The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนฐานการเลี้ยงปลาดุก

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by นางอุไร แพงแก้ว, 2022-06-12 00:04:49

แผนฐานการเลี้ยงปลาดุก

แผนฐานการเลี้ยงปลาดุก



แผนการจดั การเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ฐานการเรยี นรู้ “การเลย้ี งปลาดกุ ”

สาระการประกอบอาชพี วชิ าการเลี้ยงปลาดุก (อช02013)

๑. ช่ือฐานการเรียนรู้ การลย้ี งปลาดกุ เวลา ๓ ชว่ั โมง
๒. ช่ือผู้จดั ทา นางอุไร แพงแกว้ ครอู าสาสมัครการศกึ ษานอกโรงเรียน
๓. วัตถุประสงค์

๓.๑ วตั ถปุ ระสงค์
๓.๑.๑ เพื่อให้ผู้มาศึกษาสามารถเล้ียงปลาดุกเพ่ือใช้บริโภคในครัวเรือนและจาหน่ายเป็น

รายไดเ้ สริม
๓.๑.๒ ให้ผู้มาศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการ ขั้นตอน วัสดุ อุปกรณ์ สถานท่ี ในการเลี้ยงปลา

ดกุ
๓.๑.๓ เพื่อใหผ้ ูม้ าศกึ ษานาความรู้ ไปประยุกตใ์ ช้และขยายผลต่อไปไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ ง
๓.๑.๔ เพ่ือเปน็ แหล่งเรยี นรู้การเลย้ี งปลาดุกตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

๓.๒ กิจกรรมการเรยี นรู้
๓.๒.๑ แนะนาวทิ ยากรประจาฐาน และพื้นท่ีฐานการเรยี นรู้
๓.๒.๒ แจง้ ขอบเขตเนือ้ หากจิ กรรมการเรยี นรูแ้ ก่ผู้เรียน
๓.๒.๓ จัดกิจกรรมรว่ มกับผู้เรียนในเรื่องวธิ ีการเลี้ยงปลาดุก
๓.๒.๔ อภิปรายกระบวนการเลี้ยงปลาดุก โดยนาหลักคิด ๒ : ๓ : ๔ มาทากจิ กรรม เพื่อให้

เกดิ อุปนิสยั ความพอเพยี ง
๓.๒.๕ ผู้เรียนวางแผนและออกแบบร่วมกนั ในกล่มุ ในการเรยี นรู้ ขั้นตอน วัสดุ อุปกรณ์

สถานท่ี ในการเล้ียงปลาดกุ
๓.๒.๖ ผูเ้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั ิ
๓.๒.๗ วิทยากรแกนนา ผู้เรียนแกนนาร่วมกันสรุปองค์ความรู้ ทักษะประสบการณ์เล้ียง

ปลาดุก
๓.๒.๙ ถอดองคค์ วามรู้เกี่ยวกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ตามใบงานถอดบทเรยี น

ฐานการเรียนร้กู ารเลยี้ งปลาดุก
๔. ส่ือ / อุปกรณ์

๕.๑ อุปกรณ์สาหรับทาบ่อเล้ียงปลา
๕.๒ พันธป์ุ ลาดุก
๕.๓ ใบความรู้หลกั การทรงงาน
๕.๔ ใบความร้คู วามสอดคล้องตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๕.๕ แผน่ พบั องคค์ วามรู้ขน้ั ตอนการเลยี้ งปลาดุก
๖. ความรู้ทไี่ ดร้ บั จากฐานการเรียนรู้
๖.๑ ศาสตรพ์ ระราชา

๖.๑.๑ พออยพู่ อกิน
๖.๑.๒ จากง่ายไปหายาก
๖.๑.๓ เศรษฐกจิ พอเพียง
๖.๑.๔ พ่ึงพาตนเอง



๖.๒ ศาสตรท์ ้องถิน่

๖.๒.๑ การเลี้ยงปาดกุ

๖.๓ ศาสตร์สากล

๖.๓.๑ การเล้ียงปลาดกุ กรมประมง

๖.๓.๒ การเลย้ี งปลาดกุ เชงิ พาณิชย์

๗. ความสอดคล้องกับหลักการทรงงาน

๗.๑ พออยู่พอกิน

๗.๒ จากง่ายไปหายาก

๗.๓ พึ่งพาตนเอง

๗.๔ ความเพยี ร

๘. ความสอดคล้องกบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง (๒ เงื่อนไข ๓ หลักการ ๔ มิต)ิ

