The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by papichaya, 2022-02-09 04:37:14

125 ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ.2440-2565 เล่มที่ 3

เล่มที่ 3 การเมืองท้องถิ่น ความร่วมมือ ปัญหา อุปสรรค และความขัดแย้ง

18

สําหรับบทความชิ้นน้ี ผู้เขียนลองทําการสํารวจสถิติการลอบ
สังหารนักการเมืองท้องถ่ินอีกคร้ังหนึ่ง ซ่ึงเป็นข้อมูลในอีก 10 ปีให้หลัง

ชว่ งปี 2553-2562 โดยใช้วธิ ีการอย่างง่าย8 พบวา่ หน่งึ การลอบสังหาร
นักการเมอื งทอ้ งถ่ินลดนอ้ ยลงไปเป็นอันมาก พบเพยี ง 97 กรณี (100%)
โดยไม่มีเหตุการณ์สังหารหมู่นักการเมืองท้องถ่ินคราวเดียวหลายราย
เหมือนท่ีเคยเกิดขึ้นหลายครั้งช่วงปี 2543-2552 ยอดผู้เสียชีวิตรวม 86

ราย (88.6%) สอง เป็นนักการเมืองใน อบต.มากถึง 60 คน (64.8%)
ตามด้วยนักการเมืองในเทศบาล 23 คน (23.7%) ที่น่าสนใจคือ ในการ
สํารวจครั้งน้ีมี กทม.รวมอยู่ด้วย เป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งซ่อมเป็นสมาชิก

สภาเขต (ส.ข.) ในเขตจอมทอง สาม ข้อมลู เบ้อื งตน้ ท่ีไดย้ ังยืนยันตามข้อ
ค้นพบเมื่อหน่ึงทศวรรษก่อน สัดส่วนท่ีออกมาใกล้เคียงกันเป็นอย่างย่ิง
ภาคใต้ก็ยังคงเป็นภูมิภาคท่ีพบปัญหาความรุนแรงมากท่ีสุด (47.42%)
โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีสามจังหวัด (ดูตารางที่ 1) ตามด้วยภาคกลาง (26.80%)
ภาคตะวันออก (9.28%) ภาคตะวันตก (6.19%) ภาคตะวันออก-
เฉียงเหนือ (6.19%) และภาคเหนือ (4.12%) ตามลําดับ ข้อสังเกตคือ
ภาคอีสานพบปัญหาน้ีค่อนข้างน้อย ท้ังที่มีจํานวนจังหวัดมากท่ีสุด

(ดูแผนภาพท่ี 1) ส่ี ภายหลังรัฐประหารเม่ือวันท่ี 22 พฤษภาคม 2557

8Cร8 ะlโโiดบดpยยุชsใใว่ รชชงะ้คค้เวบาํำ� ลุชคคา่วน้้นรงะ“เ“วหยยลวงิิงา”า่”รง+ะ+ห1““วกมกา่ ากงารรรเ1ามเมคอืมอืมงกงทรท2อ้า5้อคง5งถมถ3นิ่ ิน่2”ถ5”ึงส5สบื33บื ค1ถคน้ ึง้นธขนั3ขา่ 1ววา่ าวใธนคในันฐมวฐาานา2คนข5มข6อ้ ้อ2ม2มลู5แูล6IลQ2IะQNจแำ�eลNกwะeัดจwsเาํฉCsกพlดัipาะs
เขฉ่าพวาหะนข้า่ หวหนน่ึงขา้ หอนงห่ึงขนอังงสหือนพังิมสพอื ์พไทมิ ยพรไ์ ัฐทกยับรขฐั ก่าวบั สขด่าวสรดวมรแวลม้วแมลีมว้ มากมี ถากึงถ1ึง,514,5242ข่าว
ขทา่ีเกวท่ยี วีเ่ กข่ีย้อวงขซอ้ึ่งยงซังไง่ึ มย่ไงั ดไมค้ ไ่ัดดกค้ รดัอกงรอง

