The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประเพณีไหลเรือไฟหลวงพระบาง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-09 00:16:51

ประเพณีไหลเรือไฟหลวงพระบาง

ประเพณีไหลเรือไฟหลวงพระบาง

Keywords: หลวงพระบาง,ประเพณีไหลเรือไฟ,เรือไฟ

กิจกรรมในประเพณีไหลเรือไฟ

กิจกรรมในประเพณีไหลเรือไฟ

กิจกรรมในประเพณีไหลเรือไฟ

กิจกรรมในประเพณีไหลเรือไฟ

กิจกรรมในประเพณีไหลเรือไฟ

ภาพเรือไฟท่ีชนะเลิศการแข่งขนั

ภาพเรือไฟท่ีชนะเลิศการแข่งขนั

ทมี่ า : Facebook เป็ นเร่ืองเป็ นลาว

ภาพเรือไฟท่ีชนะเลิศการแข่งขนั

ทมี่ า : Facebook เป็ นเร่ืองเป็ นลาว

ภาพเรือไฟที่ชนะเลิศการแข่งขนั

ทมี่ า : Facebook เป็ นเรื่องเป็ นลาว

ภาพเรือไฟท่ีชนะเลิศการแข่งขนั

ทมี่ า : Facebook เป็ นเร่ืองเป็ นลาว

ภาพเรือไฟที่ชนะเลิศการแข่งขนั

ทมี่ า : Facebook เป็ นเรื่องเป็ นลาว

วเิ คราะห์และสรุปผล

แผนผงั การวเิ คราะห์

เรือไฟนา้ เรือไฟโคก(บก)

บริบทสังคมปัจจุบัน
ทฤษฎคี ติชนสร้างสรรค์
การท่องเทยี่ วเชิงวัฒนธรรม

ประเพณีไหลเรือไฟเมืองหลวงพระบาง ประเทศลาว จะจดั ประเพณีลอยกระทงไหลเรือไฟหลงั จากวนั ออกพรรษา 1 วนั ไม่ได้ลอย
กระทงในวนั เพ็ญเดอื นสิบสองเหมือนเช่นดงั ประเทศไทย ดงั นนั้ นกั ทอ่ งเที่ยวที่ต้องการจะสมั ผสั ประเพณีลอยกระทงในหลวงพระบาง จะต้อง
ตรวจสอบวันออกพรรษาว่าตรงกับวนั ใดของหลวงพระบาง เพราะหลังจากนัน้ หนึ่งวัน หลวงพระบางจะจัดงานลอยกระทงไหลเรือไฟ
ประเพณีลอยกระทงไหลเรือไฟของหลวงพระบางคล้ายๆกบั ประเพณีไหลเรือไฟกบั ทางภาคอีสานของเมืองไทย โดยในวนั นนั้ แต่ละหมู่บ้านใน
เขตเมืองหลวงพระบาง จะตกแตง่ เรือไฟของหมบู่ ้านตนเองอย่างวิจิตรบรรจง หลงั จากนนั้ พอเวลาคา่ จะมีขบวนแหไ่ หลเรือไฟในถนนสีสะหวา่
งวงส์ ซงึ่ เป็นถนนสายสาคญั ในเมืองหลวงพระบาง แล้วทกุ หม่บู ้านจะนาเรือไฟไปรวมกนั ท่ีวดั เชียงทองหลวงพระบาง

• เรือไฟบก จะทาเพื่อตกแต่งไว้ตามสถานท่ีสาคญั ๆ หน่วยงาน ห้างร้านต่างๆ แม้กระทงั่ บ้านเรือน จะถกู ตงั้ ไว้เพื่อ
เป็นพทุ ธบชู า

• เรือไฟนา้ จะทาเพื่อนาไปลอยนา้ ซ่งึ ถกู ประดบั ตกแต่งอย่างวิจิตรบรรจงและงดงาม มกั ทาด้วยวสั ดธุ รรมชาติย่อย
สลายงา่ ย ทงั้ เรือไฟบกและเรือไฟนา้ ถกู จดั สร้างโดยกลมุ่ คนในชมุ ชน โดยมีความเช่ือหลายประเด็น คือ
1.ความเชื่อเกี่ยวกบั การบชู ารอยพระพทุ ธบาทท่ีประทบั ไว้ ณ หาดทรายริมฝ่ังแมน่ า้ นมั ทามหานที
2.ความเช่ือเก่ียวกบั การบชู าพระรัตนตรัย
3.ความเช่ือเก่ียวกบั การบชู าคณุ พระแมค่ งคา
4.ความเชื่อเก่ียวกบั การบชู าพญานาค

• ทฤษฏีคติชนสร้างสรรค์ ของ อาจารยส์ ุกญั ญา สุจฉายา
ได้กลา่ วถึงบริบททางสงั คมทางสงั คม 3 บริบทใหญ่ๆ ที่สง่ ผลต่อการเกิดปรากฎการณ์ทางสงั คมวฒั นธรรม

