The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kanok-on tunjit, 2020-02-28 03:59:59

การเสนอ 'ข่าวลวง' และข้อมูลบิดเบือน

24_feb_fake_news_thai

สำ�หรับผู้สอนท่ีต้องการเน้นประเทศหรือภูมิภาคใดเป็นการเฉพาะ แหล่งข้อมูลต่อไปนี้อาจจะมี หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
ประโยชน์

Zบราซลิ : บทความเร่ือง “Fact-checking booms in Brazil” โดย เคต สไตเกอร-์ กนิ ซ์
เบริ ก์ ในเวบ็ Poynter เขา้ ถงึ ไดท้ าง https://www.poynter.org/news/ fact-checking-
booms-brazil

Z ยโุ รป: รายงานเรื่อง “The Rise of Fact-Checking Sites in Europe” โดย ลคู ัส เกรฟส์
และ เฟเดรกิ า เชรบู นิ ี ทเ่ี ขยี นใหส้ ถาบนั รอยเตอรส์ ของมหาวทิ ยาลยั ออกซฟอรด์ เขา้ ถงึ ได้
ทาง http://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/our-research/ rise-fact-checking-
sites-europe#overlay-context

Zญีป่ ุ่น: บทความเรอื่ ง “A new fact-checking coalition is launching in Japan” โดย
มาซาโตะ คาจโิ มโตะ ในเวบ็ Poynter เขา้ ถงึ ไดท้ าง https://www.poynter.org/news/
new-fact-checking-coalition-launching-japan

Z เกาหลีใต้: บทความเรอ่ื ง “What’s behind South Korea’s fact-checking boom?
Tense politics and the decline of investigative journalism,” โดย โบยงั ลิม ใน
เวบ็ Poynter เขา้ ถงึ ไดท้ าง https://www.poynter.org/fact-checking/2017/whats-
behind-south-koreas-fact-checking-boom-tense-politics-and-the-decline-of-
investigative-journalism/

Z ละตินอเมริกา: บทความเร่อื ง “Lack of access to information is driving Latin
America’s fact-checking boom” โดย ไอวาน เอช็ ต์ ในเว็บ Poynter เขา้ ถึงได้ทาง
https://www.poynter.org/fact-checking/2016/lack-of-access-to-information-
is-driving-latin-americas-fact-checking-boom/

Zสหรฐั อเมริกา: หนงั สอื เรอื่ ง “Deciding What’s True: The Rise of Political Fact-
Checking in American Journalism” โดย ลูคัส เกรฟส์ หรือรีวิวหนังสือเล่มนี้โดย
แบรด สไครเบอร์ ในเว็บ Poynter เขา้ ถงึ ได้ทาง https://www.poynter.org/news/
who-decides-whats-true-politics-history-rise-political-fact-checking

วธิ ีการและจรยิ ธรรมการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ

การตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ใช่เรื่องยากเกินความสามารถ มันคือการวิเคราะห์อย่างถ่ีถ้วน อัน
เกิดจากคำ�ถามเพียงคำ�ถามเดียว น่ันก็คือ “รู้ได้อย่างไร” ในเวลาเดียวกัน การตรวจสอบข้อ
เท็จจรงิ ไม่ใชก่ ารตรวจตวั สะกด เราไม่มีต�ำ ราค่มู ือทบี่ อกข้อเท็จจรงิ ทกุ เรือ่ งแบบพจนานุกรมหรอื
โปรแกรมตรวจสอบเอกสารทค่ี อยแจ้งเตือนทกุ ครัง้ ทีม่ กี ารบดิ เบอื นข้อเทจ็ จริง

- 101 -

กล่าวโดยท่วั ไป การตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ แบง่ เปน็ สามระยะ ได้แก่

1. การสืบค้นข้อความที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ ด้วยการสำ�รวจเอกสารทางกฎหมาย
ช่องทางเผยแพร่ข่าวสาร และส่ือสังคม กระบวนการนี้รวมถึงการกำ�หนดว่าข้อความ
สาธารณะที่สำ�คัญข้อความใด (ก) สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ และ (ข) ควร
ตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ

2. การสบื คน้ ขอ้ เทจ็ จรงิ ดว้ ยการหาหลกั ฐานทดี่ ที สี่ ดุ เกยี่ วกบั ขอ้ ความทต่ี อ้ งการตรวจสอบ
3. การแก้ไขขอ้ ความ โดยประเมนิ จากหลกั ฐานที่ปรากฏ บนพ้ืนฐานของความเป็นจริง
องคก์ รตรวจสอบข้อเทจ็ จรงิ ท่ีเชอ่ื ถือได้ อธิบายกระบวนการตรวจสอบของพวกเขาตอ่ สาธารณะ
ผู้สอนอาจแนะน�ำ ให้ผู้เรียนไดร้ จู้ กั กับสง่ิ เหลา่ นี้

1. เพจ “How We Work” ของโครงการ Africa Check (เวบ็ ไซต์ https://africacheck.
org/ about-us/how-we-work/) และอนิ โฟกราฟิกในส่วน “เอกสารประกอบ”

2. เพจ “Metodo” ของเว็บโครงการ Chequeado (ภาษาสเปน เว็บไซต์ http://
chequeado.com/ metodo/)

3. เพจ “Metodologia” และ “Come funzioniamo” ของเว็บ Pagella Politica (ภาษา
อิตาเลียน เวบ็ ไซต์ https://pagellapolitica.it/progetto/index)

4. เพจ “The Principles of PolitiFact” ของโครงการ PolitiFact (เวบ็ ไซต์ http://www.
politifact.com/truth-o-meter/article/2013/nov/01/ principles-politifact-
punditfact-and-truth-o-meter/)

เครือข่ายตรวจสอบข้อเท็จจริงนานาชาติ (International Fact-Checking Network: IFCN)8
ได้กำ�หนดหลักการให้ผู้มีหน้าที่ตรวจสอบข้อเท็จจริงใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการปฏิบัติงาน
ประจ�ำ วัน

องคก์ รตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ สามารถขอรบั การรบั รองเปน็ องคก์ รทปี่ ฏบิ ตั ติ ามหลกั การของ IFCN
ได้ โดยต้องผ่านการประเมินจากภายนอกเพ่ือตรวจสอบประสิทธิผลของการนำ�เกณฑ์เหล่านี้ไป
ใช้ ผู้สอนอาจทำ�ความรู้จักหลักการดังกล่าว และค้นหาผลการประเมินขององค์กรตรวจสอบข้อ
เทจ็ จรงิ ในประเทศของตน9 และอภปิ รายวา่ เกณฑเ์ หลา่ นท้ี �ำ ใหผ้ เู้ รยี นเชอื่ ถอื หนว่ ยงานตรวจสอบ
ขอ้ เท็จจริงมากขึ้นหรอื ไม่

8 อเล็กซิออส มนั ตซ์ าร์ลสิ ผู้เขียนบทนี้ เป็นหวั หนา้ เครือขา่ ยตรวจสอบขอ้ เท็จจริงนานาชาติ
9 เขา้ ถงึ ได้ทาง https://www.poynter.org/international-fact-checking-network-fact-checkers-code-principles. [เม่อื วนั ที่ 28

มีนาคม พ.ศ. 2561].

- 102 -

หลักการดังกล่าวพัฒนาข้ึนเพ่ือช่วยให้ผู้อ่านแยกแยะการตรวจสอบข้อเท็จจริงท่ีดีและไม่ดีได้ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
สว่ นตวั อยา่ งของขอ้ มลู ทผ่ี ดิ ซง่ึ แอบแฝงมาในรปู ของการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ผสู้ อนอาจใชต้ วั อยา่ ง
จากบทความดา้ นล่างประกอบ

ZThese fake fact-checkers are peddling lies about genocide and censorship
in Turkey (Poynter) https://www.poynter.org/news/these-fake-fact-checkers-
arepeddling-lies-about-genocide-and-censorship-turkey

Z In the post-truth era Sweden’s far-right fake fact checker was inevitable.
(The Guardian) https://www.theguardian.com/media/2017/jan/19/ in-the-
post-truth-era-swedens-far-right-fake-fact-checker-was-inevitable

อะไรคือส่งิ ทสี่ กัดกั้นข้อเทจ็ จริง

กอ่ นจะลงลกึ ไปยงั ภาคปฏบิ ตั ขิ องการตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ผเู้ รยี นจ�ำ เปน็ ตอ้ งตระหนกั ถงึ ขอ้ จ�ำ กดั
ของการตรวจสอบข้อเท็จจริงและของตนเอง

ผเู้ ชย่ี วชาญบางคนประกาศวา่ เราก�ำ ลงั เขา้ สยู่ คุ ‘ไมส่ นใจความจรงิ ’ (post-truth era หรอื post-
fact era) คำ�นี้ปรากฏในพาดหัวข่าวทั่วโลกในปี พ.ศ. 2559 และถูกเลือกให้เป็น ‘คำ�แห่งปี’
โดยพจนานกุ รมออกซฟอรด์ และสมาคมภาษาเยอรมนั ตามล�ำ ดบั เหตผุ ลของ ‘ผไู้ มส่ นใจความจรงิ ’
ก็คือ การท่ีการเมืองและสื่อมีการแบ่งข้างแบ่งข้ัว ทำ�ให้ผู้คนปฏิเสธที่จะยอมรับข้อเท็จจริงที่ตน
ไม่เห็นด้วยโดยสิ้นเชงิ

เหตุผลดังกล่าวไม่ค่อยสอดคล้องกับงานวิจัยจำ�นวนมากที่พบว่าเม่ือมีการตรวจสอบ โดยเฉพาะ
เมอ่ื มีการอ้างอิงถงึ ผูท้ ผ่ี ู้อ่านให้ความเช่อื ถือ คนทว่ั ไป (โดยเฉล่ยี ) จะยอมรับข้อมูลมากข้ึน ผูส้ อน
อาจอ่านงานวิจัยตอ่ ไปนีแ้ ละอภปิ รายรว่ มกบั ผู้เรียน

ZSwire, B., Berinsky, A. J., Lewandowsky, S. & Ecker, U. K. H. (2017). Processing
political misinformation: comprehending the Trump phenomenon
(1 March 2017). Available at http://rsos.royalsocietypublishing.org/
content/4/3/160802. [เข้าถงึ เมื่อ 28/03/2018].

Z Nyhan, B. & Zeitzoff, T. (2018). Fighting the Past: Perceptions of Control,
Historical Misperceptions, and Corrective Information in the IsraeliPalestinian
Conflict. Available at: http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1111/
pops.12449/abstract. [เขา้ ถงึ เมอ่ื 28/03/2018].

- 103 -

Z Wood, T. & Porter, E. (2016). The Elusive Backfire Effect: Mass Attitudes’
Steadfast Factual Adherence (August 5, 2016). Available at: https://ssrn.
com/ abstract=2819073. [เขา้ ถงึ เมื่อ 28/03/2018].

ขณะเดียวกนั การกล่าววา่ ขอ้ เทจ็ จริงเป็นภาพวาดที่สมบูรณ์แบบของโลกใบนี้ และมนุษย์เป็นส่ิง
มชี ีวิตทใ่ี ช้เหตุผลลว้ น ๆ และยอมรบั ขอ้ เทจ็ จรงิ อยา่ งไรข้ อ้ กงั ขา ไมว่ า่ ความเชอ่ื และความชอบสว่ นตวั
จะเปน็ อยา่ งไรกด็ จู ะหลดุ โลกเกนิ ไป เพราะเราทกุ คนตา่ งเกดิ มาพรอ้ มกบั ความเขา้ ใจและอคตติ า่ ง ๆ
ที่เป็นอุปสรรคทางความคิดท่ีสำ�คัญต่อการซึมซับข้อมูลความจริงใหม่  ๆ จึงต้องยำ้�ว่าประเด็นน้ี
ไม่ใชเ่ ร่อื งที่เกิดขนึ้ กับคนอ่นื แต่เป็นสิ่งทเ่ี กดิ ขน้ึ กับเราทุกคน

ผู้สอนควรหยบิ ยกอคติหรอื ความเอนเอยี งบางประเภทเพอ่ื อภปิ รายในหอ้ งเรียนด้วย

ความเอนเอยี งเพอื่ ยนื ยนั อคติ [จากสารานกุ รมบรทิ านนกิ า — https://www.britannica.com/
topic/confirmation-bias [เขา้ ถงึ เมอื่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2561]: คือความโนม้ เอยี งท่จี ะประมวล
ข้อมูลด้วยการมองหาหรือการแปลความหมายข้อมูลท่ีสอดคล้องกับความเช่ือเดิม การใช้อคติ
เช่นน้ีในการตัดสินใจส่วนใหญ่เกิดข้ึนโดยไม่เจตนา และมักส่งผลให้มองข้ามข้อมูลท่ีไม่ตรงกับ
ความคิด ความเชื่อที่มีอยู่เดิมน้ีรวมถึงความคาดหวังต่อเหตุการณ์และการคาดเดาผลที่จะเกิด
ขึน้ เพราะคนเรามแี นวโน้มท่ีจะประมวลข้อมูลเพอ่ื สนบั สนนุ ความเช่อื ของตนอยู่แลว้ โดยเฉพาะ
เม่อื ประเด็นปัญหามีความส�ำ คญั มากหรอื มีความเกย่ี วขอ้ งกับตนเอง

การใหเ้ หตผุ ลดว้ ยแรงจงู ใจ [จากนติ ยสารดสิ คฟั เวอร์ — http://blogs.discovermagazine.com/
intersection/2011/05/05/ what-is-motivated-reasoning-how-does-it-work-dan-
kahananswers/#.WfHrl4ZrzBI[เขา้ ถงึ เมอื่ 28มนี าคมพ.ศ.2561]การใชแ้ รงจงู ใจในการใชเ้ หตผุ ล
คอื การทจี่ ิตใต้ส�ำ นึกของคนมีแนวโน้มทจ่ี ะประมวลข้อมลู ใหส้ อดคลอ้ งกับบทสรุปปลายทางหรอื
เปา้ หมายบางอยา่ ง ลองพจิ ารณาตวั อยา่ งคลาสสกิ ตอ่ ไปนี้ ในชว่ งปี พ.ศ. 2493-2502 นกั จติ วทิ ยา
ให้ผู้เข้าร่วมการทดลองซึ่งเป็นนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยในเครือไอวีลีกสองแห่งดูวิดีโอเกี่ยวกับ
การตัดสินใจของกรรมการในการแข่งขันอเมริกันฟุตบอลระหว่างทีมของท้ังสองมหาวิทยาลัยซ่ึง
เปน็ ทถ่ี กเถยี งกนั อยา่ งมาก นกั ศกึ ษาจากแตล่ ะมหาวทิ ยาลยั ตา่ งกม็ แี นวโนม้ ทจ่ี ะคดิ วา่ การตดั สนิ
ของกรรมการน้ันถูกต้องเมื่อผลการตัดสินเป็นประโยชน์ต่อทีมของตนมากกว่าเม่ือผลการตัดสิน
เป็นผลดีต่อทีมคู่แข่ง นักวิจัยสรุปว่าเดิมพันทางอารมณ์ของนักศึกษาต่อการแสดงความภักดีต่อ
มหาวทิ ยาลัยเปน็ ตวั ก�ำ หนดสิง่ ทพี่ วกเขาเห็น

- 104 -

การใช้ประสบการณ์ท่ีจำ�ได้ในการตัดสิน [จากพจนานุกรมจิตวิทยาของสำ�นักพิมพ์แห่ง หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
มหาวิทยาลัยออกซฟอร์ด http://www.oxfordreference.com/view/10.1093/
acref/9780199534067.001.0001/acref9780199534067-e-830 [เข้าถึงเม่ือ 28 มีนาคม
พ.ศ. 2561] กระบวนการใชเ้ หตผุ ลผา่ นประสบการณห์ รอื สงิ่ ทจี่ ดจ�ำ ได้ คอื การใชต้ วั อยา่ งเหตกุ ารณ์
ท่ีจดจำ�ได้เพียงไม่ก่ีคร้ังในการตัดสินความเป็นไปได้หรือความถี่ของการเกิดเหตุการณ์
ซึ่งทำ�ให้คนมองเห็นข้อความท่ีไม่ถูกต้องเป็นความจริงเพียงเพราะว่าจำ�ได้แบบนั้น ผลการ
ทดลองของลิซา ฟาสิโอ แห่งมหาวิทยาลัยแวนเดอร์บิลต์ พบว่าคนท่ีถูกขอให้พูดข้อความ
ว่า ‘ส่าหรีคือโสร่ง’ ซำ้�กันหกครั้ง เช่ือข้อความท่ีไม่จริงน้ีมากกว่าคนท่ีกล่าวซ้ำ�เพียงครั้งเดียว
การเสนอข่าวก็อาจกลายเป็นช่องทางของรายงานผิด  ๆ ในทำ�นองน้ีได้ หากทำ�ให้คนอ่านเช่ือ
เน้ือหาท่ีนำ�เสนอโดยไม่ตรวจสอบ ตัวอย่างเช่น การตีข่าวของสื่อกรณีสมคบคิดเกี่ยวกับสถานที่
เกิดของบารัก โอบามา อาจมีส่วนในการแพร่กระจายความเชื่อท่ีว่าความจริงแล้วอดีต
ประธานาธิบดีสหรฐั ฯ ไมไ่ ดเ้ กิดทีฮ่ าวาย
สิ่งที่ต้องตระหนักก็คือ การตรวจสอบข้อเท็จจริงโดยตัวมันเองเป็นเครื่องมือที่ไม่สมบูรณ์แบบ
เรอื่ งบางเรื่องอาจถกู ต้องสมบูรณ์ แม้จะละเลยบรบิ ททสี่ ำ�คญั 10 ข้อเทจ็ จริงเปน็ สิง่ ประกอบสร้าง
มีการจัดวางและการเรียบเรียงใหม่อย่างมีความหมายเสมอ ภายใต้โครงสร้างโดยรวมของเรื่อง
ซง่ึ อาจท�ำ ใหข้ อ้ เทจ็ จรงิ ทมี่ าจากพนื้ ฐานเดยี วกนั มคี วามส�ำ คญั แตกตา่ งกนั ยงิ่ ไปกวา่ นน้ั ความจรงิ
ยังเปน็ มากกว่าการรวมกนั ของกลุ่มข้อเท็จจรงิ ดังนัน้ การตรวจสอบข้อเท็จจริงจึงไมใ่ ช่เครือ่ งมือ
ในการปิดก้ันทางเลือกในการตีความ แต่มันคือการรับรองชุดข้อเท็จจริงท่ีอาจส่งผลต่อเร่ืองเล่า
และความเชื่อเดิมของแต่ละคนในการสนับสนุนขอ้ โตแ้ ย้งอยา่ งมเี หตผุ ล

เป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้

Zเพือ่ ใหเ้ กิดความคุ้นเคยกบั แนวทางการปฏิบตั ิทีด่ ีในการตรวจสอบขอ้ เท็จจริงท่วั โลก
เ Z พ่ือสร้างความตระหนักรู้ถึงอคติในการใช้เหตุผลที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการเข้าใจ

ความจรงิ
Zเพอ่ื พัฒนาทักษะการคดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ

ผลการเรยี นรู้

1. เข้าใจการเกิดข้ึนของการตรวจสอบข้อเท็จจริง ซึ่งเป็นรูปแบบหนึ่งของการนำ�เสนอข่าว
เชน่ เดียวกับความเขา้ ใจในจริยธรรมและวธิ ีปฏบิ ัติ

10 ดตู วั อย่าง Yanofsky, D. (2013). The chart Tim Cook doesn’t want you to see. Available at https://qz.com/122921/the-
chart-tim-cook-doesntwant-you-to-see/. [เขา้ ถงึ เม่อื 28/03/2018].