196 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

19

เรียกได้ว่าคดีฆาตกรรมนักการเมืองท้องถิ่นแทบจะไม่เกิดขึ้น เชื่อว่า
เก่ียวกับนโยบายของ คสช. ซ่ึงส่ังระงับมิให้มีการเลือกตั้งท้องถ่ิน
ทุกรูปแบบนับแต่นั้นเรื่อยมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน พ.ศ. 2559 ท่ีพบ
เพียงรายเดียวตลอดปี ขณะท่ีในปี 2553 น้ันนับว่ามากท่ีสุด ปีน้ีปีเดียว
มรี ว่ ม 30 รายเลยทีเดียว

แผนภาพท่ี 1 แสดงระดับความรนุ แรงทีเ่ กดิ ข้ึนเป็นรายภาค เปรยี บเทียบระหวา่ ง
ช่วงปี 2543-2552 กับช่วงปี 2553-2562

197ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

20

ตารางท่ี 1 แสดงรายช่ือจังหวัด 10 อันดับแรกซ่ึงมีการลอบสังหารนักการเมือง
ท้องถ่นิ มากท่ีสุดเปรียบเทยี บระหวา่ งช่วงปี 2543-2552 กบั ชว่ งปี 2553-2562

ปี 2543-2552 ปี 2553-2562
ลาดบั จงั หวดั จานวน ลาดบั จงั หวัด จานวน
1 นราธวิ าส 34 1 ปตั ตานี 10

2 ปตั ตานี 31 2 นราธิวาส 6

3 พทั ลงุ 30 3 นครศรธี รรมราช 5
4 ยะลา 24 สงขลา 5

5 สงขลา 20 5 ชุมพร 4
6 นครศรีธรรมราช 18 พัทลงุ 4

7 นครปฐม 16 ตรงั 3

8 เพชรบูรณ์ 16 นครนายก 3

9 นครราชสมี า 13 นครสวรรค์ 3

10 เชยี งใหม่ 12 7 นนทบุรี 3
สุพรรณบรุ ี 12 เพชรบุรี 3

ยะลา 3

ระยอง 3

ลพบุรี 3

สุราษฎรธ์ านี 3

198 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

21

ความสง่ ทา้ ย

หากพิจารณาข้อมูลในภาพรวมในระยะยาว แนวโน้มชัดเจนมาก
ว่าตัวเลขความรุนแรงลดลงอย่างต่อเน่ือง สถิติข้างต้นน่าจะพอยืนยันได้
ว่ากระจายอํานาจหาใช่ทําให้มีความรุนแรงเกิดเพ่ิมข้ึน ทว่าในมุมกลับ
การกระจายอานาจต่างหากทีช่ ่วยลดความรนุ แรง

ขณะเดียวกัน งานศึกษาจํานวนมากก็ได้ชี้ให้เห็นแล้วว่า อปท.
เองมีกลไกการจัดการความขัดแย้งภายในที่ดี และใช้วิธีการประนีประนอม
ในการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้ง ท้องถ่ินไทยโดยทั่วไปไม่ได้มีวัฒนธรรม
การเมืองแบบแข่งขันรุนแรง (fragmented and volatile competition)9
ท้ังหมดนี้จึงช่วยหยุดยั้งมิให้ความขัดแย้งแปรเปล่ียนเป็นความรุนแรง
ได้ในท่สี ดุ

