The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คติความเชื่อของดอกไม้ในวิถีมลายู สู่การสร้างสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-02 03:30:50

คติความเชื่อของดอกไม้ในวิถีมลายู สู่การสร้างสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัย

คติความเชื่อของดอกไม้ในวิถีมลายู สู่การสร้างสรรค์จิตรกรรมร่วมสมัย

Keywords: ดอกไม,คติความเชื่อ,มลายู

ญป่ี ุ่น

Edo-Period Japanese
ikebana

ประโยชนข์ อง ดอกไม้

ดอกไม้ คอื อาหาร

ดอกไม้ คอื ยา

ดอกไม้ กับ ฮวงจ้ยุ

 กล่าวว่าตามหลกั ฮวงจุย้ หากต้องการความสาเรจ็ จงอยู่ท่ามกลางดอกไม้ เพราะ
ดอกไมค้ อื สญั ลกั ษณ์ของความงอกงาม การเบ่งบาน บ่งบอกถงึ การมาของ
ความโชคดี สแี ดง คอื ความโชคดี ในทางฮวงจุย้ สแี ดงกส็ อื่ ถงึ ธาตุไฟ ซง่ึ
สามารถเผาโชคร้าย ดงั นนั้ ควรเอาดอกไมส้ แี ดงมาประดบั บา้ นเพอื่ ความสาเรจ็
อานาจ และชอื่ เสยี ง นอกจากน้ี ยงั มดี อกกลว้ ยไม้ ซง่ึ นบั ว่าเป็นราชนิ ใีนหมู่ดอกไม้
เพราะมี 5 กลบี ศาสตร์ฮวงจุย้ เชอื่ ว่าดอกไม้ 5 กลบี สอ่ื ถงึ ธาตุทงั้ 5 ซง่ึ
ครอบคลุมจกั รวาล”

 (สกุล อนิ ทกุล นกั จดั ดอกไม้ เจา้ ของ พพิ ธิ ภณั ฑ์วฒั นธรรมดอกไม)้

ความหมายของ ดอกไม้ ในมติ สิ งั คมวฒั นธรรม

 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. ดนิ าร์ บุญธรรม : ดอกไม้ มคี วามเกย่ี วขอ้ งกบั วฒั นธรรม
ไทยอย่างมาก วฒั นธรรมการนาดอกไมช้ นดิ ต่างๆ มา ประกอบอาหาร การนาดอกไม้
จากธรรมชาตมิ าประดษิ ฐ์ถกั ร้อยเป็นเครอื่ งตกแต่งต่างๆ รวมถงึ บทบาทของดอกไมใ้ น
ฐานะแมแ่ บบของลวดลายทป่ี รากฏในงานศลิ ปกรรมและงานประณตี ศลิ ปข์ องไทย
วฒั นธรรมดอกไมใ้ นสงั คมไทยยงั มคี วามเกยี่ วขอ้ งกบั คตคิ วามเชอ่ื และพธิ กี รรมทาง

ศาสนาของผูค้ นมาตงั้ แต่สมยั โบราณ

ดอกไม้ ใน วรรณคดแี ละบทประพนั ธ์ไทย

มทั นะพาธา เป็นบทละครพูดคาฉนั ท์ 5 องก์ พระราชนพิ นธ์ของพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ใน
ปี พ.ศ. 2466 เลา่ เรอ่ื งว่าด้วยตานานเกยี่ วกบั ดอกกุหลาบ และความเจบ็ ปวดจากความรกั

“…ชาตบุษย์พุทธชาดขน้ึ เคยี งกลาง

กุหลาบกนาบส่องทาง กลนิ่ ฟ้ ุง…”

นริ าศทองแดง : เจา้ ฟ้ าธรรมาธเิ บศร์

“…สารภยี เี่ข่งเบญจมาศ บุนนาคการเกดลาดวนหอม

แถมนางแยม้ แกมสุกรมต้นยมโดย พระพายโชยชนื่ ใจในไพรวนั …”

