องคค์ วามรใู้ นการทาอาหารพน้ื บา้ นต้ม
กะทสิ ายบวั
ชุมชนคณุ ธรรม ฯ บา้ นหนองจอก
หมู่ ๖ ตาบลหนองจอก อาเภอทา่ ยาง จงั หวัด
เพชรบรุ ี
โครงการสง่ เสรมิ สนับสนนุ การอนรุ กั ษ์ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมทอ้ งถนิ่
ของจงั หวัดเพชรบุรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
กิจกรรม : สง่ เสรมิ สนับสนุนการศึกษา การเรียนรู้ถ่ายทอดองคค์ วามรูม้ รดกภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ
การถ่ายทอดภมู ปิ ญั ญาอาหารพน้ื บา้ นเมืองเพชร
โดย สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั เพชรบุรี
โทร. 0 3242 4323-5
คานา
เอกสารฉบับน้ีจัดทาขึ้นภายใต้โครงการส่งเสริมอนุรักษ์ฟ้ืนฟูขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรมทอ้ งถ่ินของจังหวดั เพชรบุรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ กจิ กรรม :ส่งเสริม สนบั สนุนการศึกษา
การเรียนรู่ถ่ายทอดองค์ความรู้มรดกภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเป็นการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการทาอาหารพื้นถ่ิน
สบื สาน สืบทอด และอนุรักษ์วัฒนธรรมของจังหวัดเพชรบุรี ให้คงอยู่สืบไป ตลอดจนขับเคล่ือนเพชรบุรี ในฐานะ
ได้รับการประกาศเป็นเมืองสร้างสรรคด์ า้ นอาหารของยเู นสโก
สานักงานวัฒนธรรมจงั หวัดเพชรบุรี โดย กลุ่มส่งเสรมิ ศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม ในฐานะท่ี
เป็นผ้รู ับผิดชอบและประสานการดาเนินการจัดทาและเผยแพร่องค์ความรู้การทาอาหารพื้นถิ่น “ตม้ กะทิสายบัว”
หวังเป็นอย่างย่ิงว่าข้อมูลดังกล่าวจะเป็นประโยชน์กับเด็ก เยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผู้ท่ีสนใจ
ได้ใช้ประโยชน์ สืบค้น ข้อมลู จากการทาอาหารพ้ืนบา้ น “ต้มกะทิสายบัว” หากมขี ้อผดิ พลาดประการใด ต้องขอ
อภัยไว้ ณ ที่น้ดี ว้ ย
กลมุ่ ส่งเสรมิ ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
สานกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดเพชรบรุ ี
สารบญั
องคค์ วามร้ใู นการทาอาหารพืน้ บ้านเมืองเพชร : ตม้ กะทสิ ายบัว หน้า
ขอ้ มลู สภาพท่วั ไป 1
ประวตั ิความเปน็ มาของตาบลหนองจอก 4
ความเปน็ มาของชมุ ชนหนองจอก 5
องคค์ วามรเู้ ร่อื งการทาตม้ กะทสิ ายบวั ๑๔
ภูมิปัญญาการทาต้มกะทสิ ายบัว 30
ภาคผนวก
- คณะผู้จดั ทา
- โครงการส่งเสรมิ สนบั สนนุ การอนรุ ักษฟ์ ืน้ ฟูขนบธรรมเนยี ม ประเพณี
วฒั นธรรมทอ้ งถ่ินของจงั หวัดเพชรบุรี ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
ขอ้ มลู สภาพท่วั ไป
ตาบลบ้านหนองจอก
ในอดีตบ้านหนองจอกเป็นชุมทางการเดินทาง เพราะมีสถานีรถไฟ มีตลาดและมีการต้ังบ้านเรือนจึงมี
ความหนาแน่นระดับหน่ึงท่ีสามารถจัดต้ังเป็นสุขาภิบาล กระทรวงมหาดไทยจึงได้พิจารณาจัดต้ังสุขาภิบาลหนอง
จอก เมอื่ วันท่ี 19 มีนาคม พ.ศ. 2506 และ ไดย้ กฐานะเป็นเทศบาลตาบลหนองจอก เมอ่ื วันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ.