- 105 -

2. มคี วามเข้าใจเกย่ี วกบั ค�ำ ถามท่ีควรถามในการประเมินคณุ ภาพของหลกั ฐาน
3. เพ่ิมความสามารถในการแยกแยะข้อความท่ีตรวจสอบข้อเท็จจริงได้ออกจากความคิด

เหน็ และการกล่าวเกนิ จริง
4. ความเข้าใจเบ้ืองต้นเกี่ยวกับอคติในการให้เหตุผลต่าง  ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการเข้าใจ

ความเป็นจรงิ

รปู แบบของหนว่ ยการเรยี นรู้

แนวทางเชิงทฤษฎีของบทเรยี นน้ี ได้แก่

1. ประวัตศิ าสตร์และอรรถศาสตร์
2. วธิ กี ารและจริยธรรม
3. อปุ สรรคของการไปส่ขู ้อเท็จจรงิ
แนวทางเชิงปฏิบตั ิแบง่ เปน็ สองกจิ กรรม

1. คน้ หาข้อความทตี่ รวจสอบข้อเท็จจริงได้
2. คน้ หาข้อเทจ็ จรงิ
งานมอบหมายเน้นทกี่ ารแก้ไขส่ิงท่บี ันทึกไว้

การเชอื่ มโยงแผนการเรยี นการสอนกบั ผลการเรยี นรู้

ก. ภาคทฤษฎี จำ�นวนชว่ั โมง ผลการเรียนรู้
แผนหน่วยการเรียนรู้ 20 นาที 1

1. ประวัตศิ าสตร์และอรรถศาสตร์ 20 นาที 1

2. วิธีการและจรยิ ธรรม 20 นาที 4

3. อุปสรรคของการไปสูข่ ้อเทจ็ จริง

- 106 -

ข. ภาคปฏิบัติ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101

แผนของหน่วยการเรียนรู้ จ�ำ นวนชั่วโมง ผลการเรยี นรู้
3
กิจกรรมที่ 1: ค้นหาขอ้ ความที่ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ ได้ 30 นาที
2
กิจกรรมที่ 2: ค้นหาข้อเทจ็ จริง 1 ช่วั โมง

1) คน้ หาขอ้ ความทตี่ รวจสอบขอ้ เทจ็ จริงได้

การตรวจสอบข้อเท็จจรงิ ให้ความสนใจข้อความทมี่ อี ย่างน้อย 1 ข้อเทจ็ จริง หรือตัวเลขทพ่ี ิสจู น์
ความเป็นจริงได้อย่างเป็นกลาง การตรวจสอบข้อเท็จจริงไม่ใช่การประเมินความเป็นจริงของ
ความคดิ เหน็ และการคาดการณ์ การกล่าวเกินความจริง การเสียดสี และมกุ ตลก
กิจกรรมท่ี 1 ให้ผู้เรียนอ่านบางส่วนของสุนทรพจน์ของบุคคลสาธารณะ 4 คน และไฮไลต์
ข้อความท่ีเป็นข้อเท็จจริงด้วยสีหนึ่ง (สีเขียว) อีกสีหน่ึงใช้ไฮไลต์ข้อความแสดงความคิดเห็นที่ไม่
สามารถตรวจสอบได้ (สแี ดง) และสที ส่ี ามคือข้อความท่ีอยูต่ รงกลางระหวา่ งสองประเภทแรก (สี
สม้ ) หลงั จากผเู้ รยี นสง่ บางสว่ นของสนุ ทรพจนท์ ไี่ ฮไลตแ์ ลว้ น�ำ แตล่ ะชนิ้ มาอภปิ รายวา่ อะไรทท่ี �ำ ให้
ขอ้ ความมีลกั ษณะที่ตรวจสอบขอ้ เท็จจริงได้

แนว·าง
สีแดง – ขอ ความท่ไี มสามารถตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ ได
สีสม – ขอ ความทอี่ ยูตรงกลาง
สเี ขียว – ขอ ความทีต่ รวจสอบขอเทจ็ จริงได

มิเชลล์ บาเชอร์เลต็ อดีตประธานาธบิ ดชี ลิ ี
ในขณะทเ่ี รามคี วามกา้ วหนา้ เปน็ อยา่ งมากในการด�ำ เนนิ งานไปในทศิ ทางนน้ั เราตระหนกั ดวี า่ ตอ้ ง
จัดการกับภัยคุกคามต่อระบบนิเวศทางทะเล นั่นก็คือพลาสติก ปีแล้วปีเล่า พลาสติกจำ�นวน 8
ล้านตัน ไหลลงสู่มหาสมทุ ร มนั อย่ทู น่ี ัน่ เปน็ ร้อย ๆ ปี และสร้างผลกระทบเชงิ ลบอย่างมากมาย
มหาศาล เพื่อแก้ปัญหาน้ี เราจึงเข้าร่วมแคมเปญ CleanSeas ของโครงการส่ิงแวดล้อมแห่ง
สหประชาชาติ ขณะเดียวกัน สำ�หรับการดำ�เนินการในระดับประเทศ เราจะเสนอร่างกฎหมาย
ห้ามใช้ถุงพลาสติกในเมืองชายทะเลภายในระยะเวลา 12 เดือน กฎหมายน้ีจะเปิดโอกาสให้

- 107 -

ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกป้องมหาสมุทร และจะทำ�ให้เราเป็นประเทศแรกในทวีปอเมริกา
ที่มีกฎหมายในลักษณะน้ี โดยเราขอเรียกร้องให้ประเทศอ่ืน  ๆ แสดงความรับผิดชอบเช่นกัน
นอกจากน้ี บัดน้ีเป็นเวลา 30 ปีแล้วตั้งแต่มีการใช้พิธีสารมอนทรีออลว่าด้วยสารทำ�ลายชั้น
บรรยากาศโอโซนเพอ่ื ใหช้ ั้นบรรยากาศโอโซนไดฟ้ ืน้ ตัว ในวาระครบรอบปีท่ี 31 ดิฉนั ขอประกาศ
วา่ ประเทศของดฉิ นั เพงิ่ ใหส้ ตั ยาบนั ตอ่ การแกไ้ ขเพม่ิ เตมิ คกิ าลปี ี พ.ศ. 2559 ของพธิ สี ารมอนทรอี อล
ทม่ี จี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื ปอ้ งกนั การเพม่ิ ขน้ึ ของอณุ หภมู ิ 0.5 องศาเซลเซยี สจากภาวะโลกรอ้ น ดว้ ยเหตุ
นี้ ชลิ จี งึ กลายเปน็ หนง่ึ ในประเทศแรก ๆ ทใี่ หส้ ตั ยาบนั กบั ขอ้ ตกลงดงั กลา่ ว ไมเ่ พยี งเทา่ น้ี การสรา้ ง
เครือข่ายสวนสาธารณะในพาตาโกเนีย ทำ�ให้เรามีพื้นที่สีเขียวอันเปี่ยมไปด้วยความหลากหลาย
ทางชีวภาพเพ่ิมข้ึนอีก 4.5 ล้านเฮกตาร์ ซึ่งตอนนี้ได้รับการปกป้องคุ้มครองโดยรัฐบาลเพื่อ
การใช้งานสาธารณะ

จาคอ็ บ ซมู า อดตี ประธานาธิบดีแอฟริกาใต้
โครงสร้างของเศรษฐกิจโลกในปัจจุบันยังคงทำ�ให้โลกซีกเหนือกับโลกซีกใต้ถอยห่างจากกันมาก
ขึ้น ในขณะท่ีมีคนส่วนน้อยได้ประโยชน์จากโลกาภิวัตน์ คนส่วนใหญ่ในโลกก็ยังคงมีชีวิตอยู่กับ
ความยากจนและความหิวโหย โดยปราศจากความหวังท่ีจะมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น
แม้ในประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ช่องว่างระหว่างคนจนกับคนรวยก็ยังคงถ่างกว้าง และเป็น
ประเด็นท่ีน่าเป็นห่วง เราจึงต้องเรียกร้องต้องการเจตจำ�นงทางการเมืองและคำ�มั่นสัญญาจาก
บรรดาผู้นำ�โลกในการแก้ไขปัญหาและอุปสรรคอันเกิดจากโครงสร้างของเศรษฐกิจโลกที่ไม่
เปลีย่ นแปลงดงั กล่าว หากเราหวงั จะบรรลุเปา้ หมายและความใฝฝ่ ันของวาระการพฒั นาที่ยง่ั ยืน
พ.ศ. 2573(Agenda2030)ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งความไมเ่ ทา่ เทยี มกนั และความอยตุ ธิ รรมของอ�ำ นาจ
ทางเศรษฐกิจนั้นเหน็ ได้ชัดเจนในแอฟริกา ตัวอย่างเชน่ ทวีปของเราอดุ มไปด้วยทรัพยากรแร่ แต่
ยังคงเปน็ ทวปี ทมี่ ีประเทศพัฒนานอ้ ยทีส่ ดุ จำ�นวนมากทสี่ ุด

ซิกมาร์ กาเบรยี ล อดีตรฐั มนตรีวา่ การกระทรวงการตา่ งประเทศ เยอรมนี
เราต้องชว่ ยกนั หาวธิ กี ารท่ีจะท�ำ ใหส้ หประชาชาติบรรลผุ ลสัมฤทธข์ิ องการก่อตั้ง แต่ ณ ปจั จบุ นั
ตวั เลขไมไ่ ด้บ่งบอกเชน่ นั้น:
ทุกวันนี้โครงการอาหารโลกได้รับเงินสนับสนุนน้อยกว่าร้อยละ 50 ของเงินที่จำ�เป็นสำ�หรับการ
ต่อสู้กับวิกฤตความอดอยากของโลก เช่นเดียวกับโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติที่ได้รับเงิน
บริจาคซึ่งเป็นการให้โดยสมัครใจและไม่มีข้อผูกมัดมีเพียงร้อยละ 15 ขณะท่ีในปี พ.ศ. 2554
ตัวเลขยังคงอยู่ที่ร้อยละ 50 สำ�หรับแผนงานช่วยเหลืออ่ืน  ๆ ของสหประชาชาติ ตัวเลขนี้
ก็ไม่ได้ดดู ไี ปกวา่ กัน

- 108 -

เป็นไปได้อย่างไรที่ผู้มีหน้าท่ีรับผิดชอบในสหประชาชาติใช้เวลาแจกจ่ายหนังสือร้องขอเงิน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
สนบั สนุนอันเปน็ สง่ิ จำ�เปน็ มากกว่าการให้ความชว่ ยเหลืออย่างมีประสิทธภิ าพ เราตอ้ งเปล่ียนวิธี
เราต้องเปิดโอกาสใหส้ หประชาชาติไดร้ บั เงนิ สนบั สนุนอยา่ งเพยี งพอ เท่า  ๆ กับความเป็นอสิ ระ
ที่เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน เราก็ต้องการประสิทธิภาพและความโปร่งใสเกี่ยวกับการใช้เงิน
สนับสนนุ เหล่านม้ี ากข้นึ ด้วยเช่นกนั
อย่างไรก็ตาม เยอรมนีจะยังคงให้การสนับสนุนทางการเงนิ แก่สหประชาชาติ
ในฐานะผู้สนับสนุนรายใหญ่อันดับที่สี่ของการให้ความช่วยเหลือตามท่ีมีการประเมิน และ
เหนือส่ิงอื่นใด ตัวอย่างเช่น ในฐานะหนึ่งในผู้บริจาคเงินด้านมนุษยชนมากท่ีสุดทั่วโลก เรายัง
คงต้องการให้ความช่วยเหลือในระดบั สงู เชน่ นต้ี อ่ ไป

มาร์ก ซกั เคอร์เบริ ์ก ผ้บู รหิ ารระดับสูงของเฟซบุ๊ก
เฟซบุ๊กเป็นบริษัทในอุดมคติและมองโลกในแง่ดี การคงอยู่ของเราเกือบทั้งหมดคือการมุ่งเน้นส่ิง
ดี  ๆ ที่เกิดขึ้นจากการท่ีผู้คนเชื่อมโยงกัน เมื่อเฟซบุ๊กเติบโตขึ้น ผู้คนในทุกหนแห่งมีเคร่ืองมือ
ใหม่ที่ทรงพลังในการติดต่อกับคนที่เขารัก การส่งเสียงให้ผู้อ่ืนได้ยิน รวมท้ังการสร้างชุมชนและ
ธุรกิจ เมื่อไม่นานมานี้ เราได้เห็นการเคลื่อนไหวที่ใช้แฮชแท็ก #metoo และกิจกรรม March
for Our Lives ทจ่ี ัดขน้ึ บนเฟซบกุ๊ หรอื อย่างน้อยเราก็เปน็ ส่วนหน่ึง หลงั จากเฮอร์ริเคนฮาร์วีย์
ประชาชนระดมทนุ เพ่อื การบรรเทาทกุ ขไ์ ด้มากกวา่ 20 ล้านดอลลารส์ หรัฐ และธรุ กจิ ขนาดเลก็
มากกว่า 70 ล้านแหง่ ใชเ้ ฟซบกุ๊ เพอ่ื สรา้ งความเติบโตและการจา้ งงาน

2) หาข้อเทจ็ จริง

กจิ กรรมที่ 2 แบง่ ชน้ั เรยี นเปน็ กลมุ่ ยอ่ ย แตล่ ะกลมุ่ เลอื กหนง่ึ ในค�ำ กลา่ วอา้ ง ‘สเี ขยี ว’ จากขา้ งตน้
เพือ่ ตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง (หรอื เลือกจากรายการของตนเอง)
ใหท้ ุกกลุม่ ค้นหาหลักฐานท่สี นับสนุนหรอื หักลา้ งผลการค้นหา โดยให้ผ้เู รียนประเมนิ แหลง่ ขอ้ มลู
ทีห่ ามาได้ตามเกณฑ์ทก่ี ำ�หนดไวด้ ้านล่างน้กี ่อน
ความใกล:้ หลกั ฐานอยใู่ กลก้ บั เหตกุ ารณเ์ พยี งใด เชน่ องคก์ รขา่ วทร่ี ายงานสถติ กิ ารวา่ งงานลา่ สดุ
โดยปกติจะอยู่ใกล้กับข้อมูลน้อยที่สุด ดังนั้นจึงมีคุณค่าน้อยกว่าหน่วยงานท่ีเป็นผู้สำ�รวจและ
จดั ทำ�ตัวเลขการจ้างงาน

- 109 -

ความเชย่ี วชาญ: มสี ิ่งใดทีร่ บั รองคณุ ภาพของผู้ผลิตหลักฐาน เชน่ ผู้เขียนหนังสอื จบปรญิ ญาเอก
ในหัวข้อทีเ่ ขยี น และมกี ารอ้างอิงผลงานเปน็ จ�ำ นวนมากในสาขานัน้
ความเทย่ี งตรง: วธิ กี ารเกบ็ หลกั ฐานเปน็ อยา่ งไร เชน่ ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความรนุ แรงตอ่ ผหู้ ญงิ มกั ใชว้ ธิ ี
การส�ำ รวจเพอ่ื เกบ็ ขอ้ มลู 11ซง่ึ อาจท�ำ ใหผ้ ลสรปุ ไมถ่ กู ตอ้ งสมบรู ณ์ และการเปรยี บเทยี บกบั ประเทศ
อ่ืนทำ�ได้ยาก เพราะความเต็มใจของผู้หญิงในการตอบและความเข้าใจเกี่ยวกับการล่วงละเมิด
ทางเพศอาจแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะประเทศ ทง้ั นี้ ไมไ่ ดห้ มายความวา่ ความรนุ แรงตอ่ ผหู้ ญงิ ไมใ่ ชเ่ รอื่ ง
รา้ ยแรง แต่เพื่อเป็นการสง่ เสริมความเทีย่ งตรงของการสนับสนนุ ข้อความนนั้  ๆ
ความโปร่งใส: คณุ รอู้ ะไรเก่ียวกับหลักฐานช้นิ น้ี เชน่ มีการตพี มิ พข์ อ้ มลู ทั้งหมดทนี่ ำ�ไปสขู่ ้อสรุป
ของงานวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ในช่องทางออนไลน์ เพอ่ื ใหน้ กั วจิ ยั คนอนื่ ตรวจสอบได้
ความน่าเช่ือถือ: มีบันทึกประวัติให้ใช้ประเมินหรือไม่ เช่น องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ
จัดทำ�ดัชนีการรับรู้การทุจริตมามากกว่า 20 ปี ซึ่งเป็นเวลาท่ียาวนานพอสำ�หรับให้ผู้เชี่ยวชาญ
คน้ พบขอ้ จำ�กัดของดัชนี12
ผลประโยชน์ทบั ซ้อน: มีผลประโยชน์ส่วนบุคคลหรอื ท่ีไมเ่ ปิดเผยของแหลง่ ข้อมูลจากหลกั ฐานนี้
หรอื ไม่ เช่น การศึกษาเรื่องประโยชนข์ องพาสตาที่มตี อ่ ร่างกายส่วนหนึง่ ดำ�เนนิ การและได้รบั ทุน
จากผผู้ ลติ พาสตารายใหญ1่ 3
ผู้สอนอาจพมิ พ์ตารางด้านล่างนใ้ี หผ้ เู้ รียนใช้ในการประเมนิ แหลง่ ข้อมลู

ออ่ น ปานกลาง หนักแนน่

ความใกล้
ความเชย่ี วชาญ
ความเที่ยงตรง
ความโปรง่ ใส
ความนา่ เชอื่ ถอื
ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น

11 ดตู ัวบง่ ชี้ (48) ของสถิติทางเพศของยเู อ็น https://genderstats.un.org/#/downloads
12 Hough, D. (2016) Here’s this year’s (flawed) Corruption Perception Index. Those flaws are useful. The Washington

Post. Available at: https://www.washingtonpost.com/news/monkey-cage/wp/2016/01/27/how-do-you-measure-
corruption-transparency-international-does-its-bestand-thats-useful/?utm_term=.7ff90ea2890f [เขา้ ถึงเมื่อ 23/03/2018].
13 ตวั อยา่ งเรือ่ งจริง อา่ นเพ่ิมเตมิ ไดท้ น่ี ่ี http://www.healthnewsreview.org/2016/07/study-really-find-pasta-opposite-
fattening/. [เข้าถึงเม่ือ 23 มนี าคม พ.ศ. 2561].

- 110 -

งานมอบหมาย หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101

การแก้ไขข้อความ

ใช้หลกั ฐานท่ีประเมินในแบบฝึกหดั เขยี นรายงานการตรวจสอบข้อเทจ็ จริง (ประมาณ 1,200 ค�ำ )
และสรุปว่าขอ้ ความทเี่ ลอื กมามคี วามจรงิ ในระดบั ใด
ผูเ้ รยี นควรจดั ทำ�มาตรวัดระดับของตนเองในการให้คะแนนข้อความท่ีถกู ตรวจสอบ ตัวอย่างเช่น
PolitiFact เผยแพรม่ าตรวัดระดบั ดงั แสดงดา้ นลา่ ง
จริง – ขอ้ ความมคี วามถกู ตอ้ งแมน่ ยำ� และไม่มีอะไรทส่ี ำ�คัญขาดหายไป
สว่ นใหญจ่ ริง – ขอ้ ความมีความถูกตอ้ งแมน่ ย�ำ แต่ต้องมกี ารชแี้ จงหรอื ข้อมลู เพิม่ เตมิ
จริงคร่ึงหนึ่ง – ข้อความมีความถูกต้องแม่นยำ�เพียงบางส่วน มีการละเว้นรายละเอียดสำ�คัญ
บางประการหรือใชผ้ ิดบริบท
ส่วนใหญ่ไม่จริง – ข้อความมีความจริงอยู่บ้าง แต่ละเลยข้อเท็จจริงท่ีสำ�คัญ ซึ่งจะทำ�ให้
เข้าใจไปในทศิ ทางอน่ื
ไมจ่ ริง – ข้อความขาดความถูกต้องแม่นย�ำ
โดนจบั โกหก – ข้อความขาดความถูกต้องแมน่ ยำ�และกล่าวอ้างเรื่องเหลวไหล
มาตรวัดระดับไม่จำ�เป็นต้องเรียงลำ�ดับเหมือนกับท่ี PolitiFact ไล่เรียงไปสู่ระดับท่ีเลวร้ายลง
เรื่อย  ๆ ตั้งแต่จริงไปจนถึงโดนจับโกหก ตัวอย่างเช่น โครงการเอล ซาบูเอโซ ในเม็กซิโก14 มี
มาตรวัดระดับอย่าง ‘พิสูจน์ไม่ได้’ สำ�หรับข้อความที่ไม่ว่าจะอย่างไรก็ไม่มีหลักฐาน หรือ
‘โต้แย้งได้’ สำ�หรับข้อความท่ีความจริงข้ึนอยู่กับวิธีการท่ีเลือก โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้
ความสร้างสรรค์ในการสร้างมาตรวัดระดับเพื่อบอกช่วงคุณสมบัติของข้อเท็จจริงแต่ละระดับ
ทั้งนี้ ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเตรียมการตรวจสอบข้อเท็จจริงในรูปแบบนอกเหนือจากตัวหนังสือ
ก็ได้ ข้นึ อยู่กบั เวลาและทรพั ยากรทีม่ ี ไม่วา่ จะเปน็ ภาพล้อเลยี น (Meme) วดิ โี อสั้น ๆ ภาพ GIF
หรือสแนปแชต ทั้งหมดน้ีเป็นเคร่ืองมอื ท่ีดใี นการตอ่ สู้กับความเทจ็ ซึง่ จริง  ๆ แลว้ มงี านวจิ ยั ชิน้
หนึ่งพบว่าสำ�หรับการตรวจสอบข้อเท็จจริงเดียวกัน การนำ�เสนอในรูปแบบวิดีโอขำ�ขันมี
ประสิทธิภาพมากกวา่ การน�ำ เสนอในรูปแบบบทความ15

14 AnimalPolitico (2015). Available at http://www.animalpolitico.com/blogueros-blog-invitado/2015/01/28/el-sabueso-
un-proyecto-para-vigilar-eldiscurso-publico/. [เข้าถึงเมื่อ 6/04/2018].

15 Young, D., Jamieson, K., Poulsen, S. and Goldring, A. (2017). Fact-Checking Effectiveness as a Function of Format and
Tone: Evaluating FactCheck.org and FlackCheck.org. Journalism & Mass Communication Quarterly, 95(1), pp. 49-75

- 111 -

สำ�หรับตวั อยา่ งรปู แบบท่ีสร้างสรรค์ ผูส้ อนอาจดบู ทความเหล่าน้ใี นเวบ็ ไซต์ Poynter
Mantzarlis, A. (2016). Fact-checkers experiment with Snapchat, GIFs and other
stuff millennials. Available at https://www.poynter.org/news/fact-checkers-
experimentsnapchat-gifs-and-other-stuff-millennials [เขา้ ถงึ เมื่อ 28/03/2018].
Mantzarlis, A. (2016). How (and why) to turn a fact check into a GIF. [accessed
28/03/2018. Available at https://www.poynter.org/fact-checking/2016/how-and-
why-to-turn-a-fact-check-into-a-gif/ [เข้าถึงเมอื่ 28/03/2018].