9แปกร9ปกแพ นุลาลลรจรวจรแะะะะุ่กมรรแเไรเสัตัสใกภภมบดง่อาทแสท่มก่งสรเลวุกนพีดดลุวเรมะลัง่ืงอัรุ่มวรตกกือ่มุรกงใณณดลล่องกใเดซา่่ามเมาปมนววก่ึงรีอาา็นอ่ืไไอเลล�ำวลวมฝงามนุา่ว้้วาือจักใา่าซา่(งพดเ2จ(งึ่เมป2มมบป5อทงุ่5็นุ่งอี5าเ็นาใใ5หฝ0จนาํงนฝ0็นนก่า,พเักเร,ยาร9ไาบเอื่ดรหจอื่9ป5เงเ้ใท5หง-ลน็มกน9ก-าน็าฝอืา97ชางยรไ่าง7)ุรมกดกแยเ)แอาหช้ใขลหขรนธนอนงุ่่มลเง่บิชขธเมอืหาขขมุาิบนักือยันลตยชาทลงกาเทแยนเมาุม่ลยหบาแงเืออุ่มขงขนกบบงื่นก้ัหวตาือบแหซาอลรเกผแรมรึ่งยเาลนืมอเผไอืยา่มมมุ่กอืวนงงขอื่สอฒัหเึ่งงวัว้ดงเเาน่ืฒัรซพมนเด็มพอือึ่งือธนอ่ืขากไยอื่รงแธารมึง่า่แรกดรถย่สเงมยึ่งมรง่เเาโขชกง่ดมชือดมช้านา็ดกงิงยากิงรอกบขารเอเันฉำ�รึง่าถทมํานเชไพดเือทมนดขนาางอื่ีมา้จา้ะบทจงแกีกทอททอ้ทลนัาร่ียทงอ้รี่ะนุไ่าถแด่มีงไแงิ่นมถบ้ียริ่น่ม่งงิง่ ี
โใดนยแเงฉ่ขพอางะกอายร่าเลงยือ่งิกใตนั้งแงตข่ ่าองงฝก่าายรตเล่าอืงใกชต้กั้งลตย่าุทงธฝ์ตา่ ่อยสตู้เ่าพงื่อใชเอก้ าลชยนุทะธก์ตัน่อสแ้เูบพบือ่ ทเอ�ำาลชานยละ้าง
กไมัน่ปแรบะบนทีปาํ รละานยอลม้างพไม่ึงพ่ปารวะิธนีกีปารระนนออกมกพฎึ่งหพมาาวยธิ กี แาลระนคอวกากมฎรหุนมแารยงปแรละะกคอวบากมัน เช่น
รซนุื้อแเสรียงปง รใชะก้ออทิ บธิพกันลขเม่ชข่นู่ ฯซลื้อฯเสียง ใชอ้ ิทธพิ ลขม่ ขู่ ฯลฯ

199ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

บรรณานกุ รม

กฤชวรรธน โลหวัชรินทร์. (2552). ความขัดแย้งในองค์การบริหาร
สว่ นตำ� บลในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนบน: รปู แบบ สาเหตุ
และผลกระทบ (วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต).
ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
กำ� พล ตบ๊ิ เหลก็ . (2556). การบรหิ ารจดั การความขดั แยง้ เรอื่ งผลประโยชน์
ระหว่างผู้รับเหมากับผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ ในจงั หวดั ลำ� พนู (การศกึ ษาอสิ ระรฐั ประศาสนศาสตร
มหาบัณฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น.
เกรียงศักด์ิ ชูดอกไม้. (2549). ผลกระทบเชิงลบของนโยบายกระจาย
อ�ำนาจการปกครองสู่ท้องถ่ินด้านความขัดแย้งของบทบาท
ผู้น�ำท้องถ่ิน กรณีศึกษาก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน และสมาชิกสภา
องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลทบั คลอ้ อำ� เภอทบั คลอ้ จงั หวดั พจิ ติ ร
(การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต).
พิษณโุ ลก: มหาวทิ ยาลยั นเรศวร.
ขา่ วสด. (2548, 1 ธนั วาคม). รัวฆ่าคาหอ้ งประชุมนายก-ปลดั .

. (2559, 7 กันยายน). เวียงปา่ เปา้ ดุ-ยงิ ดบั นายกเล็กปา่ งิ้ว.
คนึงนิจ ธรรมทิ. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาวะผู้นำ� กับ
การจดั การความขัดแยง้ ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ (การ
ค้นคว้าแบบอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). เชียงใหม่:
มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.