2542
ภูมิประเทศของตาบลหนองจอกเป็นพื้นท่ีราบลาดเทเล็กน้อยโดยมีความลาดเทจากทิศตะวันออกไป
ทางทิศตะวันตกลักษณะภูมิอากาศมี 3 ฤดู อากาศร้อน ฝนตกตามฤดูและฤดูหนาวไม่หนาวมาก อากาศอบอุ่นอยู่
หา่ งจากท่วี ่าการ อาเภอท่ายางไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 12 กิโลเมตร เป็นที่ราบลุม่ มคี ลองชลประทานไหล
ผา่ น 3 สาย พืน้ ทเ่ี หมาะแก่เพาะปลูกและเลีย้ งสตั ว์
-๒-
ที่ต้ัง เขตติดต่อ
ตาบลหนองจอกเป็นตาบลหนึง่ ใน 12 ตาบลของอาเภอท่ายาง จงั หวัดเพชรบุรี โดยอยหู่ า่ งจากท่วี า่ การ
อาเภอท่ายางไปทางทิศตะวนั ออก ประมาณ 12 กิโลเมตร มอี าณาเขตติดตอ่ กบั ตาบลต่างๆ ดงั น้ี คือหนองจอก
เป็นตาบลของอาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบรุ ี อยหู่ ่างจากทว่ี ่าการอาเภอท่ายางไปทางทิศตะวันออก ประมาณ ๑๒
กิโลเมตร มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กับตาบลตา่ งๆ ดงั น้ี คือ
ทิศเหนอื ตดิ ต่อกับ ตาบลหนองขนานและตาบลดอนยาง อาเภอเมืองเพชรบุรี
ทศิ ใต้ ตอ่ ต่อกับ ตาบลหนองศาลา และตาบลนายาง อาเภอชะอา
ทิศตะวันออก ติดต่อกับตาบลปกึ เตยี น อาเภอทา่ ยาง
ทิศตะวันตก ตดิ ตอ่ กับ ตาบลมาบปลาเคา้ อาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบุรี
การคมนาคม/การเดนิ ทาง
ภาพที่ :เสน้ ทางการเดินทางจากกรุงเทพฯ มายงั ต.หนองจอก จ.เพชรบุรี
ทมี่ า : ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพอื่ การบริการ กรมทางหลวง
ตาบ ลห นองจอก มีเส้น ทางคมน าคมที่ สาคัญ คือ ทางหลวงแผ่นดินห มายเลข ๔
(ถนนเพชรเกษม) และถนนของกรมโยธาธิการเป็นถนนลาดยางเป็นหลัก ห่างจากกรุงเทพฯ ๑๕๘ กิโลเมตร ใช้
เวลาเดินทางประมาณ ๒ ช่ัวโมง ๑๕ นาที และอยู่ห่างจากจังหวัดประมาณ ๒๔ กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทาง ๓๐
นาที
-๓-
การปกครองของตาบลหนองจอก
ตาบลหนองจอก ประกอบดว้ ย ๑๔ หมู่บา้ น ดังน้ี
หม่ทู ่ี ๑ บ้านสายหนึง่
หมู่ท่ี ๒ บ้านหนองบวั
หมู่ที่ ๓ บา้ นหนองบวั
หมทู่ ี่ ๔ บ้านหนองเกตุ
