The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปรายงานผลการดำเนินงานไตรมาส 1-2 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chinawat.n, 2019-02-24 22:24:50

สรุปรายงานผลการดำเนินงานไตรมาส 1-2

สรุปรายงานผลการดำเนินงานไตรมาส 1-2 ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

Keywords: Local Promotion and Development Center

สรปุ ผลการดาเนินงาน

โครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลยั ราชภฏั
เพื่อการพฒั นาทอ้ งถิน่

ไตรมาสที่ 1-2
(ตุลาคม 2561 – กมุ ภาพนั ธ์ 2562)

จคดุ ำแนขำง็

เอกสารสรุปผลการดาเนินงานของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน ไตรมาสท่ี 1 – 2
(เดือนตุลาคม 2561 – เดือนกุมภาพันธ์ 2562) จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือนาเสนอข้อมูล
การดาเนินงาน 5 โครงการภายใต้พระราโชบาย ประกอบด้วย 1) โครงการบูรณาการพันธกิจ
สัมพันธ์เพ่ือแก้ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถิ่น 2) โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์
ชุมชน OTOP 3) โครงการ ส่งเสรมิ ความรกั ความสามัคคี ความมรี ะเบียบวินัยเข้าใจในสิทธิหน้าที่
ของตนเองและผู้อ่ืน 4) โครงการพัฒนา ทักษะภาษาอังกฤษศตวรรษที่ 21 สาหรับนักศึกษาครู
ในมหาวิทยาลัยราชภัฏ และ 5) โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียน
และการคิดวิเคราะห์ของนกั เรียนในระดบั การจัดการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน

ในการนี้ ฐานข้อมูลดังกล่าวท่ีจัดทาข้ึนสามารถนาไปต่อยอดการพัฒนาในไตรมาส
ต่อไป รวมท้ังเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่เก่ียวข้องด้านการพัฒนาท้องถ่ินในพ้ืนท่ีสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ หากรายละเอยี ดทนี่ าเสนอผดิ ประการใด ทางศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ินต้องขออภัย
มา ณ ที่นด้ี ้วย

กุมภาพนั ธ์ 2562
ชินีเพ็ญ มะลสิ ุวรรณ
ผอู้ านวยการศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนาท้องถน่ิ

สำรบญั

01 ส่วนที่ 1 กำรดำเนนิ งำนของศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำทอ้ งถิ่น

การประชมุ เพ่อื รับฟังประเด็นปญั หาจากพื้นท่ี 02
อาเภอแมล่ าน จังหวดั ปตั ตานี 03
อาเภอหนองจิก จงั หวดั ปัตตานี 04
อาเภอเบตง จงั หวดั ยะลา 05
อาเภอธารโตจงั หวัดยะลา 06
อาเภอศรสี าคร จังหวัดนราธิวาส 07
อาเภอระแงะจงั หวัดนราธวิ าส

08 ส่วนท่ี 2 โครงกำรยทุ ธศำสตร์มหำวทิ ยำลยั รำชภัฏเพื่อกำรพัฒนำท้องถน่ิ

โครงการบูรณาการพนั ธกิจสมั พันธ์เพือ่ แก้ปญั หา 09
ความยากจนของประชาชนในทอ้ งถ่นิ

โครงการยกระดับผลติ ภณั ฑ์ชุมชน OTOP 12

โครงการส่งเสรมิ ความรักความสามัคคี 16
ความมรี ะเบยี บวนิ ัยเขา้ ใจในสทิ ธหิ น้าที่ของตนเอง 18
และผู้อ่ืน

โครงการพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษศตวรรษท่ี 21
สาหรับนกั ศึกษาครใู นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

โครงการยกระดบั คณุ ภาพการเรยี นร้ดู า้ นการอ่าน 23
การเขยี นและการคิดวิเคราะหข์ องนักเรียนในระดับ

การจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐานในพ้ืนท่ีชายแดนภาคใต้

29 ส่วนท่ี 2 โครงกำรยุทธศำสตร์มหำวทิ ยำลยั รำชภฏั เพอ่ื กำรพัฒนำทอ้ งถน่ิ

สว่ นท่ี 1

ส่วนที่ 1 กำรดำเนินงำนของศนู ย์สง่ เสริมและพัฒนำทอ้ งถ่นิ

มหำวิทยำลัยรำชภัฏยะลำ นาโดยอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมกับ
คณะกรรมการการดาเนนิ โครงการส่งเสรมิ และพฒั นาทอ้ งถ่ิน เขา้ พบผู้ว่าราชการจงั หวดั ยะลา ปตั ตานี
นราธิวาส เพื่อชี้แจงรายละเอียดโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน
สนองตอบพระราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 ตามแผนยุทธศาสตร์
4 ด้าน ได้แก่ 1) การพฒั นาทอ้ งถ่ิน 2) การผลติ บณั ฑติ และพฒั นาครู 3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
4) การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการ เพื่อยกระดับชีวิตและพัฒนาท้องถ่ินอย่างยัง่ ยืน

1

การประชุมเพือ่ รับฟังประเดน็ ปญั หาจากพน้ื ที่

อำเภอแมล่ ำน จงั หวัดปัตตำนี

เ มื่อ วัน ท่ี 6 พ ฤศจิกำ ย น 2561 อาจา ร ย์ ดร . บุญ สิทธิ์ ไ ชยชน ะ ร อ ง อ ธิ ก า ร บดีฝ่ายวิ จั ย
และบริการวิชาการ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏยะลา นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์มหาวทิ ยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนา
ท้องถ่ิน มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา ลงพน้ื ท่ีอาเภอแม่ลาน จงั หวดั ปตั ตานี เข้าร่วมประชุม เพ่ือรับฟังประเด็นจากพื้นท่ี
ในการพัฒนาพื้นที่จังหวัดปัตตานี ณ ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี โดยมี นายสมมาตร บารา
นายอาเภอแมล่ าน พร้อมดว้ ยตัวแทนจากสว่ นราชการตา่ ง ๆ ในพ้นื ที่อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี เข้าร่วมประชุมใน
คร้ังนี้ โดยประเด็นหลักในการพัฒนาพื้นที่ อาเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี คือ ประเด็นปัญหาเรื่องความยากจน
และการพัฒนาผลิตภัณฑช์ มุ ชนและทอ้ งถิ่น ประเด็นเร่อื งการเรง่ ปรบั ปรงุ ศูนย์การเรียนรู้แม่ลาน เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้
ทางการเกษตรตน้ แบบให้แก่ประชาชนในพ้ืนทแ่ี ละผูท้ ่สี นใจในการพัฒนาตนเองได้อย่างยั่งยืน นอกจากการขับเคล่ือน
ในการพัฒนาพ้ืนท่ีแล้ว ประเด็นเรื่องสังคมพหุวัฒนธรรมซ่ึงถือเป็นเรื่องสาคัญท่ีต้องร่วมมือกัน เพ่ือให้เกิดความรัก
ความสามัคคขี องประชาชนในพื้นท่แี ละชมุ ชนตอ่ ไป