200 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

คมชดั ลกึ . (2550, 28 ตลุ าคม). การเมอื งแปดรวิ้ รอ้ นระอฆุ า่ นายก อบต.-
หวั คะแนน พปช.
จงศักดิ์ สุวรรณประดิษฐ์. (2520). ความขัดแย้งทางการเมืองระหว่าง
คณะเทศมนตรีกับสภาเทศบาล ศึกษาเปรียบเทียบกรณีของ
เทศบาลเมืองสระบุรี เทศบาลต�ำบลแก่งคอย และเทศบาล
ต�ำบลหนองแค (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ:
จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
จรสั สุวรรณมาลา. (2550). วัฒนธรรมการเมืองทอ้ งถนิ่ ในประเทศไทย.
วารสารสถาบนั พระปกเกล้า. 5(3), 83-106.
จรญู ศรี ตง้ั เสถยี ร. (2553). ความขดั แยง้ ทางการเมอื งในองคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่ : กรณศี กึ ษาองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บลในเขตอำ� เภอ
ท่าหลวง จังหวัดลพบุรี (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต).
นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมาธิราช.
ชวลติ ศริ ิศกั ดิว์ ฒั นา. (2538). ความขัดแย้งในการเมอื งทอ้ งถนิ่ : ศึกษา
กรณีการขอขยายเขตเทศบาลเมืองอ่างทอง (วิทยานิพนธ์
รัฐศาสตรมหาบัณฑติ ). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั .
ชาญวทิ ย์ เกษตรศริ ิ (บรรณาธกิ าร). (2536). รวมบทคดั ยอ่ วิทยานิพนธ์
ทเ่ี กย่ี วกบั การเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยของไทย.
กรุงเทพฯ: ส�ำนักพมิ พม์ หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร.์

201ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

ชูชาติ จันทร์แก้ว. (2550). การบรหิ ารความขัดแย้งของนายกองคก์ าร
บริหารส่วนต�ำบลในจังหวัดสุพรรณบุรี (การศึกษาอิสระ
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
ณฐั กร วทิ ติ านนท.์ (2554). ความขดั แยง้ และความรนุ แรงของการเมอื ง
ทอ้ งถน่ิ ไทยในภาคเหนอื ตอนบน พ.ศ. 2543-2552 (ดษุ ฎนี พิ นธ์
ปรัชญาดษุ ฎบี ัณฑิต). เชียงราย: มหาวทิ ยาลยั แม่ฟ้าหลวง.

. (2555). การเมืองท้องถิ่นเทศบาลนครเชียงใหม่ (พ.ศ.
2542-2554): กลุ่มการเมืองผูกขาด จุดพลิกผัน และการฟื้น
คนื อำ� นาจ. ใน วสันต์ ปญั ญาแกว้ (บรรณาธกิ าร). การเมอื งของ
ราษฎรไทยยคุ หลงั (หลงั ) ทกั ษณิ . เชยี งใหม:่ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม,่
83-121.

. (2557). ความขดั แยง้ และความรนุ แรงของการเมอื งท้อง
ถิ่นไทย: ศึกษากรณีองค์การบริหารส่วนต�ำบลแห่งหนึ่งใน
จังหวัดแพร่. ในรวมบทความวิชาการและงานวิจัยการประชุม
วิชาการรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งท่ี 14
(พ.ศ. 2556). อบุ ลราชธาน:ี มหาวิทยาลัยอบุ ลราชธานี.

. (2559). การลอบสงั หารในการเมอื งทอ้ งถนิ่ ไทย: บทสำ� รวจ
“ตวั เลข” ขั้นตน้ ในรอบทศวรรษ (พ.ศ.2543-2552). วารสาร
สถาบนั พระปกเกลา้ . 8(3), 41-54.

. (2559). ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในการเมอื งท้องถิน่
ไทย: ศึกษากรณีเทศบาลต�ำบลบ้านดู่ อ�ำเภอเมือง จังหวัด
เชยี งราย. วารสารการบรหิ ารท้องถ่ิน. 4(9), 1-24.