พระอภยั มณี : สุนทรภู่

“…สาวหยุดพุดจบี ปีบจาปา กรรณกิ าร์มหาหงส์ชงโค

ลาดวนดอกดกตกเตม็ ยเี่ขง่ เขม็ สารภยี โ่ีถ…”

อเิหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ร.2

“…รสสุคนธ์ปนมะลผิ ลดิ อกโต ดอกสม้ โอกลนิ่ กลา้ น่าดม

○ มลวิ นั พนั กงิ่ มณฑาเทศ แก้วเกดดอกดกตกอยู่ถม…”

อเิหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ร.2

“…รวยรนิ กลน่ิ ราเพย คดิ พเ่ีคยเชยกลน่ิ ปราง

○ นงั่ แนบแอบเอวบาง หอ่ นแหห่างว่างเว้นวนั …”

บทเห่เรอื : เจา้ ฟ้ าธรรมาธเิบศร์

“…กดิ าหยนั นอ้ งนอ้ ยสอยสาวหยุด เบญจมาศชาตบุษย์ต่างต่าง

บา้ งโนม้ เหนย่ี วหกั กง่ิ ปรงิ ปราง มาถวายหลายอย่างใหน้ างชม…”

อเิหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ร.2

“…หอมดอกไมใ้ กลก้ ุฏิ สายหยุดมลลิ า

ยหี่ ุบบุปผา แยม้ ผกากลนิ่ ขจร…”

พระอภยั มณี : สุนทรภู่

“…แคฝอยขอ่ ยเขม็ ขา้ ต้นกาลานา่ ดอกบาน
งว้ิ งบั พลบั พลงึ บาน นว้ิ มอื เรยี บเปรยี บเทยี นกลงึ …”

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง : เจา้ ฟ้ าธรรมาธเิบศร์

“…กบั หมูไ่ มไ้ กรกรวยกนั เกรากร่าง พะยอมยางตาพยคั ฆพ์ ะยุงเหยี ง
ขอ่ ยมะขามตามทางสลา้ งเรยี ง นกเขาเคยี งคู่ดูประสานคา…”

“…ลาดวนดอกดกตกเตม็ นริ าศพระบาท : สุนทรภู่
รสสุคนธ์ปนมะลผิ ลดิ อกโต
ยเ่ีขง่ เขม็ สารภยี โ่ีถ
ดอกสม้ โอกลนิ่ กลา้ นา่ ดม…”
อเิหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ร.2

“…ชอ้ งนางชา้ งนา้ วสายหยุด ช่อตะแบกชาตบุษย์ชูกา้ น

พกิ ุลพวกแกว้ เป็นแถวบาน พุดตานพนั แต้วจาปี…”

รามเกยี รติ์ : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ร.1

“…ทรงบาดาลบานดอกกลบี ออกทนั เกบ็ ทุกวนั เชา้ เยน็ ไมเ่ วน้ วาย…”

ราพนั พลิ าป : สุนทรภู่

“…แลว้ ลดเลย้ี วเทยี่ วไปบนั ไดอฐิ ต่างเพลนิ พศิ เพงิ ผารุกขาเขา้

จกิ จนั ทน์แจงแทงทวยกรวยกนั เกรา โมกแมงเมา่ ไมง้ อกซอกศลิ า…”

นริ าศเมอื งเพชร : สุนทรภู่

“…ซ่อนกลน่ิ ส่งกลน่ิ ประทน่ิ แกม เหมอื นกลนิ่ แกม้ โฉมยงเมอ่ื ส่งตวั

เลบ็ มอื นางกางกลบี กะทดั รดั เหมอื นมอื เจา้ ปรนนบิ ตั พิ ดั วผี วั …”

ขุนชา้ งขุนแผน : สุนทรภู่

“…มลุลปี ระดู่ดง ปรูประยงค์ยมโดย โรยร่วงเรณูเร้า เยา้ กมลชวนชนื่ สุรภรี น่ื
รสสุคนธ์…”