รูปแบบใหม่ โดยเฉพาะปรากฏการณ์คติชนในสงั คม ประเพณี มาปรับใช้ในสงั คมไทยปัจจบุ นั ได้แก่ บริบทสงั คมทนุ
นิยมและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ บริบทสงั คมโลกาภิวฒั น์และการท่องเท่ียวและบริบทสงั คมข้ามชาติ-ข้ามพรมแดน ซ่ึง
ตรงกับปรากฏการณ์ของบริบททางสงั คมแขวงเมืองหลวงพระบาง โดยได้ข้อมูลจากการลงพืน้ ที่ภาคสนาม ได้
วิเคราะห์ข้อมลู ผ่านแนวคิดทฤษฎีคติชนสร้างสรรค์ในรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรม โดยมีการนาประเพณีและ
วฒั นธรรมการไหลเรือไฟมาผลิตซา้ เพื่อสร้างอตั ลกั ษณ์ให้กับพืน้ ที่ ซึ่งเป็นการนาทนุ ทางวฒั นธรรมมาเป็นบทบาท
สาคัญในการสร้ างมลู ค่าทางเศรษฐกิจ คุณค่าทางสงั คมด้วยพลงั ขอความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ทงั้ ภาครัฐและ
ภาคเอกชน เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานแห่งการท่องเท่ียวเชิงวฒั นธรรมส่สู ากล โดยอาศยั นโยบายขององค์การ
บริหารการพัฒนาพืน้ ที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน(องค์การมหาชน)หรือ อพท. มาเป็นปัจจัยทาให้เกิด
ปรากฏการณ์คติชนสร้ างสรรค์ โดยนาเอาคติชน ความเชื่อ พิธีกรรม มาต่อยอดเพ่ือควบคุมคนในสงั คมและสร้ าง
รายได้เชิงพาณิชย์จากทนุ วฒั นธรรมเดิมท่ีมีอยู่

1.ความเชื่อเกี่ยวกบั การบชู ารอยพระพทุ ธบาททป่ี ระทบั ไว้ ณ หาดทรายริมฝั่งแมน่ า้ นมั ทามหานที

ประเพณีบญุ เรือไฟเป็นอีกหนง่ึ ความงดงามทางด้านวฒั นธรรมประเพณีท่ีมีการปฏิบตั ิสืบต่อกนั มาผา่ นหลายชวั่ อายคุ น แต่ในยคุ สมยั นีก้ ็
ยงั มีผ้คู นจานวนหนึ่งเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนไปว่า การไหลเรือไฟ และ การลอยกระทงนนั้ เป็นงานประเพณีเดียวกนั ทงั้ ท่ีค วามจริงแล้ว แตกต่าง
กนั โดยสนิ ้ เชงิ คอลมั น์ "เว้าส่กู นั ฟัง" (เล่าสกู่ นั ฟัง) ของหนงั สือพมิ พ์เวียงจนั ทน์ใหม่ฉบบั เม่ือเร็ว ๆ นี ้

ได้ยกนยิ ายปรัมปราเก่ียวกบั ประเพณีบญุ เรือไฟที่เล่าสืบทอดกนั มา ซง่ึ เป็นนิยายปราปราเกี่ยวกบั พระยากาเผือก ไม่มีอะไรเก่ียวกบั การ
บชู าพญานาคอย่างในตานานไหลเรือไฟทางฝ่ังไทยตานานไหลเรือไฟของลาวมีอย่วู ่า แต่ก่อนมีค่ผู วั เมียพระยากาเผือก ทารังอยู่ ที่ต้นไม้เด่ืออยู่ริมฝั่ง
แม่นา้ มีไข่ฟองที่หนึ่งตกจากรังไหลไปท่ีท่านา้ พระยากกุ สุ นั โท (ไก่) ซง่ึ เก็บเอาไปฟัก ไข่ฟองที่ 2 ไหลไปอย่ทู ี่ท่านา้ ของพระยาโกนาคะมะโน (นาค) ซง่ึ ก็
ได้นาไปฟักเช่นกนั ไข่ฟองที่ 3 ตกและไหลไปอย่ทู ี่ท่านา้ ของพระยากดั สะโป (เต่า) ก็ได้เอาไปฟักไว้ ไข่ฟองท่ี 4 ไหลไปตกอยู่ท่ีท่านา้ ของพระยาโคตะโม
(ววั ) ซง่ึ ก็ได้นาไปฟักไว้ และไข่ฟองท่ี 5 ไหลไปอย่ทู ่ีทา่ นา้ ของพระยาลาชะสี (สงิ ห์) ก็ได้นาไปฟักเชน่ กนั จากนนั้ ไขท่ งั้ ห้าฟองนนั้ ก็ได้ฟักออกมาเป็นมนษุ ย์
พอเจริญวยั ขึน้ มาก็คิดอยากออกบวชเป็นพระฤาษีธรรมโพธิสตั ว์ เม่ือออกบวชแล้ว ทกุ รูปก็มีใจอยากเห็นหน้าบิดาผ้บู งั เกิดเกล้า จงึ ออกตามหามีครัง้
หนงึ่ ที่ทงั้ ห้าได้มาพบกนั และสนทนาปราศรัยโดยบงั เอิญปรากฏว่าความตงั้ ใจของฤาษีแต่ละตน ช่างเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั ดีแท้ ซงึ่ หมายความว่าอาจ
มีบดิ า มารดาเดียวกนั ในทนั ใดก็เลยร้อนถึงบิดา มารดาที่อยสู่ วรรค์ชนั้ ดาวดงึ ส์ เลยเสด็จลงมา แล้วกล่าวขนึ ้ ว่า บิดาของพวกเจ้าก็คือพวกเราพระยากา
เผือกเมื่อรู้แล้วว่าผ้ใู ดคือบิดามารดาของตน ฤาษีทงั้ 5 ก็แสดงความเคารพ พระยากาเผือจึงเล่าเร่ืองในอดีตให้ลกู ๆ ฟัง แล้วก็กลบั ขึน้ ส่สู รวงสวรรค์ชนั้
ดาวดงึ ส์ แต่ก่อนจะกลบั นนั้ ลกู ทงั้ 5 ก็ได้ร้องขอให้พระยากาเผือกประทบั รอยเท้าไว้บนหินศิลาเพ่ือไว้เคารพบชู าในยามระลึกถึงพระยากาเผือกจงึ สงั่ ลกู
ทงั้ 5 ไว้วา่ เมื่อถงึ ยามวนั เพญ็ เดือน 11 ของทกุ ปีให้พวกลกู ม้วนเชือกด้ายดิบ (ฝั้นฝ้าย)แล้วนามาวางใสถ่ ้วย หรือจาน แล้วเทนา้ มนั ใส่ และนาไปวางบน
ตวั ไม้ที่แกะสลกั เป็นรูปเรือ ให้เรียงเป็นระเบียบสวยงาม แล้วจดุ ไฟ จากนนั้ ก็ปลอ่ ยให้ไหลไปตามลาแม่นา้ แต่นนั้ มาจึงเป็นท่ีมาของชื่อท่ีชาวลาวเรียกกนั
วา่ "พระเจ้าห้าพระองค์" คือ กกุ สุ นั โท โกนาคะมะโน กดั สะโป โคตะโม และลาชะสี มาจนถงึ ทกุ วนั นี ้

