The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้เครื่องเคลือบดินเผา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-04 03:04:31

องค์ความรู้เครื่องเคลือบดินเผา

องค์ความรู้เครื่องเคลือบดินเผา

อตั ลักษณเ? ครื่องปGFนดนิ เผาในพืน้ ที่จังหวัดชายเเดนใตN
สกAู ารสรNางสรรคผ? ลงานศลิ ปะ

นางสาวสุธนิ ี อนิ ทนี
หลักสูตรวิจยั วฒั นธรรม ศิลปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตร? มหาวทิ ยาลัยขอนแกนA

เคร่อื งป)*นดนิ เผา

เครือ่ งป)*นดนิ เผาถกู สรา4 งขึ้นเพือ่ ตอบสนองความต4องการของ
มนษุ ย@ ทั้งทางกายเเละทางจิตใจ กระบวนการเหลาI นน้ั ได4รบั การสบื ทอด
จากรนุI สูรI ุIน มคี วามสมั พนั ธเ@ ก่ยี วเนือ่ งกบั วิถีชีวิตกับมนษุ ย@อยIางเเนบเเนIน
มาเปNนเวลายาวนาน

เคร่อื งป*น) ดินเผาคืออะไร

เครอื่ งปน*) ดนิ เผาเป0นสว2 นหนึ่งของ เซรามิกส; (Ceramics) หรือเครอ่ื ง
เคลอื บดนิ เผา ซึ่งความหมายเดมิ มาจากคำว2า Keramos หรือ Keramikos
ในภาษากรกี โบราณ

พจนานกุ รมฉบับบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ไดใ; หค; วามหมายของ
เคร่อื งปนHG ดนิ เผา (น.) โดยใช;เรยี กภาชนะทีป่ HนG ดว; ยดนิ เเลว; นำไปเผาไฟวUา

“เครือ่ งปนHG ดินเผา”

เครือ่ งป*)นดนิ เผา หมายถึง สิ่งของเเละภาชนะต=างๆท่ปี ระดษิ ฐCดDวยดิน
หรอื สิง่ ประดษิ ฐCดDวยส=วนประกอบของดินชนิดต=างๆ เช=น ดินขาว ดนิ เหนียว
ผสมทราย เเละเเร=ธาตตุ า= งๆ

(ศูนยวC ิจยั เเละพัฒนาอุตสาหกรรมเครือ่ งป*)นดนิ เผา)

เครอื่ งปน*) ดินเผา หมายถึง ผลติ ภัณฑ<ทเ่ี กิดขึน้ จากการใชEความรEอนเผาดนิ
หนิ เเรGธาตุ ท่ีเเตกตGางกนั ดวE ยอณุ หภูมทิ ี่ถูกเลือกใหเE หมาะสมกบั การผลิตนนั้ ทำใหE
เกิดความคงทนเเละทำใหEดนิ มีเน้ือท่ีเเกรงG ขึน้ บางครง้ั นำไปเคลอื บทำใหมE ีสตี าG งๆเพ่อื
ความคงทนเเละสวยงาม

(สขุ มุ าลย< เล็กสวสั ด,์ิ 2548)

จากความหมายเครือ่ งป1น0 ดนิ เผาท่ไี ด9กลา; วไว9ข9างต9น เเสดงให9เห็นว;า
เครอ่ื งป01นดินเผาเปนB ผลงานที่ถูกสร9างสรรคขE น้ึ จากมันสมองเเละฝมK อื มนุษยE เเสดง
ให9เห็นถึงภมู ปิ 0ญญาในการสร9างสรรคขE องผู9สร9าง คุณค;าทางสนุ ทรียภาพเเละ
สะท9อนให9เห็นถงึ วิถีชวี ิตของสังคมในเเต;ละยคุ สมัยไดเ9 ปBนอย;างดี เครอื่ งป10นดนิ เผา
นับวา; เปนB กระบวนการพัฒนาเทคโนโลยีขน้ั เเรกของมนุษยE

