The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เส้นทางการสำรวจภูมิปัญญาและศิลปะพื้นถิ่น จังหวัดขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kanikl, 2020-06-04 04:26:15

เส้นทางการสำรวจภูมิปัญญาและศิลปะพื้นถิ่น

เส้นทางการสำรวจภูมิปัญญาและศิลปะพื้นถิ่น จังหวัดขอนแก่น

Keywords: ภูมิปัญญา,ศิลปะพื้นถิ่น,จังหวัดขอนแก่

ท่ีมา : https://www.google.com/search?q=วดั สวา่ งสุทธาราม+บา้ นหนองกงุ +ต.ศิลา+อ.เมือง+จ.ขอนแก่น

ต้ังวัดเมื่อปี พ.ศ.2470 ได้รับพระราชทาน
วิสุ งคามสี มา เมื่อปี พ .ศ.2476 พระมณฑปสร้างปี
พ.ศ.2484 เป็ นอาคารรูปทรงสี่เหลี่ยมจตั ุรัส ฐานสูง มี
บนั ไดนาคทางดา้ นทิศตะวนั ออกและทิศตะวนั ตก ประดบั
ตกแต่งดว้ ยปูนป้ัน ภายในอาคารประดิษฐานรอยพระพุทธ
บาทจาลอง หลงั คาทรงป้ันหยายอดแหลมซ้อนกนั ๓ ช้นั
มุงดว้ ยกระเบ้ืองดินเผาหางมนไม่เคลือบ หลงั คาช้นั ล่างสุด
แผ่คลุมอาคารมณฑปและพ้ืนลาน โดยมีเสารองรับ
โดยรอบ เป็นเสาปูนทรงสี่เหล่ียม ท่ีโคนเสาตกแต่งเป็นบวั
ระหวา่ งช่องเสาดา้ นบนทาเป็ นวงโคง้ เชื่อมต่อกนั โดยรอบ
ผนังเหนือวงโคง้ ตกแต่งดว้ ยปูนป้ันนูนต่าลวดลายพนั ธุ์
พฤกษาทาสีทบั ลวดลายอีกช้นั หน่ึง

เป็ นศาสนสถานในพุทธศาสนา พระมณฑป
ประดิษฐานรอยพระพุทธบาทจาลอง ท่ียงั คงใช้งานอยู่
เมื่อปี พ.ศ.2542 คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิยาลัย
ขอนแก่น อนุรักษ์ซ่อมแซมพระมณฑปใหม่ท้ังหลงั
เน่ืองจากส่วนประกอบท่ีเป็ นไมผ้ ุพงั ไปมาก โดยรักษา
รูปแบบศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมเดิมเอาไว้ ข้ึน
ทะเบียนและกาหนดเขตที่ดินโบราณสถาน ในราชกิจจา
นุเบกษา เล่ม 118 ตอนพิเศษ 29 ง วนั ที่ 26 มีนาคม 2544
พ้ืนท่ีประมาณ 2 ไร่ 11.73 ตารางวา

1.อาคารรูปทรงส่ีเหลี่ยมจตั ุรัส 5.หลงั คาทรงป้ันหยายอดแหลมซอ้ นกนั ๓ ช้นั มุงดว้ ยกระเบ้ืองดิน
เผาหางมนไม่เคลือบ หลงั คาช้นั ล่างสุดแผค่ ลุมอาคารมณฑปและพ้ืน
2. ฐานสูง ลาน

3. มีบนั ไดนาคทางดา้ นทิศตะวนั ออกและทิศตะวนั ตก 6.มีเสารองรับโดยรอบ เป็ นเสาปูนทรงสี่เหลี่ยม ท่ีโคนเสาตกแต่ง
ประดบั ตกแต่งดว้ ยปูนป้ัน เป็นบวั ระหวา่ งช่องเสาดา้ นบนทาเป็นวงโคง้ เช่ือมต่อกนั โดยรอบ
4. ภายในอาคารประดิษฐานรอยพระพทุ ธบาทจาลอง
7.ผนังเหนือวงโคง้ ตกแต่งด้วยปูนป้ันนูนต่าลวดลายพนั ธุ์พฤกษา
ทาสีทบั ลวดลายอีกช้นั หน่ึง