ด้วยเหตุนี ้ชาวลาวที่นบั ถือศาสนาพุทธ จึงได้ประดิษฐ์เรือไฟเป็นประเพณีในเทศกาลออกพรรษาปวารณา เพ่ือระลึกถึง บุญคุณบิดา
มารดา และบชู าพระรัตนตรัย โดยการปล่อยให้ไหลไปตามลานา้ หรือ บางท้องถิ่นที่อย่หู ่างไกลจากแม่นา้ ก็สามารถทา "เรือไฟโคก" ขนึ ้ แทน ดงั นนั้ ลาว
จงึ พากนั เรียกว่า “เรือไฟ” และก็ถือเอาเป็นแบบอยา่ งสืบทอดเป็นประเพณีสืบต่อกนั มาตราบเท่าทกุ วนั นี ้

จากตานานข้างต้น จึงเข้าใจได้ว่าประเพณีไหลเรือไฟนัน้ มี ไฟหรือ "เฮือไฟ" หมายถึง เรือที่ทาด้วยท่อนกล้วย ไม้ไผ่หรือวสั ดทุ ่ี
ความหมายแตกต่างกันกับประเพณีลอยกระทง เพราะการ ลอยนา้ มีโครงสร้ างเป็นรูปต่าง ๆ ตามต้องการ เม่ือจุดไฟใส่
ประดิษฐ์กระทงนัน้ เป็นอีกพิธีกรรมหน่ึงท่ีนิยมทาเพ่ือสะเดาะ โครงสร้าง เปลวไฟจะลกุ เป็นรูปร่างตามโครงสร้างนนั้ งานประเพณี
เคราะห์ โดยการนากาบกล้วยมาเป็นพาน แล้วใสของหวานของ ไหลเรือไฟ นิยมปฏิบตั ิกนั ในเทศกาล ออกพรรษาในวนั ขึน้ 15 ค่า
คาวลงไปแล้วนาไปไว้ตามสถานที่ท่ีเหมาะสม หรือปลอ่ ยให้ไหลไป เดือน 11 หรือวนั แรม 1 ค่า เดือน 11
ตามแม่นา้ งานประเพณีไหลเรือไฟในเทศกาลงานบญุ ออกพรรษา
นี ้มีการจดั งานบญุ แข่งเรือ และ ไหลเรือไฟประจาปี โดยทางการ
ลาวได้มีการเน้นให้มีการประดษิ ฐ์ทาเรือไฟให้ถกู ต้องตามประเพณี
ดัง้ เดิมท่ีดีงาม ด้วยการใช้วัสดุธรรมชาติ รวมทัง้ มีการจัดการ
ประกวดเรือไฟที่มีคุณสมบตั ิท่ีสวยงามและถูกต้องตามประเพณี
ด้วย

ส่วนความเชื่อในประเพณี ไหลเรื อไฟทางฝ่ั งไทยที่ได้ ยึ ดถื อ
ปฏิบตั ิกนั มานานตงั้ แต่โบราณกาลนนั้ มีความเช่ือวา่ เป็นการจดั ทา
ขนึ ้ เพื่อบชู ารอยพระพทุ ธบาท การสกั การะท้าวพกาพรหม การบวง
สรวจพระธาตจุ ุฬามณี และการระลึกถึงพระคณุ ของพระแม่คงคา
การขอฝน การเอาไฟเผาความทุกข์ และการบูชาพระพุทธเจ้า
ประเพณีการไหลเรือไฟบางท่ีเรียกว่า "ล่องเรือไฟ" "ลอยเรือไฟ"
หรือ "ปล่อยเรือไฟ" ซงึ่ เป็นลกั ษณะที่เรือไฟเคลื่อนท่ีไปเรื่อย ๆ เรือ