202 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

ณฐั ฐนิ ยี ์ เรยี งจนั ทร.์ (2550). ปญั หาและการแกไ้ ขความขดั แยง้ ในองคก์ ร
ปกครองทอ้ งถ่นิ (ระดบั อบต.) เขตพน้ื ทอ่ี �ำเภอเมอื งปทุมธานี
จงั หวดั ปทมุ ธาน.ี (การศกึ ษาอสิ ระรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ).
ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแกน่ .
เดลนิ ิวส.์ (2555, 8 พฤศจกิ ายน). รวั โหดนายกสงขลาดับสยองคาบา้ น
ปมการเมอื งรอ้ น.
ตระกูล มีชัย. (2546). รายงานฉบับสมบูรณ์โครงการศึกษารวบรวม
ขอ้ มลู ดา้ นการเมอื งการปกครองไทย เรอื่ ง การเมอื งการปกครอง
ท้องถ่ินไทย. นนทบุร:ี สถาบนั พระปกเกลา้ .
ทัศนีย์ ปิ่นสวัสด์ิ. (2561). การจัดการความขัดแย้งทางการเมืองใน
จังหวัดชัยนาท. Veridian E Journal ฉบับภาษาไทย สาขา
มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศลิ ปะ. 11(1), 2780-2800.
เทดิ ทนู แพทย์หลักฟา้ . (2556). การจดั การความขดั แยง้ ระหว่างกำ� นนั
ผู้ใหญ่บ้านกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในอ�ำเภอสามโก้
จงั หวดั อา่ งทอง (การศกึ ษาอสิ ระรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ).
พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยธุ ยา.
ไทยรัฐ. (2549, 25 มกราคม). ปธ. สภาคลัง่ ยงิ นายกเลก็ คาโตะ๊ ประชุม.
ธนนั อนมุ านราชธน, จันทนา สทุ ธจิ ารี และไพสฐิ พาณิชยกุล. (2545).
เอกสารวิจัยเรื่องแนวทางการจัดการความขัดแย้งเกี่ยวกับ
ทรัพยากรน�้ำในเขตอ�ำนาจขององค์การบริหารส่วนต�ำบล
(อบต.) จังหวัดเชียงใหม่. เชียงใหม:่ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.

203ความขดั แยง้ และความรนุ แรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

ธรรมศกั ดิ์ สเุ มตตกิ ลุ . (2544). ผลกระทบของความขดั แยง้ ทางการเมอื ง
เรื่องขยะในเทศบาลนครเชียงใหม่. (การค้นคว้าแบบอิสระ
รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ ). เชยี งใหม:่ มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม่.
ธรี ภัทร์ เลิศวรสิริกุล. (2551). การแกป้ ัญหาความขัดแยง้ ของผูบ้ รหิ าร
ตามความคดิ เหน็ ของผปู้ ฏบิ ตั งิ านและสมาชกิ สภาเทศบาลเมอื ง
กนั ทรลกั ษ์ อำ� เภอกนั ทรลกั ษ์ จงั หวดั ศรสี ะเกษ. (การศกึ ษาอสิ ระ
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
นนท์ นนทพ์ ะยอม. (2545). การศกึ ษาความขดั แยง้ เกย่ี วกบั การกระจาย
อ�ำนาจดา้ นการศึกษาสู่องค์การบรหิ ารส่วนตำ� บล ศกึ ษากรณี:
ก่ิงอ�ำเภอโคกโพธิ์ไชยจังหวัดขอนแก่น. (การศึกษาอิสระ
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต). ขอนแกน่ : มหาวิทยาลัยขอนแกน่ .
นักรบ เถียรอ่�ำ. (2556). บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
กับการจัดการความขัดแย้งชุมชนท้องถิ่น. วารสารร่มพฤกษ์
มหาวิทยาลัยเกริก. 31(2), 171-200.
เบญจรสั ศรปี ระด.ู่ (2551). ความขดั แยง้ ทางการเมอื งระหวา่ งนกั การเมอื ง
ทอ้ งถิ่นกบั พนักงานองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ : ศึกษาเฉพาะ
กรณีองค์การบริหารส่วนต�ำบลในเขตพ้ืนท่ีอ�ำเภอมัญจาคีรี
จงั หวดั ขอนแกน่ (การศกึ ษาอสิ ระรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ).
ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .
ใบบญุ อปุ ถมั ภ.์ (2558). ภาวะผนู้ ำ� การเปลยี่ นแปลงกบั การจดั การความ
ขัดแย้งของผู้น�ำในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอ�ำเภอ
เชยี งยนื จงั หวดั มหาสารคาม. วารสารบณั ฑติ ศกึ ษา มนษุ ยศาสตร์
สังคมศาสตร.์ 4(1), 15-30.