ขอ" มูลทางประวตั ศิ าสตร3

เคร่ืองป*)นดนิ เผาเกดิ ขนึ้ มาต้ังแต8 70,000-35,000 ป@มาแลวB โดยมนุษยHดึกดำบรรพH
กลุ8ม นแี อนเดอรHทลั ผูBทร่ี จูB ักการใชไB ฟ สันนษิ ฐานวา8 เครื่องป*น) ดินเผาเกดิ จากกองไฟของมนษุ ยHกลม8ุ น.้ี

เครอ่ื งปน*) ดนิ เผาทพ่ี บในแหล8งโบราณคดีหลายแห8งท่ัวโลก สว8 นใหญ8เปZนภาชนะกBนกลม
และนิยมฝ)งรว8 มกับศพ ซึง่ กระบวนการเหลา8 นนั้ มีความคลBายคลึงกนั ทั่วโลก

● (ภาพซาB ย) หลกั ฐานทางโบราณคดที ่ีเมอื ง
Akrotiri อารยธรรม Minoan ที่เกาะ Thera มี
อายปุ ระมาณ 4,000 ป@ เปนZ อารยธรรมโบราณที่
เคยรุ8งเรืองในแถบทะเล Mediterranean
● (ภาพขวา) การฝง) ศพมนุษยโH บราณในหมBอดนิ ที่
พบใน แหล$งโบราณคดบี .านเชียง อายอุ ยร8ู ะหวา8 ง
ประมาณ 5,600 - 3,000 ป@

สุสานจิน๋ ซีฮอ+ งเต0 ณ เมืองซีอาน มณฑลฉ/านซี ประเทศจีน อายมุ ากกว/า 2,000 ป= ขุดคAนพบวตั ถุโบราณทเี่ ปนI กองทพั ทหาร
ดนิ เผา สรรพาวุธ รถมาA และมAาศึก จำนวนท้งั สนิ้ กว/า 7,400 ชิ้น บริเวณพ้นื ที่หลมุ สุสานกว/า 25,000 ตร.ม. มกี ารคาดคะเนวา/
อาณาเขตของสสุ านจิ๋นซีฮอ/ งเตจA ะมพี ื้นที่มากกว/า 2,180 ตร.กม.

ววิ ฒั นาการ “เคร่อื งป3น2 ดินเผา” จากอดตี ส<ปู จ2 จบุ นั

การพฒั นาการมาตามลำดับเร่ิมจากผลิตภัณฑ6ยุคสังคมล<าสตั ว6 (Hunter Society) นกั
ประวัติศาสตรเ6 ชื่อกันว<าเปนR ยุคหนิ เกา< ท่มี นษุ ย6เร่ิมตงั้ หลกั เเหล<งอยูเ< ปนR ที่หลกั จากการเร<ร<อน
เคล่ือนยYายหาพ้นื ที่สมบูรณ6 มีเเหล<งน้ำเเละมสี ัตวใ6 หYลา< ไปเร่ือยๆ ซึ่งเปRนวฒั นธรรมยุคดกึ ดำ
บรรพ6ของมนุษย6เเละพฒั นาตอ< มาเปRนผลิตภณั ฑย6 ุคสงั คมเกษตรกรรม (Agrarian Society)
เปRนยุคหนิ กลางที่มนุษย6ปลูกสราY งท่ีอยอู< าศัยอย<รู วมกนั เปRนชมุ ชนทใี่ หญข< ึน้ รูYจกั การเพาะปลูก
เลีย้ งสัตว6 จนมาถึงยคุ สงั คมอตุ สาหกรรม (Industries Society)

ภาพจำลองความเปนR อย<ขู องมนษุ ยใ6 นยุคหนิ กลางท่มี นษุ ย6ปลูกสราY งทอ่ี ยู<อาศยั อย<รู วมกันเปRนชุมชนที่
ใหญ< ชว< งเขYาสู<ยคุ สงั คมเกษตรกรรม

