั ทน์ เป็นหน่ืงในเมืองโบราณเก่าแก่
และเคียเป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจกั รลา้ นชา้ งในอดีตหลายยกุ หลายสมยั ที่ผา่ นมา ทงั เป็นเมืองหลวงของสป
ปลาวในปัจจุบนั ไดเ้ ป็น ภูมิหลงั ที่ก่อใหเ้ กิด ความงดงามของวถิ ีชีวดิ และรวมถีงขนบธรรม เนียมประเพณี
ฮีด คอง อนั ดีงามแต่อดีตไวใ้ หล้ ูกหลานสืบทอดกนั ต่อมา โดยมีพระพทุ ธศาสนา นบั เป็นศูนยก์ ลางจิตใจของ
ชาวนครหลวงเวยี งจนั ทน์ แมว้ ถิ ีชีวติ ในปัจจุบนั จะแตกต่างไปจากอดิตแลว้ ชาวนครหลวงเวยี งจนั ทน์
ยงั คงยดื มนั่ ในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งมาก ดงั ท่ีไดป้ รากฏเหนั ชาวบา้ น ยงั มีความเช่ือในเรื่องความศกั ด์ิสิทธ์ิ
ของฮางฮดสรง ประกอบกบั พิธีกรรมทางศาสนาท่ีเรียกวา่ เถราภิเศก ตามเดีม และ ใชใ้ นวนั บุนสงการปี ใหม่
เพ่ือสรงน้าพระ ทงั หดสรงน้าผมู้ ีอายสุ ูง อีกดว้ ย .

แขวง หลวงพระบาง
อยแู่ ต่ละวดั ในตวั เมืองหลวงพระบางไดพ้ บเห็น ฮางฮดสรงหลายรูปแบบ ท่ีแตกต่างกนั มีสีสนั

ประดบั ดว้ ยลวดลายทีสวยงาม มีความละเอียดกวา่ ฮางฮดสรงอยทู่ างเวยี งจนั ทน์

1. วดั เชียงทอง 2. วดั ใหม่สุวรรณภูมาราม

3. วดั วชิ ุนราช 4. วดั ทาดหลวง
5. วดั มะโนรมยส์ ทั ทารามวดั อาราม 6. วดั หอเสี่ยง
7. วดั มหาธาตุ (ทาดนอ้ ย) 8. วดั โพนชยั ชนะสงคราม
9. วดั อาราม 10. วตั อาไพย
11. วดั เชียงแมน 12. วดั คีลี
13. สรีบุญเฮือง 14. วดั สนรมุงคุล
15. วดั เชียงมวน 16. วดั จุมคอ้ ง
17. วดั แสน 18. วดั สบ
19. ปากคาน
20.

นครหลวง เวยี งจันทน์

เป็นหนื่งในเมืองโบราณเก่าแก่และเคียเป็นเมืองหลวงแห่งอาณาจกั รลา้ นชา้ งในอดีตหลายยกุ หลาย
สมยั ท่ีผา่ นมา ทงั เป็นเมืองหลวงของสปปลาวในปัจจุบนั ไดเ้ ป็น ภูมิหลงั ที่ก่อใหเ้ กิด ความงดงามของ
วถิ ีชีวดิ และรวมถีงขนบธรรม เนียมประเพณีฮีดคอง อนั ดีงามแต่อดีตไวใ้ หล้ ูกหลานสืบทอดกนั ต่อมา
โดยมีพระพทุ ธศาสนา นบั เป็นศูนยก์ ลางจิตใจของชาวนครหลวงเวยี งจนั ทน์ แมว้ ถิ ีชีวติ ในปัจจุบนั จะ
แตกต่างไปจากอดิตแลว้ ชาวนครหลวงเวยี งจนั ทน์ ยงั คงยดื มน่ั ในพระพทุ ธศาสนาอยา่ งมาก ดงั ท่ีได้
ปรากฏเหนั ชาวบา้ น ยงั มีความเช่ือในเรื่องความศกั ด์ิสิทธ์ิ ของฮางฮดสรง ประกอบกบั พิธีกรรมทาง
ศาสนาที่เรียกวา่ เถราภิเศก ตามเดีม และ ใชใ้ นวนั บุนสงการปี ใหม่ เพ่อื สรงน้าพระ ทงั หดสรงน้าผมู้ ีอายุ
สูง อีกดว้ ย . 21วดั