ตามข้อมูลจากเว็บไซต์ข้อมลู วัฒนธรรมตามพระราชดาริความเชื่อถือนี ้
สืบมาจากการบูชารอยพระพุทธบาท ท่ีประทบั ไว้ริมฝ่ังแม่นา้ นัมมทานที ในแคว้น
ทกั ษิณาบท ประเทศอนิ เดีย ซงึ่ เชื่อวา่ ในครัง้ ที่พญานาคได้ทลู อาราธนาพระพทุ ธเจ้า
ไปแสดงธรรมในพิภพของนาค เมื่อเสด็จกลบั พญานาคได้ทลู ขอให้พระองค์ ประทบั
รอยพระบาทไว้ ณ ริมฝั่งแมน่ า้ นมั มทานที พระองค์จึงได้ประทบั รอยพระบาทไว้ตาม
ความประสงค์ของพญานาครอยพระบาทที่ทรงประทบั ไว้นีเ้ ป็นที่เคารพ ของเทวดา
มนษุ ย์ตลอดจนถึงสตั ว์ทงั้ หลาย ผ้ซู ง่ึ ต้องการบญุ กศุ ลเหตนุ ี ้

การไหลเรือไฟ จึงถือว่าเพ่ือบชู ารอยพระพทุ ธบาทซงึ่ มีคาบชู าว่า "อะหงั อิ
นิมา ปะทีเปนะ นมั มากายะ นะทิยา ปเุ ลนิ ปาทะวะอญั ชงั อภิปเู ชมิ อะยงั ปะทีเป
นะ มนุ ิโน ปาทะวะอญั ชงั ปชู า มยั หงั ทีฆรัตตงั หิ ตายะ สขุ ายะ สงั วตั คะุ ตุ "คาแปล
ก็คือ - ข้าพเจ้าขอน้อมบูชารอยพระบาทของพระมนุ ีเจ้า อนั ประดิษฐานอยู่ ณ หาด
ทรายแห่ง แม่นา้ นมั มทานทีโพ้นด้วยประทีปนี ้ ขอให้การบูชารอยพระบาทสมเด็จ
พระมนุ ีเจ้าด้วยประทีป ในครัง้ นีจ้ งเป็นไปเพื่อประโยชน์ เพ่ือความสุขแก่ข้าพเจ้า
ทงั้ หลายตลอดกาลนานเทอญ.

• 2. ความเชื่อเก่ียวกบั การบูชาพระรัตนตรัย
ความสาคญั ของพธิ ีกรรมและพิธีกรรมทางศาสนา
พธิ ีกรรมเป็นเรื่องท่ีเกี่ยวข้องกบั ประเพณีและวฒั นธรรม มนษุ ย์ในสงั คมท่ีเจริญแล้วต่างก็มีประเพณีและ

พธิ ีกรรมที่เฉพาะของตน พิธีกรรมเป็นเคร่ืองชีถ้ งึ ความสามคั คีความกลมเกลียวเป็นอนั หนง่ึ อนั เดียวกนั ของคนในชาติ
สาหรับประเทศไทยซงึ่ คนสว่ นใหญ่นบั ถือศาสนาพทุ ธนนั้ พธิ ีกรรมสว่ นใหญ่จงึ เก่ียวข้องอยกู่ บั เร่ืองของศาสนา เชน่
การทาบญุ ตกั บาตร การไหว้พระสวดมนต์ การทาบญุ ในเทศการตา่ ง ๆ ซง่ึ ขนึ ้ อยกู่ บั ความเช่ือและหลกั การของพทุ ธ
ศาสนาแทบทงั้ สนิ ้ พิธีกรรมที่เก่ียวกบั ศาสนานีเ้รียกว่า ศาสนาพธิ ี ซง่ึ แบง่ เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ

1.ศาสนพิธีสาหรับพระ
2. ศาสนพธิ ีสาหรับชาวบ้าน

• ประโยชนข์ องพธิ ีกรรม
คนเป็นจานวนมากท่ีเหน็ พธิ ีกรรมเป็นเรื่องเหลวไหลไร้สาระและเสียเวลาโดยใช่เหตุ ทงั้ นีอ้ าจเป็นเพราะผ้ปู ระกอบ

พธิ ีกรรมเหลา่ นนั้ ไมไ่ ด้มีความเข้าใจอยา่ งถอ่ งแท้ถงึ ระเบยี บวิธีและแกน่ แท้ของพิธีกรรมนนั้ ๆ จึงทาให้เหน็ เป็นเร่ืองทไ่ี มม่ ี
คณุ คา่ ไมม่ ีเหตผุ ลและงมงาย แท้จริงแล้วพธิ ีกรรมทางศาสนามีประโยชน์มากมาย เช่น

1. เป็นเคร่ืองมือสบื ทอดพระพทุ ธศาสนา
2. ทาให้เกิดความรักและสามคั คีของคนในสงั คมนนั้ ๆ
3. แสดงถงึ ความเจริญทางจิตใจของคนในสงั คม
4. เป็นเครื่องจงู ใจให้คนทาความดี ละเว้นความชว่ั
5. ทาให้เกิดความอ่ิมเอิบใจ

• เครื่องสกั การบูชาพระรัตนตรัยในพธิ ีกรรมทางศาสนา
เครื่องสกั การบชู าพระรัตนตรัยในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ทงั้ งานมงคลและงานอวมงคล มี 3 อยา่ งคือ
1. ธูปสาหรับบูชาพระพทุ ธเจา้