ประสบการณ)ท่มี นษุ ยส) ะสมเหน็ อย7ูเสมอ จากการอาศยั อยรู7 ว7 มกับ
ธรรมชาติ คอื ดิน น้ำ และ แสงแดด เห็นดินที่เปยI กตามริมแหล7งนำ้ เปJนรูปรอยเทาK
เวลาเหยยี บยำ่ เดนิ ไป ไดเK หน็ ดินทเ่ี ปIยกนัน้ แหงK เมอื่ ถูกแดด เห็นอยนู7 านวันหมนุ เวียน
กันซำ้ แลKวซ้ำอกี จนมนษุ ย)สะสมประสบการณ)ตา7 งๆ เหล7านี้ และชักนำใหKมนุษยเ) กดิ
ความคิดเอาดินมาปนRQ เปนJ รปู ตา7 งๆ ตามจนิ ตนาการของตนเอง แลวK ตากใหKแหงK ใชKเปJน
อปุ กรณใ) ชสK อย ( ยงั ไม7มีการเผา )



ตอ" มาเมอ่ื การใช-ไฟเกิดขึน้ หรืออาจเนอ่ื งมาจากเหน็ ภาชนะท่ีเอาไว-ใกล-ไฟ
แข็งแกร"งเวลาถกู ฝนก็ไมอ" "อนตัวละลายไป จากจุดน้ีเองคงเปJนสื่อนำใหม- นุษยNร-จู กั
เอาภาชนะดนิ นั้นไปเผาไฟใหแ- ข็งแกรง" แทนการตากแดด ในยคุ แรกๆ

เครอ่ื งปน)* ดินเผาช1วงแรกปน*) ดว5 ยมือปราศจากเครือ่ งมอื ท่ีซบั ซอ5 น ตอ1 มามีการใชแ5 ปBนหมนุ เชน1 การ
กดบบี ภาชนะ การใช5ดินแผน1 การตดี นิ บนทงั่ รูปดอกเห็ด (หินด)ุ เปKนต5น และมีการตกแต1งด5วยการขดู ขีด
กดประทบั รอย และการระบายสีด5วยดนิ ตา1 งสี เปนK ตน5

► ทัง่ รปู ดอกเหด็ (หินด)ุ ► ไมพ5 ายสำหรบั ตปี ระทับลวดลาย
► การขูด ขดี กดประทบั รอย

►การกดบีบภาชนะ ► การระบายสดี ว5 ยดนิ ต1างสี
การใช5ดนิ แผน1

• สพดใหินมบญหยัร8ท8อกลง&อี่มารกนลี อหกัปยลษรภาะณายวชะสตั นเี ิศนะเาื้อชดสดน8นิ ตนิ เนรผป1ำ้านKJ ตใปภนาราละ3ชมแนพาดะ้ืนณงจทะด2ี่ไเำดป,5.แนLม0กแีก08 บาถ-ร1บำ้ ต0ผเกน,ี 0จตอื้ 0ังา8เหอ0งลริวปทNดัวด:แเธลมนาจฮ8 แยาอ8 วดกงร.วหสN ย(อลEกนกั aาฐ,rรhาจขนeังดู หnกwาวขรัดีดaขกrุดกeาคา)ญร.นเจผกหนาดาใบปนทุรรอาีะแงณุ ทโลบหบัะรภเบาปมูา.ณนL นติ ลคำ่เชาดเียยีนพงจ้อื ักบจปรวังนJKสา8หไาเวศมนัดษส8 อแุกภดุลตาระัวชธกนาตาะนกรดีขแนิ ดัตเผง8ผดิวาว.มสยนั8วน

! Bastide of Totana หน่ึงในการต้ังถิน่ ฐานที่สำคัญท่ีสดุ ของ !การฝงJ ศพมนุษยNโบราณในหมอ. ดินท่ีพบใน แหลง& โบราณคดีบาE นเชียง
ประวัติศาสตร1ยโุ รป อายอุ ยรู8 ะหวา8 งประมาณ 2,200 ถึง 1,550 อายุอยรู8 ะหว8างประมาณ 5,600 - 3,000 ปo
ปกo 8อนคริสตกาล

• สปมระยั เปทรศะไวทัตยิศาสตร1 เปLนสมยั ที่มหี ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใN นการขดุ คน. ทางโบราณคดีคอ8 นข.างชดั เจนในทุกพ้นื ที่ของ

- เครอ่ื งปน+* ดินเผาเมโสโปเตเมยี
- เครอื่ งป+น* ดินเผาแบบกรีก
- เครอ่ื งป*น+ ดินเผาแถบอยี ปิ ต;