เอกสารส�ำหรบั อา่ นเพม่ิ เตมิ

นอกจากรายการท่ีควรอ่าน Poynter ยังอุทิศพื้นท่ีส่วนหน่ึงให้กับการตรวจสอบ
ข้อมูล ซ่ึงเข้าถึงได้ทาง https://www.poynter.org/channels/fact-checking ซ่ึงมี
การปรับข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 2-3 คร้ังในแต่ละสัปดาห์ ด้านล่างคือแหล่งข้อมูลท่ีทันสมัย
และมปี ระโยชนจ์ ากเว็บไซตน์ ้ี
Poynter (2018). How to fact-check a politician’s claim in 10 steps. Available at

https://factcheckingday.com/articles/5/how-to-fact-check-a-politicians-claim-in-
10-steps [เข้าถึงเมอ่ื 06/04/2018].
Van Ess, H. (2017). The ultimate guide to bust fake tweeters: A video toolkit in
10 steps. Available at https://www.poynter.org/news/ultimate-guide-bust-fake-
tweeters-videotoolkit-10-steps. [เขา้ ถงึ เมอ่ื 06/04/2018].
Mantzarlis, A. (2015). 5 things to keep in mind when fact-checking claim about
science. Available at https://www.poynter.org/news/5-things-keep-mind-when-
fact-checkingclaims-about-science. [เข้าถึงเมอื่ 06/04/2018].
Mantzarlis, A. (2016). 5 tips for fact-checking claims about health. Available at
https://www.poynter.org/fact-checking/2016/5-tips-for-fact-checking-claims-
about-health/. [เขา้ ถงึ เม่อื 06/04/2018].
Mantzarlis, A. (2015). 5 tips for fact-checking datasets. Available at https://www.
poynter. org/news/5-tips-fact-checking-datasets. [เข้าถงึ เมือ่ 06/04/2018].

- 112 -

Mantzarlis, A. (2015). 5 studies about fact-checking you may have missed last หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 5: การตรวจสอบขอ้ เทจ็ จริง 101
month (Poynter). Available at https://www.poynter.org/news/5-studies-about-
fact-checkingyou-may-have-missed-last-month. [เขา้ ถึงเมือ่ 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). Repetition boosts lies — but it could help fact-checkers too.
Available at https://www.poynter.org/news/repetition-boosts-lies-could-help-
factcheckers-too. [เขา้ ถงึ เมื่อ 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). French and American voters seem to respond to fact-checking
in a similar way. Available at https://www.poynter.org/news/french-and-
american-votersseem-respond-similar-way-fact-checking. [เขา้ ถงึ เมอ่ื 06/04/2018].

Funke, D. (2017). Where there’s a rumour, there’s an audience. This study sheds light
on why some take off. Available at https://www.poynter.org/news/where-theres-
rumortheres-audience-study-sheds-light-why-some-take. [เขา้ ถงึ เมอ่ื 06/04/2018].

Funke, D. (2017). Want to be a better online sleuth? Learn to read webpages like a
factchecker. Available at https://www.poynter.org/news/want-be-better-online-
sleuthlearn-read-webpages-fact-checker. [เข้าถึงเมื่อ 06/04/2018].

Funke, D. (2017). These two studies found that correcting misperceptions works.
But it’s not magic. Available at https://www.poynter.org/news/these-two-studies-
foundcorrecting-misperceptions-works-its-not-magic. [เขา้ ถงึ เมอื่ 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). What does the “Death of Expertise” mean for fact-checkers?
Available at https://www.poynter.org/news/what-does-death-expertise-mean-
factcheckers. [เขา้ ถึงเมื่อ 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2017). Journalism can’t afford for corrections to be the next victim
of the fake news frenzy. Available at https://www.poynter.org/news/journalism-
cant-affordcorrections-be-next-victim-fake-news-frenzy. [เข้าถึงเมอ่ื 06/04/2018].

Mantzarlis, A. (2016). Should journalists outsource fact-checking to academics?
Available at https://www.poynter.org/news/should-journalists-outsource-fact-
checkingacademics. [เขา้ ถงึ เม่ือ 06/04/2018].

- 113 -

หนังสือ

Ball, J. (2017). Post-Truth: How Bullshit Conquered the World. London: Biteback
Publishing.

Gladstone, B. (2017). The Trouble with Reality: a Rumination on Moral Panic in
Our Time. New York: Workman Pu.

Graves, L. (2016). Deciding What’s True: the Rise of Political Fact-Checking
Movement in American Journalism. New York: Columbia University Press.

แหล่งขอ้ มลู ออนไลน์

การเรียนรู้ด้วยเกมบทบาทสมมุติสำ�หรับวันตรวจสอบข้อเท็จจริงนานาชาติ (ออกแบบสำ�หรับ
นักเรียนอายุ 14-16 ปี) เขา้ ถึงไดท้ างลงิ ก์น้ี http://factcheckingday.com/ lesson-plan ใน
เวบ็ ไซตย์ งั มเี คลด็ ลบั ลงิ กไ์ ปยงั หลกั สตู รออนไลนส์ �ำ หรบั นกั ศกึ ษา รวมถงึ รายการอา่ นเพม่ิ เตมิ เกยี่ ว
กับข้อเทจ็ จริงและการตรวจสอบขอ้ เท็จจริง

- 114 -

การตรวจสอบความจริิงใน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ
สือ่ สังคม:การประเมินแหล่งท่ีมา

และเนอื้ หาภาพ

โดยทอม ทรุนเนิร์ด และ เฟอรก์ ัส เบลล์

หน่ว่ ยการเรีียนรู้้�ที่่� 6

- 115 -

หน่วยการเรียนรู้น้ีออกแบบมาเพ่ือช่วยให้ผู้เรียนสามารถระบุและตรวจสอบแหล่งท่ีมาของ
ขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั ในสื่อออนไลนไ์ ด้ โดยแนะนำ�ใหร้ จู้ กั กลยทุ ธต์ า่ ง ๆ ส�ำ หรับพิจารณาความแทจ้ รงิ ของ
แหล่งทม่ี า ภาพ และวดิ ีโอ โดยเฉพาะทีผ่ ลิตโดยผ้ใู ชง้ าน (User Generated Content: UGC) ที่
สง่ ต่อกนั ทางสอื่ สงั คม

เม่ือเรียนจบหน่วยการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนควรตระหนักถึงความแตกต่างระหว่างเนื้อหาที่เป็นเท็จ
กับเน้ือหาท่ีชักนำ�ให้เกิดความเข้าใจผิดประเภทต่าง  ๆ ซ่ึงมักจะส่งต่อกันในช่วงที่มีการรายงาน
ขา่ วดว่ นในส่ือสงั คมอย่างเฟซบุ๊ก ทวติ เตอร์ อินสตาแกรม และยทู บู 1 เน้ือหาเช่นน้ี แมแ้ ตอ่ งค์กร
ส่ือท่ีนา่ เชือ่ ถือบางครงั้ กห็ ยิบไปน�ำ เสนอ ซ่งึ เป็นการท�ำ ลายความน่าเชือ่ ถือของสือ่ อีกทงั้ นักขา่ ว
ยังส่งต่อและขยายความบนส่ือสังคมโดยไม่เจตนา โดยท่ีบางครั้งนักข่าวเองก็ตกเป็นเหยื่อของ
ผู้ไม่ประสงค์ดีที่ต้องการมีส่วนกับประเด็นถกเถียงในสังคม2 และหลอกใช้ความน่าเชื่อถือของ
ผ้สู อื่ ข่าวให้กลายเป็นแหลง่ ขา่ วท่ีเชอ่ื ถอื ได้ของตน3

ผเู้ รยี นจะไดท้ ดสอบสญั ชาตญาณด้วยสถานการณแ์ ละตวั อยา่ งจรงิ กอ่ นจะน�ำ เทคนิคการสบื สวน
เบ้ืองต้นและกลยทุ ธก์ ารพสิ จู นค์ วามจรงิ ไปใช้ในการฝกึ ปฏิบัติจรงิ ซ่ึงประกอบด้วย

Z การระบุและการให้เครดิตแหล่งที่มาของข้อมูลตามหลักจริยธรรมของการใช้เน้ือหาที่
ผลิตโดยผูใ้ ช้สือ่ 4

Zการระบแุ ละการแยกบญั ชีปลอมหรอื บอต5 6
Z การยืนยนั ว่าเนอื้ หาภาพมีการอ้างอิงถึงแหล่งที่มาตน้ ฉบบั อยา่ งถกู ตอ้ ง
Zการตรวจสอบเวลาของการบันทึกภาพและเวลาที่อัปโหลดเนอื้ หา
Zการระบสุ ถานทใ่ี นภาพถา่ ยและวดิ ีโอ
การบ่งบอกและการตรวจสอบเนื้อหาต้นฉบับได้ ทำ�ให้นักข่าวสามารถขออนุญาตนำ�เนื้อหาที่
สร้างโดยผใู้ ช้ไปเผยแพร่ไดต้ ามขอ้ กำ�หนดทง้ั ทางจริยธรรมและทางกฎหมาย

1 Alejandro, J. (2010). Journalism In The Age Of Social Media. Reuters Institute Fellowship.
Available at: http://reutersinstitute.politics.ox.ac.uk/sites/default/files/research/files/
Journalism%2520in%2520the%2520Age%2520of%2520Social%2520Media.pdf [เข้าถึงเมื่อ 22/04/018].

2 Paulussen, S. & Harder, R. (2014). Social Media References in Newspapers. Journalism Practice, 8(5), pp.542-551.
3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 7 อภปิ รายและให้วิธีแก้ไขปญั หาน้อี ย่างละเอยี ด
4 ดแู นวทางจริยธรรม UGC ของสมาคมขา่ วออนไลนท์ ี่ https://ethics.journalists.org/topics/user-generated-content/ [เขา้ ถงึ เมือ่

18/4/2018].
5 Woolley, S.C. & Howard, P.N. (2017). Computational Propaganda Worldwide: Executive Summary. Samuel

Woolley and Philip N. Howard, Eds. Working Paper 2017.11. Oxford, UK: Project on Computational Propaganda.
comprop.oii.ox.ac.uk. Available at http://comprop.oii.ox.ac.uk/wp-content/uploads/sites/89/2017/06/Casestudies-
ExecutiveSummary.pdf [เขา้ ถงึ เมื่อ 22/04/2018].
6 Joseph, R. (2018). Guide. How to verify a Twitter account. Africa Check. Available at https://africacheck.org/
factsheets/guide-verify-twitteraccount/. [เข้าถงึ เมอ่ื . 6/04/2018].

- 116 -

เคา้ โครงเนือ้ หา หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ

บลิ โควกั และทอม โรเซนสตลี ผเู้ ขยี น The Elements of Journalism7 ยนื ยนั วา่ “ทา้ ยทส่ี ดุ แลว้
ระเบียบวิธีในการตรวจสอบความจริงคือส่ิงท่ีแยกการข่าวออกจากเรื่องบันเทิง โฆษณาชวนเช่ือ
เรื่องแต่ง หรือศิลปะ...การทำ�ข่าวโดยตัวมันเองเน้นการรายงานส่ิงที่เกิดข้ึนให้ถูกต้องก่อนเป็น
อนั ดบั แรก...” หนว่ ยการเรยี นรนู้ จี้ งึ พจิ ารณา “ระเบยี บวธิ กี ารตรวจสอบความจรงิ ” ในยคุ ปจั จบุ นั
ตามเจตนารมณ์ดงั กล่าว
ส่ือสังคมทำ�ให้วิธีปฏิบัติงานข่าวเปล่ียนไป การมีส่วนร่วมตามเวลาท่ีเกิดขึ้นจริง (real-time)
ของผู้ติดตามข่าวสาร ทำ�ให้เกิดเน้ือหาที่ได้มาจากคนจำ�นวนมาก แม้กระท่ังงานท่ีต้องทำ�ใน
การรายงานข่าวอย่างการตรวจสอบความจริงในปัจจุบันก็มอบหมายให้ผู้ติดตามข่าวสารช่วย
ตรวจสอบได้8 ในขณะท่ีการเสนอข่าวยังคงเป็นแกนหลัก กฎระเบียบของการตรวจสอบความ
จริง9 วิธีการตรวจสอบเนื้อหาและแหล่งที่มา ก็ต้องพัฒนาให้ทันยุคสมัยอย่างสมำ่�เสมอตาม
เทคโนโลยดี จิ ทิ ลั พฤตกิ รรมออนไลน์ และวธิ กี ารรายงานขา่ วทเ่ี ปลยี่ นแปลงอยา่ งรวดเรว็ ตวั อยา่ ง
เชน่ ในช่วงอาหรับสปริง คอื จุดเร่ิมของแนวคิด ‘การตรวจสอบความจรงิ แบบเปิด’ ซ่ึงหมายถึง
กระบวนการตรวจสอบความจรงิ ทปี่ ระชาชนคนทวั่ ไปรว่ มมอื กนั แบบเรยี ลไทม์ แตก่ ระบวนการนยี้ งั
คงเปน็ ทถ่ี กเถยี ง เพราะมคี วามเสยี่ งทขี่ อ้ มลู ผดิ จะถกู สง่ ตอ่ กนั เปน็ ไวรลั ในระหวา่ งทพี่ ยายามพสิ จู น์
ความจรงิ ทลี ะขนั้ ตอนในพน้ื ทสี่ าธารณะ (เชน่ นกั ขา่ วเผยแพรข่ อ้ มลู ทไี่ มผ่ า่ นการตรวจสอบ เพราะ
ตอ้ งการระดมกระบวนการตรวจสอบความจรงิ เปน็ ตน้ )10
ปัจจุบัน คำ�บอกเล่าของผู้เห็นเหตุการณ์และเน้ือหาที่เป็นภาพคือหนึ่งในเคร่ืองมือสำ�คัญและ
จำ�เป็นท่ีนักข่าวหรือผู้ให้บริการข่าวสารนำ�มาใช้บอกเล่าเร่ืองราวที่มีผลกระทบสูง สำ�หรับ
การรายงานข่าวด่วน ความรวดเร็วเป็นปัจจัยท่ีสำ�คัญในการตรวจสอบความจริงของข้อมูลท่ีมา
จากสอ่ื สังคม11
นกั ขา่ วตอ้ งมคี วามสามารถในการวา่ ยแหวกขอ้ มลู จ�ำ นวนมหาศาลเพอ่ื ไปใหถ้ งึ ตน้ ตอของแหลง่ ทมี่ า
ข้อมูล และภาพที่มีความสำ�คัญ เนือ้ หาภาพทเ่ี พ่ิมปริมาณอย่างรวดเร็ว (ภาพถ่าย วดิ โี อ และภาพ
GIF) ซ่งึ ถูกอปั โหลดเข้าไปในพนื้ ทีส่ อื่ สังคม เกิดจากปัจจัยสามประการ ได้แก่

7 Kovach, B., & Rosenstiel, T. (2014). The elements of journalism: What newspeople should know and the public
should expect. New York: Crown Publishers.

8 Carvin, A. (2012). Distant witness: Social Media’s Journalism Revolution. New York, NY: CUNY Journalism Press.
9 Kovach, B. & Rosenstiel, T. (2014). Op cit
10 Posetti, J. & Silverman, S. (2014). When Good People Share Bad Things: The basics of social media verification at

Mediashift July 24th, 2014. Available: http://mediashift.org/2014/07/goodwhen-good-people-share-bad-things-the-
basics-of-social-media-verification/ [เขา้ ถึงเมื่อ 22/04/2018].].
11 Brandtzaeg, P., Lüders, M., Spangenberg, J., Rath-Wiggins, L. & Følstad, A. (2015). Emerging Journalistic Verification
Practices Concerning Social Media. Journalism Practice, 10(3), pp.323-342.

- 117 -

Zการเติบโตของสมาร์ตโฟนและฟีเจอร์โฟนทมี่ าพร้อมกับกล้องในทัว่ ทกุ มุมโลก12
Z การใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้มากขึ้นในราคาไม่แพง (และใน

บางพื้นท่ไี ม่มีคา่ ใช้จ่าย)
Z การเกดิ ขน้ึ ของเครือขา่ ยสอื่ สังคมระดับโลกและแพลตฟอร์มขอ้ ความที่ใคร ๆ ก็เผยแพร่

เนื้อหาและสรา้ งผู้ตดิ ตามได้
ในสถานการณ์ข่าวดว่ น บอ่ ยคร้ังที่การเล่าเหตกุ ารณค์ รั้งแรก ภาพถ่าย และวิดโี อจากเหตุการณ์
ไม่วา่ จะเป็นการประท้วง รถไฟตกราง เฮอร์ริเคน หรอื การก่อการรา้ ย ต่างมแี นวโนม้ วา่ จะไดม้ า
จากโทรศัพท์ของผู้พบเห็น ผู้อยู่ในเหตุการณ์ หรือคนเดินถนน เทคนิคในการตรวจสอบ
ความจริงของเนื้อหาเหล่าน้ีจึงแตกต่างกันไป ข้ึนอยู่กับแหล่งข้อมูล ธรรมเนียมปฏิบัติ และ
มาตรฐานของหอ้ งขา่ ว รวมทง้ั วถิ ปี ฏบิ ตั ขิ องนกั ขา่ วเอง หนว่ ยการเรยี นรนู้ จี้ ะแนะน�ำ ใหผ้ เู้ รยี นรจู้ กั
วิธีปฏิบัติที่ดีท่ีสุด รวมทั้งเคร่ืองมือและแหล่งความรู้ออนไลน์ แต่เครื่องมือเหล่านี้ก็มีการพัฒนา
อย่างตอ่ เนื่องรวดเรว็ เชน่ เดยี วกบั เทคโนโลย1ี 3

ทง้ั น้ี ไมว่ ่าจะเปน็ การตรวจสอบความจรงิ แบบใด ส่วนหน่ึงของแนวทางที่ใช้โดยทว่ั ไปคือแนวทาง
ท่เี สนอโดย โควกั และโรเซนสตลี (2014)14 ดังนี้

Z ตรวจแกด้ ว้ ยความสงสัย
Z ตรวจสอบความถกู ตอ้ งแม่นยำ�
Z ไม่คิดเอง – อย่าถูกช้ีนำ�ด้วยสัญญาณที่บ่งบอก “ความน่าจะจริง”15 ท่ีถูกนำ�มาใช้เป็น

เครือ่ งมือ
Z ระวงั แหลง่ ทีม่ าที่ไม่ระบตุ วั ตน
การรู้ต้นตอของข้อมูลหรือภาพถ่ายและการตรวจสอบอย่างเป็นระบบท้ังแหล่งท่ีมาและเน้ือหาท่ี
เผยแพร่ น่าจะช่วยให้คุณตรวจสอบต้นตอที่นำ�มาใช้เป็นแหล่งข่าวได้ แต่การตรวจสอบก็ต้องให้
ผลลัพธต์ ามท่ีกำ�หนด16

การตรวจสอบแบบนี้เป็นการจำ�ลองการทำ�งานของนักข่าวท่ีอาจทำ�เมื่ออยู่ในสถานที่เกิดเหตุ
โดยเปน็ การสมั ภาษณผ์ เู้ หน็ เหตกุ ารณ์ นกั ขา่ วทเี่ ปน็ ผสู้ มั ภาษณค์ วรตรวจสอบค�ำ บอกเลา่ ของผเู้ หน็

12 ดูสไลดท์ ่ี 5 ในรายงานเกี่ยวกบั Internet Trends ของแมรี มเี กอร์ ท่ี https://www.slideshare.net/kleinerperkins/internet-
trends-v1. [เขา้ ถงึ เมือ่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561].

13 Schifferes, S., Newman, N., Thurman, N., Corney, D., Göker, A. & Martin, C. (2014). Identifying and Verifying News
through Social Media. Digital Journalism, 2(3), pp. 406-418.

14 Kovach & Rosenstiel (2014). Op cit.
15 Zimmer, B (2010). “Truthiness”, The New York Times. https://www.nytimes.com/2010/10/2017/magazine/2017FOB-

onlanguage-t.html [เขา้ ถึงเมอ่ื 15/04/2018].
16 Bell, F. (2015). Verification: Source vs Content [online] Medium. Available at: https://medium.com/1st-draft/

verficiation-source-vs-content-b67d6eed3ad0 [เข้าถึงเมื่อ 22/04/2018].