ความกว้างตวั เรือน 394 เซนติเมตร
ความสูงตวั เรือน 300 เซนตเิ มตร
ความสูงของฐาน 140 เซนติเมตร
ความกว้างของฐาน 526 เซนตเิ มตร

บนั ไดกวา้ ง 130 เซนติเมตร มีท้งั หมด
6 ข้นั ดงั น้ี

ข้นั ที่ 1 สูง 10 เซนติเมตร
ข้นั ที่ 2 สูง 20 เซนติเมตร
ข้นั ท่ี 3 สูง 25 เซนติเมตร
ข้นั ท่ี 4 สูง 25 เซนติเมตร
ข้นั ที่ 5 สูง 26 เซนติเมตร
ข้นั ที่ 6 สูง 27 เซนติเมตร



บ้านศิลา ได้ต้ังบ้านคร้ังแรกประมาณปี พ.ศ.2421 ซ่ึงตรงกับสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 5 มีพ่อพานเมืองต้ังข้ึนท่ีต้นมะขามใหญ่ มีด้วยกัน 6 ครัวเรือน คือ 1.พ่อพานเมือง
2.หลวงบริภาท 3.หลวงเทพ 4.พ่อพรหมสาร 5.พ่อพรหมโคตร 6.พ่ออนิ ทะจักษ์ โดยพ่อพานเมืองเป็นหัวหน้า
มาต้ังอยู่ท่ตี ีนดง ต่อมาประมาณปี พ.ศ.2434 พ่อพรหมสารได้เข้าไปบุกร้างถางพงท่กี ลางโนน ซ่ึงเป็นท่ตี ้ังบ้าน
ศิลาในปัจจุบัน (ศูนย์วฒั นธรรมจังหวัดขอนแก่น:2547)

สภาพทางคมนาคมส่วนใหญ่สะดวก สบายมีถนนสายหลัก
2 เส้น คือ ถนนลาดยาง เส้นกสิกรทุ่งสร้าง - ห้วยชัน ถนน
มติ รภาพเช่ือมตัวเมืองข่อนแก่น - หนองกุง ซ่ึงต่อไปจะพัฒนา
ถนนภายในหมู่บ้านให้ใช้สญั จรสะดวกสบายอย่างทว่ั ถงึ

ทศิ เหนือ ตดิ กบั ต.สาราญ อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น
ทศิ ตะวันออก ตดิ กบั แนวเขตเทศบาลเมอื งขอนแก่น
ทศิ ใต้ ติดกบั ต.หนองตมู อ.เมือง จ.ขอนแก่น
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ กบั ต.บ้านค้อ อ.เมอื ง จ.ขอนแก่น



ประตูวดั โพธ์ิศรี

สิมหลงั ใหม่ วดั โพธ์ิศรี















อาชีพหลกั ทานา ปลูกไมด้ อกไมป้ ระดบั และรับจา้ งทว่ั ไป โดยแยกเป็น
1.อาชีพเกษตรกรรม 60%
2.อาชีพรับจา้ ง 20%
3.อาชีพคา้ ขายและรับราชการ 20%

ดอกไม้ประดษิ ฐ์ เส่ือทอมือ

ท่ีมา:ดอกไมป้ ระดิษฐจ์ ากผา้ ใย ท่ีมา:facebookเส่ือทอมือลายขิดโบราณ

1.งานประเพณีบุปผชาติการเกษตร กาหนดจดั การช่วงตน้ ปี มีการจดั การประกวดธิดา
บุปผชาติ และประกวดขบวนแห่บุปผชาติ ประกวดพืช ผกั ผลไม้

2.งานประเพณีไหลเรือไฟ ณ บา้ นดงพองหมู่ท่ี 10 ช่วงเดือนตุลาคมของทุกปี

3.งานประเพณีส่งสงกรานตง์ านประเพณีส่งสงกรานต์ หรือเรียกอีกอยา่ งหน่ึงวา่ "งานตบ
ปะทาย" จะจดั ข้ึนหลงั ประเพณีสงกรานต์ ณ บริเวณศาลป่ ูตา ม.8 ต.ศิลา