- เครอ่ื งป+*นดนิ เผาแบบญ่ปี 6ุน
- เครือ่ งป*+นดินเผาอาณาจกั รอสิ ลาม
- เคร่ืองปน+* ดินเผาแอฟริกาใตA-เหนือ
- เครื่องปน*+ ดินเผาจนี

เคร่อื งป=น< ดินเผาในประเทศไทย

• อาณาจักรทวารวดี

• อาณาจกั รลพบรุ ี

• สมัยสุโขทัย

• สมัยอยุธยา

สมยั ธนบรุ แี ละรตั นโกสนิ ทร3

สรุป : มนษุ ย+สร,างสรรคเ+ คร่อื งป45นดนิ เผาขึ้นมาเพอ่ื ตอบสนอง
การใช,งานเปBนเบื้องต,น ตอC มาเครือ่ งป5น4 ดินเผาถูกนำมาใช,งานเพอ่ื
ตอบสนองอารมย+ ความรสู, กึ นึกคดิ โดยเเสดงออกมาในรปู แบบของศิลปะท่ี
เนน, ความงาม เพื่อใช,ในงานพธิ ีกรรม ซึ่งเปนB การใหค, วามหมายในเชงิ สัญญะ
เพ่ือเพม่ิ ความสำคัญใหก, บั เครอื่ งป45นดนิ เผา เปBนการเเสดงออกถึงความรสู, กึ
นึกคดิ ทเ่ี ปนB เอกภาพ ซงึ่ ถอื เปBนคติ หรือคCานิยมทีป่ ฏบิ ตั ิสบื ทอดกันมา เเม,
ยคุ สมัยจะเเปรเปลยี่ นไปเเตโC ครงสรา, งของเครอ่ื งป45นดินเผายงั คงลักษณะเชCน
เเตเC ดิมมา

ประเภทของเครื่องป.น- ดนิ เผา

1) เครื่องปน,- ดินเผาชนิดเน้อื ดิน (Earthenware)
เกิดจากการเผา600 องศาเซลเซยี ส

2) เครอ่ื งป-น, ดนิ เผาประเภทสโตนเเวรO
(Stoneware) ท่เี กิดจากการเผาในอุณหภมู ิ 1,190-1,390
องศาเซลเซียส

3) เคร่ืองปน-, ดนิ เผาประเภทพอรซO เลน
(Porcelain) เครือ่ งป,น- ดินเผาพอรซO เลน แหลงb ผลติ มีชื่อเสียง
ทสี่ ดุ คอื เครอื่ งลายครามของจนี เนอ้ื ดินเปนd สขี าว เผาถึงจดุ สุก
ตวั จนถงึ 1,250 องศษเซลเซียส

ศาสตราจารยว( บิ ูลย( ล้สี ุวรรณ,(2558)ได;กลา= วถงึ เครอ่ื งปHGนดนิ เผาวา= เปนK งานหัตถกรรมพนื้ บา; น ในกลม=ุ
เครอ่ื งมือเครื่องใช; เเละไดเ; เบง= ประเภทของเครื่องปHGนดินเผาเปKน 2 ประเภท. คอื

1) เครอ่ื งป-น, ดินเผาชนดิ เนื้อดิน (Earthenware) เปKนเครอ่ื งปนHG ดินเผาท่เี นอ้ื ดนิ ไม=เเข็งมาก นำ้ ซึมผา= นได;
ชาวบ;านมกั ทำเปนK หมอ; ข;าว หม;อเเกง หมอ; น้ำ

2) เครื่องป-น, ดนิ เผาเนื้อเเกร@ง (Stoneware) เปKนเครอ่ื งปHGนดนิ เผาทใี่ ชค; วามร;อนสงู เเละเนือ้ ดินมีเเรเ= หล็กเจอื
ปนอย=มู าก เมอ่ื เผาเเล;วเนอ้ื ดินจะเเกร=งน้ำซึมไมไ= ด; เช=นเครื่องปHGนดนิ เผาดา= นเกวยี น อำเภอโชคชยั จงั หวดั นครราชสมี า
เครอ่ื งปนHG ดินเผาบ;านทา= ไห อำเภอเมือง จงั หวดั อุบลราชธานี เปนK ต;น