การจุดธูปสาหรับบูชาพระพุทธเจ้า นัน้ นิยมจุดบูชาครัง้ ละ 3 ดอกโดยมีความหมายว่า พระพุทธเจ้านัน้ มี
พระคณุ ท่ียิ่งใหญ่ 3 ประการ คือ พระปัญญาธิคณุ พระบริสทุ ธิคณุ และพระมหากรุณาธิคณุ ธูปทัง้ 3 ดอก จึงจดุ เพ่ือ
บชู าพระพทุ ธคณุ ทงั้ 3 ประการนี ้ธปู สาหรับจดุ บชู าพระพทุ ธเจ้านนั้ นิยมใช้ธูปที่มีกลิน่ หอมท่ีมีลกั ษณะตรงข้ามกบั กลน่ิ
หอมท่ีชาวโลกนิยมใช้กนั อย่คู ือ เป็นกลิ่นหอมเม่ือได้สดู ดมแล้วทาให้เกิดจิตฟ้งุ ซ่าน ไมสงบ แต่กล่ินหอมของธูปจะทา
ให้กิเลสยบุ ตวั ลง จิตใจสงบ ไมฟ่ งุ้ ซา่ น นอกจากนนั้ แม้ธูปจะไหม้หมดแล้วกลนิ่ หอมของธูปก็ยงั อบอวลอยใู่ นบริเวณนนั้
เป็นเวลานาน เปรียบได้กบั พระพทุ ธคณุ ของพระพทุ ธเจ้าที่เข้าถึงจิตใจของบคุ คลอย่ตู ลอดเวลา แม้พระพทุ ธองค์จะ
เสดจ็ ปรินิพพานไปนานถงึ 2 พนั กวา่ ปีมาแล้วก็ตาม

• 2. เทียนสาหรับบูชาพระธรรม

การจดุ เทียนบชู าพระธรรมนนั้ นิยมจดุ บชู าครัง้ ละ 2
เลม่ โดยมีความหมายว่า พระธรรมอนั เป็นคาสง่ั สอนของสมเดจ็
พระสมั มาสมั พทุ ธเจ้านนั้ มี 2 ประเภทคอื พระวนิ ยั สาหรับ
ฝึกหดั กาย วาจาให้เป็นระเบยี บเรียบร้อยและพระธรรมสาหรับ
จิตใจให้ระงบั ความชวั่ และทจุ ริตทกุ ประการ เทียน 2 เลม่ ก็เพ่ือ
บชู าพระวินยั 1 เล่ม และบชู าพระธรรม 1 เลม่ เทียนสาหรับบชู า
พระธรรมนนั้ นิยมใช้เทียนเลม่ ใหญ่พอสมควรแก่เชิงเทียนการใช้
เทียนบชู าพระธรรมนนั้ เพ่ือแสดงวา่ เทียนที่จดุ ขนึ ้ ณ ที่ใดยอ่ ม
กาจดั ความมือของสถานที่นนั้ ๆ ออกไปทาให้เกิดความสวา่ ง
เปรียบได้กบั พระธรรมคาสงั่ สอนของพระพทุ ธเจ้านนั้ หากผ้ใู ดได้
ศกึ ษาจนเกิดความรู้ความเข้าใจแล้วย่อมกาจดั ความมืด คอื
โลภะ โทสะ โมหะ ซง่ึ เป็นความโงเ่ ขลาเบาปัญญาในจิตใจของ
บคุ คลนนั้ ๆ ให้หายหมดไป ทาให้เกิดแสงสว่างคอื ปัญญาขนึ ้
ภายในจิตใจของตน

3. ดอกไม้สาหรับบชู าพระสงฆ์

การจดั ดอกไม้เพื่อบชู าพระสงฆ์มีความหมายว่าดอกไม้นานาชนิดท่ีนามาจดั ไว้ในแจกนั นนั้ เม่ือยงั อยู่ ณ ต้นของมนั ก็
ย่อมมีความสวยงามตามสมควรแก่สภาพของพนั ธ์ไุ ม้นนั้ ๆ ถ้าหากเราเก็บดอกไม้มากองรวมกนั โดยมิได้จดั สรรตกแต่ง ย่อมจะหา
ความเป็นระเบียบสวยงามมไม่ได้ เมื่อมีช่างจดั ดอกไม้นามาใส่แจกนั หรือภาชนะอื่น ๆ ประดบั ให้เป็นระเบียบก็เกิดความสวยงาม
น่าดเู ปรียบได้กบั พระสงฆ์สมยั เม่ือยงั เป็นคฤหสั ถ์อย่นู นั้ ย่อมมีกิริยามารยาทและจิตใจเรียบร้อยตามควรแก่ฐานะและตระกลู ของ
ตน บ้างก็มีจิตใจอ่อนโยน บ้างก็มีจิตใจหยาบกระด้างครัน้ เมื่อคฤหสั ถ์เหล่านนั้ ซ่ึงต่างชาติต่างฐานะต่างตระกลู กนั เข้ามาบวชใน
พระพทุ ธศาสนา ถ้าไมม่ รี ะเบียบแบบแผนเดยี วกนั ก็จะทาให้พระสงห์เหลา่ นนั้ ไมม่ คี วามเป็นระเบยี บ และไมเ่ ป็นที่เลือ่ มใสศรัทธาแก่
ผู้ท่ีพบเห็น ครัน้ เมื่อพระพทุ ธองค์ได้กาหนดพระธรรมวินยั ไว้ให้เป็นแบบแผนในการปฏิบตั ิก็เกิดความเป็ นระเบียบเรียบร้ อยน่า
เคารพบชู าเหมือนเหลา่ ดอกไม้ทไี่ ด้จดั ไว้อยา่ งดีแล้ว ดอกไม้สาหรับใช้บชู าพระสงฆ์นนั้ นิยมใช้ดอกไม้ที่มลี กั ษณะ 3 ประการ คือ