๒ เง่ือนไข

เง่ือนไขความรู้ เงอ่ื นไขคณุ ธรรม

- ความรู้เบื้องต้นเกยี่ วกบั การเล้ยี งปลาดุก - การคานึงความปลอดภัยตอ่ สุขภาพผบู้ รโิ ภค

- การเตรียมพ้นื ท่ีในการทาบอ่ ดินเพ่ือเล้ยี งปลาดุก - ความขยนั

- การให้อาหารในการเล้ียงปลาดุก - ความประหยดั /อดออม

- การทาบัญชคี รวั เรอื น - มีความยุติธรรม

- ชอ่ งทางจาหนา่ ย/ตลาด

๓ หลักการ

พอประมาณ มีเหตุผล มีภมู คิ ้มุ กันในตัวทด่ี ี

- ใช้พ้ืนท่ีของตนเองเพื่อทาการ - เพ่ือบรโิ ภคภายในครัวเรือน - มีความปลอดภัยด้านสุขภาพ

เลยี้ งปลาดุก - การใช้วัสดุที่มีอยู่เช่นนาผัก ใช้ ปลอดภัยในการบรโิ ภค

-บคุ ลากรในครอบครวั ช่วยกัน เลยี้ งปลา - มีการออม สะสมตามความ

เล้ยี ง เหมาะสม

- การทาบัญชีรายรับ-รายจา่ ย



 ผลลพั ธท์ เี่ กดิ ขึน้ กับผเู้ รยี นจากการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้บรู ณาการหลกั ปศพพ. ดงั น้ี

อยู่อยา่ งพอเพียง....สมดุลพร้อมรับการเปล่ียนแปลงใน ๔ มติ ิ

วัตถุ สังคม

- มีการศึกษา/วางแผนให้รอบครอบ - มีความเออ้ื เฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน

- ประหยัด - การสร้างรายไดใ้ หก้ ับครอบครวั /ชมุ ชน

- ลดรายจา่ ย/เพ่ิมรายได้

- การบรหิ ารจดั การภายในครัวเรือน เหลือจากบริโภค

ไปจาหน่าย

- การใชว้ สั ดทุ ่ีมอี ยใู่ นท้องถนิ่

ส่งิ แวดลอ้ ม วฒั นธรรม

- การรู้จักจัดการน้าในบ่อเลี้ยงปลาให้สะอาด ไม่มี - เรยี นรกู้ ารเลยี้ งปลาดุกจากภมู ปิ ัญญาท้องถิน่

กล่ินเหม็น - การเรยี นรู้การทาอาหารปลาจากวสั ดใุ นท้องถ่นิ

- การใชป้ ระโยชน์จากน้าที่เปลี่ยนจากบ่อเล้ียงปลา

๙. การนาไปประยุกตใ์ ช้
๙.๑ การประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจาวนั

๙.๑.๑ นาความร้กู ารเลีย้ งปลาดกุ ไปปรับใช้ในการเลย้ี งพื้นท่ีของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม
๙.๑.๒ สามารถนาไปประกอบอาชีพเสรมิ

๙.๒ การประยุกตใ์ ชใ้ นภารกจิ ตามหนา้ ที่
๙.๒.๑ รกู้ ารทางานอย่างเป็นระบบ

๑๐. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้และข้อเสนอแนะเพิม่ เติม

๑๐.๑ สงั เกตความสนใจ และการซักถาม

ขอ้ เสนอแนะเพม่ิ เตมิ

...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ..............................