- 118 -

เหตุการณ์ ติดตามรายละเอียดท่ีสำ�คัญเพ่ิมเติม และสรุปว่าคำ�บอกเล่าน้ันมีความน่าเช่ือถือหรือ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ
ไม่ตามกระบวนการตรวจสอบข้อเท็จจริง โดยอาจใช้สัญชาตญาณประกอบกับการสังเกต
พฤติกรรมรว่ มดว้ ย ทง้ั น้ี กระบวนการยนื ยนั แหล่งท่ีมาทางดิจิทลั ต้องนำ�ไปสู่ขอ้ สรุป แม้ว่าจะไม่
สามารถสัมภาษณ์ได้ด้วยตนเองหรอื ตามเวลาท่ีเกดิ ขึน้ จริง17
ห้องข่าวขนาดใหญ่จำ�นวนมากมีทีมและเทคโนโลยีราคาแพง หรือมีตัวแทนคอยให้บริการ เพื่อ
การค้นหาเนื้อหาใหไ้ ด้เร็วทสี่ ุด18 ในระหว่างทร่ี อสิทธใิ นการตพี มิ พ์และการออกอากาศ และการ
ตรวจสอบความจริงก่อนท่ีจะตีพิมพ์ ส่วนห้องข่าวขนาดเล็กและนักข่าวอิสระจำ�นวนมากไม่มี
ทรัพยากรเช่นนี้19 และต้องอาศัยวิธีการอันเป็นระบบของตนเองท่ีพัฒนาปรับปรุงอยู่ตลอดเวลา
สำ�หรับการตรวจสอบความนา่ เชื่อถือ20
เพราะเหตุใดการพิสูจน์ความจริงของแหล่งท่ีมาและเนื้อหาที่เป็นภาพจึงมีความสำ�คัญ หาก
จะกล่าวง่าย ๆ ก็คือ เพราะมนั เป็นการท�ำ ขา่ วทด่ี ี ในโลกดจิ ิทัลเช่นทุกวนั น้ี เปน็ การงา่ ยมากทีผ่ มู้ ี
เจตนารา้ ยจะสรา้ งและเผยแพรเ่ นอื้ หาปลอมทน่ี า่ เชอื่ ถอื และจบั เทจ็ ไดย้ าก หลายครงั้ ทน่ี กั ขา่ วอาชพี
และหอ้ งข่าวท�ำ ลายชอื่ เสียงของตนเองด้วยการส่งต่อหรอื ตีพมิ พซ์ ้�ำ ข้อมูล ภาพ หรอื วิดีโอทท่ี ำ�ให้
เกิดความเข้าใจผิดจากบุคคลท่ีไม่มีตัวตน และหลายครั้งที่เผยแพร่หรือตีพิมพ์เน้ือหาเสียดสีด้วย
เขา้ ใจวา่ เป็นความจรงิ 21
ปัญหานี้ทวคี วามรนุ แรงขน้ึ จากปริมาณของเนือ้ หาท่ีเปน็ ภาพในโลกออนไลน์ ภาพเหลา่ นีถ้ กู หยบิ
ออกมาจากบริบทเดิมและนำ�กลับมาใช้ใหม่ในเหตุการณ์ท่ีจะเป็นข่าวในอนาคต ดังที่เราพบเห็น
ในทกุ วันท่วั โลกท่ีนักป้ันขา่ วลวงสร้างเรื่องหลอกทัง้ บรรดานกั การเมืองและนักข่าว
อย่างไรกต็ าม การประเมินความนา่ เช่ือถือของแหลง่ ขอ้ มลู ทมี่ ีเร่อื งใหเ้ ลา่ หรอื มเี นอื้ หาใหเ้ ผยแพร่
นน้ั มีหลายขั้นตอน คำ�ถามสำ�คัญควรถกู ถาม บางคำ�ถามควรถามตรง ๆ ส่วนบางค�ำ ถามอาจตอบ
ได้ด้วยการใช้หลักฐานที่ค้นพบในระหว่างการสืบสวน เคร่ืองมือตรวจสอบความจริงสามารถใช้

17 Kovach & Rosenstiel (2014). Op cit.
18 Diakopoulos N., De Choudhury M. & Naaman M. (2012). Finding and assessing social media information sources

in the context of journalism Conference on Human Factors in Computing Systems - Proceedings, pp. 2451-2460.
Available at: http://www.nickdiakopoulos.com/wp-content/uploads/2011/07/SRSR-diakopoulos.pdf [เขา้ ถึงเมื่อ
22/04/2018].
19 Schifferes, S., Newman, N., Thurman, N., Corney, D., Goker, A.S. & Martin, C. (2014). Identifying and verifying news
through social media: Developing a user-centred tool for professional journalists. Digital Journalism, 2(3), pp. 406-
418. Available at http://openaccess.city. ac.uk/3071/1/IDENTIFYING AND VERIFYING NEWS THROUGH SOCIAL MEDIA.
pdf [เข้าถงึ เม่อื 22/04/2018].
20 Brandtzaeg, P. B., Lüders, M., Spangenberg, J., Rath-Wiggins, L., & Følstad, A. (2016). Emerging journalistic verification
practices concerning social media. Journalism Practice, 10(3), 323-342.
21 Deutsche Welle (2018) Germany’s Bild falls for hoax and unleashes fake news debate (22/02/2018) Available
at http://www.dw.com/en/germanys-bild-falls-for-hoax-unleashes-debate-on-fake-news/a-42704014 [เขา้ ถึงเม่ือ
22/04/2018].

- 119 -

คน้ หาวา่ แหลง่ ขอ้ มลู โพสตจ์ ากทใี่ ด แตก่ เ็ ปน็ ไปไดท้ จ่ี ะหาต�ำ แหนง่ แหง่ ทข่ี องแหลง่ ขอ้ มลู ดว้ ยตนเอง
โดยการวิเคราะห์ประวัติในส่ือสังคมของผู้โพสต์ เพื่อหาเบาะแสที่อาจบ่งบอกความเป็นไปได้ว่า
เป็นสถานทีใ่ ดในเวลาใด การตรวจสอบประวตั กิ ารโตต้ อบกับผู้ใช้รายอ่นื และดูลงิ กใ์ นโพสต์ก็ชว่ ย
ในกระบวนการตรวจสอบความจริงด้วยตนเอง และเป็นการช่วยกำ�จัดข้อมูลที่ถูกส่งต่อโดยบอต
ได้อกี ดว้ ย

การตรวจแก้ไขที่เกิดจากความสงสัยก็เป็นส่ิงสำ�คัญ แต่คนท่ัวไปส่วนใหญ่ท่ีติดตามข่าวสารอย่าง
ใกลช้ ิดและสง่ ต่อข่าวไมไ่ ด้มีเจตนาหลอกลวง พวกเขาเพยี งแค่อยากแบง่ ปันประสบการณ์ของตน
ดังน้ัน หากมีข้อมูลที่ผิดเกิดขึ้น มันจึงอาจไม่ได้เป็นเพราะมีเจตนาร้าย โดยอาจเป็นเพียงเพราะ
จำ�เหตกุ ารณไ์ ด้ไม่ถกู ตอ้ ง หรอื อาจจะเพียงแค่แตง่ เตมิ เร่อื งราวเพ่ิมเตมิ เหตกุ ารณ์เชน่ นอี้ าจเกดิ
ขึ้นได้หากคุณมีโอกาสออกไปสัมภาษณ์ด้วยตนเอง ดังที่มักจะเกิดขึ้นในรายงานข่าวและ
คำ�ให้การที่ขัดแย้งกันจากสถานท่ีเกิดเหตุหรืออุบัติเหตุ ซึ่งคำ�บอกเล่าของผู้พบเห็นเหตุการณ์
หรอื ผูเ้ คราะห์รา้ ยทก่ี �ำ ลังตกใจมีความแตกตา่ งกันอย่างเหน็ ไดช้ ัด

แม้ว่าจะเป็นไปได้ยากท่ีการตรวจสอบภาพจะให้ผลที่แน่นอนสมบูรณ์ แต่ก็พอจะช่วยให้เห็น
‘สิ่งผิดปกติที่สังเกตได้อย่างชัดเจน’ ได้บ้างจากกระบวนการตรวจสอบความจริงด้วยการตั้ง
ค�ำ ถามดงั ต่อไปนี้

Zเน้ือหาภาพนี้เป็นของใหม่ หรือถูก ‘แกะ’ ออกมาจากข่าวเก่าและนำ�มาใช้เพื่อให้เกิด
ความเข้าใจผดิ

Z เนอื้ หาภาพถูกปรับแตง่ ด้วยเทคโนโลยีดิจทิ ัลหรือไม2่ 2
Zสามารถใช้ข้อมูลอภิพันธุ์ (metadata) เพ่ือยืนยันเวลาและสถานท่ีของการบันทึกภาพ

หรือวดิ ีโอไดห้ รือไม่
Zสามารถสังเกตเบาะแสท่ีปรากฏอยู่ในภาพเพื่อยืนยันเวลาและสถานท่ีของการบันทึก

ภาพหรอื วิดโี อได้หรอื ไม่
เพื่อให้การค้นหาส่ิงผิดปกติที่สังเกตได้อย่างชัดเจนมีประสิทธิภาพ เราจำ�เป็นต้องเข้าใจประเภท
ของความเทจ็ และภาพท่ที ำ�ให้เกิดความเข้าใจผดิ ได้แก่

Zผดิ สถานที่/ผิดเวลา ภาพที่ทำ�ให้เกดิ ความเข้าใจผดิ ซง่ึ พบเห็นบอ่ ยท่สี ุดคือภาพเก่าทถ่ี กู
นำ�มาใช้กับข้อความใหม่ที่เก่ียวข้องกับสิ่งที่อยู่ในภาพ ความเป็นไวรัลของกรณีนี้มักเกิด

22 ภาพนักเรยี นผรู้ อดชวี ิตจากการกราดยิงในโรงเรียนที่พารก์ แลนด์ รฐั ฟลอรดิ า สหรฐั อเมรกิ า ซึ่งประสบความสำ�เรจ็ ในการชุมนมุ ประทว้ ง
ระดบั ชาตเิ พ่ือเรยี กร้องใหม้ ีกฎหมายควบคุมอาวุธปืน ถกู น�ำ ไปตดั ตอ่ และแพรก่ ระจายอยใู่ นสือ่ สังคมที่เลือกข้าง https://www.buzzfeed.
com/janelytvynenko/here-are-the-hoaxesand-conspiracies-still-going-around?utm_term=.euy6NPayy#.jhe2YvV44.
[เขา้ ถึงเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2561].

- 120 -

จากการเผลอส่งตอ่ เน้อื หาทีห่ กั ล้างไดง้ ่าย แต่ยากทจ่ี ะดึงกลบั คืน23 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ
Z เนือ้ หาที่ถูกดดั แปลง เนือ้ หาทถี่ ูกดดั แปลงทางดิจิทลั ดว้ ยโปรแกรมตดั ตอ่ ภาพและวิดีโอ
Zเน้ือหาที่จัดฉากข้ึนมา เนื้อหาท่ีทำ�ขึ้นมาใหม่และส่งต่อโดยมีเจตนาเพ่ือให้เกิดความ

เขา้ ใจผดิ 24
ในหน่วยการเรียนรู้นี้ ผู้เรียนจะได้รู้จักกับเคร่ืองมือและเทคนิคเบื้องต้นสำ�หรับเรียนรู้และ
ฝึกตรวจสอบความจริงของแหล่งข้อมูลและเนื้อหา (มีสไลด์ รวมถึงข้อสังเกตสำ�หรับผู้สอนและ
เอกสารอา่ นเพิ่มเติม) เช่น25
การวิเคราะห์บัญชีเฟซบุ๊ก: เคร่ืองมือออนไลน์จาก Intel Techniques26 จะช่วยให้รู้เก่ียวกับ
แหล่งขอ้ มูลมากข้นึ จากการวเิ คราะหบ์ ัญชีเฟซบุ๊ก
การวิเคราะหบ์ ัญชีทวติ เตอร:์ แนวทางจากโครงการ Africa Check ช่วยให้รู้เกย่ี วกบั แหล่งข้อมูล
มากข้ึน โดยการวิเคราะห์ประวัติในส่ือสังคม ซ่ึงจะทำ�ให้บอกได้ว่าเป็นบ็อตหรือไม่ที่ส่งข้อความ
ทวีต27
การใช้เครื่องมือค้นหาภาพย้อนหลัง: การใช้เครื่องมือค้นหาภาพย้อนหลัง (Reverse Image
Search) ของกูเกิล28 TinEye29 หรอื RevEye30 ท�ำ ใหต้ รวจสอบได้ว่าภาพถูกน�ำ กลบั มาใชใ้ หมก่ บั
ขอ้ ความหรอื เหตกุ ารณท์ เ่ี พง่ิ เกดิ ขน้ึ หรอื ไม่ การคน้ หาภาพยอ้ นหลงั ท�ำ ใหร้ วู้ า่ มภี าพทคี่ น้ หาอยใู่ น
ฐานข้อมูลภาพแห่งใดแห่งหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งแห่ง (ซ่ึงมีเป็นพันล้านภาพ) หรือไม่ หากการ
ค้นหาภาพย้อนหลังพบว่าภาพน้ันมีอยู่ก่อนเกิดเหตุการณ์ที่กล่าวถึง นี่คือสิ่งผิดปกติที่สังเกตได้
อย่างชัดเจน และมีแนวโน้มว่าภาพน้ันถูกนำ�กลับมาใช้ใหม่หลังจากถูกใช้ในเหตุการณ์ก่อนหน้า
แตแ่ มว้ ่าจะคน้ หาไมพ่ บ กไ็ มไ่ ด้หมายความวา่ ภาพนน้ั เปน็ ภาพตน้ ฉบับ และยังคงตอ้ งตรวจสอบ
เพิ่มเติม

23 วิดีโอน้ีซ่ึงอ้างว่าเป็นหลกั ฐานของเหตกุ ารณ์นำ้�ทว่ มท่ีสนามบินเบงกาลรู ใู นอินเดยี ความจริงแลว้ เป็นวิดโี อเกา่ จากเหตุการณน์ �ำ้ ท่วม
สนามบนิ ท่เี ม็กซโิ ก https://www.thequint.com/news/webqoof/fake-video-claiming-bengaluru-airport-was-flooded-is-
from-mexico [เข้าถึงเมอื่ 22 เมษายน พ.ศ. 2561].

24 ปัญญาประดิษฐ์และเครอื่ งมือตดั ต่อวดิ ีโอข้ันสูงทำ�ให้บอกวา่ เปน็ วดิ ีโอเทจ็ ไดย้ าก ดังท่วี ดิ ีโอของบารกั โอบามา ช้ินนแ้ี สดงใหเ้ ห็น https://
www.youtube.com/watch?v=AmUC4m6w1wo [เขา้ ถึงเม่ือ 3 เมษายน พ.ศ. 2561].

25 สงั เกตวา่ เคร่ืองมือขา่ วยังคงมกี ารพฒั นาอยา่ งตอ่ เนื่องและผูส้ อนและผ้เู รยี นสามารถคน้ หาและทดลองใช้เทคโนโลยีและเทคนคิ เหลา่ นไี้ ปด้ว
ยกัน

26 ดูไดท้ ี่ https://inteltechniques.com/osint/facebook.html. [เข้าถงึ เมื่อ 3 เมษายน พ.ศ. 2561].
27 Joseph (2018). Op cit.
28 How to do a Google Reverse Image Search: https://support.google.com/websearch/answer/1325808?hl=en [เข้าถงึ เม่อื

22/04/2018].
29 ไปท่ี https://www.tineye.com/ [เขา้ ถึงเมื่อ 22 เมษายน พ.ศ. 2561].
30 http://squobble.blogspot.co.uk/2009/12/chromeeye-tineye-extension-for-google.html [เขา้ ถึงเม่อื 22/04/2018].

- 121 -

YouTube Data Viewer: ตอนนี้ยังไม่มี ‘การค้นหาวิดีโอย้อนหลัง’ ท่ีเปิดให้ใช้โดยท่ัวไป
แต่เครื่องมืออย่าง YouTube Data Viewer ของ Amnesty31 InVID32 และ NewsCheck33
สามารถคน้ หาภาพขนาดยอ่ ของวดิ โี อในยทู บู ซงึ่ น�ำ มาใชค้ น้ หาภาพยอ้ นหลงั เพอื่ ดวู า่ วดิ โี อนเี้ คยถกู
อัปโหลดมาแลว้ หรือไม่ (เครอ่ื งมอื เหล่าน้ยี งั แสดงเวลาทอ่ี ัปโหลดอย่างถกู ตอ้ งชัดเจน)
EXIF Viewer: EXIF คือข้อมูลอภิพันธ์ุที่ฝังอยู่ในภาพ ประกอบด้วยข้อมูลที่สร้างข้ึนโดยกล้อง
ดิจิทัลและกล้องสมาร์ตโฟน ณ ตำ�แหน่งที่บันทึกภาพ ซ่ึงรวมถึงวันและเวลาท่ีถูกต้อง สถานที่
อุปกรณ์ และค่าแสง ทำ�ให้ข้อมูล EXIF มีประโยชน์อย่างยิ่งในกระบวนการตรวจสอบ
ความจรงิ แตข่ อ้ จ�ำ กดั ทสี่ �ำ คญั กค็ อื สอ่ื สงั คมตดั ขอ้ มลู เหลา่ นอี้ อกไปจากภาพ หมายความวา่ ภาพท่ี
ส่งต่อกันทางทวติ เตอร์หรอื เฟซบ๊กุ จะไม่มขี ้อมูล EXIF อย่างไรก็ตาม หากติดต่อผ้อู ปั โหลดภาพได้
และมไี ฟลภ์ าพตน้ ฉบบั เราจะใชข้ ้อมูล EXIF ในการตรวจสอบภาพได้ ส่งิ ส�ำ คัญกค็ ือข้อมลู EXIF
เป็นข้อมลู ทีแ่ ก้ไขได้ ดงั น้ัน การตรวจสอบเพมิ่ เตมิ จึงเป็นสง่ิ จำ�เป็น
ผู้เรียนจะได้เรียนรู้ตั้งแต่เทคนิคขั้นพ้ืนฐานไปจนถึงเทคนิคข้ันสูง รวมท้ังแหล่งข้อมูลสำ�หรับอ่าน
เพิ่มเตมิ และกรณศี กึ ษา เทคนคิ ดังกล่าว ไดแ้ ก่

Zพิกัดสถานที่: พิกัดสถานที่คือกระบวนการในการระบุว่าภาพหรือวิดีโอถูกบันทึก ท่ีใด
ซ่ึงทำ�ได้แบบตรงไปตรงมาถ้ามีข้อมูล เช่น ข้อมูล EXIF จากโทรศัพท์มือถือมักจะบอก
พกิ ัด และเนื้อหาในสอื่ สังคม (เช่น อินสตาแกรม เฟซบกุ๊ และทวิตเตอร)์ ก็มีการบอกพิกดั
เป็นบางครั้ง (แม้จะต้องตระหนักด้วยว่าข้อมูลเหล่านี้สามารถแก้ไขได้ ซ่ึงอาจนำ�ไปสู่
ความเขา้ ใจทผ่ี ดิ ) การใชพ้ กิ ดั สถานทมี่ กั ตอ้ งตรวจสอบลกั ษณะของภาพและสถานทสี่ �ำ คญั
ในภาพกับภาพถ่ายดาวเทียม ภาพแบบพาโนรามาจากตำ�แหน่งต่าง  ๆ ตามท้องถนน
และเน้ือหาท่ีเป็นภาพอ่ืน  ๆ จากแหล่งข้อมูลต่าง  ๆ (เช่น ภาพอื่นที่โพสต์ในทวิตเตอร์
อินสตาแกรม เฟซบ๊กุ และยูทบู )

Z การพสิ จู นห์ ลกั ฐานดว้ ยสภาพอากาศ: แหลง่ ขอ้ มลู อยา่ ง WolframAlpha34 สามารถบอก
ข้อมูลสภาพอากาศในอดีตได้ ทำ�ให้ตรวจสอบได้ว่าสภาพอากาศที่เห็นในภาพตรงกับ
สภาพอากาศที่มีการบันทึกไว้หรือไม่ (ตัวอย่างเช่น ในวิดีโอมีฝนตกในวันท่ีแหล่งข้อมูล
สภาพอากาศชีว้ า่ ไม่มีฝนตกหรือไม)่

31 How to use Amnesty’s YouTube Data Viewer: https://firstdraftnews.org/en/education/curriculum-resource/youtube-
data-viewer/ [เข้าถงึ เมอื่ 22/04/2018].

32 InVid video verification tool available at: http://www.invid-project.eu/tools-and-services/invid-verification-plugin/
[เข้าถึงเมอื่ 22/04/2018].

33 About NewsCheck: https://firstdraftnews.org/launching-new-chrome-extension-newscheck/ [เข้าถงึ เม่อื 22/04/2018].
34 WolframAlpha tools available at https://www.wolframalpha.com/examples/science-and-technology/weather-and-

meteorology/ [เข้าถึงเม่ือ 22/04/2018].

- 122 -

Zการวเิ คราะหแ์ สงเงา: การสบื สวนภาพหรอื วดิ โี ออกี วธิ หี นง่ึ คอื ตรวจสอบความสอดคลอ้ ง หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ
กันของแสงเงาของวัตถุในภาพที่สังเกตได้ (เช่น เงาอยู่ในที่ท่ีควรอยู่หรือไม่ มีเงาส่วน
ใดที่ไม่ตรงกบั ทศิ ทางของแหลง่ ท่ีมาของแสงหรอื ไม)่

Z การพสิ จู นห์ ลกั ฐานภาพ: เครอ่ื งมอื บางอยา่ งสามารถตรวจพบความไมส่ อดคลอ้ งกนั ของ
ขอ้ มลู ในภาพ ซงึ่ หมายความว่าอาจมกี ารดดั แปลงเกดิ ขึน้ ความแมน่ ยำ�ของเทคนคิ นขี้ ้นึ
อยู่กับบริบทและการใช้งานเป็นหลัก แต่เคร่ืองมืออย่าง Forensically35 Photo
Forensics36 และ IziTru37 ใช้วิธีตรวจสอบการโคลน (clone detection) และการ
วิเคราะห์ระดบั ความผิดพลาด ซึ่งให้ขอ้ มลู รายละเอียดที่เปน็ ประโยชน์

เปา้ หมายของหนว่ ยการเรียนรู้

Zเพอื่ เพม่ิ ความตระหนกั รเู้ กยี่ วกบั บทบาทของเนอ้ื หาทผี่ ลติ โดยผใู้ ชง้ าน (User Generated
Content: UGC) ท่ีส่งต่อกันในสื่อสังคมในการทำ�ข่าวยุคปัจจุบัน ควบคู่กับความเสี่ยง
และหลมุ พรางของการพง่ึ พาเน้ือหาจากผใู้ ช้งาน

Zเพ่ือเข้าใจความสำ�คัญของการเข้าถึงและการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต้นทางของเรื่อง
และกระบวนการในการเข้าถงึ และการใชข้ ้อมูลดังกลา่ วโดยรวม

Z เพมิ่ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั ความจ�ำ เปน็ ของการตรวจสอบเนอ้ื หาทผ่ี ลติ โดยผใู้ ชง้ าน และตดั
เน้อื หาที่เปน็ เทจ็ และท�ำ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผิดรูปแบบตา่ ง ๆ ออก

Zเพือ่ ใหร้ จู้ กั วิธีการเบ้อื งต้นในการตรวจสอบภาพและวดิ โี อ รวมท้ังสามารถหักลา้ งเนอื้ หา
ภาพท่ถี กู สร้างขึน้

ผลการเรียนรู้

1. เข้าใจบทบาทของเนอ้ื หาท่ีผลิตโดยผู้ใชง้ านในการท�ำ ข่าวยุคปจั จบุ นั มากขึ้น
2. เข้าใจความจ�ำ เป็นของการตรวจสอบความจริงของเนอื้ หาดิจิทัล
3. มีความรู้ความเข้าใจทางเทคนิคและวิธีการใช้เคร่ืองมือในการตรวจสอบแหล่งข้อมูล

ตน้ ฉบบั
4. มีความสามารถในการตรวจสอบความจริงเบอ้ื งตน้ เกี่ยวกับเน้ือหาทีเ่ ปน็ ภาพและวดิ ีโอ
5. รจู้ กั เทคนคิ ขน้ั สงู และขอ้ มลู อภพิ นั ธท์ุ ส่ี ามารถน�ำ มาใชใ้ นกระบวนการตรวจสอบความจรงิ

35 Wagner, J. (2015). Forensically, Photo Forensics for the Web. [Blog] 29a.ch. Available at: https://29a.ch/2015/08/16/
forensically-photo-forensics-for-the-web [เข้าถงึ เมอื่ 22/04/2018].