ลลิ ติ ตะเลงพา่ ย : สมเดจ็ พระมหาสมณเจา้ กรมพระปรมานุชติ ชโินรส

“…ทพ่ี น้ื ปราบปรามรายลว้ นทรายอ่อน เขา้ ดงดอนเลยี บเดนิ เนนิ กุหนุง
เทยี น*ยหี่ ร่าป่าฝิ่ นส่งกลน่ิ คลุง้ สมสม้ กุง้ โกฐจุฬาการบูร…”
*เทยี นกง่ิ
นริ าศอเิหนา : สุนทรภู่

“…ทองกวาวคราวดอกแดง เชงิ จา่ แจงแคงเหยี งหนั …”

กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง : เจา้ ฟ้ าธรรมาธเิบศร์

“…เดนิ มาพากนั ชมพฤกษาสูง ยางยูงแกว้ เกดกฤษณา

กระลาพกั สกั สนคนทา ต้นพะวาขานางยางทราย…”

อเิหนา : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลศิ หลา้ นภาลยั ร.2

“…ยมโดยประดู่หูกวาง ไตรร่างเตง็ รงั กระทงั หนั
กระทุ่มทองกระถนิ อนิ จนั ทร์ ชงิ ชนั ชา้ งนา้ วนนทร…ี ”
รามเกยี รติ์ : พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลก ร.1

ดอกไม้ คอื ตวั แทน

 โลกประกอบดว้ ย 5 ทวปี (ตามการแบ่งการแขง่ กฬี าโอลมิ ปิก) 193 ประเทศ
แต่ละประเทศมดี อกไมป้ ระจาชาตขิ องตน “ดอกไม”้ เหลา่ นนั้ ทาหนา้ ทเ่ีป็นตวั แทน
เป็นสญั ลกั ษณ์ประจาชาตบิ ง่ บอกความสาคญั และความเป็นประเทศนน้ั ๆ ประเทศ
ไทยมดี อกราชพฤกษ์เป็นดอกไมป้ ระจาชาติ มดี อกไมป้ ระจาจงั หวดั 77 จงั หวดั
มกี ารบญั ญตั ดิ อกไมเ้ ป็นสญั ลกั ษณ์ในวนั สาคญั ต่างๆ แมส้ ถาบนั พระมหากษตั รยิ ์
กย็ งั ปรากฏดอกไมป้ ระจาพระองค์เช่นกนั

ดอกไม้ คอื การสอ่ื สารความหมาย

 คนกบั คน
การใชด้ อกไมม้ อบใหก้ นั ในโอกาสต่างๆ ตง้ั แต่ เกดิ ....จน....ตาย

ดอกไม้ คือ กำรสื่อสำรควำมหมำย

 คนกบั สงิ่ ลล้ี บั
การใชด้ อกไมเ้ ป็นเครอ่ื งสกั การบูชา แสดงความเคารพ บูชา ระลกึ ถงึ กตญั ูู

มลำยู หมายถงึ 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้

ทำไมจึงเลือกศึกษำในพ้นื ที่ “มลำยู”

 1. พน้ิ ทเ่ีป็นแหลม เป็นเมอื งท่าสาคญั มาตงั้ แต่สมยั โบราณ คอื อาณาจกั ร ลงั กาสุกะ ทมี่ อี ายุ
กว่า 1400ปี

 2. เป็นเมอื งเศรษฐกจิ พบหลกั ฐานว่ามกี ารตดิ ต่อค้าขายกบั เปอร์เชยี อนิ เดยี จนี องั กฤษ
ฝรง่ั เศส โปรตุเกต และฮอลนั ดาเกดิ การแพร่กระจายวฒั นธรรมต่างชาตใินพน้ื ที่

 3. เป็นแหล่งทางผา่ นการเผยแพร่พระพุทธศาสนาบรเิวณคาบสมุทรมลายู
 4. ในช่วง3ทศวรรษทผ่ี า่ นมาพธิ กี รรมความเชอ่ื ทอ้ งถน่ิ จานวนมากถูกยกเลกิ ด้วยเหตุผล