การเลีย้ งปลาดุก

ปลาดุกในประเทศไทยท่ีนิยมนามาเพาะเลี้ยงในอดีตนั้นแต่เดิมมี ๒ ชนิด แต่ท่ีนิยมในการเพาะเลี้ยง
อย่างมากได้แก่ ปลาดุกอุย (Clarias macrocephalus) เป็นปลาพ้ืนบ้านของไทยชนิดไม่มีเกล็ด รูปร่างเรียว

ยาว มีหนวด ๔ เส้นที่ริมฝีปาก ผิวหนังมีสีน้าตาล เน้ือมีสเี หลือง รสชาติอร่อยนุ่มนวล สามารถนามาปรุงแต่ง
เป็นอาหารชนิดต่าง ๆ ไดม้ ากมาย ในประเทศไทยมีพนั ธุป์ ลาดุกอยู่จานวน ๕ ชนิด แต่ท่ีเป็นที่ร้จู ักทวั่ ๆ ไปคือ

ปลาดกุ อุยและปลาดกุ ด้าน (Clarias batrachus) ซ่งึ ในอดตี ทั้งปลาดุกอยุ และปลาดกุ ด้านได้มกี ารเพาะเลยี้ งกัน
อย่างแพร่หลาย เม่ือมีการนาปลาดุกชนิดใหม่เข้ามาเล้ียงในประเทศไทย อธิบดีกรมประมงได้มีคาสั่งให้กลุ่ม
วจิ ัยการเพาะเลี้ยงสัตวน์ ้า สถาบันวิจัยการเพาะเล้ียงสตั ว์น้าจดื ดาเนินการศึกษา พบวา่ เป็นปลาในตระกลู แคท

ฟิช เช่นเดียวกับปลาดุกอุย มีถ่ินกาเนิดในทวีปแอฟริกา มีชื่อว่าClarias gariepinus, African sharptooth
catfish เป็นปลาที่มีการเจริญเติบโตรวดเร็วมาก สามารถกินอาหารได้แทบทุกชนิดมีความต้านทานโรคและ

สภาพแวดล้อมสูง เปน็ ปลาทม่ี ขี นาดใหญเ่ ม่อื เจริญเติบโตเตม็ ท่ี
งานศึกษาและพัฒนาแหล่งน้าเพื่อการประมงได้ศึกษาการเลี้ยงปลาดุกทั้งรูปแบบการเลีย้ งและชนิดของปลา

ดุกท่เี หมาะสมกับการเล้ียงพบว่า ปลาดกุ สามารถเจริญเติบโตไดด้ ีทั้งในบอ่ ดิน บ่อพลาสติก และบอ่ ซีเมนต์ ส่วนชนิด
ปลาดกุ ทเ่ี หมาะสมในการเลี้ยงในบอ่ ซีเมนต์นัน้ ปลาดกุ เทศ และปลาดุกเทศอยุ เทศ (ลกู ผสมระหวา่ งแมป่ ลาดุกอุยกับ
พ่อปลาดุกเทศ) เหมาะสมมากทส่ี ุด โดยใช้ระยะเวลาประมาณ ๒ - ๓ เดือน (แล้วแตข่ นาดลูกปลาที่ปล่อย) ก็สามารถ
จาหน่ายได้แลว้

ขอ้ แตกต่างของปลาดุกอยุ และปลาดุกเทศตารางแสดงความแตกตา่ งระหว่างปลาดกุ อยุ และปลาดุกเทศ

ลกั ษณะ ปลาดกุ อุย ปลาดุกเทศ

๑. หัว เล็กค่อนข้างรีไม่แบนกะโหลกจะ ใหญ่และแบน กะโหลกจะเป็น

ลนื่ มรี อยบุ๋มตรงกลางเล็กนอ้ ย ตุ่มๆ ไม่เรียบมีรอยบุ๋มตรงกลาง

เลก็ นอ้ ย

๒. ใตค้ าง มสี ีคลา้ ไมข่ าว สีขาว

๓. หนวด มี ๔ คู่ โคนหนวดเลก็ มี ๔ คู่ โคนหนวดใหญ่

๔. กะโหลกท้ายทอย โค้งมน หยกั แหลม มี ๓ หยัก

๕. ปาก ไม่ปา้ นคอ่ นข้างมน ปา้ น แบนหนา

๖. ครบี หู มีเง่ียงเล็กส้ันแหลมคมมากครีบ มีเงย่ี งใหญ่ สั้นนม่ิ ไม่แหลมคมและ

๗. ครบี หลงั แข็งยื่นยาวเกินหรือเท่ากับครีบ สว่ นของครีบออ่ นหมุ้ ถึงปลายครีบ
๘. ครีบหาง
อ่อน แข็ง