1. วตั จอมแจง้ , 2.วตั เพยวตั , 3.วตั โคกนีน , 4. วดั สีเมือง 5.วดั โสกป่ าหลวง 6.วดั จอมเพดั
7. วตั สีสะเกด , 8.หอพระแกว้ , 9. วตั อินแปง, 10. วตั องคต์ ้ื, 11.วตั มีไช , 12.วตั หายโสก
13.วตั ทาตหุ ลวง, 14.วตั โพนไชย,์ 15.วตั หนองบอน .16.วดั หวั เมือง, 17.วดั อุมงุ ,
18. วดั ไตย, 19. วดั สรีไครท่า ,20. วดั หนองปาไน

แขวงจาปาสัก

 จาปาสกั เป็นเมืองหนื่งในเมืองโบราณ ท่ีมีวฒั นธรรมเก่าแก่มาชา้ นาน ท่ีไดแ้ ยกตวั เป็นอิสระจากอาณาจกั ร

เวียงจนั ท์ ค.ศ 1714 ภายหลงั ที่พระเจา้ สุริยวงสาธรรมิกราช สวรรคต เพียงสองทศวรรษ กษตั ริยผ์ ูค้ รองนคร
พระองคแ์ รก ไดแ้ ก่พระเจา้ สอ้ ยสีสมุทธางกรู ซ่ืงสืบเช้ือสายมาจากพระเจา้ สุริยวงสาธรรมิกราช แม่นแขวง
หนื่ง เป็นเมืองโบราณเก่าแก่ เหมือนดง่ั นครหลวงเวยี งจนั ทน์ และแขวงหลวงพระบาง ในแขวงดงั กล่าว มี
ความสาคญั ในการศึกษาทางวฒั นธรรมลาว ในระบบความเชื่อ ขนบธรรม เนียมประเพณี โดยการนบั ถือความ
เชื่อเก่า คือพิธี กรรมความเชื่อแบบเดิมๆ กย็ งั คงมีอยู่ ดง่ั ในวนั บุญสงกรานตป์ ี ใหม่ ที่มีการฮดสรงน้าพระสงฆ์
สรงน้าพระพทุ ธรูป และสรงน้าผหู้ ลกั ผใู้ หญ่ตามประเพณีโบราณ ซ่ึงสืบทอดมาจาก วฒั นธรรมลาวลา้ นชา้ งใน
ระบบความเช่ือ ประเพณี และการดารงชีวิต วฒั นธรรมทอ้ ง ถ่ินของผคู้ นในแขวงจาปาสกั ไดป้ รากฏเห็นฮาง
ฮดสรง เป็นรูปพญานาค ประดบั ดว้ ยลวดลาย อยา่ งสวยงาม ช่ิงเพ่ินไดเ้ กบ็ ไวใ้ นโบสถ์ ใน 5วดั เป็นอยา่ งดี.

1. วดั หลวง
2. วดั ถ้าฝ้าย
3. วดั บา้ นโชง้
4. วดั บา้ นฮ่องขยอม
5. วดั นคร วนาราม

6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

6.1 งานวจิ ยั ในประเทศ

กแิ ดง พอนกระเสีมสุข , 2006 ประเพณี วณั นธรรมลาว

เพ้า ปัญญา , ฮีด ครองธรรมเนียม ประเทศลา้ นชา้ งร่มขาว พระยา หลวงเมืองชา้ ย
พรพรหม ชลารัตน์ (2544) ศึกษาอภิปรัชญาในความเช่ือและพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์ในนคร ศรีธรรมราช
ติก๋ แสนบุญ ,2010 . ลกั ษณะอีสาน วา่ ดว้ ยเรื่องศลิ ปะและวฒั นธรรม
ธรรมปิ ฏก, 1995 , ราช บณั ฑิตยสถาน ,1996 ) และคาวา่ อภิเษก คือ การแต่งต้งั โดยการทาพธิ ีรดน้า ของกษตั ริย์ แต่ละสมยั
วโิ รฒ ศรีสุโร โฮงฮด ในหลากภมิธรรมนฤมิตกรรมอีสาน 1997
มหาปริชา พณี ทอง . 1991 . บุญสรงน้า ประเพณีโบราน อีสาน