36 เคร่อื งมือ Fotoforensics เข้าถึงไดท้ าง http://fotoforensics.com/ [เขา้ ถงึ เม่ือ 2 เมษายน พ.ศ. 2561].
37 เครื่องมือ Izitru เขา้ ถึงไดท้ าง http://pth.izitru.com/ [เขา้ ถึงเมอ่ื 22 เมษายน พ.ศ. 2561].

- 123 -

6. รถู้ งึ ความจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งขออนญุ าตใชเ้ นอ้ื หาทผี่ ลติ โดยผใู้ ชง้ านและเนอ้ื หาออนไลนอ์ นื่  ๆ
ตลอดจนรู้วา่ ตอ้ งท�ำ อยา่ งไร

รูปแบบของหน่วยการเรียนรู้

หนว่ ยการเรยี นรนู้ ใ้ี ชส้ �ำ หรบั การบรรยายภาคทฤษฎคี วามยาว 60 นาที และการสาธติ วธิ กี ารปฏบิ ตั ิ
ทแี่ บง่ ออกเปน็ 3 ชว่ ง ความยาวรวม 120 นาที อยา่ งไรกต็ าม ลกั ษณะของหวั ขอ้ เหมาะส�ำ หรบั การ
ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารทม่ี ผี เู้ ขา้ อบรมเปน็ ศนู ยก์ ลาง และการฝกึ ปฏบิ ตั จิ รงิ ประกอบการสาธติ วธิ กี ารซงึ่ ตอ้ ง
ใช้เวลานาน
ภาคทฤษฎี: ใหอ้ อกแบบการบรรยายสำ�หรับกำ�หนดเวลาข้างตน้ เกี่ยวกับการตรวจสอบความจริง
ในฐานะสว่ นหนงึ่ ของวธิ กี ารท�ำ ขา่ วตามหลกั วารสารศาสตรย์ คุ ดจิ ทิ ลั ทยี่ งั อยใู่ นระหวา่ งการพฒั นา
ภาคปฏบิ ตั ิ: ภาคปฏบิ ตั นิ าน 120 นาที จัดการสาธติ แบบสือ่ สารสองทาง และฝกึ ทดลองปฏิบตั ิ
โดยอาจแบง่ ออกเป็น 3 ชว่ ง
ผสู้ อนควรท�ำ ตามทกี่ ลา่ วไวข้ า้ งตน้ และใชส้ ไลดท์ ดี่ าวนโ์ หลดไดจ้ ากลงิ กด์ า้ นลา่ ง ดขู อ้ สงั เกตส�ำ หรบั
ผู้สอนท่ีแนบมาในสไลด์ดว้ ย

1) การระบแุ ละการตรวจสอบแหล่งท่มี า: การตรวจสอบประวัติทางส่อื สงั คมของแหล่ง
ขอ้ มลู https://en.unesco.org/sites/default/files/unesco_fake_news_
curriculum_ verification_digital_sources_one.pdf

2) การตรวจสอบภาพเบื้องต้น ประเภทของภาพปลอมทพ่ี บได้ทวั่ ไปและข้นั ตอน
การพิสูจน์ความจริงเบื้องตน้ https://en.unesco.org/sites/default/files/unesco_
fake_news_ curriculum_verification_digital_sources_two.pdf

3) การตรวจสอบความจริงข้ันสงู วธิ วี เิ คราะหเ์ นือ้ หา ประกอบดว้ ยการวเิ คราะห์ข้อมูล
อภิพนั ธ์แุ ละพิกัดสถานที่ https://en.unesco.org/sites/default/files/ unesco_
fake_news_curriculum_verification_digital_sources_three.pdf

- 124 -

การเช่ือมโยงแผนการเรยี นการสอนสู่ผลการเรียนรู้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ

ก. ภาคทฤษฎี

แผนหน่วยการเรียนรู้ จ�ำ นวนชว่ั โมง ผลการเรยี นรู้
การบรรยาย: พน้ื ฐานและทฤษฎขี องวธิ ีการตรวจสอบ 1 ชวั่ โมง 1, 2, 6
ความจริงและพฒั นาการ

ข. ภาคปฏิบัติ

แผนหน่วยการเรียนรู้ จำ�นวนชวั่ โมง ผลการเรียนรู้

i) การตรวจสอบแหลง่ ทม่ี า - สอื่ สังคม (แบบฝึกหดั ) 30 นาที 2, 3
ii) การค้นหาภาพย้อนหลงั (สาธติ และฝกึ ปฏิบตั ิ) 15 นาท 2, 3, 4
ii) วเิ คราะหว์ ิดโี อ (สาธิต) 30 นาท 2, 3, 4
iii) แนะน�ำ ประเภทของข้อมูลอภพิ ันธ์ุ (สาธติ ) 15 นาที 2, 5
iii) แนะนำ�ประเภทของขอ้ มลู อภพิ ันธุ์ (สาธิต) 20 นาท 2, 4, 5
iii) สภาพอากาศ เงา และการตรวจสอบหลักฐานภาพ (สาธิต) 10 นาที 2, 4, 5

งานมอบหมาย

Z ผเู้ รยี นควรออกแบบขนั้ ตอนการตรวจสอบความจรงิ ของแหลง่ ขอ้ มลู โดยใชส้ ไลดแ์ ผน่ ที่ 8
ในสไลด์ชุดแรก โดยอาจใชบ้ ทบาท สถานทท่ี ำ�งาน หรอื องค์กรข่าวจริงท่ีคุ้นเคย

Zเลือกบัญชีสื่อสังคมของบุคคลที่มีชื่อเสียง และให้ผู้เรียนใช้เคร่ืองมือที่สาธิตให้ชมเพื่อให้
ตดั สินวา่ เป็นบัญชีจรงิ หรอื ไม่ และระบุบัญชที ่เี ก่ยี วขอ้ ง แตเ่ ปน็ บัญชีปลอม

Z เลือกและแชร์ไฟล์ภาพในห้องเรียน และให้ผู้เรียนหาช้ินส่วนข้อมูลโดยนำ�ภาพเข้า
โปรแกรม EXIF ออนไลน์และเครอื่ งมือค้นหาภาพยอ้ นหลังเพอื่ หาทมี่ าของภาพ

- 125 -

เอกสารประกอบ

สไลด์

1. https://en.unesco.org/sites/default/files/unesco_fake_news_curriculum_
verification_digital_sources_one.pdf

2. https://en.unesco.org/sites/default/files/unesco_fake_news_curriculum_
verification_digital_sources_two.pdf

3. https://en.unesco.org/sites/default/files/unesco_fake_news_curriculum_
verification_digital_sources_three.pdf

เอกสารสำ� หรับอ่านเพมิ่ เติม

การพิสจู น์แหล่งขอ้ มลู

Ayala Iacucci, A. (2014). Case Study 3.1: Monitoring and Verifying During the Ukrainian
Parliamentary Election, Verification Handbook. European Journalism Centre.
Available at: http://verificationhandbook.com/book/chapter3.1.php. [เขา้ ถึงเมอ่ื
04/04/2018].

Bell, F. (2015). Verification: Source vs. Content, First Draft News. Available at:
https://medium.com/1st-draft/verification-source-vs-content-b67d6eed3ad0.
[เข้าถึงเมือ่ 04/04/2018].

Carvin, A. (2013), Distant Witness, CUNY Journalism Press. Available at: http://press.
journalism.cuny.edu/book/distant-witness-social-media-the-arab-spring-and-a-
journalism-revolution/ [เข้าถงึ เม่ือ 04/04/2018].

Toler, A. (2017). Advanced guide on verifying video content. Available at: https://
www.bellingcat.com/resources/how-tos/2017/06/30/advanced-guide-verifying-
videocontent/. [เขา้ ถงึ เมื่อ 04/04/2018].

Trewinnard, T. (2016). Source verification: Beware the bots, First Draft News.
Available at: https://firstdraftnews.com/source-verification-beware-the-bots/.
[เข้าถงึ เม่อื 04/04/2018].

- 126 -

วดิ ีโอ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ

Real or Fake: How to verify what you see on the internet. (2015). France24.
Available at https://www.youtube.com/watch?v=Q8su4chuU3M&feature=yout
[เข้าถึงเมื่อ 04/04/2018].

Knight, W. (2018). The Defense Department has produced the first tools for
catching deepfakes, MIT Technology Review. https://www.technologyreview.
com/s/611726/thedefense-department-has-produced-the-first-tools-for-
catching-deepfakes/ [เข้าถึงเมอ่ื 23/08/2018].

สอ่ื พยานที่รู้เหน็ เหตกุ ารณ์

Brown, P. (2015). A global study of eyewitness media in online newspaper sites.
Eyewitness Media Hub. Available at http://eyewitnessmediahub.com/uploads/
browser/files/Final%20 Press%20Study%20-%20eyewitness%20media%20hub.
pdf. [เขา้ ถึงเม่ือ 04/04/2018].

Hermida, A. (2013). #JOURNALISM. Digital Journalism, 1(3), pp.295-313.
Koettl, C. (2016, January 27). Citizen Media Research and Verification: An Analytical

Framework for Human Rights Practitioners. Centre of Governance and Human
Rights, University of Cambridge. Available at https://www.repository.cam.ac.uk/
handle/201810/253508. [เขา้ ถงึ เมื่อ 04/04/2018].
Kuczerawy, A. (2016, December 16). Pants on fire: content verification tools and
other ways to deal with the fake news problem. Available at https://revealproject.
eu/ pants-on-fire-content-verification-tools-and-other-ways-to-deal-with-the-
fake-newsproblem/ [เขา้ ถงึ เม่ือ 22/01/2018].
Novak, M. (n.d.). 69 Viral Images From 2016 That Were Totally Fake. Available
at https://gizmodo.com/69-viral-images-from-2016-that-were-totally-
fake-1789400518. [เขา้ ถงึ เมื่อ 12/11/2017].
Online News Association: UGC Ethics Guide https://ethics.journalists.org/topics/
user-generated-content/ [เขา้ ถงึ เมือ่ 18/4/2018].

- 127 -

Pierre-Louis, K. (2017). You’re probably terrible at spotting faked photos. Available at
https://www.popsci.com/fake-news-manipulated-photo. [เขา้ ถงึ เมอื่ 12/11/2017].

Rohde, D. (2013). Pictures That Change History: Why the World Needs
Photojournalists. The Atlantic. Available at https://www.theatlantic.com/
international/archive/2013/12/ pictures-that-change-history-why-the-world-
needs-photojournalists/282498/. [เขา้ ถึงเม่อื 03/04/2018].

Shapiro, I., Brin, C., Bédard-Brûlé, I. & Mychajlowcz, K. (2013) Verification as a Strategic
Ritual: How journalists retrospectively describe processes for ensuring accuracy,
published in Journalism Practice, 7(6).

Smidt, J. L., Lewis, C. & Schmidt, R. (2017). Here’s A Running List Of Misinformation
About Hurricane Irma. Available at https://www.buzzfeed.com/janelytvynenko/
irmamisinfo/. [เข้าถึงเมอ่ื 23/10/2017].

Wardle, C. (2015). 7/7: Comparing the use of eyewitness media 10 years on. Available
at https://firstdraftnews.com:443/77-comparing-the-use-of-eyewitness-media-
10years-on/. [เขา้ ถึงเมือ่ 12/11/2017].

Wardle, C., Dubberley, S., & Brown, P. (2017). Amateur Footage: A Global Study
of User-Generated Content in TV and Online News Output. Available at http://
usergeneratednews.towcenter.org/how-when-and-why-ugc-is-integrated-into-
newsoutput/. [เขา้ ถึงเมอื่ 23/10/2017].

Zdanowicz, C. (2014). “Miracle on the Hudson” Twitpic changed his life. Available
at http://www.cnn.com/2014/01/15/tech/hudson-landing-twitpic-krums/index.
html. [เขา้ ถงึ เม่ือ 12/11/2017].

การค้นหาภาพย้อนหลัง

First Draft News. Visual Verification Guide - Photos -. Available at https://
firstdraftnews.org/wp-content/uploads/2017/03/FDN_verificationguide_photos.
pdf?x47084. [เข้าถงึ เมอ่ื 06/11/2017].

First Draft News. Visual Verification Guide - Video -. Available at https://firstdraftnews.

- 128 -

org/wp-content/uploads/2017/03/FDN_verificationguide_videos.pdf?x47084. [เขา้ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 6: การตรวจสอบความจริงในสื่อสงั คม: การประเมินแหล่งท่มี าและเน้อื หาภาพ
ถงึ เมื่อ 06/11/2017].
Suibhne, E. (2015). Baltimore “looting” tweets show importance of quick and easy
image checks. Available at https://medium.com/1st-draft/baltimore-looting-
tweets-showimportance-of-quick-and-easy-image-checks-a713bbcc275e. [เข้า
ถงึ เมอื่ 06/11/2017].
Seitz, J. (2015). Manual Reverse Image Search With Google and TinEye. Available
at https://www.bellingcat.com/resources/how-tos/2015/05/08/manual-reverse-
imagesearch-with-google-and-tineye/. [เขา้ ถึงเมอ่ื 06/11/2017].

ขอ้ มูลผูช้ มยูทูบ

First Draft News. (n.d.). Using YouTube Data Viewer to check the upload time of
a video -. Available at https://firstdraftnews.com:443/resource/using-youtube-
data-viewer-tocheck-the-upload-time-of-a-video/. [เข้าถึงเมื่อ 13/11/2017].

Toler, A. (2017). Advanced Guide on Verifying Video Content. Available at https://
www.bellingcat.com/resources/how-tos/2017/06/30/advanced-guide-verifying-
videocontent/. [เข้าถงึ เมือ่ 13/11/2017].

การวเิ คราะหข์ ้อมลู อภพิ ันธ์ุ

Honan, M. (2012). How Trusting in Vice Led to John McAfee’s Downfall. Available
at https://www.wired.com/2012/12/how-vice-got-john-mcafee-caught/. [เขา้ ถงึ
เมอื่ 03/04/2018].

Storyful. (2014). Verifying images: why seeing is not always believing. Available at
https://storyful.com/blog/2014/01/23/verifying-images-why-seeing-is-not-always-
believing/. [เขา้ ถงึ เมื่อ 13/11/2017].

Wen, T. (2017). The hidden signs that can reveal a fake photo. Available at http://
www.bbc.com/future/story/20170629-the-hidden-signs-that-can-reveal-if-a-
photo-is-fake. [accessed 12/11/2017].

- 129 -

การวเิ คราะห์เนอื้ หา

Ess, H. van. (2017). Inside the trenches of an information war..Medium. Available
at https://medium.com/@henkvaness/how-to-date-a-mysterious-missile-
launcher78352ca8c3c3. [เขา้ ถงึ เมอ่ื 03/04/2018].

Farid, H. (2012a). Image Authentication and Forensics | Fourandsix Technologies
- Blog - A Pointless Shadow Analysis. Available at http://www.fourandsix.com/
blog/2012/9/4/apointless-shadow-analysis.html. [เข้าถึงเมอ่ื 03/04/2018].

Farid, H. (2012b). Image Authentication and Forensics | Fourandsix Technologies
- Blog - The JFK Zapruder Film. Available at http://www.fourandsix.com/
blog/2012/9/11/the-jfkzapruder-film.html. [เข้าถึงเมอ่ื 03/04/2018].

Farid, H. (n.d.-c). Photo Forensics: In the Shadows - Still searching - Fotomuseum
Winterthur. Available at http://www.fotomuseum.ch/en/explore/still-searching/
articles/26425_photo_forensics_in_the_shadows. [เขา้ ถงึ เม่อื 03/04/2018].

First Draft News. (2016). Watch Eliot Higgins demonstrate advanced verification
techniques at #FDLive. Available at https://firstdraftnews.com:443/watch-eliot-
higginsdiscuss-advanced-verification-and-geolocation-techniques-at-fdlive/. [เขา้
ถึงเมอื่ 03/04/2018].

Higgins, E. (2015, July 24). Searching the Earth: Essential geolocation tools for
verification. Available at https://medium.com/1st-draft/searching-the-earth-
essentialgeolocation-tools-for-verification-89d960bb8fba. [เขา้ ถงึ เมอื่ 03/04/2018].

แหล่งขอ้ มูลออนไลน์

First Draft Interactive: Geolocation Challenge. Available at https://firstdraftnews.
com/ resource/test-your-verification-skills-with-our-geolocation-challenge/. [เขา้
ถงึ เมอื่ 03/04/2018].

First Draft Interactive: Observation Challenge. Available at https://firstdraftnews.
com/ resource/test-your-verification-skills-with-our-observation-challenge/. [เขา้
ถงึ เมื่อ 03/04/2018].

First Draft Online Verification Course. Available at https://firstdraftnews.org/learn/
[เขา้ ถงึ เม่อื 03/04/2018].

- 130 -

การต่อ่ สู้้�กับั การล่่วงละเมิดิ ใน หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
ช่่องทางออนไลน์์ : เมื่่�อนักั ข่า่ ว
และแหล่่งข่า่ วตกเป็น็ เป้้าหมาย

โดยจูลี โพเซ็ตติ

หน่่วยการเรีียนรู้้�ที่่� 7

- 131 -

สาระสำ� คญั

ปญั หาของขอ้ มลู เทจ็ และขอ้ มลู บดิ เบือน1 ท่ีบอ่ นทำ�ลายความน่าเชื่อถอื ของวงการขา่ วและข้อมลู
ท่ีเช่ือถือได้ทวีความรุนแรงข้ึนอย่างมากในยุคส่ือสังคม ผลกระทบมีต้ังแต่เจตนาพุ่งเป้าหมายไป
ยังนักข่าวและสำ�นักพิมพ์ออนไลน์ ตลอดจนแหล่งข่าวที่ต้องการพิสูจน์ความจริงและเผยแพร่
ข้อมูลและความคิดเห็น ความเสี่ยงท่ีมาพร้อมกันอาจย่ิงเป็นการทำ�ลายความน่าเชื่อถือของ
วงการข่าวและความปลอดภยั ของนักข่าวและแหลง่ ขา่ วมากยิ่งขึ้น
ในบางครั้งนักข่าวก็ตกเป็นเป้าหมายการหลอกลวงท่ีเรียกว่า ‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’2 และ ‘การ
ก่อกวน’3 ซ่ึงมีเจตนาที่จะ “ทำ�ให้เข้าใจผิด ให้ข้อมูลผิด สร้างความสับสน หรือทำ�อันตราย
นักข่าว”4 ด้วยการส่งต่อข้อมูลข่าวสารที่ต้องการสร้างความไขว้เขวหรือชักนำ�นักข่าวและผู้ที่
อาจเป็นแหลง่ ข่าวไปในทิศทางท่ีผิด หรือไมเ่ ชน่ นนั้ กล็ อ่ ลวงใหน้ ักขา่ วเผยแพร่ข้อมูลขา่ วสารทีไ่ ม่
ถกู ตอ้ ง เชน่ ดว้ ยการตคี วามขอ้ เทจ็ จรงิ ผดิ  ๆ หรอื สง่ ผลใหน้ กั ขา่ ว (และองคก์ รขา่ วทน่ี กั ขา่ วสงั กดั )
เส่ือมเสียชื่อเสียงเมื่อปรากฏว่าข้อความนั้นเป็นเท็จ บางคร้ังนักข่าวก็ถูกข่มขู่ว่าจะเปิดเผยและ
ละเมิดความเป็นสว่ นตวั หรอื เข้าไปดูขอ้ มลู ทไ่ี ม่เปิดเผยของแหลง่ ขา่ วเพื่อให้ตกอยใู่ นอันตราย
นอกจากน้ียังมีปรากฏการณ์ท่ีรัฐบาลเป็นผู้ใช้ ‘กลุ่มสร้างความเกลียดชังบนส่ือดิจิทัล’ เพ่ือสยบ
ข่าววิพากษ์วิจารณ์และสกัดก้ันเสรีภาพในการแสดงออก5 รวมทั้งมีปัญหาสำ�คัญเร่ือง
การล่วงละเมิดและความรุนแรงบนโลกออนไลน์ (บางคร้ังเรียกว่า ‘การก่อกวน’6 ซ่ึงยังหา
ข้อสรปุ ไมไ่ ด้) โดยเฉพาะกบั ผหู้ ญิง และมกั จะมีลักษณะของการเหยยี ดเพศ
สิ่งเหล่าน้ีแสดงให้เห็นว่านักข่าว แหล่งข่าว และนักวิจารณ์ตกอยู่ในกระแสการล่วงละเมิดทาง
ออนไลน์ การกล่าวหาด้านการปฏิบัติหน้าท่ี การถูกนำ�อัตลักษณ์ไปล้อเลียนโดยปราศจากมูล
ความจริง หรือมีความเสี่ยงต่อภัยคุกคามที่เน้นสร้างความอับอายและบ่อนทำ�ลายความมั่นใจ

1 ดูคำ�นิยามจาก Wardle, C. & Derakhshan, H. (2017). Information Disorder: Toward an Interdisciplinary Framework for
Research and Policymaking (Council of Europe). https://rm.coe.int/information-disorder-toward-an-interdisciplinary-
framework-for-researc/168076277c [เข้าถงึ เมอ่ื 30/03/2018].