2

การประชมุ เพ่อื รับฟังประเดน็ ปญั หาจากพน้ื ท่ี

อำเภอหนองจกิ จงั หวดั ปตั ตำนี

เมื่อวันท่ี 15 พฤศจิกำยน 2561 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดมี หาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา
นาคณะผู้บริหาร พร้อมด้วย คณาจารย์และบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพ้ืนท่ีอาเภอหนองจิก
จังหวัดปัตตานี ประชุมเพื่อรับฟังประเด็นจากพื้นที่ในการพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดปัตตานี โดยมี นายไกรศร วิศิษฎ์วงศ์
ผวู้ า่ ราชการจังหวดั ปัตตานี เปน็ ประธานในการประชมุ เพ่อื รบั ฟังประเดน็ ในการพัฒนาพื้นที่จงั หวัดปัตตานีในคร้ังน้ีด้วย
โดยมีนายบุญพาศ รักนุ้ย ปลัดจังหวัดปัตตานี และนายเอก ยังอภัย ณ สงขลา นายอาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ส่วนราชการในจังหวัดปัตตานี ภาคประชาสังคมจังหวัดปัตตานี เข้าร่วมประชุมในครั้งน้ี จากการประชุม พบว่า
ในปี 2560 อาเภอหนอกจกิ มคี รัวเรือนยากจนที่มีรายได้ต่ากว่า 38,000 บาท/คน/ปี เป็นอนั ดับหนง่ึ ของจังหวัดปัตตานี
เป็นเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ตามนโยบาย ของรัฐบาล โดยมีกิจกรรมส่งเสริมและ
ขยายพื้นที่ปลูกปาล์มน้ามันรูปแบบเกษตรแปลงใหญ่ การปลูกมะพร้าวกะทิและมะพร้าวน้าหอมที่มีโรงงานแปรรูป
น้ามันปาล์มและมะพร้าวในพื้นท่ี ด้านปศุสัตว์อาเภอหนองจิกมีความพร้อม ในการจัดการตลาดกลางปศุสัตว์
โดยมีแผนการจัดการ การดาเนินกิจกรรมหมุนเวียนให้ตลาดกลางมีการแลกเปล่ียนซื้อขายสัตว์เศรษฐกิจ
รวมทงั้ การดาเนนิ โครงการสง่ เสริมอาชพี ด้านการเกษตรในจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

3

การประชุมเพอ่ื รบั ฟงั ประเดน็ ปัญหาจากพ้ืนที่

อำเภอเบตง จงั หวดั ยะลำ

เมื่อวันที่ 7 พฤศจกิ ำยน 2561 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทิพย์ อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ลงพ้ืนท่ี
อาเภอเบตง จังหวัดยะลา เข้าร่วมประชุมเพื่อรับฟังประเด็นจากพ้ืนท่ีในการพัฒนาพื้นท่ีจังหวัดยะลา ณ ห้องประชุม
ไกรลาส ท่ีว่าการอาเภอเบตง จังหวัดยะลา โดยมีนายสุวิทย์ นาคเป้า ปลัดอาวุโสอาเภอเบตง ผู้แทนจากส่วนราชการ
ต่าง ๆ และผู้ประกอบการ OTOP ในพื้นท่ีอาเภอเบตง เข้าร่วมประชุม ในคร้ังน้ีด้วย ผลการประชุม พบว่าจุดเด่น
ของเมืองเบตง คือ อัตลักษณ์ของอาหาร และเคร่ืองด่ืมบ่งบอกถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมของชาวไทยเช้ือ
สายจีน และชาวไทยมุสลิมโดยการนาเอาพืชผัก ผลไม้ และสัตว์พ้ืนเมืองในท้องถ่ินมาใช้ประกอบอาหาร
ทั้งนี้ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวอาจมีผลต่อการขอมาตรฐานรองรับคุณภาพ โดยผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าคัดสรรต้อง
ได้รับรองมาตรฐานที่กาหนด ได้แก่ สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)
และฮาลาล บางกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชนยังไม่ได้รับรองมาตรฐานคุณภาพเนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ประเภทอาหาร
ทาให้มีผลต่อการพัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน ซึ่งจากการสารวจกลุ่มผลิตภัณฑ์โดยการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์
ของผลิตภัณฑ์ พบว่า กระบวนการผลิต กาลังการผลิต รูปแบบบรรจุภัณฑ์ และการส่งขายตลาดภายนอกจาเป็น
ต้องมกี ารพัฒนา

4

การประชมุ เพื่อรบั ฟงั ประเดน็ ปญั หาจากพน้ื ที่

อำเภอธำรโต จงั หวัดยะลำ

เมือ่ วนั ที่ 21 พฤศจกิ ำยน 2561 อาจารย์ ดร.นิรันด์ิเกียรติ ลิ่วคุณูปการ รองอธิการบดีฝ่ายนโยบายและ
แผน มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา นาคณะทางานโครงการยทุ ธศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ลง
พื้นท่ีอาเภอธารโต จังหวัดยะลา ร่วมประชุมเพื่อรับฟังประเด็นจากพ้ืนที่ในการพัฒนาพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา
โดยมีนายสาโรช กาญจนพงศ์ ปลัดจังหวัดยะลา กล่าวให้โอวาทและพูดถึงนโยบายจังหวัดที่สอดคล้อง
กับโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา มีนายอนิ รุท บัวอ่อน
นายอาเภอธารโต หวั หน้าส่วนราชการ และประชาชนในพื้นที่อาเภอธารโต จังหวัดยะลา เข้าร่วมประชุมในคร้ังน้ี
ณ ห้องประชมุ ดาหลา ชน้ั 2 ที่วา่ การอาเภอธารโต จังหวัดยะลา