6.2 งานวจิ ัยทเี่ กยี่ วข้องในต่างประเทศ

ฮินเดรส ( Hindess ) (1988) กล่าววา่ เราไม่อาจจะวเิ คราะห์ความเช่ือ ความตอ้ งการและความต้งั ใจท่ีเชื่อมกนั อยใู่ นภายใน
พฤติกรรมของมนุษยโ์ ดยแยกออกเป็นส่วน ๆ ได้

Mechtild Mertz และ Takao Itoh (2007 ) ศึกษาประติมากรรมในทางพระพุทธศาสนาญ่ีป่ ุนและจีนในประเดน็ ท่ีงานประติมา กรรมทาจากไม้
Bounthieng Siripaphanh , ศิลปะหลวงพระบาง ปรินญาเอก , 1994
Francoise Capelle, 2006 Luang Prabang La cité du Buddha d’or et du flamboyang, 2006
Stansberry, Donna W. “Buiral Practices in Southern Appalachia,” Dissertation Abstracts International, 2005.Tambiah, S. J. Buddhism

and the Spirit Cults in Northeast Thailand. Cambridge, 1970.
UNESCO, (2004).Tourism and Heritage site Management LUANG PRABANG Lao PDR. Bangkok

1 . ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง

- กล่มุ ผ้รู ู้ (Key Informant)

1 .ผอู้ าวโุ ส , 2. ผนู้ าชุมชน , 3.เจา้ อาวาส, 4.ปราชญช์ าวบา้ น, 5.นกั วชิ าการทางศิลปะ

กลุ่มผู้ปฏบิ ัติ (Casual Informan) 1. เจา้ พาบต้งั กองฮด , 2. ผนู้ าพิธีกรรม , 3. เจา้ อาวาส

4.ปราชญช์ าวบา้ น , 5. นกั วชิ าการทางศิลปะ, 6. แม่ญิง, 7. ผนู้ าชุมชน, 8. ผเู้ ตีรยมงาน,
9. พระ สงฆม์ าสวต, 10. พระผถู้ ูกฮดสรง,11.พระอาจารผนู้ าฮดสรง, 12. องกรจดั ต้งั บา้ น

(ชาวหนุ่ม แม่ญิงบา้ น แนวโฮมบา้ น)

ประชาชนท่ัวไป (General Informan) 1. ผอู้ าวโุ ส , 2. ผนู้ าชุมชน ,3. เจา้ อาวาส ,

4. ปราชญช์ าวบา้ น, 5.นกั วชิ าการทางศิลปะ, 6. องคก์ ารจดั ต้งั ของบา้ น

2. กาหนดวนั เวลา ระยะเวลาในการศึกษาวจิ ยั ในคร้ังน้ี จานวน 2 ปี
2554 - 2556

3. เคร่ืองมือทใ่ี ช้ในการวจิ ัย

3.1.การสารวจ (Survey) เป็นการสารวจเบอื ้ งต้นของบริบทพืน้ ที่ ที่เป็นกลมุ่ ตวั อย่างในจังหวดั ตา่ ง ของ 3

แขวงของสปปลาว เพื่อกาหนดพืน้ ท่ีในการศกึ ษาวจิ ยั

3.2.การสัมภาษณ์(Interview) แบ่ง ออกเป็น 2 แบบ แบบมโี ครงสร้าง และสมั ภาษณ์แบบไม่มีโครง

สร้าง จาก กลุ่มผรู้ ู้ กลุ่มผปู้ ฏิบตั ิ ประชาชนทว่ั ไป

3.3.การสังเกต (Observation) แบง่ เป็น2 แบบ การสงั เกตแบบมีสว่ นร่วม และการสงั เกตแบบไมม่ ี

สว่ นร่วม

3.4. การสนทนากลุ่ม(Focus Group Discussion) เป็นการจดั กลมุ่ สนทนา โดยผ้ใู ห้ข้อมลู ท่ีเป็น