ทม่ี า:facebookวดั โพธ์ิศรี เทศบาลเมืองศิลา อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น

1.หมอสมุนไพรและสมุนไพรรักษาโรค
2.การแกะสลกั ไม้

หมอยาหรือหมอพ้ืนบา้ น คือช่ือเรียกของผทู้ ี่มีประสบการณ์ การรักษาผทู้ ี่เจบ็ ไขไ้ ดป้ ่ วย
ส่วนใหญ่เป็ นผูท้ ี่เคยบวชเรียนมาก่อน โดยหมอยาเหล่าน้ีจะนาความรู้มาจากตาราบนั ทึก จึงมี
ความรู้พ้ืนฐานตามแนวศาสนาพทุ ธร่วมกบั ประสบการณ์การรักษาโรคผสมผสานกบั ความรู้การ
ใชย้ าสมุนไพรในทอ้ งถ่ิน ถือเป็ นปราชญ์ชาวบา้ นท่ีมีความรู้ในเรื่องการรักษาอาการเจ็บป่ วย
โดยไดร้ ับการสืบทอดผา่ นตาราหรือคาถามาจากบรรพบรุ ุษในตระกลู แบ่งเป็น 4 กลุ่มดงั น้ี
1.หมอรักษางู (ธาตุดิน)
2.หมอยาชูกาลงั (ธาตุน้า)
3.หมอรักษาภายใน (ธาตุลม)

4.หมอรักษาไฟ (ธาตุไฟ)

รักษาอาการป่ วยจากการโดนงูชนิดต่างๆกดั โดยใชส้ มุนไพรในรักษา คือ ใบสุมกาและ ใบ
สากครามผนวกกบั การท่องคาถาที่ใชใ้ นการรักษาผไู้ ดร้ ับบาดเจบ็

2.หมอยาพ้ืนบา้ นเรื่องยาชูกาลงั (ธาตุน้า)

รักษาอาการเหน่ือยหมดแรง โดยการใหส้ มุนไพรท่ีมีสรรพคุณช่วยในการชูกาลงั เพ่ือให้ มีแรงทางานต่อได้

รักษาเลือดลมในร่างกาย ส่วนใหญ่ผปู้ ่ วยเป็นผหู้ ญิงมีอาการปวดประจาเดือน

4. หมอรักษาท่ีเกิดจากความร้อน (ธาตุไฟ)
รักษาอาการไฟไหม้ ไฟลวก น้าร้อนลวก แผลโปร่งพองต่างๆ

บา้ นศิลามีหมอยาท่ีโดดเด่น คือ หมอรักษาคนป่ วยจากการโดนงู
กดั เพราะในอดีตหมู่บา้ นศิลาไดต้ ้งั อยกู่ ลางป่ าดงสัตวเ์ ลื่อนคลานหรือสัตว์
มีพิษจึงมีจานวนมาก ในขณะเดียวกนั การแพทยก์ ็ยงั ไม่ทว่ั ถึง จึงมีหมอยา
ประจาหมู่บ้านเพื่อดูแลรักษาอาการป่ วย โดยใช้สมุนในการรักษา เช่น
พอ่ สาเนียง คนใหญ่ (ปราชญช์ าวบา้ น) อายุ 71 ปี กเ็ ป็นหมอยาสมุนไพรใน
หมู่บา้ นศิลาท่ียงั มีชีวิตอยู่ ไดใ้ ห้สัมภาษณ์ว่า พ่อเป็ นหมอยารักษาคนจาก
การโดนงูกดั โดยใชใ้ บสุ่มกาและใบสากครามท่ีอยใู่ นป่ าทา้ ยหมู่บา้ นมาทา
การรักษาพร้อมกบั การท่องคาถาท่ีไดร้ ับการสืบทอดจากบรรพบุรุษ