ทางศาสนา
ทงั้ 4ด้านมคี วามสาคญั ทางพน้ื ท่ี ทางด้านประวตั ศิ าสตร์ สงั คม เศรษฐกจิ ศาสนา เป็นแหลง่ รวม
ความเชอื่ ทปี่ ระปนกนั มาชา้ นาน ทาใหเ้ กดิ มรดกตกทอดทางวฒั นธรรมในพธิ กี รรมความเชอ่ื
“ศาสนาอสิ ลามพน้ื บา้ น” ซง่ึ มคี ตคิ วามเชอื่ ท้องถน่ิ ทม่ี ศี าสนาพราหมณ์ฮนิ ดูเจอื ปน พธิ กี รรม
ความเชอ่ื ทอ้ งถนิ่ ดงั กลา่ วจานวนมากกาลงั ถูกมองว่าผดิ บาป และถูกยกเลกิ

กรอบการศกึ ษาคตคิ วามเชอ่ื ของ ดอกไม้ ในวถิ มี ลายู

เกดิ แก่ เจบ็ ตาย
ดอกไมใ้ นประเพณี
ดอกไมใ้ นพธิ กี รรม พธิ กี รรมเกย่ี วกบั วงจรชวี ติ
ดอกไมใ้ นการละเลน่

...

คติควำมเช่ือของดอกไมใ้ นวิถีมลำยู

งำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง

 ความเร้นลบั ในความงาม
เพยี งพธู ทนั ตววิ ฒั นานนท์
:ศกึ ษาความงามทเ่ีร้นลบั , ผูห้ ญงิ , ดอกไม,้ ลกึ ลบั , เเสดงออกเป็นผลงานสอื่ ผสม2
มติ ิ ซงึ่ แสดงออกมาโดยผา่ นวสั ดุทใ่ีหค้ วามโปร่งแสง การตคี วามของมนุษย์ ทมี่ ี
ทศั นคตติ ่อสงิ่ ต่าง ๆ จากประสบการณ์และการรบั รู้

 คาถาและพธิ กี รรมในการรกั ษาโรคของหมอพน้ื บา้ น: บทวเิคราะห์และมุมมองใน
เชงิ คตชิ นวทิ ยา

ปานวาด มากนวล

:ศกึ ษาคาถาและพธิ กี รรมในการรกั ษาโรคของหมอพน้ื บา้ นที่ บา้ นหนองขาว จงั หวดั
กาญจนบุรี การศกึ ษาคตชิ นเชงิ บทบาท และการศกึ ษาสญั ลกั ษณ์ในพธิ กี รรมผล
การศกึ ษาพบว่า พบคาถาทใี่ชใ้ นการรกั ษาโรคแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ระบบความสมั พนั ธ์ของ
คนในชุมชน ความศรทั ธาในพระพุทธศาสนาและความเชอ่ื ในอานาจศกั ดสิ์ ทิ ธิ์

 ‘นบตี ๊ะมาแกปีแน’ (นบไีม่กนิ หมาก): มลายูมุสลมิ ในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้
ประเทศไทย”

อนุสรณ์ อุณโณ

เพอ่ื ศกึ ษาวถิ ชี วี ติ พธิ กี รรมความเชอื่ ทอ้ งถนิ่ และการปฏบิ ตั ศิ าสนาอสิ ลามใน
ชวี ติ ประจาวนั ของชาวมลายูมุสลมิ บา้ นกอื เมง็ ภายใต้กระแสการตน่ื ตวั ในศาสนาอสิ ลาม
ในเขตจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ประเทศไทย ท่ามกลางการมวี ตั รปฏบิ ตั ทิ างศาสนาที่
เคร่งครดั ขน้ึ ชาวกอื เมง็ จานวนมากยงั คงมวี ถิ ชี วี ติ บางส่วนและประกอบพธิ กี รรมทมี่ ี
พน้ื ฐานความเชอื่ แบบพราหมณ์ฮนิ ดูแบบดง้ั เดมิ อยู่