หมทู่ ่ี ๕ บ้านฝง่ั ห้วย
หม่ทู ่ี ๖ บา้ นตลาด
หมู่ที่ ๗ บ้านดอนย่ีพรม
หมู่ท่ี ๘ บ้านห้วยทบ
หมทู่ ี่ ๙ บา้ นหนองจกิ
หมทู่ ี่ ๑๐ บ้านหนั ตะเภา
หมทู่ ี่ ๑๑ บา้ นบอ่ พนั งู
หมู่ที่ ๑๒ บ้านแคใหญ่
หมู่ที่ ๑๓ บา้ นหนองเตาปูน
หมู่ที่ ๑๔ บา้ นห้วยยาง
โดยมปี ระชากร รวม ทั้งส้ิน ๗,๔๑๖ คน
การปกครองในตาบล ประกอบไปดว้ ย เทศบาลตาบลหนองจอก และองค์การบริหารส่วนตาบล
หนองจอก
ประวัตคิ วามเปน็ มาของตาบลหนองจอก
ตาบลหนองจอกเคยเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอาเภอหนองจอก ต่อมา ในปี ๒๔๘๗ ได้ย้ายไปอยู่ท่ีบ้านชะอา
และเปลี่ยนเป็นอาเภอชะอาในปัจจุบัน เพื่อความสะดวกแก่ประชาชน หนองจอกเป็นชุมทางการเดินทาง เพราะมี
สถานีรถไฟ มีตลาดและมีการตั้งบ้านเรือนจึงมีความหนาแน่นระดับหนึ่งท่ีสามารถจัดต้ังเป็นสุขาภิบาล
กระทรวงมหาดไทยจึงได้พิจารณาจัดต้ังสุขาภิบาลหนองจอก เมื่อวันท่ี ๑๙ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๖และ ได้ยกฐานะ
เป็นเทศบาลตาบลหนองจอก เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๔๒
ประวัตคิ วามเป็นมาของชุมชนบ้านหนองจอก
ชมุ ชนบ้านหนองจอก เป็นชุมชนคุณธรรมน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขับเคล่ือน
ด้วยพลงั บวร ระดับชมุ ชนคณุ ธรรมตน้ แบบ ตงั้ อย่ทู ี่ หมู่ ๖ ตาบลหนองจอก อาเภอท่ายาง จังหวดั เพชรบุรี
ชอ่ื บา้ นนามเมอื ง
ชุมชนบ้านหนองจอก ตาบลหนองจอก อาเภอท่ายาง จังหวัดเพชรบุรี เล่ากันว่า เมื่อก่อนภายในพื้นท่ี
มหี นองนา้ เก่าแก่ มีดอกจอกใหญ่งาม ขึน้ อยู่เตม็ จงึ เปน็ ท่มี าของชอ่ื บ้านว่า “หนองจอก”
-๖-
ปัจจุบัน สภาพพ้ืนที่เปล่ียนไป ลาห้วย หนอง บึง ได้มีบัวหลวงขึ้นอยู่เป็นจานวนมาก อัตลักษณ์ของ
ชุมชน จงึ เปลีย่ นเปน็ บวั หลวง แต่ยังคงใชช้ ่อื บ้านวา่ บ้านหนองจอก เหมือนเดมิ
ข้อมลู ด้านศาสนา ศลิ ปะ วฒั นธรรมและ/ประเพณี
-๗-
ชมุ ชนบา้ นหนองจอกเปน็ ชมุ ชนเกา่ แก่ในอาเภอทา่ ยาง จงั หวัดเพชรบุรี เป็นย่านตลาดทร่ี ุ่งเรอื งข้นึ มาจาก