อ าจาร ย์ดร . นิรัน ดิ์เกี ยร ติ ลิ่ว คุณูปก าร ก ล่าว ว่ า
มหาวิทยาลัยราชภัฏ ทั่วประเทศมีการกาหนดยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน ระยะ 20 ปี
(พ.ศ.2560 - 2579) ใน 4 ประเด็น คือ 1)การพัฒนาท้องถ่ิน
2) การผลิตและพัฒนาครู 3) ยกระดับคุณภาพการศึกษา และ
4) พัฒนาระบบบริหารจัดการผนวกกับการน้อมนาพระราโชบาย
ด้านการศกึ ษา ในสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวรัชกาลที่ 10 ซ่ึงในเขตพื้นท่ี
ความรับผิดชอบ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ดาเนินการใน
3 จังหวัด โดยมีอาเภอธารโต เปน็ หนง่ึ ในเขตพ้นื ทเ่ี ป้าหมาย

จากการประชุม พบว่า อาเภอธารโตเป็นพ้ืนที่ป่าท่ีมีความ
อุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรทั้งทางป่าไม้ ดินและแหล่งน้า
เหมาะสมแก่การทาการเกษตรตลอดท้ังปีประชาชนส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพทาสวน มีพื้นที่ปลูกพืชสวน มีทุเรียนเป็นพืช
เศรษฐกจิ ท่สี ร้างช่ือเสียงในพื้นท่ี โดยมีพ่อค้ามารับซ้ือส่งจาหน่าย
ในตา่ งประเทศ เช่น ประเทศจนี มาเลเซีย และสงิ ค์โปร์

5

การประชุมเพื่อรบั ฟังประเดน็ ปัญหาจากพ้นื ที่

อำเภอศรสี ำคร จังหวดั นรำธิวำส

22 พฤศจกิ ำยน 2561 อาจารย์ ดร.ศิริชัย นามบุรี รองอธิการบดีฝ่ายบริหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา
นาคณะทางานโครงการยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่นลงพื้นท่ีอาเภอศรีสาคร จังหวัด
นราธิวาส ร่วมประชมุ เพ่อื รับฟังประเด็น จากพืน้ ท่ใี นการพฒั นาพืน้ ที่จังหวัดนราธวิ าส โดยมี นายก่อพงษ์ โกมลรัตน์
รองผู้ว่าราชการจังหวัดนราธิวาส กล่าวให้โอวาทและพูดถึงนโยบายจังหวัดที่สอดคล้องกับโครงการยุทธศาสตร์
มหาวิทยาลยั เพื่อการพฒั นาทอ้ งถน่ิ มีนายกริช น้อยผา นายอาเภอศรีสาคร หัวหน้าส่วนราชการ และประชาชนใน
พื้นท่ี อาเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส เข้าร่วมประชุมในคร้ังน้ี ณ ห้องประชุมประภัสสรสิริคุณ ชั้น 2 ที่ว่าการ
อาเภอศรสี าคร จงั หวดั นราธิวาส

จากการประชมุ พบว่าสภาพทั่วไปในพ้ืนที่อาเภอศรีสาครเป็นพ้ืนที่ราบเชิงเขา มีประชากร 40,000 คน
ร้ อ ย ล ะ 8 0 เ ป็ น ช า ว ไ ท ย มุ ส ลิ ม ป ร ะ ช า ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ ท า ส ว น ย า ง พ า ร า โ ด ย ปั ญ ห า ห ลั ก
ที่พบในพื้นที่ คือ เรื่องที่ดินทากินของชาวบ้าน ทาให้ชาวบ้านในพื้นท่ีส่ว นใหญ่ประสบปัญหา
มายาวนาน 10 - 20 ปี ท่ีไม่สามารถทากินในท่ีดนิ ของตนเองได้ ทางอาเภอจึงทาโครงการท่ีแก้ปัญหาท่ีดินทากิน
ส่งผล ให้คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้นตามลาดับ ชาวบ้านมีพื้นที่ทาการเกษตร สร้างงาน สร้างรายได้
และมแี หลง่ เงนิ ทนุ ในการประกอบอาชีพ

6

การประชุมเพ่ือรบั ฟงั ประเดน็ ปัญหาจากพนื้ ท่ี

อำเภอระแงะ จงั หวดั นรำธิวำส

7 มกรำคม 2562 อาจารย์ ดร.ชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ ผู้อานวยการศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาท้องถิ่น
พร้อมด้วย ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุพร สุนทรนนท์ คณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ราชภฏั ยะลา นาคณะทางานโครงการยทุ ธศาสตรม์ หาวทิ ยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นร่วมประชุมเพ่ือรับ
ฟงั ประเด็น จากพื้นท่ีในการพัฒนาพ้ืนท่ีอาเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส โดยมี เสถียร มีศรี ปลัดอาเภอระแงะ
กล่าวให้โอวาทและขอบคุณคณะทางานที่ร่วมวางแผนขับเคล่ือนโครงการบูรณาการพันธ์กิจสัมพันธ์เพ่ือแก้ไข
ปัญหาความยากจนของประชาชนในท้องถ่ิน ในการเลือกพื้นที่เป้าหมายเพ่ิมเป็นอาเภอระแงะ (Area Based
Approach) :เน่ืองจากเป็นอาเภอท่ีมีครัวเรือนตกเกณฑ์ จปฐ. เป็นจานวนมาก อีกท้ังผลจากการลงพื้นที่
อาเภอศรสี าคร เมือ่ วนั ท่ี 22 พฤศจิกายน 2561 พบว่า ขอ้ มลู ครวั เรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. ปี 2561 มี 12 ครัวเรือน
ดงั น้ันในอาเภอศรีสาครมีครัวเรอื นเป้าหมายไมค่ รบ 100 ครัวเรอื น เป้าหมายของโครงการตามตัวช้ีวัดเป้าหมาย
จังหวัดละ 100 ครัวเรือน ซ่ึงเป็นการเข้าไปดาเนินการแก้ไขปัญหาโดยการพัฒนาอาชีพตาม
ความตอ้ งการของครัวเรือนยากจนจึงเลือกพ้ืนที่เป้าหมายเป็นอาเภอระแงะเพิ่ม ดังน้ัน พ้ืนที่เป้าหมายของการ
ดาเนินโครงการในจงั หวัดนราธิวาส คอื อาเภอศรีสาคร และอาเภอระแงะ