2 ‘แอสโตรเทริ ์ฟฟงิ ’ (Astroturfing) เปน็ ค�ำ ท่มี าจากแบรนด์หญา้ เทียมสำ�หรบั ปูพ้นื ภายนอกอาคารเพอ่ื ใหด้ เู หมือนหญา้ จรงิ
สำ�หรบั ในบรบิ ทของข้อมูลเท็จ คำ�นี้ใช้เพือ่ หมายถึงการเผยแพร่ขอ้ มลู ทไ่ี มเ่ ป็นความจรงิ โดยมเี ป้าหมายท่คี นทว่ั ไปและนักข่าว
เพอื่ ให้เกิดความไขวเ้ ขวหรอื เข้าใจผดิ โดยเฉพาะในรูปของ ‘หลกั ฐาน’ การไดร้ บั ความนยิ มของคน แนวคิด หรือนโยบายทปี่ ลอมขึน้ มา
ดูความหมายเพม่ิ เติมใน Technopedia: https://www.techopedia.com/definition/13920/astroturfing [เขา้ ถงึ เมือ่ 20 มนี าคม
2561].

3 Coco, G. (2012). Why Does Nobody Know What Trolling Means? A quick reference guide for the media at Vice.com.
https://www.vice.com/en_au/article/ppqk78/what-trolling-means-definition-UK-newspapers [เขา้ ถงึ เม่ือ 30/03/2018].

4 Posetti, J. (2013). The ‘Twitterisation’ of investigative journalism in S. Tanner & N. Richardson (Eds.), Journalism
Research and Investigation in a Digital World (pp. 88-100): Oxford University Press, Melbourne. http://ro.uow.edu.au/
cgi/viewcontent. cgi?article=2765&context=lhapapers [เข้าถึงเมอ่ื 30/03/2018].

5 Riley M, Etter, L and Pradhan, B (2018) A Global Guide To State-Sponsored Trolling, Bloomberg: https://www.
bloomberg.com/features/2018government-sponsored-cyber-militia-cookbook/ [เข้าถงึ เมอ่ื 21/07/2018].

6 หมายเหต:ุ ‘การก่อกวน’ (Trolling) ทีใ่ ชเ้ กีย่ วกบั อินเทอรเ์ น็ต หมายถงึ การกระท�ำ ต้ังแตก่ ารลอ้ กันเล่น การหลอกลวง การแหย่
โดยมีเจตนาหลอกลวง แต่ปจั จุบันมกี ารนำ�คำ�น้ไี ปใช้เพื่อหมายความรวมถงึ การกระท�ำ ทีเ่ ปน็ การล่วงละเมดิ ทางออนไลน์ท้งั หมด
ซ่งึ ก่อให้เกิดปญั หา เพราะความหมายทคี่ รอบคลมุ กว้างเกนิ ไปอาจเปน็ การลดทอนความรนุ แรงของการลว่ งละเมิดทางออนไลน์

- 132 -

ของนกั ขา่ ว บน่ั ทอนความนา่ เชอ่ื ถอื เบยี่ งเบนความสนใจ และน�ำ ไปสกู่ ารเลกิ รายงานขา่ วในทสี่ ดุ 7 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
ขณะเดยี วกัน ในหลายพืน้ ท่มี กี ารทำ�รา้ ยร่างกายเพ่อื หยุดยัง้ เสยี งวพิ ากษ์วิจารณ์ และในปจั จบุ นั
ซ่ึงทำ�ใหม้ ีอันตรายมากขนึ้ คอื แรงส่งเสริมจากการยยุ งและการขม่ ขู่ทางออนไลน์
นักข่าวอาจตกเป็นเหยื่อของแผนการเผยแพร่ข้อมูลเท็จโดยตรง แต่พวกเขาก็กำ�ลังตอบโต้ โดย
นอกจากการเสรมิ สรา้ งแนวป้องกนั ในสอ่ื ดจิ ิทัล หลายคนใชว้ ธิ กี ารเปดิ โปงการโจมตแี ละผกู้ ระทำ�
การอยา่ งจริงจงั นอกจากน้ี การมีส่วนร่วมในโครงการต่าง ๆ เพื่อการรเู้ ทา่ ทันสือ่ และสารสนเทศ
ร่วมกับองค์กรไม่แสวงหาผลกำ�ไรในด้านน้ียังทำ�ให้องค์กรข่าวมีบทบาทในการให้ความรู้กับ
ประชาชนเก่ียวกับความสำ�คัญของการส่งเสริมและการปกป้องการทำ�ข่าวตามหลัก
วารสารศาสตร์

เค้าโครงเน้อื หา

แตกประเด็น

1) รจู้ กั และโตต้ อบ ‘โทรลลิง’ และ ‘แอสโตรเทิรฟ์ ฟิง’8
ปรากฏการณ์นี้ประกอบด้วยการสร้างตัวละครและเหตุการณ์ขึ้นมาเพ่ือหลอกนักข่าวและผู้รับ
ข่าวสาร ร่วมกับการจัดแผนการรณรงค์ทางส่ือสังคมท่ีเลียนแบบปฏิกิริยาตอบรับจริงของคน
ทว่ั ไป ท�ำ ใหย้ ากตอ่ การแยกแยะขา่ วดว่ นและค�ำ บอกเลา่ ของผเู้ หน็ เหตกุ ารณจ์ รงิ ออกจากขา่ วทถี่ กู
กขุ นึ้ มาหรอื ถกู แตง่ เตมิ ขอ้ มลู ผดิ  ๆ เพอ่ื จงใจใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจผดิ หรอื บอ่ นท�ำ ลายความนา่ เชอื่ ถอื
และการปฏิบัติงานของนักข่าวและนักวิจารณ์ออนไลน์อื่น  ๆ ด้วยการวางกับดักล่อให้ส่งต่อ
ข้อมลู ขา่ วสารทไี่ มเ่ ป็นความจริง
ตวั อยา่ งของพฤตกิ รรมเหลา่ น้ี ได้แก่

Z การสรา้ งตวั ละครทเ่ี ปน็ ผเู้ คราะหร์ า้ ยจากภยั พบิ ตั แิ ละผไู้ ดร้ บั บาดเจบ็ จากการกอ่ การรา้ ย
(ดูตัวอย่างเหตุการณ์วางระเบิดในเมืองแมนเชสเตอร9์ ) เพื่อหลอกให้คนส่งต่อเนื้อหาที่
อาจสรา้ งความเสยี หายตอ่ ชอื่ เสยี งและ/หรอื ความนา่ เชอ่ื ถอื ของคนทสี่ ง่ ตอ่ รวมถงึ นกั ขา่ ว
ซง่ึ อาจถูกแทก็ ชือ่ ในระหว่างการส่งต่อ

7 ดูตัวอยา่ งที่ https://www.independent.co.uk/news/world/americas/twitter-maggie-haberman-new-york-times-quits-
social-media-jackdorsey-a8459121.html

8 สำ�หรบั ค�ำ อธิบายของ ‘แอสโตรเทิรฟ์ ฟงิ ’ ทีเ่ ป็นประโยชนก์ บั การเรยี นการสอน ลงิ ก์นม้ี ปี ระโยชนอ์ ยา่ งมาก https://youtu.be/
Fmh4RdIwswE

9 ตัวอยา่ งเหตุวางระเบดิ ทแ่ี มนเชสเตอร์ https://www.theguardian.com/technology/2017/may/26/the-story-behind-the-fake-
manchester-attack-victims [เข้าถึงเมือ่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2561].

- 133 -

Z การตีพิมพ์เน้ือหาท่ีทำ�ให้ดูควรค่าแก่การเป็นข่าวโดยใช้บุคคลที่ไม่มีตัวตน ดังเช่นกรณี
‘สาวเกย์แห่งกรุงดามาสคัส’10 ในปี พ.ศ. 2554 ส่ือระดับโลกพากันรายงานข่าวการ
จบั กมุ บลอ็ กเกอรเ์ ลสเบยี นชาวซเี รยี แตแ่ ทจ้ รงิ แลว้ กลบั เปน็ นกั ศกึ ษาชาวอเมรกิ นั ในตา่ ง
ประเทศ นักข่าวชื่อเจส ฮิลล์ ได้รับมอบหมายให้ทำ�ข่าวน้ีสำ�หรับรายการ พีเอ็ม ของ
สถานีโทรทัศน์ออสเตรเลียน บรอดแคสติง คอร์ปอเรชัน เธอเล่าว่าการตรวจสอบ
ความจริงและวิธีการทำ�ข่าวแบบดั้งเดิมทำ�ให้รายการของเธอไม่ได้เข้าไปพัวพันกับการ
ขยายเร่ืองเท็จ “เราไม่ได้รายงานข่าวการจับกุมบล็อกเกอร์รายน้ีด้วยเหตุผลง่าย  ๆ ข้อ
เดยี ว คอื เราไมส่ ามารถหาใครทเี่ คยเจอเธอตวั เปน็  ๆ ไดเ้ ลยแมส้ กั คนเดยี ว ไมม่ ญี าตพิ น่ี อ้ ง
ไมม่ ีเพ่อื น เราหากันอยู่สองวนั ทง้ั สอบถามจากชาวซเี รยี ทเ่ี ราร้จู กั ให้ชว่ ยหาคนท่ีอาจเคย
ติดต่อกับเธอ แตไ่ มว่ า่ จะใช้วิธไี หนก็เจอทางตนั ไปเสยี หมด ความจริงทเ่ี ราไมส่ ามารถหา
ใครทเ่ี คยพบเธอนเี่ องเปน็ สญั ญาณเตอื นทส่ี �ำ คญั เราจงึ ไมไ่ ดน้ �ำ เสนอขา่ วน้ี … บรรดาส�ำ นกั
ข่าวที่รีบรายงานเร่ืองนี้ไม่ได้ทำ�หน้าที่เบ้ืองต้นในการย้อนกลับไปหาแหล่งท่ีมา พวกนั้น
รายงานขา่ วจากเรือ่ งในบล็อกเพียงอยา่ งเดยี ว”11

เหตุผลอ่ืน  ๆ รวมถึงความต้องการที่จะทำ�ให้นักข่าวเปลี่ยนทิศทางหรือหันเหความสนใจจาก
การสบื สวน ดว้ ยการกระตนุ้ ใหส้ บื สาวเรอ่ื งราวอยา่ งเลอ่ื นลอย จนท�ำ ใหก้ ารรายงานขา่ วตอ้ งสะดดุ
และน�ำ ไปสู่การลม้ เลิกการแสวงหาความจรงิ ในทส่ี ดุ
ตัวอยา่ งของการชักนำ�ไปในทางทผี่ ดิ ไดแ้ ก่

ก Z ารพยายามปรับเปลี่ยนจำ�นวนผู้เข้าร่วมงานการสาบานตนเข้ารับตำ�แหน่งของ
ประธานาธบิ ดี โดนัลด์ ทรมั ป์ ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2560 ดว้ ยการเรยี กว่า ‘ขอ้ เทจ็
จริงทางเลอื ก’12

Z การโฆษณาชวนเชื่อในการทำ�สงครามยุคนี้ เช่น กรณีกลุ่มทาลีบันทวีตรายละเอียดของ
การรบท่เี ปน็ เทจ็ และท�ำ ให้เข้าใจผิดไปใหน้ ักขา่ วในอัฟกานิสถาน13

Zชุดข้อมูลท่ีส่งให้กับนักข่าวซึ่งบางส่วนเป็นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อสาธารณะซ่ึง
ตรวจสอบได้ แตผ่ สมรวมกับข้อมูลบดิ เบือน

10 Young, K. (2017). How to Hoax Yourself: The Case of the Gay Girl in Damascus, November 9th, 2017, in The New
Yorker. https://www.newyorker.com/books/page-turner/how-to-hoax-yourself-gay-girl-in-damascus [เขา้ ถึงเมอ่ื
30/03/2018].

11 Posetti, J. (2013). op cit
12 NBC News (2017) Video: https://www.nbcnews.com/meet-the-press/video/conway-press-secretary-gave-alternative-

facts-860142147643 [เขา้ ถงึ เมอ่ื 30/03/2018].
13 Cunningham, E (2011). In shift, Taliban embrace new media, GlobalPost. https://www.pri.org/stories/2011-05-21/shift-

taliban-embrace-newmedia [เข้าถงึ เม่อื 30/03/2018].

- 134 -

เมื่อไม่นานมานี้ โฆษณาชวนเชือ่ ทางคอมพิวเตอร1์ 4 ท�ำ ให้ความเสย่ี งจาก ‘แอสโตรเทริ ์ฟฟงิ ’ และ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
‘โทรลลงิ ’ ส�ำ หรบั นกั ขา่ วมเี พมิ่ มากขนึ้ โดยเปน็ เรอื่ งของการใชบ้ อตในการกระจายขอ้ มลู ขา่ วสาร
ทเี่ ปน็ เทจ็ และขอ้ ความโฆษณาชวนเชอ่ื ทก่ี �ำ หนดเปา้ หมายไวอ้ ยา่ งดี ใหเ้ หมอื นกบั เหตกุ ารณท์ เี่ กดิ
ขึ้นเองโดยไม่ได้จัดฉาก15 ขณะเดียวกัน เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ก็ถูกนำ�มาใช้เป็นเคร่ืองมือใน
การผลิตวดิ โี อดว้ ย ‘ดีพเฟก’ (deepfake)16 และเน้อื หารปู แบบอน่ื ที่มเี จตนาท�ำ ลายชื่อเสยี งของ
เปา้ หมาย ซง่ึ รวมทงั้ นกั ข่าว โดยเฉพาะนักขา่ วหญงิ
ตวั อย่างของการกระท�ำ เช่นน้ี ได้แก่

Zเว็บข่าวอิสระ Rappler.com และทีมงานที่ส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงตกเป็นเป้าหมายของ
แผนการรณรงค์การล่วงละเมิดทางออนไลน์อย่างไม่หยุดหย่อน “ในฟิลิปปินส์ โทรล
รบั จา้ ง การใหเ้ หตผุ ลแบบผดิ  ๆ ชอ่ งโหวข่ องตรรกะ การพดู ใหร้ า้ ยฝา่ ยตรงขา้ ม เหลา่ นเี้ ปน็
เพียงส่วนหนึ่งของเทคนิคการโฆษณาชวนเชื่อที่มีส่วนในการเปล่ียนมติมหาชนในเร่ือง
สำ�คัญ ๆ”17 (ดกู ารอภปิ รายเพิม่ เติมดา้ นลา่ ง))

Z ครอบครัวมีฐานะท่ีถูกข้อหายึดกุมอำ�นาจหน่วยงานรัฐและนักการเมืองคนสำ�คัญใน
ประเทศแอฟรกิ าใต้ วา่ จา้ งบรษิ ทั เบล พอตทงิ เกอร์ ซงึ่ เปน็ บรษิ ทั ประชาสมั พนั ธใ์ นองั กฤษ
ให้จัดทำ�แผนการรณรงค์โฆษณาชวนเช่ือด้วยการเผยแพร่ข้อความผ่านอาณาจักรของ
ข้อมูลเท็จ ทั้งเว็บไซต์ ส่ือ และกองทัพทวิตเตอร์รับจ้าง โดยมีเป้าหมายคือนักข่าว นัก
ธรุ กจิ และนกั การเมอื ง ดว้ ยการสง่ ตอ่ ขอ้ ความประทษุ รา้ ยและภาพตดั ตอ่ เพอื่ สรา้ งความ
อับอายและต่อต้านการสืบสวนเร่ืองการยึดกุมรัฐ18 ซึ่งเฟเรียล ฮาฟายี บรรณาธิการชื่อ
ดงั กต็ กเปน็ เปา้ หมายของแผนการรณรงคล์ ่วงละเมิดทางออนไลน์ในชว่ งนี้ด้วย โดยภาพ
ของเธอถูกตดั ต่อเพอ่ื ทำ�ให้คนเข้าใจเธอผดิ พร้อมกบั แฮชแทก็ #presstitute19

14 Woolley, S. & Howard, P. (2017). Computational Propaganda Worldwide: Executive Summary, Working Paper
No. 2017.11 (Oxford University). http://comprop.oii.ox.ac.uk/wp-content/uploads/sites/89/2017/06/Casestudies-
ExecutiveSummary.pdf [เข้าถึงเมือ่ 30/03/2018].

15 หมายเหต:ุ ขา่ วผวิ เผนิ เกีย่ วกบั ขบวนการใชบ้ อตในการเลือกตัง้ ทว่ั ไปขององั กฤษเม่อื ปี พ.ศ. 2560 ทำ�ให้เหน็ ว่าการรายงานขา่ วเรอื่ งน้ี
ยากเยน็ เพยี งใด C.f. Dias, N. (2017). Reporting on a new age of digital astroturfing, First Draft News. https://
firstdraftnews.com/digital-astroturfing/ [เขา้ ถงึ เมือ่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561].

16 ค�ำ วา่ ดีพเฟก (deepfake) เป็นค�ำ ผสมระหว่าง ‘deep learning’ กบั ค�ำ ว่า ‘fake’ ซง่ึ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี AI ในการสร้างเนือ้ หาหลอก
ลวงทบี่ างคร้งั มีลักษณะลามกอนาจาร ซึ่งสืบสาวหาทีม่ าไมไ่ ด้ ดพี เฟกถกู ใชใ้ นการจ่โู จมทางคอมพิวเตอรเ์ พื่อทำ�ลายชอ่ื เสียงคนท่วั ไปและนั
กข่าว ดู Cuthbertson, A (2018) What is ‘deepfake’ porn? AI brings face-swapping to disturbing new level in Newsweek
http://www.newsweek.com/ what-deepfake-porn-ai-brings-face-swapping-disturbing-new-level-801328 [เขา้ ถงึ เมื่อ 17
มิถุนายน พ.ศ. 2561].

17 Ressa, M. (2016). Propaganda War: Weaponising the Internet, Rappler. https://www.rappler.com/nation/148007-
propaganda-war-weaponizing-internet [เข้าถึงเมือ่ 30/03/2018].

18 แฟม้ รายละเอียดเกี่ยวกบั ‘อาณาจักรข่าวปลอม’ ของกปุ ตา อ่านไดท้ ี่ https://www.timeslive.co.za/news/south-africa/2017-09-
04-the-guptas-bellpottinger-and-the-fake-news-propaganda-machine/ [เข้าถึงเมอื่ 30 มนี าคม พ.ศ. 2561].

19 Haffajee, F. (2017). Ferial Haffajee: The Gupta fake news factory and me. HuffPost South Africa. [online] Available
at: https://www.huffingtonpost.co.za/2017/06/05/ferial-haffajee-the-gupta-fake-news-factory-and-me_a_22126282/
[accessed 06/04/2018].

- 135 -

Zกรณีที่ผู้ตรวจการพิเศษแห่งสหประชาชาติห้าราย เรียกร้องให้รัฐบาลอินเดียให้ความ
คมุ้ ครองรานา อายย์ บุ นกั ขา่ วอสิ ระ หลงั จากทม่ี กี ารเผยแพรข่ อ้ มลู ผดิ  ๆ อยา่ งกวา้ งขวาง
เพ่อื ระงับการรายงานข่าวเชงิ วพิ ากษว์ จิ ารณ์ของเธอ โดยรานา อาย์ยุบ ตกเป็นเหยือ่ ของ
ข้อมูลบิดเบือนทางสื่อสังคม รวมถึงวิดีโอดีพเฟกท่ีมีเน้ือหาในทำ�นองว่าเธอเคยถ่ายหนัง
โปม๊ าก่อน และมกี ารข่มขวู่ ่าจะข่มขืนและฆ่า20

Z กรณเี จสสิกกา อาโร นกั ข่าวชาวฟินแลนด์ ทีอ่ ภปิ รายในส่วนที่ 2) ของหน่วยการเรยี นรู้นี้
เรอ่ื ง ‘การคกุ คามความปลอดภยั ทางส่อื ดิจิทัลและกลยทุ ธก์ ารปอ้ งกนั ตัว’

แม้ว่าหน่วยการเรียนรู้อ่ืน  ๆ ในคู่มือเล่มน้ีเป็นเรื่องเกี่ยวกับการตรวจสอบความจริงด้วยวิธีการ
ทางเทคนิค แต่ผู้เรียนต้องสามารถบ่งช้ีแรงจูงใจของผู้ปฏิบัติการทางออนไลน์จำ�นวนหน่ึงใน
การผลิต เผยแพร่ และจ้องเล่นงานนักข่าวด้วยข้อมูลบิดเบือนและข้อมูลท่ีผิด ในฐานะท่ีเป็น
รปู แบบหนงึ่ ของการละเมิด
คำ�ถามเชงิ วพิ ากษ์ท่ตี ้องใชร้ ว่ มกบั วธิ กี ารตรวจสอบความจรงิ ทางเทคนิค ไดแ้ ก่

1. เปน็ ไปได้หรอื ไม่ทกี่ ารส่งต่อหรือการแท็กมเี จตนารา้ ยแอบแฝง
2. ผูท้ ี่โพสตไ์ ด้รบั ประโยชนอ์ ะไรจากการส่งต่อ
3. การส่งต่อจะส่งผลอย่างไรต่อตนเอง/ความน่าเช่ือถือในทางวิชาชีพ/องค์กรข่าวหรือ

นายจา้ ง
4. เราได้พยายามมากเพียงพอแล้วหรือไม่ในการค้นหาตัวตน/สถานท่ีทำ�งาน/ความน่า

เชื่อถือ/แรงจูงใจของบุคคลผู้นี้ (เช่น เป็นการพยายามหว่านข้อมูลเท็จหรือได้รับผล
ประโยชน์จากการขายเนื้อหาที่ได้มาโดยมิชอบและไม่ได้ทำ�ไปเพ่ือประโยชน์สาธารณะ
หรอื ไม)่
5. การกระทำ�นี้เป็นฝีมือของมนุษย์หรือบอต21 ถ้าได้รับ ‘การถ่ายโอนข้อมูลจำ�นวนมาก’
(data dump) จากบุคคลท่ีอ้างตนเป็นผู้เปิดโปงเก่ียวกับการทำ�ทุจริต ควรจะพิสูจน์
ข้อมูลเหล่าน้ันด้วยตนเองก่อนตีพิมพ์ข้อมูลท้ังหมดหรือไม่ เป็นไปได้หรือไม่ที่ข้อมูล
เหลา่ นจี้ ะมขี อ้ มลู บดิ เบอื นหรอื ขอ้ มลู ทผี่ ดิ ปะปนมาดว้ ย เพอื่ จงใจใหเ้ กดิ การเขา้ ใจผดิ หรอื
ท�ำ ลายชือ่ เสยี ง

20 UN experts call on India to protect journalist Rana Ayyub from online hate campaign http://www.ohchr.org/EN/
NewsEvents/Pages/ DisplayNews.aspx?NewsID=23126&LangID=E; [เขา้ ถงึ เมือ่ 17/08/2018 See also Ayyub, R. (2018). In
India, journalists face slut-shaming and rape threats. https://www.nytimes.com/2018/05/22/opinion/india-journalists-
slut-shaming-rape.html [เข้าถงึ เมอื่ 17/06/2018].