วิธีการรักษาอาการป่ วยแบบน้ีได้ลดน้อยลงเพราะในปัจจุบนั
การบริการทางการแพทยง์ ่ายและทวั่ ถึง อย่างไรก็ตามในปัจจุบนั คุณพ่อ
สาเนียงก็ยงั คงใชว้ ิชาความรู้ที่ตนมีรักษาอาการป่ วยเหล่าน้ีอย่างต่อเนื่อง
อาจเป็ นเพราะความเชื่อของคนในชุมชนแบบมุขปาทะ ทาให้ผูค้ นยังคง
เดินทางมารักษาเท่าทุกวนั น้ี

งานแกะสลกั ไมถ้ ือว่าเป็ นงานศิลปกรรมที่เก่าแก่ประเภทหน่ึง สาหรับการ
แกะสลกั ไมใ้ นประเทศไทยน้ัน แต่เดิมส่วนมากจะเป็ นเร่ืองเก่ียวกบั พระพุทธศาสนา
ท้ังสิ้น ได้แก่ งานแกะสลักไม้ประกอบโบสถ์วิหาร ศาลาวัด หอไตรปิ ฎก รู ป
พระไตรปิ ฎก พระเจดีย์ เป็ นตน้ ซ่ึงมีการสร้างสรรคอ์ ย่างสวยงามและประณีตบรรจง
ปรากฏอยู่ทุกยุคทุกสมยั ในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทย มีช่างแกะสลกั ท่ีมีฝี มือได้
สร้างสรรคผ์ ลงานข้ึนมาจานวนมาก ช่างแกะสลกั ไมส้ ามารถถ่ายทอดศิลปวฒั นธรรมท่ี
สืบทอดมาจากบรรพบุรุษและภูมิปัญญาในทอ้ งถ่ินของแต่ละชุมชนลงบนแผ่นไมท้ ่ี
สะทอ้ นใหเ้ ห็นถึงความเช่ือ คา่ นิยม ประเพณี การทามาหากินตลอดจนวิถีชีวติ ทวั่ ไป
(วฒุ ินนั รามฤทธ์ิ.2540)





สสิมิมววดั ดั โโพพธธ์ิศ์ิศรรี ี

สิม หรือ โบสถ์ ในภาษาอีสานคาวา่ "สิม" มาจากคาวา่ สีมา หรือ เสมา แปลวา่ เขต
หลกั เขตการทาสังฆกรรม โบสถม์ ีใบเสมาเป็นสิ่งแสดงท่ีหมายนิมิตลอ้ มรอบตวั อาคาร 8 จุด
เพอ่ื กาหนดเขตวสิ ุงคามสีมา

http://www.oceansmile.com/E/Khonkan/PratadKhamk

วดั โพธ์ิศรี บา้ นศิลา อ.เมือง จ.ขอนแก่น สิม (โบสถ)์
สร้างเม่ือ พ.ศ.2468 ปฏิสงั ขรณ์ พ.ศ.2516 ช่างที่ออกแบบ
รูปทรง พอ่ พล ยายแกว้ คนท่ีสบั ลายไมค้ ือ พอ่ ใบ เป็นสิม
ทึบพ้ืนบา้ น (สิมมหาอุต) ขนาด 3 หอ้ ง ตกแตง่ ดว้ ยงานไม้
สลกั ช่อฟ้า ไมแ้ กะสลกั สูง โหง่ ไมแ้ กะสลกั รูปเศียรนาค
สิมหลงั น้ีไดร้ ับยกยอ่ งจากสมาคมสถาปนิกสยามวา่ สวยงาม
ท่ีสุดในประเทศไทย

สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถมั ภ์

ส่วนประดับตกแต่งของสิมวดั โพธ์ิศรี

1.ช่อฟ้า
2.โหง่ว
3.ใบระการูปพญานาค
4.หางหงส์
5.รวงผ้งึ

เป็ นสิมทึบ เข้า ออกทางเดียว
ลายรวงผ้ึง ช่อฟ้า หางหงส์ จาหลักไม้
สวยงาม รู ปแบบผสมผสานระหว่าง
อีสานกบั ญวณบา้ งแต่ไม่มาก

https://www.thai-tour.com/place/529

ส่วนประดบั ตกแต่งของสิมวดั เจติยภูมิ

1.โหง่ว
2. ใบระกา
3.หางหงษ์
4.รวงผงึ้

https://www.thai-tour.com/place/529

สิมท้งั สองหลงั นีม้ ีลกั ษณะคล้ายกนั คือเป็ นสิมมหาอตุ หรือสิมทบึ
มีทางเข้าออกทางเดียว มีทวารบาลรูปทหารหน้าทางเข้า มีพระประธานตดิ
ผนัง สิ่งท่ีแตกต่างกนั คือหลงั คาของสิม และการออกแบบของช่างทาสิม