เคร่อื งป)*นดนิ เผาเปน0 ศาสตรท4 ่มี ีลกั ษณะเฉพาะตัว สามารถผลิตไดทD งั้ เป0น
หตั ถกรรมเเละอตุ สาหกรรม เเละยังเป0นงานศลิ ปะอีกดDวย โดยที่เเตJละลกั ษณะจะมี
ความเฉพาะตัวที่ไมสJ ามารถทดเเทนกันได.D ดงั นั้นการผลิตเครอ่ื งปน*) ดนิ เผาในป)จจบุ ัน
จึงยังคงผลติ ไดDทง้ั 3 ลักษณะ กลาJ วคือ ประเภทศิลปกรรม ประเภทหัตถกรรม เเละ
ประเภทอุตสาหกรรม

เหตผุ ลการเลอื กศกึ ษาเฉพาะ “เคร่อื งป89นดนิ เผาประเภทไฟตำ่ ”

เครอ่ื งป)*นดินเผาประเภทไฟต่ำ เปน8 สงิ่ ประดิษฐ<ของมนษุ ยท< ่ี
แสดงใหEเห็นถึงฝJมอื ภมู ิปญ) ญา วสั ดทุ Eองถน่ิ ทO่ีมีความหลากหลาย เเละมี
ลกั ษณะเฉพาะตวั เปน8 การเเสดงออกถงึ ความรEสู กึ นกึ คดิ ทีเ่ ปน8 เอกภาพ ซึ่งถอื
เปน8 คติ หรือคาO นิยมทป่ี ฏิบตั ิสบื ทอดกนั มา รวมไปถงึ พฒั นาการทาง
เทคโนโลยีของชมุ ชนที่สั่งสมเเละสบื ทอดเเละสืบเน่อื งมาเป8นเวลายาวนาน

กระบวนการผลติ เครื่องป34นดนิ เผา

● การเตรียมดนิ →

● การขนึ้ รูป →

● การเผา →

นยิ ามศพั ยcเฉพาะ

เครอ่ื งป*)นดินเผาไฟตำ่ คอื เคร่อื งป*น) ดินเผาชนิดเนือ้ ดิน
(Earthenware) เกิดจากการเผาในอุณหภูมิ 600-1,100 องศาเซลเชยี ส ไมมU ีการ
เคลอื บ เนื้อดินเมื่อเผาเเลวW จะเปนZ สเี เดง หรอื สีนำ้ ตาลเเดง ตามคุณลกั ษณะของ
วสั ดทุ อW งถ่ินทUม่ี ีความหลากหลายเเละมคี วามเฉพาะตวั .

พน้ื ที่วจิ ยั 5 จงั หวัดชายเเดนภาคใตB

● จงั หวดั ยะลา
● จงั หวัดป,ตตานี
● จงั หวัดนราธวิ าส
● จงั หวดั สงขลา
● จังหวัดสตูล

จังหวัดปต( ตานี ยะลา นราธวิ าส สงขลา และสตูล เปน9 จงั หวดั ชายแดน

ภาคใต>ของประเทศไทยทีม่ ีอาณาเขตติดตFอกบั รฐั ทางตอนเหนอื ของประเทศมาเลเซยี
โดยมที วิ เขาสันกาลาครี เี ป9นทวิ เขาก้นั พรมแดนระหวFางสองประเทศ ต้งั อยใูF น
บรเิ วณทอี่ ยูFในกระแสวฒั นธรรมการอพยพเคลื่อนย>ายของกลFมุ ชนกลFุมตาF งๆ จึงพบ
รFองรอยหลกั ฐานทางโบราณคดีและประวตั ศิ าสตรSอยจFู ำนวนมาก

เครื่องปน)* ดินเผาสำคญั กบั พนื้ ที่อยา; งไร...........????