1. มีสสี วย
2. มีกลน่ิ หอม
3. กาลงั สดช่ืน
• จงึ มกี ารเปล่ยี นดอกไม้ทใี่ ช้บชู าพระประจาวนั อยเู่ สมอ อนั เป็นนิมิตหมายของความสดช่ืน
รุ่งเรือง ไม่ปลอ่ ยให้เหย่ี วแห้ง อนั แสดงถงึ ความเส่อื มโทรม

• 3.ความเช่ือเกี่ยวกบั การบูชาคุณพระแม่คงคา
เพื่อบชู าพระแมค่ งคา เป็นการแสดงการขอบคณุ นา้ เพราะมนษุ ย์เราอยไู่ ด้เพราะนา้ ตงั้ แตโ่ บราณมาชมุ ชน

ทงั้ หลายเวลาสร้างเมือง ตา่ งกเ็ ลอื กตดิ แมน่ า้ ดงั นนั้ ถงึ เวลาในรอบ 1 ปี กต็ ้องระลกึ วา่ ตลอดปีที่ผา่ นมา เราได้อาศยั
นา้ ในการดารงชีวิต ขณะท่ลี อยกระทงเรากน็ กึ ถงึ คณุ ของนา้ ไมใ่ ช่ลอยเฉยๆต้องราลกึ ว่าต้องรู้จกั ใช้นา้ อยา่ งถกู วิธี
และใช้นา้ อยา่ งค้มุ คา่ ไมใ่ ช้ทงิ ้ ขว้าง ไมท่ าให้นา้ สกปรก ไมป่ ลอ่ ยของเสียลงแมน่ า้ เป็นการขอขมาและขอบคณุ พระ
แมค่ งคา ไมใ่ ช่เป็นการไหว้เทวดาพระแมค่ งคาแตอ่ ยา่ งใด แตเ่ ป็นการแสดงการขอบคณุ นา้ ในฐานะท่ีเป็นผ้ใู ห้ชีวติ
เรา

• 4.ความเชื่อเก่ียวกบั การบูชาพญานาค
นาค หรือ พญานาค งใู หญ่มีหงอน สญั ลกั ษณ์แหง่ ความยง่ิ ใหญ่ ความอดุ มสมบรู ณ์ ความมีวาสนา และนาค

ยงั เป็นสญั ลกั ษณ์ของบนั ไดสายรุ้งสจู่ กั รวาล นาคเป็นเทพเจ้าแหง่ ท้องนา้ บางแหง่ กว็ า่ เป็นเทพเจ้าแหง่ ฟา้ ตานานความ
เชื่อเรืองพญานาคมีความเก่าแก่ สนั นิษฐานวา่ เก่าแก่กวา่ พทุ ธศาสนา สืบค้นได้วา่ มีต้นกาเนิดมาจากประเทศอนิ เดียใต้
ด้วยเหตจุ ากภมู ิประเทศทางอินเดียใต้เป็นป่าเขาจงึ ทาให้มีงอู ยชู่ กุ ชมุ และด้วยเหตทุ ี่งนู นั้ ลกั ษณะทางกายภาพคือมีพิษ
ร้ายแรง งจู งึ เป็นสตั ว์ท่ีมนษุ ย์ให้การนบั ถือวา่ มีอานาจ ชาวอินเดียใต้จงึ นบั ถืองู ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ยงั มีตานาน
เร่ืองพญานาคอยา่ งแพร่หลาย

• ความเช่ือเกี่ยวพนั กบั ชีวติ น้า ธรรมชาติ

พญานาค เป็นสญั ลกั ษณ์แหง่ ธาตนุ า้ "นาคให้นา้ " เป็นเกณฑ์ท่ีชาวบ้านรู้และเข้าใจดี ท่ีใช้วดั ในแต่ละปี จานวนนาคให้นา้ มีไมเ่ กิน
7 ตวั ถ้าปีไหนอดุ มสมบรู ณ์มีนา้ มากเรียกว่า "นาคให้นา้ 1 ตวั " แตห่ ากปีไหนแห้งแล้งเรียกวา่ ปีนนั้ "มีนาคให้นา้ 7 ตวั " จะวดั กลบั กนั กบั จานวน
นาค ก็คอื ท่ีนา้ หายไป เกิดความแห้งแล้งนนั้ ก็เพราะ พญานาคเก่ียงกนั ให้นา้ แตล่ ะตวั จงึ กลืนนา้ ไว้ในท้องไมย่ อมพน่ นา้ ลงมา