การตัดทางรถไฟสายใต้ผ่าน และต้งั สถานรี ถไฟหนองจอกข้ึนมาเมอ่ื ต้นรัชกาลที่ ๖ รวมถึงเปน็ ทต่ี ้ังอาเภอเกา่ ช่อื
อาเภอหนองจอก ก่อนจะย้ายอาเภอไปตง้ั เป็นอาเภอชะอา หนองจอกเป็นพ้ืนที่ทางวฒั นธรรมทมี่ คี วามโดดเด่น
ด้านสถาปตั ยกรรม อาคารร้านตลาด วถิ ีชีวติ ยา่ นสถานีรถไฟ ย่านอาหารอร่อย และการดารงเอกลักษณด์ ้าน
ประเพณพี ธิ กี รรม (งานปีผมี ด) หตั ถกรรมช่างทองโบราณ และมกี ารเก็บรวบรวมของเกา่ โบราณไวใ้ นอาคารศูนย์
ข้อมูลเรยี นร้ชู มุ ชน จนถงึ แหล่งธรรมชาติบึงบัวหลวงราชนิ ี
จากความอดุ มสมบรู ณท์ างดา้ นวัฒนธรรมดังกล่าว จึงทาให้บ้านหนองจอกมีขอ้ มูลตา่ งๆ เพอื่ เป็น
องค์ความรูใ้ นการท่องเที่ยวเชงิ วฒั นธรรม ดังน้ี
ข้อมลู ดา้ นศาสนาและวัฒนธรรมในชุมชนบ้านหนองจอก
ดา้ นศาสนา
ชมุ ชนบา้ นหนองจอกมีวัดและสถานปฏบิ ัตธิ รรม ประกอบด้วย วดั ๒ แห่ง ได้แก่ วัดหนองจอก และ วัด
หนองบัว และสถานปฏบิ ัตธิ รรม ไดแ้ ก่ สานักปฏิบัตธิ รรมพูลสวสั ด์ิ และสานกั ปฏิบตั ิธรรมสวนสนั ติ
วัดหนองจอก ตั้งอยู่หมู่ที่ ๖ ตาบลหนองจอก สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเน้ือที่ประมาณ ๑๔ ไร่
ก่อต้ังเม่ือ พ.ศ. ๒๔๓๕ ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๙ เจ้าอาวาสปัจจุบัน คือ
พระวชิรธรรมคณี และดารงตาแหน่งเจา้ คณะจงั หวัดเพชรบรุ ี
วัดหนองจอกถือได้ว่า เป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวบ้านหนองจอก นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งเรียนรู้ด้าน
ศาสนา และมอี าคารทป่ี ระดษิ ฐานรปู หล่อพระเกจิอาจารย์ และหลวงพ่อองค์เดมิ ให้ประชาชนไดส้ กั การะบชู า
-๘-
พระวชริ ธรรมคณี เจา้ อาวาสวดั หนองจอก ดารงตาแหน่งเจ้าคณะจังหวัดเพชรบุรี
-๙-
ดา้ นความเชื่อ
ค ติ ค ว า ม เช่ื อ ใน สั ง ค ม ต า บ ล ห น อ ง จ อ ก แ ส ด ง ใ ห้ เห็ น ใ น ห ล า ย มิ ติ ต า ม ค ว า ม เชื่ อ ที่ สื บ ท อ ด ส่ ง ต่ อ
มาจากคนรุ่นก่อน เช่น การเขา้ วัดประกอบกิจกรรมทางพุทธศาสนา การนบั ถอื ผบี รรพบุรุษ เจ้าที่ หรือส่ิงศักด์ิสทิ ธิ์