- เป#นเเหล'ง อารยธรรมภูมิภาคเอเชยี ตะวนั ออกเชยี งใตI
- เป#นที่ต้งั ของ“อาณาจกั รลังกาสุกะ” อายุเกอื บ 2 พันป=
ในฐานะรฐั โบราณและเก'าแกท' ่ีสดุ ในคาบสมุทรภาคใตJของไทย

แหล$งอารยธรรมยะรงั อยใ$ู กล(บริเวณแมน$ ้ำป5ตตานี ทีอ่ ำเภอยะรัง จังหวัดป5ตตานี มี
ความสำคัญ คอื เปGนเมืองโบราณขนาดใหญท$ ่เี คยเปGนเมืองทา$ ค(าขายระหว$างจีนกับอินเดยี ราว
พทุ ธศตวรรษที่ 13-15 ได(รบั อทิ ธิพลอารยธรรมทวารวดีและนบั ถือพระพุทธศาสนา และเชือ่ ว$า
เปGนท่ตี งั้ อาณาจักร “ลงั กาสกุ ะ” ตามทม่ี หี ลักฐานปรากฏในเอกสารจีน ชวา มลายู และ
อาหรับ

พบเเหล&งโบราณสถานมสั ยดิ กรือเซะ สุสานรายาป;ตตานี แหลง& เตาเผา
โบราณบาA นดี และโบราณวตั ถทุ ีพ่ บกระจัดกระจายอย&โู ดยทวั่ ไปในพ้นื ทต่ี ้งั เมือง
เช&น เศษภาชนะดินเผา เงนิ ตราโบราณตา& งๆ เปOนตAน

- เครอ่ื งมือเครื่องใช+ในการประกอบอาชพี
- เครื่องมือเคร่ืองใช+ในครวั เรือน
- เครอื่ งมอื เครอ่ื งใชใ+ นการสรา+ งบา+ นเรอื นทอ่ี ยอ<ู าศยั
- เครือ่ งมือเครื่องใช+เกี่ยวกบั การรักษาโรค
- เครอ่ื งมอื เครอ่ื งใชเ+ กย่ี วเนอื่ งกบั ขนบประเพณีความเชื่อ

เเละวัฒนธรรมหรอื ใช+ในพิธีกรรมทางศาสนา

อ+างอิงจาก พจนานกุ รม หัตถกรรม เครื่องมือเครอ่ื งใช+ในบ+าน ศาตราจารยK วบิ ูลยK ลี้สวุ รรณ

งานวจิ ยั ท่เี ก่ยี วขอ/ งกบั โลกทศั น5

ณริศรา พฤกษะวนั (2558) คณุ ค$าและความสำคัญของเครอ่ื งป8น7 ดนิ เผา ในสงั คมไทย :
กรณีศึกษาเครื่องป78นดนิ เผา ในอำเภอเมืองพษิ ณุโลก ผูว6 ิจยั กลา: วถึงวเิ คราะหAบทบาทหนา6 ท่ีของ
เคร่ืองปนKJ ดินเผา ประยุกตAใชท6 ฤษฎบี ทบาทหน6าที่ของวลิ เลียม บาสคอมเปTนกรอบในการศึกษาผลการศึกษา
พบวา: สามารถรวบรวมเครื่องปนJK ดินเผาจากแหล:งสะสมทัง้ 6 แหง: ทเี่ ปTนกรณีศึกษา ไดท6 ั้งหมด 2,008 ชิ้น
นำมาจัดจำแนกประเภทออกตามหนา6 ทก่ี ารใช6สอยได6เปTน 10 กลม:ุ คอื 1) พระพทุ ธรูปและเคร่ืองราง 2)
เครอ่ื งใช6ในพธิ ีกรรม 3) ชิ้นสว: นทางสถาปJตยกรรม 4) ภาชนะบรรจเุ คร่ืองดมื่ 5) สำรบั อาหาร 6) เครือ่ งใชใ6 น
ครวั 7) ภาชนะเก็บกักและถนอมอาหาร 8) เคร่อื งใชท6 ่ัวไป 9) ของเล:น และ 10) เบยี้ จากการศึกษาบทบาท
หน6าทีข่ องเคร่ืองปJKนดินเผาในฐานะคติชนประเภทอมุขปาฐะพบวา: เครอ่ื งปนKJ ดินเผามีบทบาทหน6าทส่ี ำคญั ใน
สงั คมไทย 4 ประการ ไดแ6 ก: 1) เปTนเคร่อื งมือ เคร่อื งใชท6 อ่ี ำนวยความสะดวกในชีวติ ประจำวนั 2) เปTนส่งิ
แสดงถึงอตั ลักษณAของกลมุ: ชน 3) เปTนพาหะวตั ถุท่ีเช่ือมโยงมนุษยกA บั มติ ิเหนอื โลก และ 4) เปTนแหลง: เรียนร6ู
สำหรับชนรุ:นหลังไดศ6 ึกษาสังคมวฒั นธรรมและวิถีชีวติ ไทยในอดีต