โดยการบูรณาการศาสตร์/องค์ความรู้ในหลักสูตรต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ใน
มห า วิ ท ย าลั ย ร า ช ภัฏ ย ะ ล า มา ป รับ ใ ช้ใ น แต่ ล ะ พื้ น ท่ีใ ห้ สอ ด คล้ อ ง
กับปัญหา/ความต้องการของประชาชนแต่ละครัวเรือน ข้อมูลจากการสารวจ
ค รั ว เ รื อ น จ ะ น า ม า วิ เ ค ร า ะ ห์ ศั ก ย ภ า พ / ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ที่ คั ด แ ย ก
เป็นกลุ่มในการพัฒนาอาชีพหลักหรืออาชีพเสริม ในการให้ศาสตร์ /
อง ค์คว ามรู้ ทาง ด้าน เ ก ษตร ก าร เพ าะ ปลูก พื ช ปศุสัตว์ ก าร ตลา ด
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน และการสาธารณสุข เป็นต้น ซ่ึงการแก้ไขปัญหา
ความยากจนตามตัวชี้วัดเป้าหมาย คือ การยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ่อื ลดรายจา่ ย/เพม่ิ รายได้ในครวั เรอื น เพื่อใหแ้ นวทางการแก้ไขปัญหาสามารถ
สรา้ งการเปลยี่ นแปลงให้ครัวเรอื นตกเกณฑ์ จปฐ. เปลย่ี นใหพ้ น้ เกณฑ์ จปฐ.ตาม
ตัวช้ีวัดเป้าหมาย โดยภายหลังจากการเข้าร่วมโครงการครัวเรือนเป้าหมายมี
ศกั ยภาพ มคี วามพรอ้ มตอ่ การพฒั นายกระดับคุณภาพชีวิต สามารถพึ่งตนเองได้
อยา่ งย่งั ยืน สร้างรากฐานใหช้ ุมชนทอ้ งถน่ิ เกดิ ความเขม้ แข็งต่อไป

7

ส่วนท่ี 2

โครงกำรยทุ ธศำสตร์มหำวทิ ยำลัยรำชภัฏเพ่อื กำรพฒั นำท้องถน่ิ

สดั สว่ นควำมสำเรจ็

30%
50%

40%
30%
50%

โครงกำรบูรณำกำรพนั ธกจิ สมั พนั ธเ์ พ่อื แก้ปัญหำ
ควำมยำกจนของประชำชนในทอ้ งถิน่

การขับเคลอื่ น การดาเนินงานโครงการบูรณาการพันธกจิ สัมพันธ์เพ่ือแก้ปัญหาความยากจนของ
ประชาชนในท้องถ่ินผสมผสานระหว่าง Area based + Problem based ทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วมในการขับเคล่ือน
แนวทางการแก้ไขปญั หาความยากจน

พนื้ ทีจ่ งั หวัดยะลำ คือ อำเภอธำรโต อำเภอเบตง และอำเภอกรงปีนัง
พนื้ ทจี่ งั หวัดปัตตำนี คอื อำเภอหนองจิก และอำเภอแมล่ ำน
พืน้ ที่จงั หวัดนรำธิวำส คอื อำเภอศรสี ำคร และอำเภอระแงะ

9

โครงกำรบูรณำกำรพันธกจิ สัมพันธเ์ พอ่ื แกป้ ญั หำควำมยำกจนของประชำชนใน
ท้องถนิ่

ตวั ชี้วัดและเปำ้ หมำยผลผลิต

❖ ครัวเรือนที่เข้าร่วมโครงการอย่างนอ้ ยร้อยละ 50 ของเป้าหมายโครงการใชห้ ลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี งเพ่ือลดรายจ่าย/เพม่ิ รายได้ ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 20 (ปงี บประมาณ 2562
จานวน 150 ครวั เรอื น)
❖ ครัวเรอื นเป้าหมายในพ้ืนท่ี 3 จงั หวัด (ยะลา ปตั ตานี และนราธิวาส) จงั หวดั ละ 100 ครวั เรอื น
รวมเปน็ 300 ครวั เรือน/คน/ปี
❖ ในปีแรกสามารถแก้ไขปัญหาครวั เรือนยากจนพน้ เกณฑ์ความยากจนในพืน้ ท่ี 3 จงั หวดั
(ยะลา ปตั ตานี และนราธวิ าส) รอ้ ยละ 50
❖ สรปุ ผลการดาเนินโครงการและนามาถอดบทเรยี นสรา้ งตน้ แบบโมเดล (Model)
การแกไ้ ขปญั หาความยากจนภายใน 5 ปี จังหวดั ละ 1 โมเดล