21 ดตู วั อย่างที่ https://botcheck.me

- 136 -

2) การคกุ คามความปลอดภัยทางดจิ ทิ ัลและกลยทุ ธก์ ารปอ้ งกันตวั หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
นกั ขา่ ว นกั ปกป้องสทิ ธิมนุษยชน และบลอ็ กเกอร์/นกั เคลอ่ื นไหวทางสอ่ื สงั คม มีความเสีย่ งมาก
ขึ้นท่ีจะตกเป็นเป้าหมายของการโจมตีทางคอมพิวเตอร์ และข้อมูลหรือแหล่งข่าวก็อาจถูกผู้ไม่
ประสงคด์ ีท�ำ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายด้วยการใช้ฟชิ ชงิ มลั แวร์ และสปฟู ฟงิ 22

ตวั อยา่ งการกระท�ำ เช่นน้ี ได้แก่

เจสสิกกา อาโร นักข่าวเชิงสบื สวนมอื รางวัลแห่ง YLE ส่อื กระจายเสยี งสาธารณะของฟินแลนด์
ตกเปน็ เปา้ หมายของขบวนการ ‘โทรล’ มาตงั้ แต่ปี พ.ศ. 2557 เธอถกู คุกคามความปลอดภยั ทาง
ดิจิทัลท้ังแบบสปูฟฟิงและด็อกซิง23 โดยการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวของผู้ท่ีติดต่อกับเธอและเผย
แพรข่ อ้ มลู บดิ เบอื นเกย่ี วกบั เธอ โจมตแี อปรบั สง่ ขอ้ ความและอนิ บอ็ กซด์ ว้ ยขอ้ ความรนุ แรงตา่ ง ๆ
นานา เธอเล่าว่า “ฉันรับโทรศัพท์แล้วได้ยินเสียงปืน ต่อมาก็มีคนข้อความส่งมาโดยอ้างว่าเป็น
พอ่ ของฉันที่เสยี ชวี ติ ไปแล้ว และบอกวา่ เขาก�ำ ลัง ‘จบั ตาด’ู ฉันอยู่”24 อาโรแสดงความขอบคณุ
บรรณาธิการที่ปกป้องนักข่าวจากการคุกคามข่มขู่ และกระตุ้นให้นักข่าวดำ�เนินการสืบสวนและ
เปดิ โปงโฆษณาชวนเชือ่

ดงั น้นั ผ้ทู ่อี ย่ใู นวงการข่าวจึงตอ้ งตืน่ ตัวต่อการคุกคามตอ่ ไปนี้

การคกุ คามความปลอดภัยทางดจิ ิทัลทสี่ ำ�คญั 12 รูปแบบ25
Zการสอดแนมท่ีมีเปา้ หมายและการสอดแนมคนหมมู่ าก
Z การลักลอบใชซ้ อฟตแ์ วรแ์ ละฮาร์ดแวร์โดยที่เป้าหมายไม่รู้ตวั
Z การโจมตีด้วยฟชิ ชิง26
Z การโจมตีโดเมนปลอม

22 จาก Technopedia: สปฟู ฟงิ (Spoofing) คือปฏบิ ัตกิ ารหลอกลวงหรอื ประสงคร์ ้ายด้วยการสง่ ขอ้ ความจากผู้ทีแ่ อบอา้ งเปน็ บุคคลทผ่ี ้รู ับ
รจู้ กั ที่ใช้กนั อยา่ งแพร่หลายคอื สปูฟฟิงทางอเี มล ซึง่ อาจมาพรอ้ มกับภยั อย่างโทรจนั หรือไวรัสท่สี ร้างความเสียหายใหญ่หลวงต่อคอมพวิ เ
ตอร์ หากผูใ้ ชก้ ระทำ�การบางอยา่ ง การเขา้ ถึงคอมพวิ เตอรจ์ ากภายนอก การลบไฟลข์ อ้ มลู และอนื่  ๆ https://www.techopedia.com/
definition/5398/spoofing [เข้าถึงเมอื่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561].

23 จาก Technopedia: ดอ็ กซงิ (Doxing) คือกระบวนการดงึ ขอ้ มูล แฮก และเผยแพร่ขอ้ มูลของผูอ้ ่นื เช่น ชื่อ ท่ีอยู่ เบอร์โทรศัพท์
ข้อมลู บัตรเครดิต โดยอาจมีเป้าหมายเปน็ บุคคลหรอื องคก์ รกไ็ ด้ เหตผุ ลของการด็อกซิงมีหลายประการ ท่ีรจู้ กั กันดคี ือเพื่อการบีบบังคับ
คำ�ว่า ดอ็ กซงิ เปน็ คำ�สแลง มีท่มี าจาก “.doc” เนอ่ื งจากมักเป็นการดงึ และเผยแพรเ่ อกสาร แฮกเกอรพ์ ัฒนาวธิ กี ารด็อกซิงหลายวธิ ดี ้
วยกนั แตท่ ่ีพบมากท่ีสุดคอื จากอีเมลของเหย่ือ ด้วยการค้นหารหสั เข้าบัญชแี ละเข้าไปล้วงขอ้ มูลส่วนตัวอ่ืน ๆ ออกมา https://www.
techopedia.com/ definition/29025/doxing [เข้าถึงเมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561].

24 Aro, J. 2016. The cyberspace war: propaganda and trolling as warfare tools. European View. Sage Journals, June
2016, Volume 15, Issue 1. http://journals.sagepub.com/doi/full/10.1007/s12290-016-0395-5 [เขา้ ถึงเมอื่ 20/07/2018].

25 Posetti, J. (2015). New Study: Combatting the rising threats to journalists’ digital safety (WAN-IFRA). https://blog.
wan-ifra.org/2015/03/27/new-study-combatting-the-rising-threats-to-journalists-digital-safety [เขา้ ถึงเมือ่ 30 มนี าคม พ.ศ.
2561].

26 King, G (2014) Spear phishing attacks underscore necessity of digital vigilance, CPJ. https://cpj.org/blog/2014/11/
spear-phishing-attacks-underscore-necessity-of-dig.php [เขา้ ถึงเมอ่ื 29/03/2018].

- 137 -

Z การโจมตีแบบ Man-in-the-Middle (MitM)27
Zการโจมตีแบบ Denial of Service (DoS) และ Distributed Denial of Service (DDOS

– Distributed Denial of Service)28
Zการโจมตีเว็บไซต์
Zสรา้ งความเสียหายตอ่ บัญชผี ู้ใชง้ าน
Z การข่มขู่ ล่วงละเมดิ และบังคับใหเ้ ปิดเผยชอ่ งโหวใ่ นเครือข่ายออนไลน์
Zขบวนการเผยแพร่ขอ้ มูลบดิ เบือนและการใหร้ า้ ย
Zการกำ�จัดผลงานข่าว และ
Z การจดั เก็บข้อมลู และการทำ�เหมอื งข้อมลู
สำ�หรับกลยทุ ธก์ ารป้องกัน ดู การสร้างความปลอดภัยบนโลกดิจทิ ลั สำ�หรับการเสนอข่าว29
สำ�หรับความหมายของแหล่งข่าวที่ไม่ประสงค์ออกนามและผู้เปิดโปงการทุจริตท่ีทำ�งานร่วมกับ
นักข่าวและผผู้ ลติ ส่อื อน่ื  ๆ ดู การปกปอ้ งแหลง่ ข่าวในยุคดจิ ทิ ัล30

การตระหนักและการจัดการกับการล่วงละเมิดและความรุนแรงทางออนไลน์

“ดฉิ นั ถกู เรยี กวา่ อสี �ำ สอ่ นโสโครก นงั ยปิ ซี อยี วิ อตี วั มสุ ลมิ ตวั เหลอื บกรกี ผอู้ พยพทน่ี า่ ขยะแขยง
นังโรคจิตงี่เง่า อีตอแหล จอมอคติ พวกเขาไล่ดิฉันกลับบ้าน บอกให้ดิฉันฆ่าตัวตาย
ไม่อย่างน้ันจะยิงดิฉัน ตัดล้ิน หักนิ้วทีละนิ้ว พวกเขาข่มขู่ว่าจะรุมโทรมดิฉันและทรมานทาง
เพศ”31 นี่คือคำ�บอกเล่าของนักข่าวชาวสวีเดนท่ีได้รับการยอมรับทั่วโลกอย่าง อเล็กซานดรา
พาสคาลโิ ด ในการใหก้ ารตอ่ หนา้ คณะกรรมาธกิ ารสหภาพยโุ รปในกรงุ บรสั เซลสเ์ มอื่ ปี พ.ศ. 2559
ถงึ สิง่ ที่เธอเผชญิ ในโลกออนไลน์

27 ค�ำ นยิ ามของ Man in the Middle Attack (MITM) จาก Technopedia: “รูปแบบหน่ึงของการแอบฟังการส่อื สารระหว่างผใู้ ชส้ องคน โด
ยเป็นการดักฟงั และเปลีย่ นแปลงข้อความโดยคนกลาง โดยทว่ั ไปผโู้ จมตีจะดกั ฟงั บทสนทนาทสี่ �ำ คญั  ๆ แลว้ ส่งค�ำ ตอบกลับไปโดยใช้ขอ้ คว
ามของตนเอง” https://www.techopedia.com/definition/4018/manin-the-middle-attack-mitm [เขา้ ถงึ เมื่อ 29 มีนาคม พ.ศ.
2561].

28 ดคู ำ�นิยามใน Technopedia https://www.techopedia.com/definition/24841/denial-of-service-attack-dos b. https://www.
techopedia.com/ definition/10261/distributed-denial-of-service-ddos [เขา้ ถึงเมือ่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2561].

29 Henrichsen, J. et al. (2015). Building Digital Safety for Journalism (UNESCO) Paris. http://unesdoc.unesco.org/
images/0023/002323/232358e.pdf [เขา้ ถึงเม่ือ 30/03/2018].

30 Posetti, J. (2017). Protecting Journalism Sources in the Digital Age (UNESCO). Paris. http://unesdoc.unesco.org/
images/0024/002480/248054E.pdf [เขา้ ถึงเมือ่ 30/03/2018].

31 Posetti, J. (2016). Swedish journalist Alexandra Pascalidou Describes Online Threats of Sexual Torture and Graphic
Abuse in The Sydney Morning Herald, 24/11/2016. http://www.smh.com.au/lifestyle/news-and-views/swedish-
broadcaster-alexandra-pascalidou-describes-onlinethreats-of-sexual-torture-and-graphic-abuse-20161124-gswuwv.
html [เข้าถงึ เมื่อ 30/03/2018].

- 138 -

การกล่าวร้ายในโลกออนไลน์ทำ�นองนี้แพร่กระจายอยู่ทั่วทุกมุมโลก โดยมีเป้าหมายเป็นนักข่าว หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
และนกั วจิ ารณท์ เี่ ปน็ ผหู้ ญงิ สง่ ผลใหส้ หประชาชาติ (รวมถงึ ยเู นสโก32) และหนว่ ยงานอนื่ ตระหนกั ถงึ
ปัญหา และรว่ มกันหามาตรการแก้ไข
องค์การว่าด้วยความม่ันคงและความร่วมมือในยุโรป (Organisation for Security and
Co-operation in Europe: OSCE) ให้การสนับสนุนงานวิจัยท่ีศึกษาผลกระทบในระดับ
นานาชาติของการกล่าวร้ายต่อนักข่าวหญิงในส่ือออนไลน์ท่ีตกเป็นเป้าหมายของ ‘การก่อกวน
เพื่อสร้างความเกลยี ดชัง’ อยา่ งไม่เปน็ ธรรม33
งานวิจัยดังกล่าวเกิดข้ึนหลังจากคณะทำ�งานของอังกฤษช่ือ Demos ทำ�การศึกษาทวีตนับ
แสนขอ้ ความ และพบวา่ วงการขา่ วเปน็ สาขาเดยี วทผี่ หู้ ญงิ ไดร้ บั ขอ้ ความลว่ งละเมดิ มากกวา่ ผชู้ าย
“นกั ขา่ วหนงั สอื พมิ พแ์ ละผปู้ ระกาศขา่ วทางโทรทศั นห์ ญงิ ไดร้ บั ขอ้ ความลว่ งละเมดิ มากกวา่ ผชู้ าย
ทท่ี �ำ งานสายเดยี วกนั ราวสามเทา่ 34” ค�ำ หลกั ทผี่ กู้ ระท�ำ การลว่ งละเมดิ ใชค้ อื «อสี �ำ สอ่ น», «ขม่ ขนื »
และ «อีตวั »
ลกั ษณะเดน่ ของการลว่ งละเมดิ นกั ขา่ วหญงิ ทางออนไลน์ คอื การใชก้ ลวธิ ขี องขอ้ มลู บดิ เบอื น ดว้ ย
การสรา้ งเรอื่ งโกหกเกย่ี วกบั บคุ ลกิ หรอื การท�ำ งานเพอื่ บน่ั ทอนความนา่ เชอ่ื ถอื สรา้ งความอบั อาย
และเพอื่ หยดุ ยงั้ เสยี งวิจารณ์ของนักขา่ วในพน้ื ท่ีสาธารณะและการเสนอขา่ ว
เม่ือบวกรวมกับการข่มขู่ด้วยการใช้ความรุนแรง ซึ่งรวมถึงการข่มขืนและฆาตกรรม และ
การ ‘รุมโจมตี’ (การโจมตีบุคคลทางออนไลน์ ท้ังแบบไร้รูปแบบ แบบที่วางแผนเป็นขบวนการ
และการใชบ้ อต) สงิ่ ตา่ ง ๆ จึงเลวร้ายยงิ่ ข้ึน
ด้วยความท่ีการจู่โจมเหล่านี้เกิดขึ้นในระดับส่วนตัว คือโดยส่วนใหญ่ได้รับผ่านอุปกรณ์ส่ือสาร
ส่วนบุคคลเป็นส่ิงแรกและสิ่งสุดท้ายของวัน จึงทำ�ให้ผลกระทบมีความรุนแรงย่ิงข้ึน “หลายต่อ
หลายวนั ทฉ่ี นั ตน่ื ขนึ้ มาพบกบั ค�ำ พดู รนุ แรง และหลบั ไปพรอ้ มกบั ค�ำ พดู เหยยี ดเพศและเหยยี ดผวิ ท่ี
ดงั กอ้ งอยใู่ นหวั มนั เหมอื นกบั การท�ำ สงครามในสมรภมู ขิ นาดเลก็ อยตู่ ลอดเวลา” พาสคาลโิ ดกลา่ ว

32 Posetti, J. (2017). Fighting Back Against Prolific Online Harassment: Maria Ressa in L. Kilman (Ed) op cit See
also: Resolution 39 of UNESCO’s 39th General Conference which notes “the specific threats faced by women
journalists including sexual harassment and violence, both online and offline.” http://unesdoc.unesco.org/
images/0026/002608/260889e.pdf [เขา้ ถึงเมอื่ 29/03/2018].

33 OSCE (2016). Countering Online Abuse of Female Journalists. http://www.osce.org/fom/220411?download=true
[เข้าถึงเม่อื 30/03/2018].

34 Bartlett, J. et al. (2014) Misogyny on Twitter, Demos. https://www.demos.co.uk/files/MISOGYNY_ON_TWITTER.pdf
[เข้าถึงเมอ่ื 30/03/2018].

- 139 -

ทฟ่ี ลิ ปิ ปนิ ส์ มาเรยี เรสสา ผบู้ รหิ ารและบรรณาธกิ ารบรหิ ารของเวบ็ ไซต์ Rappler35 คอื กรณศี กึ ษา
เร่ืองการต่อสู้กับการล่วงละเมิดทางออนไลน์จำ�นวนมหาศาลในรูปของขบวนการปล่อยข้อมูล
บดิ เบอื นเกย่ี วกบั รฐั บาล แมว้ า่ มาเรยี เรสสา จะเคยเปน็ ผสู้ อื่ ขา่ วสงครามใหก้ บั ส�ำ นกั ขา่ ว CNN แต่
เธอบอกวา่ ประสบการณภ์ าคสนามทง้ั หมดทเี่ คยมไี มไ่ ดช้ ว่ ยในการรับมือกบั ขบวนการลว่ งละเมิด
ทางเพศทางออนไลน์ทม่ี ีอ�ำ นาจท�ำ ลายล้างมหาศาล ซ่งึ เธอตกเป็นเหยือ่ มาต้งั แตป่ ี พ.ศ. 2559
“ฉันถกู เรยี กวา่ นงั อปั ลักษณ์ สนุ ัข อสรพิษ ถกู ขู่วา่ จะขม่ ขนื และฆา่ ” เรสสากลา่ ว เธอจำ�ไมไ่ ด้
ด้วยซ้ำ�ว่าได้รับข้อความขู่ฆ่ามาแล้วกี่คร้ัง ยิ่งไปกว่าน้ี เธอยังตกเป็นเป้าของขบวนการแฮชแท็ก
อย่าง #ArrestMariaRessa และ #BringHerToTheSenate ที่ต้องการก่อม็อบออนไลน์ให้
รว่ มกนั โจมตแี ละท�ำ ลายชอ่ื เสยี งของเธอและของเวบ็ ไซต์ Rappler ตลอดจนหยดุ ยง้ั การน�ำ เสนอขา่ ว
“มนั ทำ�ใหเ้ กิดวงเกลียวแห่งความเงยี บ (spiral of silence) ใครก็ตามทว่ี ิจารณ์หรือต้งั ถามเกีย่ ว
กับวิสามัญฆาตกรรมจะถูกโจมตีอย่างรุนแรง ซ่ึงผู้หญิงจะโดนหนักท่ีสุด และเราก็ตระหนักว่ามี
การสร้างระบบเพื่อสยบความไม่พอใจ เพ่ือปรามนักข่าว เราจึงไม่ควรถามคำ�ถามยาก  ๆ และ
แนน่ อนวา่ เราไมค่ วรวิพากษ์วจิ ารณ”์ เรสสากล่าว36
กลยทุ ธใ์ นการโต้ตอบของมาเรยี เรสสา ประกอบดว้ ย

Zการรบั ร้คู วามรุนแรงของปัญหา
ก Z ารรับรู้ว่ามีผลกระทบต่อจิตใจ และให้การสนับสนุนทางจิตใจแก่พนักงานที่ได้รับ

ผลกระทบ
Z ใช้การทำ�ขา่ วเชิงสืบสวนเปน็ อาวุธในการโตต้ อบ37
Zขอใหผ้ ู้ติดตามที่ภักดชี ว่ ยกันต่อต้านและควบคมุ การโจมตี
Zเพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัยท้ังช่องทางออนไลน์และออฟไลน์เพื่อตอบโต้การล่วง

ละเมดิ
Zเรียกร้องให้แพลตฟอร์ม (เช่น เฟซบุ๊กและทวิตเตอร์) หามาตรการเพ่ือควบคุมและ

จัดการการลว่ งละเมิดทางออนไลนอ์ ย่างเพยี งพอ

35 Maria Ressa is chair of the jury of the UNESCO-Guillermo Cano World Press Freedom Prize https://en.unesco.org/
prizes/guillermo-cano/jury.

36 Posetti, J. (2017). Fighting Back Against Prolific Online Harassment: Maria Ressa in Kilman, L. (Ed) An Attack on One is
an Attack on All (UNESCO). http://unesdoc.unesco.org/images/0025/002593/259399e.pdf [เขา้ ถงึ เมือ่ 30/03/2018].