 ลาซงั : พน้ื ทพี่ ธิ กี รรมและความทรงจาทางสงั คมกบั การสร้างความเขม้ แขง็

 ของชุมชนท่ามกลางสถานการณ์ความไมส่ งบชายแดนภาคใต้

นุชนาถ นวลใย

เพอื่ ศกึ ษาความทรงจาทางสงั คมผา่ นพน้ื ทพ่ี ธิ กี รรมลาชงั และ การสร้างความ
เขม้ แขง็ ของชุมชนผา่ นพน้ื ทพ่ี ธิ กี รรมลาชงั แสดงถงึ การเคารพ บูชา กตญั ููต่อ
ธรรมชาตทิ ค่ี อยกากบั อยู่เบอ้ื งหลงั ความสาเรจ็ ในการทานา ซง่ึ สอดคลอ้ งและ
ตอบสนองต่อการดารงชวี ติ ของคนในชุมชน การร้อื ฟ้ืนวถิ ชี วี ติ ชาวนา มาเป็นกลไก
ในการต่อสูต้ ่อรองกบั ความกลวั และความเจบ็ ปวดทชี่ ่วยเยยี่ วยาจติ ใจของผูค้ น
ท่ามกลางสถานการณ์ความไม่สงบ

 การวจิ ยั เรอื่ งความเชอ่ื ต่อวาลใีนสามจงั หวดั ชายแดนใต้

วรรณนะ หนูหมนื่

1) ตานานวาลที งั้ 4 สานวน บ่งบอกว่าบรรพชนในพน้ื ทนี่ ม้ี ที ง้ั กลุ่มทนี่ บั ถอื เทพทาง
ธรรมชาติ อนั เป็นคตดิ ง้ั เดมิ และอกี กลุม่ ทนี่ บั ถอื อสิ ลามอนั เป็นศาสนาทเี่พง่ิ รบั เขา้ มาใหม่

2) “การกลบั กนั ของเรอื่ ง” และ“ชุดความคดิ ” ทเ่ีป็น “ขวั้ ตรงขา้ ม” ในตานานวาลแี ต่ละ
สานวนนน้ั สะทอ้ นร่องรอยของการต่อรองทจ่ี ะนบั ถอื ศาสนาแตกต่างกนั ในภูมภิ าคนเ้ีมอ่ื
ครงั้ อดตี

3) ในตานานวาลี เมอื่ วเิคราะห์ความในใจของบรรพชน โดยถอดรหสั orchestra
score ตามหลกั ของ LéviStrauss เราจะพบการปฏสิ งั สรรค์ทางสงั คม ทง้ั การ
เหน็ ด้วย เหน็ ต่าง และขดั แยง้ ก่อนจะยอมรบั ศาสนาใหม่

4) พธิ กี รรมและความศรทั ธาต่อวาลที งั้ ชาวบา้ นไทยพุทธและมุสลมิ ชอ้ี ตั ลกั ษณ์ของบาง
ทอ้ งถนิ่ 3 จงั หวดั ชายแดนใต้ในชนบท ว่ามกี ารผสมผสานระหว่างความเชอื่ ดงั้ เดมิ กบั
ศาสนาอสิ ลาม

คาสาคญั : ความเชอ่ื ดง้ั เดมิ ตานาน พธิ กี รรม วาลี สามจงั หวดั ชายแดนใต้ อสิ ลาม

วัตถปุ ระสงค์ของกำรวิจัย

1.เพอ่ื ศกึ ษาพฒั นาการคตคิ วามเชอ่ื ของดอกไมใ้ นวถิ มี ลายู
2.เพอ่ื สร้างสรรค์จติ รกรรมร่วมสมยั ตามคตคิ วามเชอ่ื ของดอกไมใ้ นวถิ มี ลายู

นาเสนอโดย
อญั ชนา นงั คลา
หลกั สูตรวจิ ยั วฒั นธรรม ศลิ ปกรรมและการออกแบบ คณะศลิ ปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น


Click to View FlipBook Version