10

โครงกำรบรู ณำกำรพนั ธกจิ สัมพันธเ์ พือ่ แกป้ ัญหำควำมยำกจนของประชำชนในท้องถิน่

ขอ้ มูลควำมต้องกำรพฒั นำอำชีพของครัวเรอื นยำกจน

พื้นที่เปำ้ หมำย ควำมตอ้ งกำรดำ้ นอำชพี

ท่ี อำเภอ จังหวัด รำยกำรอำชีพ จำนวนครวั เรอื น รวม

ยำกจน

1 เบตง ยะลา ไก่เบตง 55 55
2 ธารโต
ยะลา ไกเ่ บตง 3
3 กรงปนิ งั การทาขนมไทย 14

ไก่เบตง 28
5
ยะลา ช่างตดั เย็บ 6
การทาขนมไทย 2 41

น้ามนั มะพร้าวสกัดเยน็

ครวั เรือนยำกจนเปำ้ หมำยจังหวดั ยะลำ จำนวนทง้ั หมด 100

4 แม่ลาน ไก่เบตง 4
1
ปัตตานี ช่างตัดเย็บ 16
การทาขนมไทย

5 หนองจิก ผึ้งชันโรง 62
31
ปตั ตานี ไก่เบตง 7 100
นา้ มนั มะพร้าวสกัดเยน็

ครัวเรอื นยำกจนเปำ้ หมำยจงั หวดั ยะลำ จำนวนทง้ั หมด 106

6 ระแงะ นราธิวาส ผงึ้ ชันโรง 1

ไกเ่ บตง 78

การเพาะเห็ด 12

ช่างตัดเยบ็ 4

การทาขนมเบเกอร่ี 2

การทาขนมไทย 2

การนวดแผนไทย 1 100

7 ศรีสาคร นราธิวาส (อยู่ระหว่างการสารวจความ 12

ต้องการพัฒนาอาชพี ) 112

ครวั เรือนยากจนเป้าหมายจังหวดั ยะลา จานวนทั้งหมด 11

โครงกำรยกระดับผลิตภณั ฑช์ ุมชน OTOP

คณะกรรมการ ดาเนนิ โครงการยกระดับผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP ลงพ้ืนที่เพ่ือสารวจศักยภาพ
ข้อมูลของกลมุ่ OTOP จาก 6 อาเภอ ในพ้นื ท่ี 3 จังหวัด ประกอบด้วย อาเภอธารโต อาเภอเบตง จังหวัด
ยะลา อาเภอแมล่ าน อาเภอหนอกจกิ จังหวดั ปัตตานี และอาเภอศรสี าคร อาเภอย่ีงอ จังหวัดนราธวิ าส

ตัวชี้วดั และเปำ้ หมำย

ยกระดบั ผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน องค์ควำมรู้ด้ำนกำรยกระดบั SME
OTOP อยำ่ งนอ้ ย 1 ระดบั ผลติ ภณั ฑช์ มุ ชน OTOP
พัฒนำผลติ ภัณฑเ์ ปน็
SME

12

โครงกำรยกระดับผลิตภัณฑช์ ุมชน OTOP

ผลกำรคัดเลอื กกลมุ่ ผลิตภณั ฑช์ ุมชน OTOP เพื่อยกระดบั

โครงการยกระดบั ผลติ ภณั ฑช์ ุมชน OTOP ตามโครงการส่งเสริมและพัฒนาท้องถ่ิน มหาวิทยาลัย
ราชภัฏยะลา ปีงบประมาณ 2562 ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้คัดเลือกกลุ่มผลิตภัณฑ์ชุมชน OTOP
จานวน 13 กล่มุ 18 ผลิตภัณฑ์ ดังนี้

จังหวดั ยะลำ จำนวน 6 กลุ่ม 6 ผลติ ภัณฑ์

ลำดบั ชอื่ กลุ่ม ผลิตภณั ฑ์ ประเภทผลิตภัณฑ์ อำเภอ
เบตง
1 แม่บ้านมดตะนอย น้าพริกปลานลิ 3 รส อาหาร เบตง

2 โกชา้ งฟาร์มไกเ่ บตงพนั ธแ์ุ ท้ 100% ขา้ วมนั ไกเ่ บตงพนั ธุ์แท้ อาหาร เบตง
100% เบตง

3 เจ้ปู กยุ ชา่ ยเบตง กุยชา่ ย (ทอดและนึง่ ) อาหาร เบตง

4 วิสาหกิจชุมชนกลมุ่ เล้ียงผงึ้ จว๋ิ ชันโรงครู สบนู่ า้ ผึ้งจวิ๋ สมนุ ไพรทีไ่ ม่ใช่ ธารโต
วิน อาหาร

5 วิสาหกจิ ชมุ ชนกลุ่มรบั ซอ้ื ผลไม้และแปร ทุเรยี นทอด อาหาร
รูปผลไมผ้ ลผลติ เกษตรบา้ นวงั ใหม่

6 ปลาสม้ (ฮาลาบาลา) บา้ นสนั ติ 2 ปลาส้ม (ฮาลาบาลา) อาหาร

2 5
1 4

3 6

13

โครงกำรยกระดบั ผลิตภณั ฑ์ชุมชน OTOP

ผลกำรคดั เลือกกล่มุ ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน OTOP เพอ่ื ยกระดับ

จังหวดั ปตั ตำนี จำนวน 2 กล่มุ 6 ผลติ ภัณฑ์

ลำดับ ช่ือกลมุ่ ผลติ ภัณฑ์ ประเภทผลิตภณั ฑ์ อำเภอ
1 เครื่องแกงสาเรจ็ รูปต้นโหนด อาหาร แม่ลาน
1. เครื่องแกงส้ม
2 สตรีบ้านเปีย๊ ะ 2. เคร่ืองแกงกะทิ อาหาร หนองจิก
3. เคร่อื งแกงผัดเผด็
4. เครอ่ื งแกงไตปลา
5. เครอ่ื งแกงค่วั กล้งิ

ขนมทองมว้ นรสฟกั ข้าว
ขนมทองมว้ นรสงาดา

1

2

14

โครงกำรยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์ชุมชน OTOP

ผลกำรคัดเลอื กกลุ่มผลิตภณั ฑช์ มุ ชน OTOP เพอื่ ยกระดับ

จงั หวดั นรำธิวำส จำนวน 5 กลมุ่ 6 ผลติ ภัณฑ์

ลำดบั ชื่อกลุ่ม ผลิตภณั ฑ์ ประเภทผลิตภณั ฑ์ อำเภอ
1 ตัดเย็บ SN Design 1. เสื้อผ้า ศรีสาคร
2. กระเปา๋ ผา้ เสื้อผ้าและเครือ่ ง
2 Lawa Laweng (ผ้าคลมุ ผมงานปักทกุ ผา้ คลมุ ผม แต่งกาย ศรีสาคร
ชนดิ )
ขนมปัง เสื้อผา้ และเครอ่ื ง ยง่ี อ
3 Kunla เบเกอรี่ กระเป๋าผา้ แต่งกาย ยงี่ อ
4 กล่มุ กระเปา๋ อเนกประสงค์ วุ้นมะพรา้ ว ย่ีงอ
5 วุ้นมะพรา้ วคุณพมิ าน อาหาร

ของใช้

อาหาร

14
3

25

15

โครงกำรส่งเสรมิ ควำมรกั ควำมสำมคั คี ควำมมีระเบยี บวินยั
เข้ำใจในสิทธิหน้ำทข่ี องตนเองและผู้อื่น