เทย่ี วชมสิมเก่า จงั หวดั ขอนแก่น

ก่บู า้ นนาคานอ้ ย (ก่ปู ระภาชยั )

บ้านนาคาน้อย ตาบลบวั ใหญ่ อาเภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแก่น

ทมี่ า : https://www.google.com/maps/dir/
เทศบาลนครขอนแก่น+อาเภอเมืองขอนแก่น+
ขอนแก่น/ก่ปู ระภาชยั +ตาบล+บวั ใหญ่+อาเภอ
น้าพอง+ขอนแก่น

เป็ นศาสนสถานประจาสถานพยาบาล หรืออโรคยศาล สร้างตามพระราชโองการของ
พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 แห่งอาณาจักรเขมร ในราวพุทธศตวรรษท่ี 17 พระองค์ทรงศรัทธาและ
นับถือพุทธศาสนานิกายมหายาน ซึ่งเคารพนับถือพระโพธิสัตว์ ในช่วงรัชสมัยของพระองค์
โปรดฯ ให้สร้างอโรคยศาลหรือสถานพยาบาล จานวน 102 แห่ง ในอาณาเขตอาณาจักรของ

พระองค์ และสันนิษฐานว่า กู่บ้านนาคาน้อยหรือกู่ประภาชัย ก็เป็ นศาสนสถานประจาอโรคย
ศาล 1 ใน 102 แห่งดงั กล่าวข้างต้น

ทม่ี า : http://ittm.dtam.moph.go.th/Service/WebMuseum/ThaiDev/page4.html เม่ือวนั ท่ี 15 กนั ยายน 2562

เป็ นกล่มุ โบราณสถาน ประกอบด้วย
1.ปราสาทประธาน
2.บรรณาลยั
3.ล้อมรอบด้วยกาแพงแก้ว
4.มปี ระตูซุ้ม หรือโคปุระด้านทศิ ตะวนั ออกด้านเดยี ว
5.นอกกาแพงมุมด้านทศิ ตะวนั ออกเฉียงเหนือมสี ระนา้ กรุด้วยศิลาแลง 1 สระ เรียก “บาราย”

ท่ีมา http://www.pharmacy.msu.ac.th/exhibition_new/aroka-his.html

นิทรรศการ ไขความลบั มนตราศิลาขอม เข้าถึงได้จาก http://www.tkpark.or.th/th/knwldzn/vst/vstexbtndtl.aspx?id=13385 เม่ือ
วนั ท่ี 15 กนั ยายน 2562

ธาดา สุทธิธรรม . "ภูมทิ ตี่ ้ังอโรคยศาลา: ความสัมพนั ธ์กบั บริบททางผงั เมือง" . วารสารเมืองโบราณ. 2547,ฉบบั ที่ 30.3

สถาบนั การแพทย์แผนไทย. "พพิ ธิ ภัณฑ์การแพทย์แผนไทย์" เข้าถึงได้จาก
http://ittm.dtam.moph.go.th/Service/WebMuseum/ThaiDev/page4.html เม่ือวนั ท่ี 15 กนั ยายน 2562

ราชกจิ จานุเบกษา เล่ม 118 ตอนพเิ ศษ 29 ง หน้า 9 วนั ท่ี 26 มนี าคม 2544

สานักงานโบราณคดแี ละพพิ ธิ ภัณฑสถานแห่งชาติท่ี 7 ขอนแก่น ,รายงานการสารวจขนึ้ ทะเบยี นโบราณสถาน พระมณฑปวัดสว่างสุ
ทธาราม อาเภอเมือง จงั หวดั ขอนแก่น , 2543.




Click to View FlipBook Version