สญั ลกั ษณ์ท่ีเก่ียวกบั นาค เช่น ในงานจิตรกรรม ประติมากรรมและหตั ถกรรม นาคเป็นสว่ นประกอบท่ีสาคญั ทางสถาปัตยกรรม
โดยเฉพาะตามอาคารวดั ตา่ ง ๆ หลงั คาอาคารที่สร้างขนึ ้ สาหรับสถาบนั พระมหากษัตริย์ และสถานบนั ศาสนสถาน ตามคตนิ ิยมที่วา่ นาค
ย่ิงใหญ่คคู่ วรกบั สถาบนั อนั สงู สง่ เช่น นาคสะด้งุ ที่ทอดลาตวั ยาวตามบนั ได นาคเกีย้ ว ที่ทาเป็นปา้ นลมหลงั คาโบสถ์ ที่ตอ่ เช่ือมกบั นาคสะด้งุ
นาคเบือน นาคจาลอง และนาคทนั ต์ คนั ทวยรูปพญานาค มโนทศั น์เรื่องนาคของชนชาตไิ ทท่ีสะท้อนให้เห็นจากงานวรรณกรรม งานศิลปะ
ความเชื่อ ประเพณีและพธิ ีกรรมมโนทศั น์นาคเป็นบรรพบรุ ุษ สะท้อนให้เห็นได้จากทงั้ งานด้านวรรณกรรมและความเชื่อ ประเพณี และ
พิธีกรรม งานวรรณกรรม เช่น เร่ืองนางนาคะมาลีรักษาหนองตงุ เงือกที่เมืองหมวก ขนุ ทงึ และพระร่วงลกู นางนาค เป็นต้น ด้านความเช่ือ
ประเพณี และพิธีกรรมปรากฏในชนชาตไิ ทหลายกลมุ่ ทงั้ ไทอาหม ไทเขิน ไทยอีสานภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ไทยยวนภาคเหนือ และไทย
สยามภาคกลาง ประเทศไทย ซง่ึ ความเช่ือนีท้ าให้เกิดประเพณี พธิ ีกรรมในการบชู านาค เชน่ พธิ ีบชู านางนาคะมาลีที่หนองตงุ ในกลมุ่ ไทเขนิ
พิธีบวงสรวงเสานาเคนทร์เพื่อบชู านาคท่ีเป็นบรรพบรุ ุษของจงั หวดั น่าน และพิธีบชู านาค 15 ตระกลู ของไทลาว เป็นต้น กญั ญรัตน์ เวชช
ศาสตร์. (2559). มโนทศั น์เร่ืองนาคของชนชาตไิ ท.

สรุป

วรรณกรรมจดั เป็นมรดกทางภมู ิปัญญาที่ตกทอดมาแต่อดีต ท่ีบอกเลา่ ประเพณี วัฒนธรรม
ความเชื่อความศรัทธา ชีวิตการเป็นอยู่ รวมถึงอดุ มการณ์ ค่านิยม เป็นต้น จนมีอิทธิพลต่อความคิด
ของคนในสงั คม นอกจากนีย้ งั มีอิทธิพลถึงระบอกการปกครอง การเมือง เศรษฐกิจ ศาสนา เป็ นต้น
รวมทงั้ วรรณกรรมจดั เป็นทรัพย์สินทางปัญญา และเป็นเคร่ืองบงชีบ้ อกความเจริญงอกงามหรือความ
เจริญทางวฒั นธรรมได้อีกทางหน่ึง วรรณกรรมท่ีมีอิทธิพลต่อความคิดวิถีชีวิตของชาวอีสานและชาว
ลาวมากที่สดุ

อีกทงั้ ถือได้ว่าอตุ สาหกรรมท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมที่มีการขยายตวั สงู มีบทบาทความสาคญั ต่อระบบ
เศรษฐกิจและสังคมเป็นอย่างมาก เป็นแหล่งรายได้ที่สาคัญนามาซ่ึงเงินตราต่างประเทศ การสร้ างงา นและการ
กระจายความเจริญไปส่ภู มู ิภาค นอกจากนีก้ ารท่องเท่ียวยงั มีส่วนสาคญั ในการพฒั นาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานของ
การคมนาคมขนสง่ รวมไปถงึ การค้าและการลงทนุ ในขณะเดียวกนั “การทอ่ งเที่ยวเชิงวฒั นธรรม”เป็นแนวคดิ ที่ถกู ใช้ใน
แวดวงการท่องเท่ียวอย่างหลากหลายโดยได้นาเอาวฒั นธรรมมาเป็นจดุ ขายเพื่อดึงดดู ความสนใจของนกั ท่องเท่ียว
ซึ่งการท่องเที่ยว เชิงวฒั นธรรมนัน้ เป็นการท่องเท่ียวในลกั ษณะที่ให้ความสาคญั กบั ประวตั ิศาสตร์ โบราณสถาน
ศิลปวฒั นธรรมและประเพณีโดยยึดหลกั ที่ว่าต้องอนรุ ักษ์ทรัพยากรการท่องเท่ียวทางวฒั นธรรมไว้ให้ดีที่สดุ เพ่ือให้
สามารถ สบื ทอดถงึ อนชุ นคนรุ่นหลงั อีกทงั้ ยงั ก่อให้เกิดการเรียนรู้ทางวฒั นธรรม มรดกทางประวตั ิศาสตร์

การสร้างพืน้ ท่ีได้ใช้อนภุ าคสว่ นสรุปสาคญั มาเป็นหวั ใจหลกั ของการสร้างโดยอาศยั อิทธิพลความ
เช่ือเร่ืองพญานาคและปรากฏการณ์พญานาคในสงั คมอิทธิพลความเช่ือเร่ืองพญานาค สงั คมนนั้ นอกจาก
เชื่อวา่ พญานาคนนั้ เป็นสญั ลกั ษณ์แหง่ นา้ และความอดุ มสมบรู ณ์แล้ว พญานาคยงั เป็นสญั ลกั ษณ์ของความ
ย่ิงใหญ่คคู่ วรกบั ศาสนาอนั สงู สง่ อิทธิพลความเช่ือเร่ืองพญานาค นีไ้ ด้สง่ ผลให้สงั คมมีการพฒั นาแนวคดิ
ใหมเ่ กิดขนึ ้ หลายด้าน (วเิ ชียร นามการ, 2554) พญานาค ทาให้การดารงชีวติ อยใู่ นสงั คมเดียวกนั ด้วยความ
ราบร่ืน สงบสขุ โดยไมต่ ้องมีกฎระเบียบข้อบงั คบั หรือกฎหมายท่ีเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร มีศาสนาคอยตดั สิน
คดีถงึ สงิ่ ถกู ผดิ ความเชื่อเร่ืองพญานาคใน ท้องถ่ิน (อนญั ญา ปานจีน, 2553)