ท่ีตนเคารพ การจัดงานประจาปีท่ีมีความเชื่อว่าถ้าไม่จัดจะเกิดส่ิงไม่ดีกับตน เองและครอบครัว
โดย ความเชื่อของชมุ ชน มดี งั นี้
- การคลอดลูก
ในอดีตการคลอดลูกโดยหมอตาแย (นางแจ่ ไม้แก้ว) ต้องทาพิธีอยู่ไฟซ่ึงเป็นพิธีเกี่ยวกับการเกิด
อันมีขั้นตอนดังนี้ ข้ันแรกเมื่อมารดาของเด็กกาลังตั้งครรภ์ได้ประมาณ ๘ เดือนจะมีการตัดไม้มาวางขัดกันเป็นซุ้ม
หน้าจ่ัวท่ีสามารถจุดไฟได้ แต่ยังไม่จดุ เม่ือเด็กกาลังคลอดให้ไปเตะให้ล้ม เม่ือคลอดแล้วนาไม้ไปใส่กะละมังท่ีมีดิน
อยู่คร่ึงหน่ึงแล้วจดุ ไฟ แลว้ ให้แมม่ านอนตะแคงอยบู่ นแผ่นไมย้ างข้างๆ ครั้งแรกให้หมอตาแยบริกรรมคาถาเพ่ือดับ
พิษไฟ (เพื่อลดความเจ็บปวด)ซึ่งเชื่อว่าจะทาให้ไฟไม่ร้อนจนเกินไป หลังจากน้ันก็อยู่อย่างน้ีไป ๑๕ วัน เม่ือครบก็
เรียกหมอตาแยมาพรมน้ามนต์ใส่ร่างกายของแม่เด็กเป็นอันจบพิธีกรรม แต่ในปัจจุบันคนเลือกที่จะไปคลอดที่
โรงพยาบาลมากกวา่ และจะกินยาตรางูเหา่ พร้อมเหลา้ แทนการอยไู่ ฟ
- การบวช
การบวชเป็นการปฏิบตั ิท่ีสอดคลอ้ งกับวิถีชีวติ ของพทุ ธศาสนกิ ชน และได้ปฏิบตั สิ ืบเน่ืองกันมา
ควบค่กู ับความศรทั ธาในพระพุทธศาสนาตลอดมา การบวชเปน็ การเปล่ยี นแปลงชวี ิตและจิตใจให้อยู่อย่างสงบมี
สติปญั ญา สามารถครองชวี ิตไดอ้ ย่างสงบสุข ประเพณปี ฏิบัตขิ องพุทธศาสนกิ ชนมีอยู่ว่า หากเป็นชายมีอายุครบ
๒๐ ปีบรบิ รู ณ์ ต้องเข้าพิธีอุปสมบท เพื่อศึกษาพระธรรมวนิ ัย นามาเป็นหลักในการปฏิบัตใิ นการครองเรือนใน
ภายภาคหนา้ การบวชนิยมบวชกันตามประเพณใี นชว่ งก่อนวนั เข้าพรรษา เพอื่ ทจ่ี ะได้อยศู่ ึกษาปฏบิ ัตธิ รรมตลอด
ระยะเวลาเข้าพรรษา ในราวเดือน ๕ เดอื น ๗ สว่ นใหญจ่ ะบวชกนั ประมาณ ๓ เดือน และสกึ หรือลาสกิ ขา เมื่อ
พ้นจากวันออกพรรษา ในราวเดอื น ๑๑ และผ่านพิธีทอดกฐินแลว้ จะไมน่ ยิ มสกึ ในระหวา่ งพรรษา แตถ่ ้าใครจะ
บวชต่อเพือ่ ศกึ ษาพระธรรมวินัยใหล้ กึ ซึ้ง เพ่ือเป็นกาลงั สาคญั ในการเผยแพร่พระพทุ ธศาสนา และสามารถบวช
ตอ่ เปน็ ระยะเวลานานเท่าใดก็ไดแ้ ลว้ แตส่ ะดวก