การดาเนนิ งานโรงการเสริมสร้างความรักความสามัคคีเพ่ือสร้างความมีระเบียบวินัยเข้าใจ
ในสทิ ธหิ น้าท่ีของตนเอง และความเปน็ พลเมอื งทีด่ ี รวมทง้ั การสร้างคา่ นยิ มการอยู่ร่วมกันในสังคม
พหุวัฒนธรรมอย่างสันติสุข ซ่ึงเป็นการดาเนินโครงการท่ีเน้นพื้นท่ีเป้าหมายในการแก้ไขปัญหา
เสรมิ สรา้ งความรัก ความเขา้ ใจ ลดความหวาดระแวงในพื้นที่ชายแดนภาคใต้

พืน้ ทีเ่ ป้ำหมำย

1. โรงเรียนบ้ำนเยำะ อำเภอธำรโต จังหวดั ยะลำ
2. โรงเรยี นชุมชนบ้ำนซำกอ อำเภอศรีสำคร จงั หวดั นรำธิวำส
3. โรงเรียนบำ้ นนำ้ ดำ อำเภอหนองจกิ จังหวัดปัตตำนี

16

โครงกำรส่งเสริมควำมรกั ควำมสำมัคคี ควำมมีระเบียบวนิ ัยเขำ้ ใจ
ในสิทธิหน้ำทีข่ องตนเองและผ้อู น่ื

ตวั ชี้วัด

80%

ผู้เข้ำร่วมโครงกำรส่งเสริมควำมรัก ผู้เข้ำร่วมโครงกำรมีควำมรู้ ควำม จำนวนผู้เข้ำร่วมกิจกรรม
ควำมสำมัคคี ในพ้ืนที่สำมจังหวัด เขำ้ ใจ และมีทศั นคติ เกย่ี วกับควำม ในหมู่บ้ำนเป้ำหมำยเข้ำ
ชำยแดนภำคใต้ (จังหวัดยะลำ รัก ควำมสำมัคคี ควำมมีระเบียบ ร่วมโครงกำรจิตอำสำ “เรำ
ปัตตำนี และนรำธิวำส) จังหวัดละ วินัย สิทธิหน้ำท่ีพลเมือง และมี ทำ ค ว ำ ม ดี ด้ว ย หั ว ใ จ ”
1,000 คน รวม 3,000 คน ทักษะกำรอยู่ร่วมกันในสังคมพหุ ไม่นอ้ ยกวำ่ ร้อยละ 20
วัฒนธรรม โดยมีกำรต่อยอดองค์
ค ว ำ ม รู้ ไ ป ยั ง ผู้ อ่ื น ไ ด้ ไ ม่ น้ อ ย ก ว่ ำ
ร้อยละ 80

17

โครงกำรพฒั นำทักษะภำษำอังกฤษศตวรรษที่ 21
สำหรับนกั ศึกษำครใู นมหำวิทยำลยั รำชภฏั

คณะวทิ ยฯ์ คณะครุศำสตร์

คณะมนุษยศำสตร์

ตวั ช้วี ดั และเป้ำหมำย

นกั ศึกษาท่เี ข้ารวมโครงการไมน่ ้อยกวา่ รอ้ ยละ 20 ของผู้เขา้ รว่ มโครงการทงั้ หมด
สามารถสอบภาษาอังกฤษ ผา่ นเกณฑ์ CEFR ระดับ B2 (จานวนทั้งหมด 450 คนท่เี ข้าร่วม
โครงการ)

18

โครงกำรพัฒนำทกั ษะภำษำองั กฤษศตวรรษท่ี 21
สำหรับนกั ศกึ ษำครใู นมหำวทิ ยำลัยรำชภฏั

การดาเนินงาน โครงการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษศตวรรษที่
21 สาหรับนักศึกษาครูในมหาวิทยาลัยราชภัฏมีการคัดเลือกนักศึกษา
กลุ่มเป้าหมาย โดยให้นักศึกษาทาแบบทดสอบภาษาอังกฤษเพ่ือคัด
นักศึกษาออกเป็นกลุ่มย่อย เช่น กลุ่มนักศึกษาท่ีมีทักษะความรู้ด้าน
ภาษาอังกฤษพ้ืนฐานและกลุ่มนักศึกษาท่ีต้องเฝ้าระวัง คัดแยกในแต่ละ
คณะ ประกอบดว้ ย

1) กลุ่มท่ี 1 นกั ศกึ ษาชั้นปีที่ 5
2) กลุม่ ที่ 2 นกั ศกึ ษาหลกั สูตรภาษาองั กฤษ ครศุ าสตรบ์ ัณฑิต
หลักสูตรภาษาองั กฤษ ศลิ ปศาสตรบณั ฑิต
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
3) กลุ่มที่ 3 หลักสูตรภาษาอังกฤษและเทคโนโลยีการศึกษา
คณะครุศาสตร์และสงั คมศาสตร์

เน่ืองจากนักศึกษาช้ันปีท่ี 5 กลับจากการฝึกสอน ในวันศุกร์ 21
ธันวาคม 2561 จึงมีการแจกแบบทดสอบในการคัดนักศึกษาเป็นกลุ่มๆ
และประชาสมั พันธ์การสมคั รติวเข้มทักษะภาษาอังกฤษเน้นการคัดเลือก
นักศึกษา 100 คนแรกเข้าร่วมโครงการคัดนักศึกษาที่มีโอกาสสอบผ่าน
เข้าร่วมโครงการติวเข้ม โดยมอบหมายให้ทางศูนย์ภาษาและอาเซียน
ศึ ก ษ า รั บ ห น้ า ที่ ด า เ นิ น ก า ร จั ด ส อ บ โ ด ย อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง ข้ อ ส อ บ
ประกอบด้วย 1) Grammar 2) Reading 3) Listening โดยมีการ
พั ฒ น า แ บ บ ท ด สอ บ ทั ก ษ ะ ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ใ ห้ เ ป็ น ร ะ บ บ ซ อ ฟ แ ว ร์ ข อ ง
มหาวิทยาลยั ราชภัฏยะลา แยกเป็น 2 ส่วน คือ การเขียนโปรแกรมและ
ตั ว ข้ อ ส อ บ ล ง ใ น ร ะ บ บ ซ อ ฟ แ ว ร์ เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร อ อ ก ข้ อ ส อ บ เ ป็ น ไ ป ทุ ก
องค์ประกอบท้ังเน้อื หา ภาพ และเสียงท่ีมีความชัดเจน ประกอบกับการ
ใช้หอ้ งสอบทส่ี ามารถเปิดลาโพงฟังเสียงใน part Listening