37 น่ีเป็นกลวิธีทเี่ ฟเรยี ล ฮาฟฟาจี ใชเ้ ชน่ เดียวกนั ในกรณีศกึ ษา ‘ข่าวร่ัวกุปตา’ ทก่ี ลา่ วถงึ ก่อนหนา้ นี้ โดยใช้เทคนคิ การท�ำ ข่าวเชิงสืบสวนและ
‘นักสบื ’ ความปลอดภยั ดจิ ิทลั เพ่ือเผยโฉมโทรลบางรายทพ่ี งุ่ เปา้ หมายมาท่ีเธอเพ่อื พยายามสรา้ งความเสื่อมเสียให้กบั การทำ�ขา่ วกรณี
ดงั กลา่ ว ดู https://www.news24.com/SouthAfrica/News/fake-news-peddlers-can-be-traced-hawks-20170123 [เขา้ ถึงเมือ่
16 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2561].

- 140 -

ในระหว่างการจัดการกับภัยคุกคามจากการล่วงละเมิดทางออนไลน์ท่ีเพ่ิมมากขึ้น การรับทราบ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
เกี่ยวกับการล่วงละเมิดนักข่าวสตรีทางออฟไลน์ในบริบทของขบวนการแพร่ข้อมูลบิดเบือนก็มี
ความจำ�เป็นเช่นกัน ตัวอย่างเช่น กรณีเวนดี คาร์ลส์ นักข่าวเชิงสืบสวนชาวออสเตรเลียท่ีถูก
ละเมิด ถูกย่ัวยุ และถูกเบียดกระแทก ในการประท้วงของกลุ่มปฏิเสธการเปล่ียนแปลง
สภาพภูมิอากาศในออสเตรเลียเม่ือปี พ.ศ. 2554 ในระหว่างการถ่ายทำ�สารคดีให้กับ
สถานวี ิทยุ ABC ทำ�ใหเ้ ธอต้องออกจากพื้นท่เี พ่ือความปลอดภัย38

เป้าหมายของหน่วยการเรียนรู้

หน่วยการเรยี นรู้น้ีใหข้ อ้ มลู กับผเู้ รยี นเก่ยี วกบั ความเสยี่ งทีจ่ ะถกู ลว่ งละเมิดทางออนไลนใ์ นบริบท
ของ ‘ความผิดปกตขิ องขอ้ มลู ขา่ วสาร’ ซ่งึ จะชว่ ยใหจ้ ำ�แนกภยั คุกคามรูปแบบตา่ ง ๆ ได้ ตลอด
จนพัฒนาทักษะและเคร่ืองมือที่ช่วยในการต่อสู้กับการล่วงละเมิดทางออนไลน์ โดยมี
วตั ถปุ ระสงค์เพ่อื

Zเพมิ่ ความตระหนกั รเู้ กย่ี วกบั ปญั หาผไู้ มป่ ระสงคด์ ที ม่ี เี ปา้ หมายคอื นกั ขา่ ว แหลง่ ขา่ ว และ
ผูใ้ ชส้ ่อื ออนไลน์ในขบวนการเผยแพรข่ อ้ มลู บดิ เบอื น/ขอ้ มลู ทีผ่ ิด

Z ให้ผู้เรียนรู้จัก ‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’ ‘โทรลลิง’ ภัยคุกคามความปลอดภัยทางดิจิทัล และ
การล่วงละเมดิ ทางออนไลน์

Z เตรียมความพร้อมให้กับผู้ร่วมเรียนในการต่อสู้กับ ‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’ ‘โทรลลิง’
ภยั คุกคามความปลอดภยั ทางดจิ ทิ ลั และการล่วงละเมิดทางออนไลน์ในมิติทางเพศ

ผลการเรียนรู้

เม่ือจบหนว่ ยการเรียนรู้นี้ ผู้เรยี นจะ
Zมีความเข้าใจลึกซ้ึงมากขึ้นเก่ียวกับผลกระทบของการล่วงละเมิดบุคลากรข่าวทาง
ออนไลน์ การเสนอขา่ ว การส่งต่อข้อมลู ขา่ วสาร และเสรีภาพในการแสดงออก
Zเกิดความตระหนักมากข้ึนเก่ียวกับปัญหาผู้ไม่ประสงค์ดีที่พุ่งเป้าไปยังนักข่าวและผู้ใช้ส่ือ
ออนไลน์อ่ืน ๆ ในขบวนการเผยแพรข่ อ้ มูลบิดเบือน/ข้อมูลทผ่ี ดิ
Z เขา้ ใจภยั คกุ คามความปลอดภยั ของผหู้ ญงิ ท่ปี ฏิบัติหนา้ ทเ่ี สนอขา่ วทางสอ่ื ออนไลน์
Z สามารถจำ�แนกผู้ประสงค์ร้ายในช่องทางออนไลน์ได้ดีขึ้น รวมทั้งการกระทำ�ท่ีเป็น
‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’ ‘โทรลลิง’ ภัยคุกคามความปลอดภัยทางดิจิทัล และการล่วงละเมิด
ทางออนไลน์

38 Carlisle, W. (2011). The Lord Monckton Roadshow, Background Briefing, ABC Radio National. http://www.abc.net.au/
radionational/programs/ backgroundbriefing/the-lord-monckton-roadshow/2923400 [เข้าถึงเมือ่ 30/03/2018].

- 141 -

Z รู้จักวิธีการต่อสู้กับ ‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’ ‘โทรลลิง’ ภัยคุกคามความปลอดภัยทางดิจิทัล
และการลว่ งละเมดิ ทางออนไลนใ์ นมิตทิ างเพศ

รูปแบบของหนว่ ยการเรยี นรู้

หน่วยการเรียนรู้นี้เหมาะสำ�หรับการสอนแบบพบหน้าหรือผ่านช่องทางออนไลน์ โดยแบ่งเป็น
สองส่วน คือภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบัติ

การเชือ่ มโยงแผนการสอนกบั ผลการเรยี นรู้

ก. ภาคทฤษฎี จำ�นวนช่ัวโมง ผลการเรยี นรู้
60-90 นาที 1, 2, 3, 4, 5
แผนของหนว่ ยการเรยี นรู้
การบรรยายแบบมปี ฏสิ มั พนั ธแ์ ละการถาม-ตอบ ผลการเรยี นรู้
(90 นาที) ซ่งึ อาจทำ�ในห้องเรียนตามปกติ หรอื ผ่าน 1, 2, 3, 4, 5
โปรแกรมการสมั มนาทางเว็บไซตเ์ พอ่ื การมีส่วนรว่ ม
ทางไกล โดยเนอื้ หาการบรรยายอาจใชจ้ ากทฤษฎี
และตวั อย่างทใี่ หไ้ วข้ า้ งต้น อย่างไรกต็ าม ควรจดั การ
เรียนการสอนโดยใชก้ รณีศกึ ษาที่เกย่ี วข้องกับทอ้ งถ่นิ
หรอื วฒั นธรรมรว่ มด้วย

ข. ภาคปฏบิ ตั ิ จำ�นวนชัว่ โมง
90-120 นาที
แผนของหน่วยการเรยี นรู้
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร/เรง่ รดั (90 นาท)ี อาจเป็น
ในห้องเรยี นปกติ หรือผ่านแพลตฟอรม์
การเรยี นรอู้ ย่างมดู เดลิ กลุ่มในเฟซบุ๊ก หรืออน่ื  ๆ ท่ี
เอื้อต่อการมีส่วนรว่ มทางไกล การดำ�เนนิ การ
การประชมุ เชงิ ปฏบิ ตั ิการ/เรง่ รัด อาจใช้รปู แบบดงั
ตอ่ ไปน้ี
แบ่งกลมุ่ ติวเข้มเป็นกลุ่มละ 3-5 คน

- 142 -

แผนของหน่วยการเรยี นรู้ จ�ำ นวนช่วั โมง ผลการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
แตล่ ะกลมุ่ ได้รบั ตวั อยา่ งเน้ือหาที่ประสงค์
รา้ ย (เช่น คน้ หาจากบล็อกและช่องทางสื่อสงั คมท่ี
มีเป้าหมายคอื มาเรยี เรสสา, เจสสกิ กา อาโร และ
อเล็กซานดรา พาสคาลิโด ซง่ึ กล่าวถงึ ในหนว่ ยการ
เรียนรูน้ ้ี) ทเ่ี ก่ยี วโยงกับขบวนการเผยแพร่
ข้อมลู บิดเบอื น/ข้อมลู ท่ผี ิด/โทรลลิง/แอสโตร
เทิร์ฟฟงิ /การล่วงละเมดิ ทางออนไลน์

แต่ละกล่มุ ต้องทำ�ดงั น้ี ช่วยกันประเมนิ เนื้อหา
(หาข้อมลู ของบคุ คล/กลมุ่ ที่อยู่เบอื้ งหลงั )
ระบคุ วามเสยี่ งและภยั คกุ คาม (อ้างงานวจิ ยั ที่
เกีย่ วกับผลกระทบทอี่ ยูใ่ นเอกสารส�ำ หรับอา่ น)
จากนัน้ ให้เสนอแผนปฏบิ ตั ิการเพื่อตอบโต้ (ซงึ่ อาจ
ประกอบดว้ ยการตอบโตอ้ ย่างมีกลยทุ ธ์ การรายงาน
ผใู้ ชบ้ นพ้ืนที่สือ่ หรอื แจง้ ต�ำ รวจหากเหมาะสม
การเขียนข่าวเก่ียวกับประเด็นดังกล่าว) และเขยี น
สรุปแผนปฏิบตั ิการความยาว 250 ค�ำ (โดยใช้
กเู กลิ ดอกส์ หรอื เครื่องมือการทำ�งานรว่ มในทำ�นอง
เดียวกัน) และส่งให้กับผ้บู รรยาย/ผอู้ บรมตรวจ

- 143 -

โครงสรา้ งทางเลือก

สำ�หรบั การศึกษาประเด็นนีใ้ ห้ลึกซง้ึ ย่งิ ขน้ึ อาจขยายหนว่ ยการเรียนรูเ้ ป็นสามบท (แตล่ ะบทแบ่ง
เป็นสองสว่ นตามขา้ งตน้ )

Zจำ�แนกและตอบโต้การ ‘โทรลลิง’ และ ‘แอสโตรเทิร์ฟฟิง’
Z สรา้ งแบบจ�ำ ลองภัยคุกคามทางดจิ ทิ ลั 39 และกลยุทธ์การป้องกันตนเอง
Z จ�ำ แนกและจดั การกับการล่วงละเมดิ และความรนุ แรงทางออนไลน์

งานมอบหมาย

เขียนรายงานข่าวความยาว 1,200 คำ� หรือผลิตรายงานข่าวเสียงความยาว 5 นาที หรือ
คลิปข่าวความยาว 3 นาที หรือนำ�เสนอรายละเอียดในรูปแบบอินโฟกราฟิก โดยใช้เนื้อหาจาก
การสัมภาษณ์นักข่าวหน่ึงคนหรือมากกว่าเกี่ยวกับประสบการณ์ในการถูกล่วงละเมิดทาง
ออนไลน์ (เช่น ตกเป็นเป้าโจมตีของข้อมูลบิดเบือนและ/หรือพบกับภัยด้านความปลอดภัยทาง
ดิจิทัลท่ีเป็นส่วนหนึ่งของขบวนการแพร่กระจายข้อมูลบิดเบือนและ/หรือการละเมิด หรือตก
เป็นเหย่ือการใช้ความรุนแรงทางออนไลน์) ผู้เรียนควรอ้างอิงงานวิจัยท่ีเชื่อถือได้ในช้ินงาน และ
อธิบายผลกระทบของปรากฏการณ์เหล่าน้ีต่อวงการข่าว/เสรีภาพในการแสดงออกและสิทธิใน
การรบั ร้ขู องประชาชน

เอกสารสำ� หรบั อา่ นเพ่ิมเตมิ

Aro, J. 2016. The cyberspace war: propaganda and trolling as warfare tools. European
View. Sage Journals, June 2016, Volume 15, Issue 1. http://journals.sagepub.
com/doi/ full/10.1007/s12290-016-0395-5 [เขา้ ถงึ เม่ือ 20/07/2018].

Haffajee, F. (2017). The Gupta Fake News Factory and Me in The Huffington Post.
http:// www.huffingtonpost.co.za/2017/06/05/ferial-haffajee-the-gupta-fake-
news-factory-andme_a_22126282/ [accessed 29/03/2018].

OSCE (2016). Countering Online Abuse of Female Journalists. http://www.osce.org/
fom/220411?download=true [เข้าถึงเมือ่ 29/03/2018].

39 Stray, J. (2014). Security for journalists, Part Two: Threat Modelling. https://source.opennews.org/articles/security-
journalists-part-twothreat-modeling/ [เขา้ ถงึ เมื่อ 2/03/2018].

- 144 -

Posetti, J. (2017). Fighting Back Against Prolific Online Harassment: Maria Ressa in L. หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 7: การตอ่ ส้กู ับการล่วงละเมิดในช่องทางออนไลน:์ เม่อื นักขา่ ว และแหลง่ ขา่ วตกเปน็ เป้าหมาย
Kilman (Ed) An Attack on One is an Attack on All (UNESCO 2017). http://unesdoc.

unesco.org/images/0025/002593/259399e.pdf [เข้าถึงเม่ือ 29/03/2018].
Posetti, J. (2016). Swedish journalist Alexandra Pascalidou Describes Online Threats

of Sexual Torture and Graphic Abuse in The Sydney Morning Herald, 24/11/2016.
http://www.smh.com.au/lifestyle/news-and-views/swedish-broadcaster-
alexandra-pascalidoudescribes-online-threats-of-sexual-torture-and-graphic-
abuse-20161124-gswuwv.html [เข้าถึงเมื่อ 29/03/2018].
Reporters Sans Frontieres (2018) Online Harassment of Journalists: Attack of the
trolls Reporters Without Borders: https://rsf.org/sites/default/files/rsf_report_
on_online_ harassment.pdf [เข้าถงึ เม่อื 20/8/18].
Riley M, Etter, L and Pradhan, B (2018) A Global Guide To State-Sponsored Trolling,
Bloomberg: https://www.bloomberg.com/features/2018-government-sponsored-
cybermilitia-cookbook/ [เขา้ ถงึ เมอ่ื 21/07/2018].
Stray, J. (2014). Security for journalists, Part Two: Threat Modelling. https://source.
opennews.org/articles/security-journalists-part-two-threat-modeling/ [เขา้ ถึงเมอ่ื
02/03/2018].

- 145 -

แหลง่ ข้อมลู ออนไลน์

วดิ ีโอ: How to Tackle Trolls and Manage Online Harassment – a panel discussion
at the International Journalism Festival, Perugia, Italy (April 2017) with Julie Posetti
(Fairfax Media), Hannah Storm (International News Safety Institute), Alexandra
Pascalidou (Swedish journalist), Mary Hamilton (The Guardian), Blathnaid Healy
(CNNi). Available at: http://media.journalismfestival.com/programme/2017/
managing-gendered-online-harrassment

ผ้มู สี ่วนรว่ ม

แมกดา อาบ-ู ฟาดลิ เป็นผอู้ �ำ นวยการเว็บไซต์ Media Unlimited ในเลบานอน
เฟอรก์ สั เบลล์ เปน็ ผเู้ ชยี่ วชาญดา้ นการทำ�ขา่ วดจิ ทิ ลั และการตรวจสอบเนอื้ หาทผี่ ลติ โดยผใู้ ชง้ าน
และเป็นผกู้ ่อตั้ง Dig Deeper Media
โฮสเซน เดรัคห์ชาน เป็นนักเขียน-นักวิจัยเช้ือสายอิหร่าน-แคนาดา และผู้เชี่ยวชาญแห่งศูนย์
ชอเรนสไตน์ทีเ่ คนเนดี สกลู มหาวทิ ยาลัยฮารว์ ารด์
เชอริลิน ไอร์ตัน เป็นนักข่าวชาวแอฟริกาใต้ ผู้อำ�นวยการ World Editors Forum ภายใต้
สมาคมหนงั สอื พมิ พแ์ ละส�ำ นกั พมิ พ์ขา่ วโลก (World Association of Newspapers and News
Publishers: WAN-IFRA)
อเลก็ ซอิ อส มนั ตซ์ ารล์ สิ เปน็ ผนู้ �ำ เครอื ขา่ ยตรวจสอบขอ้ เทจ็ จรงิ นานาชาติ (International Fact-
Checking Network) ทสี่ ถาบัน Poynter
อลิซ แมตทิวส์ เป็นนักข่าวและนักวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันของบรรษัทกระจายเสียงแห่ง
ประเทศออสเตรเลยี (Australian Broadcasting Corporation: ABC) ในนครซดิ นีย์
จูลี โพเซ็ตติ เป็นผู้เชี่ยวชาญการวิจัยอาวุโสแห่งสถาบันการศึกษาวารสารศาสตร์รอยเตอร์ส
(Reuters Institute for the Study of Journalism) ของมหาวิทยาลยั ออกซฟอรด์ และเป็น
หวั หนา้ โครงการนวตั กรรมวารสารศาสตร์ (Journalism Innovation Project)
ทอม ทรุนเนิร์ด เป็นหัวหน้าโครงการชุดเครื่องมือตรวจสอบความจริง Check ของเว็บไซต์
Meedan

- 146 -

แคลร์ วอรเ์ ดิล เป็นผ้อู �ำ นวยการบริหารของ First Draft และผเู้ ช่ียวชาญดา้ นการวิจัยส่อื ทศ่ี ูนย์
วิจัยส่อื การเมือง และนโยบายสาธารณะชอเรนสไตน์ทเี่ คนเนดี สกูล มหาวิทยาลยั ฮารว์ ารด์

เครดิตภาพถ่าย

ปกหนา้ : ยูเนสโก/ออสการ์ คาสเตลยาโนส
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1: Abhijith S Nair จากเว็บ Unsplash
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2: Christoph Scholz จากเว็บ Flickr
หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3: Samuel Zeller จากเว็บ Unsplash
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4: Aaron Burden จากเว็บ Unsplash
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5: The Climate Reality Project จากเว็บ Unsplash
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 6: Olloweb Solutions จากเวบ็ Unsplash
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 7: rawpixel จากเวบ็ Unsplash
ปกหลงั : rawpixel จากเว็บ Unsplash

ออกแบบกราฟิก

มิสเตอรค์ ลินตัน www.mrclinton.be
ผู้ทรงคุณวุฒภิ ายนอก: ศาสตราจารย์ Ylva Rodny-Gumede คณะวารสารศาสตร์ ภาพยนตร์
และโทรทศั น์ มหาวทิ ยาลยั โจฮนั เนสเบริ ก์ ประเทศแอฟรกิ าใต้ ศาสตราจารย์ Basyouni Hamada
คณะสอ่ื สารมวลชน วทิ ยาลยั ศลิ ปะและวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั การต์ าร์ ศาสตราจารย์ Jayson
Harsin คณะการส่อื สารระหว่างประเทศ มหาวิทยาลยั อเมรกิ ันแห่งกรงุ ปารีส

- 147 -

คูมือเลมน้ีมีวัตถุประสงคในการใชงานเปนหลักสูตรตนแบบที่เปนสากล เปดกวางสําหรับการนําไปใชหรือ
ประยกุ ตใ ช เพอ่ื ตอบรบั ปญ หาขอ มลู บดิ เบอื นและขอ มลู ทผ่ี ดิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในโลก ซง่ึ ทงั้ สงั คมโดยรวมและวงการขา ว
ตอ งเผชิญ
เนื่องจากคูมือเลมนี้เปนหลักสูตรตนแบบ จึงออกแบบใหผูสอนวารสารศาสตรและผูอบรมใชเปนกรอบ
การทาํ งานและเปน บทเรยี นเพอ่ื ชว ยใหผ เู รยี นและนกั วชิ าชพี ขา วศกึ ษาประเดน็ ปญ หาทเ่ี กดิ จาก ‘ขา วลวง’ และ
เราหวังวา จะเปนแนวทางท่ีเปนประโยชนส าํ หรับนักขาวอาชพี ดว ยเชนกนั
เนอื้ หาในคมู อื ไดม าจากผสู อน นกั วจิ ยั และนกั คดิ ดา นวารสารศาสตรช นั้ นาํ จากนานาประเทศทร่ี ว มกนั ปรบั ปรงุ
วธิ ีการและแนวปฏิบัติในการจัดการกับความทาทายทีเ่ กิดจากขอมูลบิดเบือนและขอมูลที่ผิดใหท ันตอยุคสมัย
จนไดบทเรียนจากหลายบริบทและทฤษฎี โดยเฉพาะเรื่องการตรวจสอบทางชองทางออนไลน ซึ่งถือวาเปน
ประโยชนอ ยา งยง่ิ ในทางปฏบิ ตั ิ เมอ่ื นาํ ทงั้ หมดมาสอนเปน หลกั สตู รหรอื แยกสอนตามหวั ขอ จะชว ยใหก ารสอน
ทมี่ ีอยูแลวมคี วามสดใหมย ิง่ ขึน้ หรือเปน การสรา งสรรคความรูใหมข ้นึ มา
คูมือเลมน้ีเปนสวนหนึ่งของ “โครงการริเริ่มระดับโลกเพื่อความเปนเลิศในดานการศึกษาวารสารศาสตร”
ซง่ึ เปน ความสนใจของโครงการนานาชาตเิ พอ่ื พฒั นาการสอ่ื สาร (IPDC) ขององคก ารยเู นสโก โครงการนม้ี งุ เนน
การมีสวนรวมในดานการเรียนการสอน การปฏิบัติ และการวิจัยทางดานวารสารศาสตรในมุมมองระดับโลก
รวมถงึ การแบง ปนแนวปฏิบัตทิ ่ดี ขี องนานาประเทศ

UNESCO - Communication and Information Sector
7, place de Fontenoy, F-75352 Paris 07 SP, France
For further information, contact [email protected]

- 148 -


Click to View FlipBook Version