ปลายครีบสีเทาปนดา ปลายครบี สีแดง

กลมไม่ใหญม่ ากนักสเี ทาปนดา กลมใหญ่ สีเทา ปลายครีบมีสี

แดง และมีแถบสขี าวลาดบริเวณ

คอดหาง

๙. สัดส่วนระหวา่ งหัว:ตวั ๑:๔ ๑:๓

ลกั ษณะ ปลาดกุ อยุ ปลาดกุ เทศ



เปรียบเทียบลักษณะหัวปลาดุก ส่วนปลายของกระดูกท้ายทอยปลาดุกอุยมีลักษณะโคง้ มน (ซ้าย) ส่วนในปลา
ดกุ ด้านกระดกู ท้ายแหลม (ขวา)(ประพันธ์, ๒๕๔๓)

การอนุบาลลกู ปลาดุก
ลกู ปลาดุกที่ฟักออกเป็นตัวใหม่ๆ จะใช้อาหารในถงุ ไข่แดงท่ีติดมากับตัว เมื่อถุงไข่แดงที่ติดมากับลูก

ปลายุบ ให้ไข่ไก่ต้มสุกเอาเฉพาะไข่แดงบดผ่านผ้าขาวบางเมื่อลูกปลาอายุครบ ๒ วัน สามารถขนย้ายได้ด้วย
ความระมัดระวังโดยใช้สายยางดูด แล้วบรรจุในถุงพลาสติกขนาด๑๘ นิ้ว ไม่ควรเกิน ๑๐,๐๐๐ ตัว/ถุง หาก
ขนส่งเกิน ๘ ชั่วโมงให้ลดจานวนลกู ปลาลง
การอนบุ าลลูกปลาดกุ ในบ่อซเี มนต์

สามารถดูแลรกั ษาได้งา่ ย ขนาดของบ่อซีเมนต์ควรมขี นาดประมาณ ๒ - ๕ ตารางเมตร ระดบั ความลึก
ของน้าท่ีใช้อนุบาลลึกประมาณ ๑๕ - ๓๐ เซนติเมตร การอนุบาลลูกปลาดุกท่ีมีขนาดเล็ก(อายุ ๓ วัน)
ระยะแรกควรใส่น้าในบ่ออนุบาลลึกประมาณ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร เมื่อลูกปลามีขนาดใหญ่ข้ึนจึงค่อยๆ เพิ่ม
ระดับน้าให้สูงข้ึน การอนุบาลให้ลกู ปลาดกุ มีขนาด ๒ – ๓ เซนติเมตร จะใช้เวลาประมาณ ๑๐ - ๑๔ วัน น้าท่ี



ใช้ในการอนุบาลจะต้องเปล่ียนถ่ายทุกวัน เพื่อเร่งให้ลูกปลาดุกกินอาหารและมีการเจริญเติบโตดี อีกทั้งเป็น
การปอ้ งกนั การเนา่ เสยี ของน้าดว้ ยการอนบุ าลลกู ปลาดกุ จะปลอ่ ยในอัตรา ๓,๐๐๐ - ๕,๐๐๐ ตัว/ตรม.อาหาร

ที่ใช้คือ ไรแดงเปน็ หลัก ซ่ึงหากให้อาหารเสริม เช่น ไข่ตุ๋นหรือเต้าหู้ จะต้องระวังเก่ียวกับการย่อยของลูกปลา
และการเน่าเสยี ของนา้ ในบ่ออนบุ าลให้ดีด้วย
การอนุบาลลูกปลาดกุ ในบ่อดนิ