19

โครงการพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษศตวรรษท่ี 21
สาหรบั นกั ศกึ ษาครใู นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั

ผลทดสอบ Pre-test คณะครุศาสตร์

คณะครศุ าสตร์ จานวน ขาด คะแนนระดับ A1 คะแนน
นกั ศกึ ษา สอบ เขา้ สอบ (120-224 (22
การประถมศึกษา ทัง้ หมด คะ
การศกึ ษาปฐมวัย คะแนน)
การสอนอสิ ลามศึกษา 23
พลศึกษาและสขุ ศึกษา 65 0 23 7
ภาษาอังกฤษและเทคโนโลยี 32
การศกึ ษา 18 2 63 26

รวม 27 3 29 19

165 0 18 9

1 26 2

6 159 63

นระดบั A2 คะแนนระดับ B1 คะแนนระดับ B2 คะแนนระดับ C1 ต่ากวา่ เกณฑ์
25-549 (550-784 (785-944 คะแนน) (945-990 (นอ้ ยกวา่ 120
ะแนน) คะแนน) คะแนน)
0 คะแนน)
16 0 0 0 0
36 0 0 0 3
0 3
10 0 0 1

8 0 0 1

24 0 0 0 8

94 0 0 0

20

โครงการพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษศตวรรษที่ 21
สาหรบั นกั ศึกษาครใู นมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

ผลทดสอบ Pre-test คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ จานวน ขาด เขา้ สอบ คะแนนระดับ A1 คะแนน
สงั คมศาสตร์ นักศกึ ษา สอบ (120-224 คะแนน) (225
ท้ังหมด คะแ
สังคมศึกษา
ภาษาอังกฤษ 30 2 28 19
ภาษาไทย 46
2 44 1 3
รวม 38
0 38 18 2
114
4 110 38 6

นระดบั A2 คะแนนระดับ B1 คะแนนระดับ B2 คะแนนระดบั C1 ตา่ กว่าเกณฑ์
5-549 (550-784 (785-944 คะแนน) (945-990 (น้อยกวา่ 120 คะแนน)
แนน) คะแนน) คะแนน)
0 3
8 0 1 0 5
33 6 0 0 0
1 8
20 0 0

61 6 0

21

โครงการพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษศตวรรษที่ 21
สาหรบั นักศกึ ษาครใู นมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏ

ผลทดสอบ Pre-test คณะวิทยาศาสตรเ์ ทคโนโลยแี ละการเกษตร

คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยฯี จานวน ขาด เขา้ สอบ คะแนนระดับ A1 คะแนน
นกั ศกึ ษา สอบ (120-224 คะแนน) (225
คอมพวิ เตอรศ์ ึกษา ทัง้ หมด คะแ
วิทยาศาสตรท์ ว่ั ไป
คณิตศาสตร์ 31 4 27 10 1
33
รวม 2 31 6 2
25
2 23 7 1
89
8 81 23 5

นระดับ A2 คะแนนระดบั B1 คะแนนระดบั B2 คะแนนระดบั C1 ตา่ กว่าเกณฑ์
5-549 (550-784 (785-944 คะแนน) (945-990 (นอ้ ยกวา่ 120 คะแนน)
แนน) คะแนน) คะแนน)
0 4
17 0 0 0 2
25 0 0 0 4
0 10
14 0 0

56 0 0

22

โครงกำรยกระดับคณุ ภำพกำรเรยี นรู้ด้ำนกำรอ่ำน กำรเขยี น และกำรคดิ
วเิ ครำะห์ ของนกั เรียนในระดับกำรจดั กำรศึกษำข้นั พ้นื ฐำน
ในพน้ื ทีช่ ำยแดนใต้

พฒั นำครู

ระดบั คะแนนสอบ O-Net ของนกั เรียนเพิ่มขนึ้

สร้ำงนวัตกรรมทำงกำรศึกษำ

เปำ้ หมำย/ตัวชวี้ ัด

นักเรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ ร้อยละของสถำนศกึ ษำทีเ่ ขำ้ องค์ควำมร้ดู ำ้ นกำรยกระดับ
ดำ้ นกำรอำ่ นออกเขียนได้ ร่วมโครงกำรมีผลกำร คณุ ภำพกำรเรยี นรู้ด้ำนกำร
ร้อยละ 80 ของโรงเรยี นท่ี ทดสอบทำงกำรศกึ ษำ อำ่ น กำรเขยี น และกำรคิด
ระดับชำติขนั้ พ้นื ฐำน O- วเิ ครำะห์ของนกั เรยี นในระดับ
เข้ำร่วมโครงกำร กำรจัดกำรศกึ ษำขนั้ พน้ื ฐำน
net เพิ่มขน้ึ ไมน่ ้อยกวำ่ ร้อย
ละ 3 คะแนน (เป้ำหมำยปี 23

2566)

โครงกำรยกระดับคณุ ภำพกำรเรยี นรดู้ ้ำนกำรอำ่ น กำรเขียน และกำรคดิ
วิเครำะห์ ของนกั เรยี นในระดับกำรจัดกำรศกึ ษำขน้ั พ้ืนฐำน
ในพนื้ ทชี่ ำยแดนใต้

การดาเนินงาน โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรดู้ า้ นการอ่านการเขยี นและการคิดวิเคราะห์
ของนกั เรยี นในระดับการจัดการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน มีกิจกรรมที่ดาเนินการแล้วเสร็จในไตรมาสท่ี
1-2 จานวน 3 กิจกรรม ดงั น้ี

กจิ กรรมท่ี 1 กำรประชมุ ชแ้ี จง้ ผ้อู ำนวยกำรโรงเรยี น
กลมุ่ เปำ้ หมำย 60 โรงเรยี น โดยมีวตั ถปุ ระสงค์