การกาหนดฤกษ์ยาม ก่อนจะทาการบวชตอ้ งหาฤกษย์ ามอันเปน็ มงคลโดยพ่อแม่ตอ้ งนาลกู ชายท่ี
จะบวชไปพบเจา้ อาวาสหรือพระอุปชั ฌาย์ เพื่อให้ทา่ นตรวจวัน เดอื น ปเี กดิ เมื่อเหน็ วา่ อายุครบ ๒๐ ปีบริบรู ณ์
จงึ ดฤู กษแ์ ละกาหนดวนั บวชให้
เมื่อได้ฤกษว์ ันบวชท่แี นน่ อนแลว้ ผทู้ จ่ี ะบวชตอ้ งกลบั มาลาญาตมิ ติ ร มกี ารกล่าวคาขอขมาและ
ตอ้ งไปอยูว่ ัดก่อนบวชประมาณ ๑๕ วัน เพื่อท่องขานนาคแล้วซอ้ มพธิ ีบวชให้คล่องแคล่วแมน่ ยา ซ่งึ ในช่วงนี้จะ
เรียกวา่ “นาค” ช่วงระยะทจ่ี ะบวชเปน็ ช่วงท่ีสาคญั เพราะถ้าเกิดเรือ่ งท่เี ป็นอปุ สรรคต่อการบวชข้นึ ก็ไม่ไดบ้ วช
เช่น ไปมเี ร่ืองขน้ึ ไปโรงข้ึนศาลข้ึน พอ่ แมห่ รอื ผู้ปกครองจึงต้องกวดขันลกู หลานของตนอย่างเขม้ งวด
-๑๐-
ในการขอขมา นาคจะนาดอกไม้ธปู เทียนไปกราบลาญาติพ่ีนอ้ ง และผ้ทู น่ี าคให้ความเคารพ
พร้อมกล่าวคาขอขมาว่า “กรรมหนึ่งกรรมใดท่ีขา้ พเจ้าเคยผิดพลาดล่วงเกนิ ทง้ั กาย วาจา ใจ ท้ังต่อหนา้ และ
ลับหลงั ขอทา่ นโปรดอโหสกิ รรมให้ข้าพเจา้ ด้วย” ผรู้ บั การขอขมา ตอ้ งกลา่ วว่า “อโหสิ” เพ่ือใหน้ าคมีความ
สบายใจไร้มลทินตดิ ตวั
พิธีกรรม และเครือ่ งประกอบพธิ กี รรม
พิธกี รรม ประกอบไปดว้ ย พิธีโกนผมนาค พิธีการอาบนา้ นาค พิธที าขวัญนาค การการให้
นาคลาญาติ การแห่นาครอบโบสถ์ และการนานาคเขา้ โบสถ์ และพิธีการบวชนาค
เครอื่ งประกอบพธิ ี /เครื่องอัฐบรขิ าร เป็นเคร่ืองใช้จาเป็นท่สี ดุ ท่ภี ิกษสุ งฆต์ อ้ งมีไวใ้ ชห้ รือเป็น
เครื่องอาศัย ในการดารงเพศสมณะซึ่งทรงบัญญตั ิไว้ในพระวินัย มที ั้งหมด ๘ อยา่ ง คอื บาตร จวี ร สบง
สังฆาฏิ ผ้าประคตเอว หมอ้ กรองนา้ กล่องเข็มพร้อมด้าย มดี โกนและหนิ ลับมีด
- งานฌาปนกิจศพ
ทาพธิ ีหลงั จากเสียชีวติ เลย หรือเกบ็ ร่างไว้ที่บ้านเปน็ เวลา ๙ วัน จึงจัดพธิ ี ซง่ึ จดั ข้ึนที่วดั
หนองจอก สวด ๓ หรือ ๕ วนั เวลาทส่ี วดพระอภิธรรมศพ เวลา 19.00 น. และเผาศพ ในเวลา 14.00 น. ซง่ึ
เวลาเร็วกวา่ ทีว่ ดั อ่ืนๆ ท่ีนิยมสวดพระอภิธรรมศพ ในเวลา ๒๐.๐๐ น. และเผาศพ ในเวลา 16.00 น.