บ่อดินที่ใช้อนุบาลลุกปลาดุกควรมีขนาด ๒๐๐ - ๘๐๐ ตรม. บ่อดินท่ีจะใช้อนุบาลจะต้องมีการกาจัด
ศัตรูของลูกปลาก่อน และพ้ืนก้นบ่อควรเรียบ สะอาดปราศจากพืชพรรณไม้น้าต่างๆ ควรมีร่องขนาดกว้าง
ประมาณ ๐.๕ - ๑ เมตร ยาวจากหัวบ่อจรดท้ายบ่อ และลึกจากระดบั พ้ืนกน้ บอ่ ประมาณ ๒๐ เซนติเมตร เพื่อ
ความสะดวกในการรวบรวมลูกปลา และตรงปลายร่องควรมีแอง่ ลกึ มีพ้ืนท่ีประมาณ ๒ - ๔ ตรม.เพือ่ เปน็ แหล่ง
รวบรวมลูกปลา การอนุบาลลูกปลาดุกในบ่อจะต้องเตรียมอาหารสาหรับลูกปลา โดยการเพาะไรแดงไว้
ล่วงหน้าเพ่ือเป็นอาหารใหแ้ กล่ ูกปลาก่อนทจ่ี ะปล่อยลกู ปลาดุกลงอนุบาลในบ่อ การอนุบาลในบ่อดนิ จะปล่อย
ในอตั รา ๓๐๐ - ๕๐๐ตวั /ตรม. การอนบุ าลลูกปลาให้เตบิ โตได้ขนาด ๓ - ๔ เซนตเิ มตร ใชเ้ วลาประมาณ
๑๔ วัน แต่การอนุบาลลูกปลาดุกในบ่อดนิ น้นั สามารถควบคุมอัตราการเจริญเติบโตและอัตรารอดได้ยากกว่า
การอนุบาลในบ่อซีเมนต์ปัญหาในการอนุบาลลูกปลา น้าเสียเกดิ ขึ้นจากการให้อาหารลูกปลามากเกินไปหาก
ลูกปลาป่วยให้ลดปริมาณอาหารลง ๓๐ - ๕๐ % ดูดตะกอนถ่ายน้า แล้วค่อยๆเติมน้าใหม่ หลังจากน้ันใช้ยา
ปฏิชีวนะออกซีเตตร้าซัยคลิน แชล่ ูกปลาในอัตรา ๑๐ - ๒๐กรมั /น้า ๑ ลูกบาศกเ์ มตร หรือไนโตรฟุราโชน ๕ -
๑๐ กรัม/นา้ ๑ ลูกบาศก์เมตรวันต่อๆ มาใช้ยา ๓/๔ เท่า ปลาจะลดจานวนการตายภายใน ๒ - ๓ วนั ถ้าปลา
ตายเพ่มิ ขึน้ ควรกาจดั ลูกปลาทิง้ ไป เพื่อป้องกนั การตดิ เชือ้ ไปยังบอ่ อืน่ ๆ
ข้ันตอนการเลยี้ ง

การเลี้ยงในบอ่ ซีเมนต์
๑. อัตราปล่อยปลาดกุ ควรปรับสภาพของน้าในบ่อที่เลี้ยงให้มีสภาพเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย
แตต่ ้องแน่ใจวา่ บอ่ ซีเมนตจ์ ะต้องหมดฤทธิ์ของปูน ลูกปลาขนาด ๒ - ๓ ซม. ควรปลอ่ ยในอัตราประมาณ ๑๐๐
ตัว/ตรม. เพ่ือป้องกันโรคซึ่งอาจจะติดมากับลูกปลา ใช้น้ายาฟอร์มาลินใส่ในบ่อเลี้ยง อัตราความเข้มข้น
ประมาณ๓๐ ส่วนในล้าน (๓๐ มิลลิลิตร/น้า ๑ ตัน ในวันท่ีปล่อยลูกปลาไม่จาเป็นต้องให้อาหารควรเริ่มให้
อาหารในวนั รงุ่ ขน้ึ