เพอื่ ทาความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนที่
เข้าร่วมโครงการที่มีผลคะแนน o-net ต่า 20 อันดับของ
แต่ละจงั หวัด ดาเนินการเมือ่ วันที่ 11 เดือนธันวาคม พ.ศ.
2561 ผู้เข้าร่วม จานวน 58 โรงเรียน จานวน 58 คน
จากทงั้ หมด 60 โรงเรียน ผลการดาเนินการ พบว่า ทาง
ผู้อานวยการโรงเรียนที่เข้าร่วมประชุมมีความสนใจและ
ยินดีเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมโครงการ
ยกระดบั คุณภาพการเรียนรูด้ ้านการอา่ นการเขียนและการ
คิดวเิ คราะหข์ องนักเรียนในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานใน
พ้นื ทช่ี ายแดนใต้

กจิ กรรมท่ี 2 กำรประชมุ คณะกรรมกำรผรู้ บั ผิดชอบโครงกำร
มีวัตถุประสง ค์เพ่ือ ช้ีแจงโครงการ และวางแผน

ก า ร จั ด กิ จ ก ร ร ม ข อ ง โ ค ร ง ก า ร กั บ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ด า เ นิ น ง า น
ดาเนนิ การเมอ่ื วนั ที่ 14 เดือนธนั วาคม พ.ศ. 2561 จานวนผู้เขา้ ร่วม
10 คน จากการประชุมคณะกรรมการผู้รับผิดชอบโครงการ
ยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการคิด
วิเคราะห์ของนักเรียนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานในพื้นที่
ชายแดนใต้มีการจัดทาข้อสรุปการดาเนินการจัดกิจกรรมอย่าง
ชัดเจนและจดั ทาแผนการดาเนนิ งานร่วมกัน

24

โครงกำรยกระดับคุณภำพกำรเรยี นรู้ดำ้ นกำรอ่ำนกำรเขยี น
และกำรคดิ วเิ ครำะห์ ของนักเรียนในระดบั กำรจัดกำรศึกษำขน้ั พืน้ ฐำน

ในพื้นที่ชำยแดนใต้

กจิ กรรมที่ 3 กำรสรำ้ งส่อื นวัตกรรมต้นแบบ (ระยะที่ 1)
มีวัตถุประสงค์ เพ่ือสร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่าน การ

เ ขี ย น แ ล ะ ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ โ ด ย ด า เ นิ น ก า ร ร ะ ห ว่ า ง
วันท่ี 15-16 เดือนธันวาคม พ.ศ. 2561ผู้เข้าร่วม คอื ครูจากโรงเรียน
ท่ีมีคะแนน One-t ต่าอันดับสุดท้ายของจังหวัด จานวน 111 คน
ผลการดาเนินการ พบว่า ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความสนใจที่จะร่วม
สร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่าน การเขียน และการคิดวิเคราะห์
เพื่อเป็นส่ือนวัตกรรมช่วยให้นักเรียนของตน มีผลคะแนนสอบ
O-net ท่ีเพ่ิมขึ้นจากเดิม ครูมีความพร้อมในการนานวัตกรรมที่
รว่ มกนั พัฒนามาปรับใชใ้ นรายวชิ าเพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาใน
พนื้ ทใี่ หด้ ีขึ้นจากเดิม

กิจกรรมที่ 3 กำรสรำ้ งสื่อนวตั กรรมตน้ แบบ (ระยะที่ 2)
มีวัตถุประสงค์สร้างนวัตกรรมต้นแบบการอ่านการ

เขียน และการคิดวิเคราะห์ เพื่อเป็นส่ือนวัตกรรม หนังสือ
เรียน มูลาบาฮาซา โดยมีการแบ่งกลุ่มตามระดับช้ันตาม
ชว่ งช้นั การสอนของคุณครูแต่ละท่าน เพ่ือวิเคราะห์รูปแบบ
การสร้างหนงั สือเรียนรว่ มกับทีมวทิ ยากร

25

โรงเรยี นนำร่องในพนื้ ทสี่ ำมจงั หวดั ชำยแดนภำคใต้

ลำดบั ท่ี ชอื่ โรงเรียน อำเภอ จังหวัด
ธารโต ยะลา
1 โรงเรียนบา้ นเยาะ หนองจิก ปตั ตานี
ศรสี าคร นราธิวาส
2 โรงเรียนบ้านน้าดา

3 โรงเรียนชุมชนบา้ นซากอ

รำยชือ่ โรงเรียนท่ีมคี ะแนนเฉลย่ี O-Net ตำ่ จังหวดั นรำธวิ ำส 20 โรงเรียน

26

รำยช่อื โรงเรยี นท่มี คี ะแนนเฉล่ยี O-Net ตำ่ จงั หวดั ยะลำ 20 โรงเรยี น
27

รำยช่อื โรงเรยี นที่มคี ะแนนเฉล่ยี O-Net ตำ่ จังหวดั ปตั ตำนี 20 โรงเรยี น
28

คณะทำงำน

ทปี่ รึกษำ

ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.สมบัติ โยธาทพิ ย์ อธิการบดี มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา
อาจารย์ ดร.นริ นั ดเิ์ กยี รติ ลวิ่ คณุ ปู การ รองอธกิ ารบดี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

คณะทำงำน ผู้อานวยการศนู ยส์ ่งเสรมิ และพฒั นาท้องถิน่
หัวหนา้ งานพฒั นาเศรษฐกิจฐานราก
อาจารย์ ดร.ชินเี พ็ญ มะลิสวุ รรณ หัวหนา้ งานพัฒนาคุณภาพชีวิตและสง่ เสริมคณุ ภาพพลเมือง
อาจารยส์ ุธรี า ศรีสขุ เจา้ หน้าที่งานพัฒนาคณุ ภาพชีวิตและส่งเสรมิ คุณภาพพลมือง
อาจารย์ชินวจั น์ งามวรรณากร เจา้ หนา้ ที่การเงนิ ประจาศูนย์ส่งเสรมิ และพัฒนาทอ้ งถิ่น
นางสาวเซยี นทพิ ย์ รตั นทอง เจา้ หนา้ ทงี่ านพฒั นาคุณภาพเศรษฐกจิ ฐานราก
นางสาวสุวนี า ยโู ซะ เจ้าหน้าท่งี านพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา
นายอบั ดุลเลาะ เจะแม
นางสาวซูไวบะฮ์ ยามา

29


Click to View FlipBook Version