-ความเชือ่ ดา้ นอ่นื ๆ
- ความเช่อื ที่มีการสบื ทอดมาจนถงึ ปจั จุบนั ได้แก่ ศาลเจ้าพ่อปเี ถ้ากง ร่างทรงพ่อเตยี่ งานปี
ผีมด ศาลพระภมู ิ ศาลตายาย และศาลเจ้าจอมปลวก
- ความเชอ่ื เกีย่ วกบั การประกอบอาชีพดัง้ เดิม คอื ความเชอ่ื เกีย่ วกบั การทานา การเลี้ยงวัวการ
ทาขวัญข้าว บชู าแมโ่ พสพ ความเชือ่ เกี่ยวกบั ประเพณีในรอบป(ี ตามจนั ทรคติไทย)เร่มิ จากการเก็บเกยี่ วข้าวใน
เดอื น ๑ และเดือน ๒ มกี ารจุดธูปไหว้บอกผีไร่ผีนา กอ่ นลงมอื ใช้ธูป ๕ ดอก ตง้ั สารับอาหารมีข้าวกบั แกงมีขนม
มักเปน็ ขนมต้ม ในเดือน ๓ มีการไวเ้ จา้ ท่ีศาลเจ้าปนุ เถ้ากง ในวนั ตรษุ จีน และหลงั วันตรุษจนี ๑๕ วัน ในช่วงเดอื น
นย้ี ังมีการทาบญุ ลานของเกษตรกรด้วย
ภาพศาลทเี่ ป็นที่เคารพสกั การะของชุมชน
-11-
อาหารพืน้ บา้ นของชาวหนองจอก
อาหารพน้ื บา้ น ในชุมชนบ้านหนองจอก
นอกจากนี้ ความรู้เก่ียวกับพืชพรรณธรรมชาติ ยังถูกนามาปรับเป็นอาหารข้ึนช่ือของท้องถ่ิน
ขนมเป๊ียะ ผัดไท อาหารในพิธีกรรมงานปีผมี ด ประเภทอาหารคาวได้แก่ ต้มยาปลากระเบน แกงปูใสฟักทอง ยาไข่
แมงดา ประเภทอาหารหวาน ได้แก่ ขนมกงเกียน ขนมสามเกลอ ขนมถ่ัวดาต้มน้าตาล ขนมต้มขาว ขนมต้มแดง
ขา้ วตอกหวั โขน ขนมถ้วยฟู ทองหยอด ฝอยทอง บัวลอย เป็นตน้
อาหารในพิธีกรรมงานปีผีมด
อาหารพื้นบ้าน ทถ่ี า่ ยทอดจากรุ่น ส่รู นุ่ ในชมุ ชนบ้านหนองจอก
-12-
อาหารพนื้ บ้านในชุมชน แกงหัวตาล ตม้ รากบัว แกงหอยขม ขนมฝอยเงนิ ขนมตาล ขนมทองหยอด
เมด็ ขนุน ฝอยทอง ข้าวผดั แดง ผดั หมี่ ขนมถ่ัวแปบ ผัดไทย และขนมเป๊ียะโบราณ
-13-
อาหารคาวหวานพื้นบ้านในชมุ ชน
กลีบบัวทอด
เม่ยี งกลบี บัว แกงหัวโตนด
ตม้ รากบัว ขนมฝอยเงิน
วุ้นดอกบัว และขนมขห้ี นู
องคค์ วามรู้ในการทาอาหาร
“ตม้ กะทสิ ายบวั ”
-15
สว่ นผสมตม้ กะทิสายบัว
ส่วนผสมของตม้ กะทิสายบวั มดี ังน้ี
๑. กะทิ
-16-
๒. สายบัว (ใช้ก้านบัวสายดอกสแี ดง)
3. ตะลิงปลงิ
๔. พริกไทย
-17-
๕. หอมแดง
๖. เกลือ
-18-
๗. กะปิ
๘.มะขามเปียก
-19-
9. ปลาทนู ึ่ง
10. น้าตาลโตนด
-20-
วิธกี ารทาตม้ กะทสิ ายบวั
การเตรยี มสายบัว
นาสายบวั สาย (บัวแดง) ลา้ งนา้ ให้สะอาด ปอกเปลือก และห่นั เปน็ ชิ้นๆ พกั ทิ้งไว้
การเตรียมเคร่อื งแกง