ด้านประเพณีพิธีกรรมวเิ ชียร นามกร (2554) กล่าวว่า ในขณะที่พทุ ธศาสนิกชน ขาดความศรัทธา ในพระพทุ ธศาสนา ทัง้ ที่อยู่
นอกศาสนา ศาสนาเดยี วกนั และผ้ไู ม่มีศาสนา ซึง่ พญานาคเองก็เป็นผ้ทู ี่หา หนทางศกึ ษาธรรม อนั หมายถึงปลายทางความหลดุ พ้นจาก
กิเลสอนั เป็นความสขุ ท่ีแท้จริง แต่มนษุ ย์ เราผ้ทู ่ีขนึ ้ ชื่อวา่ เป็นสตั ว์ประเสริฐแต่กลบั ศรัทธาในพระพทุ ธศาสนาลดน้อยถอยลง โดยเห็นได้ชัด
คือ การขาดความรู้ความเข้าใจทาให้ประเพณีดีงามถกู ลืมไปกบั กระแสนิยมของสงั คมยคุ ใหม่ แต่อย่างไรก็ ตามประเพณีวฒั นธรรมและไม่
ว่าจะเป็น งใู หญ่ นาค หรือมงั กร ส่ิงที่ไม่ต่างกนั คือ การนาเอา สญั ลกั ษณ์ของสตั ว์เหล่านนั้ ผกู พนั วิถีชีวิตความเป็นอย่แู ละปรับความเช่ือ
จินตนาการสอดคล้องกบั สญั ลกั ษณ์เหลา่ นนั้ จะสงั เกตได้ว่าประเพณีของไทยเรามีพญานาคเข้ามามีสว่ นเกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก จึงถือได้
วา่ พญานาคนนั้ เป็นส่ืออีกทางท่ีทาให้คนไทยนนั้ มาสนใจในประเพณีมากขนึ ้ จะเห็นได้จากการดงึ เอาวฒั นธรรมของแต่ละชนเผ่าท่ีปรากฏ
ในแขวงเมืองหลวงพระบางมานาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ อีกทงั้ หตั ถกรรมการผลิตเรือไฟจากภูมิปัญญาท้องถิ่นแบบดง่ั เดิม มาถ่ายทอด
เพ่ือให้เห็นรากเง้าและภมู ิหลงั ของชนชาติลาว

จากการวิเคราะห์จะเห็นได้ว่า นโยบายของการบริหารประเทศ เป็นส่วนหนึ่งของการ
พฒั นาและขบั เคล่ือนเศรษฐกิจผ่านการสร้างอตั ลกั ษณ์วฒั นธรรมของท้องถ่ินโดยการผลิตซา้ จาก
ประเพณีท่ีมีอย่เู ดิมแล้ว มาสร้างมลู ค่าเพ่ิมให้เกิดรายได้แก่คนในชุมชนและสังคม ให้มีรายได้และ
ปลกู จิตใต้สานกึ ให้คนในชมุ ชนและสงั คมอนรุ ักษ์ประเพณีและวฒั นธรรมตอ่ ไป

อ้างองิ

ธรรมกิตติวงศ์, พระ. (ทองดี สรุ เตโช) ป.ธ. ๙ ราชบณั ฑติ . พจนานกุ รมเพ่ือการศกึ ษาพทุ ธศาสน์ ชดุ คาวดั . กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียงเพียรเพ่ือพทุ ธศาสน์. 2548
ประเพณีอีสาน ฉบบั ส.ธรรมภกั ดี. ม.ป.ท. : ม.ป.พ. , ม.ป.ป.
กหุ ลาบ มลั ลกิ ะมาส.คตชิ นชาวบ้าน.กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวิทยาลยั รามคาแหง,2518.
กญั ญรัตน์ เวชชศาสตร์. (2559). มโนทศั น์เร่ืองนาคของชนชาตไิ ท. Veridian E-Journal,1099-1116.
เกียงศกั ด์ิ เจริญวงศศกั ดิ์.การคิดเชงิ วิเคราะห์.(พมิ พ์ครัง้ ท่ี 2,6) กรุงเทพฯ : บริษัทซคั เซส มีเดีย,2553.
ธวชั ปณุ โณทก.ความเช่ือพืน้ บ้านอนั สมั พนั ธ์กบั ชีวติ ในสงั คมอีสาน.กรุงเทพฯ : สานกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั 2536.
พระยาอนวุ ตั ร เขมจารีเถระ.คติความเช่ือของชาวอีสาน.2536.
พระมหาคาวี ญาณสาโร. (2546).พญานาคในคมั ภีร์พระพทุ ธศาสนา.วารสารสานกั บณั ฑติ อาสาสมคั ร

ศริ าพร ณ ถลาง,ประเพณีสร้างสรรค์ ในสงั คมร่วมสมยั .กรุงเทพฯ : ศนู ย์มานษุ ยวิทยาสริ ินธร

ผู้ให้ข้อมูล

คุณพ่อทองเพชร บุญมณี พระคาพนั พนั ธะพทุ โต
ผู้ใหญ่บ้าน บ้านเชียงแมน


Click to View FlipBook Version