๒. การใหอ้ าหาร เมื่อปล่อยลกู ปลาดุกลงในบอ่ แล้ว อาหารทใี่ ห้ในช่วงที่ลูกปลาดุกมขี นาดเล็ก (๒ - ๓
ซม.) ควรใหอ้ าหารผสมคลกุ น้าปั้นเปน็ กอ้ นให้ลกู ปลากนิ โดยให้กินวันละ ๒ คร้ัง หว่านให้กินท่วั บอ่ โดยเฉพาะ
ในบรเิ วณขอบบอ่ เมอ่ื ลกู ปลามีขนาดโตข้นึ ความยาวประมาณ๕ - ๗ ซม. สามารถฝึกให้กนิ อาหารเมด็ ได้
หลงั จากนนั้ เม่อื ปลาโตขน้ึ จนมคี วามยาว ๑๕ ซม. ขึ้นไป จะให้อาหารเมด็ เพยี งอย่างเดียวหรืออาหารเสรมิ ชนิด
ตา่ งๆ ได้ เช่น ปลาเป็ดผสมราละเอียดอัตรา ๙ : ๑ หรือให้อาหารทล่ี ดตน้ ทนุ เช่น อาหารผสมบดจากสว่ นผสม
ต่างๆ เช่นกระดูกไก่ ไส้ไก่ เศษขนมปัง เศษเส้นหม่ี เศษเลือดหมู เลือดไก่เศษเก้ียว หรือเศษอาหารเท่าท่ี
สามารถหาได้ นามาบดรวมกันแลว้ ผสมใหป้ ลากิน แตก่ ารให้อาหารประเภทนีจ้ ะต้องระวัง เรอื่ งคณุ ภาพของน้า
ในบ่อเลีย้ งใหด้ ี เมอ่ื เล้ียงปลาไดป้ ระมาณ ๒ เดือนปลาจะมขี นาดประมาณ ๑๒๕ กรัม/ตวั ซง่ึ ผลผลติ ทไี่ ดจ้ ะ
ประมาณ ๑๐ กก./บ่อ อัตรารอดตายประมาณ ๘๐ %

๓. การถ่ายเทน้า เม่ือตอนเริ่มเล้ียงใหม่ๆ ระดับความลึกของน้าในบ่อควรมีค่าประมาณ ๓๐ - ๔๐
ซม. เม่ือลูกปลาเจริญเติบโตข้ึนในเดือนแรกจึงเพ่ิมระดับน้าสูงเป็นประมาณ ๕๐ ซม.การถ่ายเทน้าควรเร่ิม
ตง้ั แต่การเล้ียงผ่านไปประมาณ ๑ เดือนโดยถ่ายนา้ ประมาณ ๒๐ % ของน้าในบ่อ ๓ วนั /ครง้ั หรอื ถ้าน้า
ในบอ่ เริม่ เสยี จะตอ้ งถ่ายน้ามากกวา่ ปกติ



๔. การป้องกันโรค การเกิดโรคของปลาดุกทเ่ี ลี้ยงมกั จะเกิดจากปัญหาคุณภาพของน้าในบ่อเลีย้ งไม่ดี
ซงึ่ อาจเกิดจากสาเหตุของการใหอ้ าหารมากเกินไปจนอาหารเหลือเน่าเสีย เราสามารถป้องกันไม่ให้เกดิ โรคได้
โดยต้องหม่ันสังเกตว่าเม่ือปลาหยุดกินอาหารจะต้องหยุดให้อาหารทันที เพราะปลาดุกลูกผสมมีนิสัยชอบกิน
อาหารที่ให้ใหม่ โดยถึงแม้จะกินอ่ิมแลว้ ถ้าให้อาหารใหมอ่ ีกก็จะคายหรือสารอกอาหารเกา่ ทิ้งแล้วกินอาหารให้
ใหมอ่ กี ซง่ึ ปริมาณอาหารท่ใี ห้ไมค่ วรเกิน ๔ - ๕ % ของนา้ หนกั ตวั ปลา

โรคของปลาดกุ
ในกรณที ่มี กี ารปอ้ งกนั อย่างดีแลว้ แต่ปลากย็ ังปว่ ยเปน็ โรค ซงึ่ มกั จะแสดงอาการใหเ้ หน็ โดยแบง่ อาการ

ของโรคเป็นกล่มุ ใหญๆ่ ดังนี้
๑. การติดเชอื้ จากแบคทีเรยี จะมีการตกเลอื ด มีแผลตามลาตัว และครีบกร่อนตาขุ่น หนวดหงิก กกหู

บวม ทอ้ งบวม มนี ้าในช่องท้อง กินอาหารนอ้ ยลงหรอื ไมก่ ินอาหาร ลอยตวั
๒. อาการจากปรสิตเข้าเกาะตวั ปลา จะมีเมอื กมาก มีแผลตามลาตวั ตกเลอื ดครบี เปื่อย จุดสีขาวตาม