๑. นาพรกิ ไทย หัวหอม กะปิ ใสใ่ นครกแลว้ โขลกใหเ้ ขา้ กัน
-21-
๒. นาปลาทู ลงไปโขลกตอ่ ให้ละเอยี ดและเข้ากัน
-22-
วิธีการทาตม้ กะทสิ ายบัว
1. นาเครอื่ งแกงทโี่ ขลกไว้ ใสล่ งไปในหม้อ
2. จากนั้นนาหัวกะทิใสล่ งไปในหมอ้ และนาไปตั้งไฟ เค่ียวใหพ้ อเดือด โดยหม่นั คนไปเร่อื ยๆไมใ่ ห้กะทติ ิดกน้ หม้อ
-23-
-24-
๓. จากนัน้ นาหางกะทิทีเ่ หลือใส่ลงไปใหห้ มด
๔. พอกะทิเดือดได้ท่แี ลว้ จงึ นาปลาทูใสล่ งไปในหม้อ
-25-
5. จากนน้ั ใส่สายบัวลงไปในหม้อ
-26-
6. แลว้ นาตะลงิ ปลงิ ที่หั่นเปน็ ช้ินๆ แลว้ ใส่ตามลงไปในหม้อ
๗. จากน้นั ปรุงรส โดยนาน้าสม้ มะขามเปียกใสล่ งไป (ประมาณ ๓ ชอ้ นโต๊ะ) ใสแ่ ลว้ ชมิ ก่อนอยา่ ใหเ้ ปรี้ยวเกนิ
-27-
๗. แลว้ ใส่เกลอื ตามลงไป ประมาณ ๒ ช้อนชา
๗. จากน้นั ใสน่ ้าตาลโตนด หรอื นา้ ตาลปปี ประมาณ ๒ ช้อนโตะ๊
-28-
๗. ต้งั หมอ้ เค่ยี วไวป้ ระมาณ ครง่ึ ชว่ั โมง จนทกุ อยา่ งสุกได้ท่ี จงึ ยกหม้อลงจากเตา
-29-
๘. ตม้ กะทิสายบัว สตู รโบราณใสป่ ลาทนู ง่ึ รสชาตเิ ปร้ยี ว เคม็ หวาน หอมกะทิ พร้อมรบั ประทาน
-30-
ผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาอาหารพน้ื บ้านต้มกะทสิ ายบัว
......................
๑. นางอัญพรกานต์ สังวาลเพ็ชร
๒. นางภรณจ์ ารัส พว่ งลาภ
๓. นางพูลศรี อินทะนิน
๔. นางสาวสมโภชย์ พกิ ุล
๕. นางสมบัติ ขาวสนิท
ภาคผนวก
อานวยการผลิตโดย
สานกั งานวฒั นธรรมจังหวัด
สานักงานปลัดกระทรวงวฒั นธรรม กระทรวงวัฒนธรรม
ทปี่ รึกษา นางสาวคนึง ไขล่ ือนาม วัฒนธรรมจังหวัดเพชรบรุ ี
คณะทางาน
๑. นางประไพจิต บุญประถัมภ์ ผู้อานวยการกลมุ่ ส่งเสรมิ ศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม
สานักงานวฒั นธรรมจงั หวดั เพชรบุรี
๒. นางอรอนงค์ บุญประเสรฐิ นักวชิ าการวัฒนธรรมชานาญการ ผ้ปู ระสานงานวฒั นธรรมอาเภอทา่ ยาง
สานกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดเพชรบุรี
ขอขอบคุณ
๑. นายอจลวิทย์ ศรที อง ผใู้ หญบ่ ้านหมู่ ๖ ประสานการดาเนินงานในชุมชน
๒. นางพลู ศรี อินทะนิน เอ้ือเฟ้อื สถานท่ีถา่ ยทอดภูมปิ ัญญาอาหารพน้ื บา้ น
๕. นางสาวเรณู งามขา เลขานกุ ารชุมชน ฯ
และคณะกรรมการชมุ ชนฯ บา้ นหนองจอก