204 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

ประดิษฐ์ ทพิ ยส์ ุมาลัย. (2531). ความขัดแย้งในทางการเมืองท้องถ่ิน:
ศึกษากรณีการขอขยายเขตเทศบาลเมืองนครศรีธรรมราช
(วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวทิ ยาลัย.
ปิยาณีย์ จ๋วงพานิช. (2552). การศึกษาปัญหาและผลกระทบความ
ขัดแย้งทางการเมืองระหว่างนักการเมืองกับพนักงานองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ . (การศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองรฐั ประศาสน
ศาสตรมหาบัณฑติ ). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พงศ์ สภุ าวสทิ ธ.์ิ (2536). ปญั หาความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งขา้ ราชการประจำ�
กบั ข้าราชการการเมืองระดบั ท้องถ่นิ : กรณีศกึ ษาเทศบาลนคร
เชยี งใหม่ (การคน้ ควา้ แบบอสิ ระรฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ ). เชยี งใหม:่
มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่
พงษศ์ กั ด์ิ สงิ หโ์ ต. (2550). ความขดั แยง้ ทางการเมอื งในองคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ินตามความรับรู้ของบุคลากรในองค์การบริหาร
ส่วนต�ำบลในเขตอ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง (การศึกษาอิสระ
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
ไพฑูรย์ คล้ายม่ัง. (2543). การจดั การความขดั แย้งขององคก์ ารบรหิ าร
ส่วนต�ำบล ศึกษากรณีอ�ำเภอราศีไศล จังหวัดศรีสะเกษ.
(วิทยานพิ นธศ์ ลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต). กรงุ เทพฯ: สถาบนั บณั ฑิต
พฒั นบริหารศาสตร์.
มติชน. (2552, 28 พฤษภาคม). ตร. พัทลุงเค้น 3 ผู้ต้องหาสงสัย
สาวปมสังหาร”นายกหนนุ ”.

205ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

มานัส เสนานุช. (2558). ความขัดแย้งในระบบราชการระหว่างผล
ประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมขององคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถิ่น. (ดุษฎีนิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต).
เพชรบรู ณ:์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
โยชิฟมู ิ ทามาดะ (เขียน). พิชญ์ พงษส์ วสั ดิ์ (แปล). (2543). อิทธิพล และ
อำ� นาจ: การเมอื งไทยดา้ นทไี่ มเ่ ปน็ ทางการ. ใน อมรา พงศาพชิ ญ์
และปรชี า ควุ นิ ทรพ์ นั ธ์ุ (บรรณาธกิ าร). ระบบอปุ ถมั ภ.์ กรงุ เทพฯ:
ส�ำนกั พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย, 215-351.
รัตนาภรณ์ นันทะเรือน. (2551). การถ่ายโอนอ�ำนาจการบริหาร
การศกึ ษาไปยังองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ : ความขัดแย้งและ
ความคลคี่ ลาย. (วทิ ยานพิ นธศ์ กึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ ). เชยี งใหม:่
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.
วนิ จิ โพธเ์ิ วยี ง. (2553). การบรหิ ารความขดั แยง้ ของปลดั องคก์ รปกครอง
สว่ นทอ้ งถิน่ : กรณีศึกษาองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในจงั หวดั
หนองคาย. (การศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต).
ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
วีระวัฒน์ พัฒนกุลชัย. (2554). การพัฒนากลยุทธ์การบริหารความ
ขดั แยง้ ในนโยบายกระจายอำ� นาจการจดั การศกึ ษาใหแ้ กอ่ งคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถิ่น. (ดุษฎีนิพนธ์คุรุศาสตรดุษฎีบัณฑิต).
กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั .

206 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถ่ินไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

ศริ ญิ า นว่ มตาล. (2557). การศกึ ษาสภาพและแนวทางการบรหิ ารความ
ขัดแย้งของหัวหน้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถน่ิ จงั หวดั พษิ ณโุ ลก (วทิ ยานพิ นธค์ รศุ าสตรมหาบณั ฑติ ).
พษิ ณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภฏั พิบลู สงคราม.
ศิริวรรณ วีระกุล. (2550). การศึกษาความขัดแย้งระหว่างผู้น�ำท้องที่
และผู้น�ำท้องถิ่น กรณีศึกษา: ต�ำบลปากโทก อ�ำเภอเมือง
พษิ ณโุ ลก จงั หวดั พษิ ณโุ ลก. (การศกึ ษาอสิ ระรฐั ประศาสนศาสตร
มหาบณั ฑติ ). ขอนแก่น: มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น.
ศิริศกั ดิ์ ศิริมังคะลา. (2533). ความขดั แย้งในการเมืองทอ้ งถ่ิน: ศึกษา
เฉพาะกรณีเทศบาลเมืองอุทัยธานี (พ.ศ. 2528-2533).
(วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
ศริ ศิ กั ด์ิ เหลา่ จนั ขาม. (2552). ความขดั แยง้ ในองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำ� บล
ในภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนลา่ ง. (วทิ ยานพิ นธร์ ฐั ประศาสน
ศาสตรมหาบณั ฑิต). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สมเจตน์ พนั ธโุ ฆษิต. (2520). ความขัดแย้งในการบรหิ ารงานเทศบาล
ระหวา่ งคณะเทศมนตรกี บั พนกั งานเทศบาล: ศกึ ษาถงึ บคุ ลกิ ภาพ
ทางการบรหิ ารของนายกเทศมนตรแี ละปลดั เทศบาล. (วทิ ยานพิ นธ์
รฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ ). กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
สมหวัง บญุ ลา. (2551). การศกึ ษาความขัดแย้งในองค์การบริหารสว่ น
ตำ� บลพะลาน อำ� เภอนาตาล จงั หวดั อบุ ลราชธาน.ี (การศกึ ษาอสิ ระ
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

207ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

สยามรฐั . (2554, 12 เมษายน). สมรภมู เิ ลอื กตงั้ เดอื ด“ซมุ้ มอื ปนื รบั จา้ ง”ด.ุ
สบื คน้ เมอื่ 27 ตลุ าคม 2554, จาก http://www.siamrath.co.th/
web/?q=node/49587

สยามรัฐ. (2556, 20 พฤศจกิ ายน). โจรใตร้ วั ปนื ถลม่ รองนายก อบต.
ร่างพรุนคารถ.

สิทธิกร อว้ นศิริ. (2546). วธิ กี ารบรหิ ารความขัดแย้งของนายกองค์การ
บริหารส่วนต�ำบลในจังหวัดเลย. (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบณั ฑติ ). เลย: สถาบันราชภัฏเลย.

สชุ าติ ชว่ ยรกั ษ.์ (2552). ความรนุ แรงทางการเมอื งขององคก์ รปกครอง
ส่วนท้องถ่ินในจังหวัดนครศรีธรรมราช. (การศึกษาอิสระ
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .

สทุ ธเิ กยี รติ องั กาบรู ณะ. (2564). อดตี ปจั จบุ นั และขอ้ เสนอแนะทศิ ทาง
สู่อนาคตความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการการเมืองท้องถ่ินกับ
ข้าราชการประจ�ำขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของ
ประเทศไทย. วารสารไทยคดีศึกษา. 18(1), 155-196.