ลาตวั สตี ามลาตัวซดี หรือเขม้ ผิดปกติ เหงอื กซดี ว่ายนา้ ทรุ นทรุ าย ควงสวา่ นหรอื ไม่ตรงทศิ ทาง
๓. อาการจากอาหารมคี ุณภาพไม่เหมาะสม คือ ขาดวิตามนิ บี กะโหลกร้าวบริเวณใต้คางจะมกี ารตก

เลือด ตัวคด กนิ อาหารน้อยลง ถ้าขาดวติ ามินบีปลาจะว่ายนา้ ตวั เกร็งและชักกระตกุ
๔. อาการจากคุณภาพน้าในบ่อไม่ดี ปลาจะว่ายน้าขึ้นลงเร็วกว่าปกติ ครีบกร่อนเป่ือย หนวดหงิก

เหงอื กซีดและบวม ลาตวั ซีด ไม่กินอาหาร ท้องบวม มีแผลตามตวั
อนึ่ง ในการรักษาโรคปลาควรจะได้พิจารณาให้รอบคอบก่อนการตัดสินใจเลือกใช้ยาหรือสารเคมี

สาเหตุของโรค ระยะรักษา คา่ ใช้จา่ ยในการรักษา



วธิ กี ารปอ้ งกันเกดิ โรคในปลาดุกลูกผสมท่ีเลีย้ ง

๑. ควรเตรียมบ่อและนา้ ตามวิธกี ารทเี่ หมาะสมกอ่ นปล่อยลูกปลา

๒. ซ้ือพนั ธปุ์ ลาจากแหล่งท่เี ชอ่ื ถอื ได้วา่ แขง็ แรงและปราศจากโรค

๓. หม่นั ตรวจดอู าการของปลาอยา่ งสม่าเสมอ ถา้ เห็นอาการผดิ ปกติตอ้ งรบี หาสาเหตแุ ละแกไ้ ขโดยเร็ว

๔. หลังจากปลอ่ ยปลาลงเลย้ี งแล้ว ๓ - ๔ วัน ควรสาดน้ายาฟอร์มาลนิ ๒ – ๓ ลิตร/ปรมิ าตร นา้ ๑๐๐

ตัน และหากปลาที่เลี้ยงเกิดโรคพยาธิภายนอกให้แก้ไขโดยสาดน้ายาฟอร์มาลินในอัตรา ๔ - ๕ ลิตร/ปรมิ าตร

น้า ๑๐๐ ตัน

๕. เปลี่ยนถ่ายน้าจากระดับก้นบ่ออยา่ งสมา่ เสมอ

๖. อย่าใหอ้ าหารจนเหลือ

สารเคมีและยาปฏชิ วี นะท่ีนยิ มใช้ปอ้ งกนั และรกั ษาโรคปลา

ชนิดของสารเคมี/ยา วตั ถปุ ระสงค์ ปริมาณทใ่ี ช้

เกลือ กาจัดแบคทีเรียบางชนิดเชื้อรา ๐.๑ - ๐.๕% แช่ตลอด

แ ล ะ ป ร สิ ต บ า ง ช นิ ด ล ด ๐.๕ - ๑.๐ % แช่ภายใต้

ความเครียดของปลา การดแู ลอย่างใกลช้ ดิ

ปูนขาว ฆ่าเชื้อก่อนปล่อยปลาปรับ PH ๖๐ - ๑๐๐ กโิ ลกรมั /ไร่

ของดินและน้า ละลายนา้ แลว้ สาดให้ทว่ั บ่อ

คลอรีน ฆา่ เช้ืออปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทใี่ ช้กับ ๑๐ พีพเี อม็ แช่ ๓๐ นาที