กลมุ่ ผ้รู ู้ ชมุ ชน กลมุ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ใิ นระดบั หวั หน้าและ ผ้ปู ฏิบตั ิ กลมุ่ ประชาชนทั่วไป

3.5. การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร (Workshop) เป็นการประชมุ กลมุ่ ผ้ใู ห้ข้อมลู กลมุ่ ผ้รู ู้ กลมุ่ ผ้ปู ฏบิ ตั ิ

ประชาชนทวั่ ไป ตามวตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั ผนกะทบต่อ รูปแบบเดิมของ รางฮดสรง

4. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

4ใ.นกการารเกเกบ็ บ็รรววบบรรววมมขข้อ้อมมูลูลแบ่งข้อมูลออกเป็ น 2 ลกั ษณะ คือ

ส1ร.ุปขข้ออ้ มมูลูลตปามฐคมวภามูมมิ ุ่ง(หPrมiาmยaแrลyะวDตั aถtaุป)ระสเปงค็ น์ในกกาารรเกวจิบ็ ัยขอ้ มูลภาคสนาม ใชว้ ธิ ีการสารวจ
การสงั เกต การสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การประชุมสมั มนาของกลุ่ม เพ่ือใหไ้ ด้
ขอ้ มูลท้งั สามกลุ่ม

2. ขอ้ มูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลทางดา้ นเอกสาร
เก่ียวกบั วฒั นธรรม ฮางฮดในงานดา้ นพทุ ธศิลป์ และสงั คมวฒั นธรรม ในบริบท
พ้นื ที่ที่ทาการวจิ ยั

5. การจดั กระทาและการวเิ คราะห์ข้อมูล

การวจิ ยั นีเ้ป็นการนาเสนอผลงานการวิจยั เชิงคณุ ภาพ และตรวจสอบข้อมลู แบบสามเส้า
(Data Triangulation) เพื่อเป็นการตรวจสอบความถกู ต้อง ความเที่ยงตรงของข้อมลู ซ่ึงมี
4 ด้านคอื
1. การตรวจสอบดา้ นขอ้ มูล(Data Triangulation)ของพ้นื ท่ี สถานท่ี เวลา บุคคลผใู้ หข้ อ้ มูล
2. การตวจสอบดา้ นผวู้ จิ ยั (Investigator Triangulation)
3. ดา้ นทฤษฎี (Theory Triangulation)
4. ดา้ นวธิ ีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล(Methodologjcal Triangulation)

6. การนาเสนอผลงานวจิ ยั

โดยใชร้ ะเบียบวธิ ีวจิ ยั เชิงคุณภาพเปรียบเทียบขอ้ มูลทางวชิ าการที่ผวู้ จิ ยั ไดย้ กข้ึนมาเป็นแนว
คิดหลกั ในการวจิ ยั ในคร้ังน้ี และบรรยายใหเ้ ห็นข้นั ตอนการศึกษาเกี่ยวกบั ขอ้ คน้ พบ ประวตั ิ
ความเป็นมาและกบั สภาพปัจจุบนั ของฮางหดสรง ในสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชน
ลาว และปันหา ท่ี เกี่ยวกบั สื่อสญั ลกั ษณ์ สุนทรียภาพ และ คติความเช่ือ ของฮางหดสรง ท่ี
มีต่อ ชุมชน ของ สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว ในยคุ จินตนา การใหม่

ในการส่งเสริมคุณค่า ของฮางหดสรง เพอื่ เป็นประโยชน์ ต่อการศึกษา ในดา้ นศิลปวฒั น
ธรรม ภูมิปัญญา และวถิ ีชีวติ กลุ่มชาติพนั ธุ์ ต่างๆ ไดเ้ ป็นอยา่ งดี และเป็นการส่งเสริมให้
ประชา ชนไดต้ ระหนกั ถึงคุณค่าและอนุรักษไ์ วม้ ิใหส้ ูญหาย ต่อไปท้งั ยงั เป็นการสร้างองค์
ความรู้ดา้ นศิลปะและวฒั นธรรมไวศ้ ึกษาต่อไป


Click to View FlipBook Version