สุธน ชุ่มชื่น. (2552). ความขัดแย้งทางการเมืองท้องถิ่นในจังหวัด
กาญจนบุรี. (การศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต).
ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ .

สุประวีณ์ เปรมปรีดี. (2553). แนวทางจัดการความขัดแย้งระหว่าง
นกั การเมอื งทอ้ งถนิ่ กบั พนกั งานองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ของ
เทศบาลตำ� บลทา้ ยดง อำ� เภอวงั โปง่ จงั หวดั เพชรบรู ณ.์ (การศกึ ษา
อสิ ระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). ขอนแกน่ : มหาวทิ ยาลยั
ขอนแก่น.

208 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้

สุวรรณ พฤคณา. (2548). ปจั จัยและผลกระทบของความขดั แยง้ ทาง
การเมืองระหว่างนักการเมืองท้องถ่ินกับพนักงานองค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ในจงั หวดั หนองคาย. (วทิ ยานพิ นธร์ ฐั ศาสตร
มหาบณั ฑิต). นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลัยสโุ ขทัยธรรมาธริ าช.
อดิศร ภู่สาระ. (2564). การจดั การความขัดแย้งในการปฏบิ ตั ิงานของ
ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดอ่างทอง. วารสาร
วิชาการ มทร. สวุ รรณภูมิ (มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร)์ . 6(1),
64-79.
อดลุ ย์ รสศริ .ิ (2548). การศกึ ษาสาเหตแุ ละผลกระทบของความขดั แยง้
ทางการเมอื งในองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ : ศกึ ษาเฉพาะกรณี
องค์การบริหารส่วนต�ำบลในอ�ำเภอเมือง จังหวัดระยอง.
(วทิ ยานพิ นธร์ ฐั ศาสตรมหาบณั ฑติ ). นนทบรุ :ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั
ธรรมาธิราช.
อภิญา งามภักด.ิ์ (2558). สาเหตุและการจัดการความขัดแย้งในองคก์ ร
ปกครองส่วนท้องถ่ิน A จังหวัดปทุมธานี. (วิทยานิพนธ์
ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์.
อมรศักดิ์ สอนวงศา. (2551). การศึกษาพฤติกรรมการบริหารความ
ขัดแย้งของผู้บริหารเทศบาลในจังหวัดอุดรธานี. (การศึกษา
อิสระรฐั ประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). ขอนแกน่ : มหาวิทยาลยั
ขอนแกน่ .

209ความขดั แยง้ และความรุนแรงในการเมอื งท้องถิ่นไทย

อาเบ เปียะผะ. (2557). การศึกษาเปรียบเทียบการบริหารจัดการแก้
ปญั หาความขดั แยง้ ระหวา่ งแนวทางวฒั นธรรมลซี กู บั กลไกการ
บริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์
ลีซูในองค์การบริหารส่วนต�ำบลป่าตึง อ�ำเภอแม่จัน จังหวัด
เชียงราย. (การศึกษาค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหา
บณั ฑิต). เชียงราย: มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ ้าหลวง.
Anderson, B.(1990). Murder and Progress in Modern Siam.
New Left Review. No.181 (May-June), 33-48.
Ockey, J. (2000). The Rise of Local Power in Thailand:
Provincial Crime, Elections and the Bureaucracy.
In Ruth McVey (Ed.). Money and Power in provincial
Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books, 73-96.
Phongpaichit, P. and Piriyarangsan, S. (1996). Corruption and
Democracy in Thailand. Chiang Mai: Silkworm Books.
Vititanon, N. (2017). Assassination in Thai Local Politics:
A Decade of Decentralization (2000-2009). Kyoto
Review of Southeast Asia. No.21 (March, from https://
kyotoreview.org/issue-21/assassination-thai-local-politics/

210 ๑๒๕ ปี การปกครองท้องถิ่นไทย พ.ศ. ๒๔๔๐ - ๒๕๖๕

การเมอื งท้องถิ่น: ความรว่ มมอื ปัญหา อุปสรรค และความขดั แยง้


Click to View FlipBook Version