เสน$ห& วงคส& ฤุ ทธ์ิ (2555) เทคนิคการผลติ เคร่ืองป12นดนิ เผาแบบขัดมัน เพื่อการ
ออกแบบผลิตภัณฑ>รว? มสมยั ผ7ูวจิ ัยศึกษาเทคนิคการผลติ เครื่องปGHนดนิ เผาแบบขดั มัน
บ7านเหมอื งถงุ อำเภอหางดง จงั หวัดเชยี งใหม$ พบว$าแหลง$ ผลิตงานหัตถกรรมเครอ่ื งปGน
ดนิ เผาแบบขัดมัน มีการผลิตงานเครอื่ งปGHนดินเผาแบบขัดมนั ท่เี ปนU แหล$งใหญท$ ส่ี ดุ จำนวน
2 แหล$งทีผ่ ลิต ซึง่ กระบวนการผลิตและใชก7 ารขัดมันท่ีเปUนเอกลกั ษณเ& ฉพาะของบา7 น
เหมอื งกุง

พรี พงษ& พนั ธะศรี (2561) เคร่ืองป)*นดินเผาสร1างสรรค2 : กรณศี ึกษาเครือ่ งป)*นดนิ เผา
ประกอบไม1ยางพารา และเถาวัลย2ในจังหวดั สงขลา. ผู5วิจยั มีวัตถปุ ระสงค& คือ 1) ศกึ ษา
รปู แบบเครื่องปKJนดนิ เผาในอดีต ปJจจบุ นั และกระบวนการผลติ ของชาวสทงิ หมอ5 2) ศึกษา
แนวทางการสร5างสรรค&ผลงานประตมิ ากรรม 3) พัฒนาดินและศกึ ษารปู แบบ แนวคดิ เทคนคิ
วธิ ีการ การทำเครื่องปนJK ดนิ เผาประกอบไม5ยางพาราและเถาวลั ย&โดยตXอยอดจากภมู ปิ ญJ ญา
ทอ5 งถ่นิ 4) สรา5 งสรรคผ& ลิตภัณฑ&เครือ่ งปJKนดินเผาเป^นเอกลักษณเ& ฉพาะตน จากการศกึ ษา
พบวาX เคร่อื งปนKJ ดินเผาของชาวสทิงหม5อยงั มีรูปแบบและกระบวนการผลติ แบบดัง้ เดมิ มีการ
ปรบั เปลยี่ นเล็กน5อยตามยุคสมยั ซ่งึ ผูว5 จิ ัยได5พัฒนาตXอยอดจากกระบวนการผลิตของชาวบา5 น
และไดศ5 กึ ษาแนวทางในการสรา5 งสรรคง& านประตมิ ากรรม โดยพัฒนาวสั ดแุ ละกรรมวิธีการ
ผลติ จากชาX งชาวสทงิ หมอ5 เพือ่ ให5ผลงานท่มี คี ณุ คาX

วตั ถุประสงคกL ารศึกษา
1. เพื่อศกึ ษาความเป1นมาของเครอื่ งป7น6 ดนิ เผาในพ้ืนที่ 5 จงั หวัดชายเเดนภาคใตH
2. เพ่อื ศึกษาอัตลักษณขL องเครอื่ งปน76 ดินเผาในพื้นท่ี 5 จงั หวัดชายเเดนภาคใตH
3. เพ่อื สรHางสรรคผL ลงานเครื่องปน76 ดนิ เผาจากอตั ลกั ษณLเคร่ืองป6น7 ดนิ เผาชายแดน
ภาคใตH

นำเสนอโดย
สุธนิ ี อินทนี
หลกั สตู รวิจยั วฒั นธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศิลปกรรมศาสตรB มหาวทิ ยาลยั ขอนแกนD


Click to View FlipBook Version