บอ่ เลีย้ งปลา แล้วลา้ งดว้ ยนา้ สะอาดก่อนใช้

ดพิ เทอร์เร็กซ์ กาจัดปลิงใส เห็บปลาหนอนสมอ ๐.๒๕ - ๐.๕ พีพีเอ็ม แช่ตลอดยา

ที่ใช้ควรเปน็ ผงละเอยี ดสีขาวถา้ ยา

เปล่ยี นเปน็ ของเหลวไม่ควรใช้

ฟอรม์ าลิน กาจดั ปรสติ ภายนอกทั่วไป ๒ ๕ - ๕ ๐ พี พี เ อ็ ม แ ช่ ต ล อ ด

ระหว่างการใช้ควรระวังการขาด

ออกซิเจนในน้า

ออกซดี เตตร้าซยั คลิน กาจดั แบคทีเรีย ผสมกับอาหารในอัตรา๓ - ๕

กรัม/อาหาร ๑ กโิ ลกรัมให้กินนาน

๗ - ๑๐ วันติดต่อกันแช่ในอัตรา

๑๐ - ๒๐ กรัมตอ่ น้า ๑ ตนั นาน ๕

- ๗ วนั

คลอแรมฟนิ คิ อล กาจดั แบคทเี รีย ผสมกั บอ าหาร อัตรา ๑ ก รัม

อาหาร ๑ กิโลกรัมหนึ่งสัปดาห์

บางครั้งก็ใช้ไม่ได้ผลเนื่องจากเช้ือ

แบคทเี รยี ด้ือยา

การลงทนุ

ต้นทนุ ค่าพันธุ์ปลาดุก ๑๐๐ ตวั ๆ ละ ๒ บาท รวม ๒๐๐ บาท

คา่ อาหารปลาดุก ๑๕ กก.ๆ ละ ๒๒.๕๐ บาท รวม ๕๓๗.๕๐ บาท

รวมต้นทุน ๕๕๗.๕๐ บาท

รายได้ ปลาดุก ๑๐ กก.ๆ ละ ๖๐ บาท รวม ๖๐๐.๐๐ บาท

กาไร (๖.๒ ต่อกโิ ลกรัม) ๖๒ บาท

๑๐

ท้ังนี้ หากใช้อาหารท่ีผลิตเองจะต้องใช้ต้นทุนประมาณ ๑๐ บาทต่อกิโลกรัมผลกาไรจะเพิ่มขึ้นเป็น

๒๕๐ - ๒๘๐ บาท (๒๕ - ๒๘ บาท/กิโลกรัม)

ในเกษตรกรท่ีต้องการเล้ียงเพื่อเป็นรายได้เสริมอาจจะต้องใช้อาหารที่ผลิตเองเพ่ือลดต้นทุน และ

แนะนาใหเ้ ล้ียงในบ่อซเี มนต์ขนาดกวา้ ง ๒ เมตร ยาว ๔ เมตรขึ้นไป จะได้ผลผลิตเพิ่มข้ึน และคุ้มค่ากับเวลาท่ี

ดแู ลระหวา่ งการเลีย้ ง

ต้นทนุ คา่ พันธปุ์ ลาดกุ ๘๐๐ ตัว ตัวละ ๐.๒ บาท รวม ๑๖๐.๐๐ บาท

คา่ อาหารปลาดุก (ทาเอง) ๑๒๐ กก.ๆ ละ ๑๐ บาท รวม ๑,๒๐๐.๐๐ บาท

รวมตน้ ทุน ๑,๓๖๐.๐๐ บาท

รายได้ ปลาดกุ ๘๐ กก.ๆ ละ ๔๕ บาท รวม ๓,๖๐๐.๐๐ บาท

กาไร (๒๘ บาทต่อกิโลกรมั ) ๒,๒๔๐.๐๐ บาท

สูตรอาหารปลาดกุ อย่างงา่ ยท่เี กษตรกรสามารถหาวัตถุดิบไดใ้ นพ้นื ท่ี สามารถทาได้เอง จะสามารถลด
ต้นทุนการเลี้ยงได้กว่าร้อยละ ๕๐ โดยมีข้ันตอนง่ายๆ ในการทาอาหารปลาดุกจานวน ๑๐ กิโลกรัม มี

อตั ราส่วนผสมของวตั ถุดบิ ดงั น้ี
ปลาป่น ๑ กโิ ลกรัม
ราอ่อน ๕ กโิ ลกรัม

ข้าวโพดบด ๒ กโิ ลกรัม
ปลายขา้ วบด ๒ กิโลกรัม


Click to View FlipBook Version