The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Thawat Nonthatum, 2020-06-17 02:55:12

คู่มือซ่อมเครื่องยนต์เล็กเอนกประสงค์

NEW GX presentation_TH

POWER PRODUCTS

Service & Technology Department

By Mr. Padtanachad Cheenchomboon



ผลติ ภณั ฑ์ของเคร่ืองยนต์เอนกประสงค์

แนะนำเคร่ืองยน์ตตระกูล GX

เคร่อื งยน์ต์รนุ GX ์ไดรบั กำรผลติ ภำย์ใตแนวคดิ เม่อื เปรยี บเทียบ
กบั เครอื่ ์งรนุ G
• มนี ำหนักเบำและขนำดกระทดั รดั
• ใ์หแรง์มำและแรงบิดสูงสดุ
• ประหยดั นำมนั เชอื เพลงิ
• สต์ำรทเคร่ืองยน์ตตดิ์งำยและเบำแรง
• บำรงุ รักษำ์ไม์ยุงยำก

เคร่ืองยนต์มนี ำ้ หนักเบำและขนำดกระทดั รัด

• เคร่ืองยนต์รุ่น GX160 มีขนาดกระทดั รัดและเบากวา่ เครื่องยนต์รุ่น G200
ถ้าเปรียบเทียบวา่ เคร่ืองยนต์ให้กาลงั เทา่ กนั ที่ 5.5 แรงม้า

G200 : GX160 :

-95mm

ความกว้าง G200 GX160 +17mm
335 312
ขนำด 345 362 ควำมแตกต่ำง
ควำมยำว 430 335
ควำมกว้ำง 17 15 -23mm
ควำมสูง
นำ้ หนักสุทธิ +17mm

-95mm
-2kg

ตำรำงกำรเปรียบเทยี บ

ข้อมูลจำเพำะของเคร่ืองยนต์รุ่น GX160T1 เทียบกับรุ่น G200k1

Spec. of GX 160 vs. G200

ข้อมูลจำเพำะของเคร่ืองยนต์ เคร่ืองยนต์ GX 160 Thai-GK เคร่ืองยนต์ G 200 K1 ข้อแตกต่ำง
เครื่องยนต์ OHV กบั SV
กระบอกสบู x ช่วงชกั 4 จงั หวะ วาลว์ ด้านบน สบู เดียวเอียง 25 องศา ระบายความร้อนด้วยอากาศ 4 จงั หวะ วาลว์ ด้านข้าง สบู เดียว ระบายความร้อนด้วยอากาศ
ปริมาตรกระบอกสบู
อตั ราสว่ นการอดั 68 x 45 (mm) 67 x 56 (mm)
แรงม้าสงู สดุ 163 ซซี ี 197 ซีซี
แรงม้าแนะนา 7.5 : 1 6.5 : 1
แรงบิดสงู สดุ
ระบบจดุ ระเบิด 5.5 แรงม้า ( 4.1 kW ) ท่ี 3600 รอบ/นาที 5.5 แรงม้า ( 4.0 kW ) ที่ 3600 รอบ/นาที
ระบบสตาร์ท 4.8 แรงม้า ( 3.5 kW ) ที่ 3600 รอบ/นาที
ความจถุ งั นา้ มนั 1.1 กก.-ม.( 10.8 N.m) ที่ 2500 รอบ/นาที 1.1 กก.-ม.( 10.8 N.m) ท่ี 2500 รอบ/นาที กินนา้ มนั น้อยกวา่
ตวั กรองอากาศ ทรานซสิ เตอร์ - แมเ่ หลก็ ขนาดเลก็ กวา่
ความจนุ า้ มนั เคร่ือง ทรานซสิ เตอร์ - แมเ่ หลก็ นา้ หนกั เบากวา่
การสนิ ้ เปลอื งนา้ มนั เชือกดงึ สตาร์ทสปริงรัง้ กลบั เชือกดงึ สตาร์ทสปริงรัง้ กลบั
ขนาด (ยาว x กว้าง x สงู ) 4.3 ลติ ร
นา้ หนกั เปลา่ 3.6 ลติ ร
แบบอา่ งนา้ มนั เครื่อง แบบก่งึ แห้ง,แบบอา่ งนา้ มนั เครื่อง,Dual
0.7 ลติ ร
0.6 ลติ ร
230 กรัม / แรงม้า / ชว่ั โมง ( 313 กรัม / กิโลวตั ต์-ชวั่ โมง) 290 กรัม / แรงม้า / ชวั่ โมง ( 394 กรัม / กิโลวตั ต์-ชวั่ โมง)
335 x 345 x 430 มม.
312 x 362 x 335 มม. 17 กก.
15 กก.

เคร่ืองยนต์ให้แรงม้ำและแรงบดิ สูงสุด GX-Engine

เน่ืองจาก: ระบบวาล์ว

G- Engine

Side Valve, SV Overhead Valve, OHV

จงั หวะดดู จงั หวะคำย จังหวะดูด จงั หวะคำย
ไอดี ไอเสีย ไอเสีย

• ทอ่ ไอดีและไอเสียอย่ดู ้านเดียวกนั • ดดู และคายสว่ นผสมได้รวดเร็วและน่มุ นวลยิ่งขึน้

• ตาแหน่งของหวั เทียนไมอ่ ย่ตู รงกลางด้านบนของลกู สบู • คายไอเสยี ได้สมบรู ณ์มากขนึ ้

เคร่ืองยนต์ให้แรงม้ำและแรงบดิ สูงสุด

กำลังท่มี ำกขนึ้ เน่ืองจำกระบบวำล์ว OHV :

• ตำแหน่งของหัวเทียนอย่ตู รงกลำงทำงด้ำนบนของลูกสูบทำให้มีกำรเผำไหม้ท่ดี กี ว่ำ

• กำลังอัดท่สี ูงขนึ้ เน่ืองมำจำกห้องเผำไหม้ท่เี ลก็
กระทดั รัดและยงั ช่วยให้กำรเผำไหม้ได้สมบรู ณ์ย่งิ ขนึ้
• มีจงั หวะดูดและคำยท่สี มบรู ณ์ย่งิ ขนึ้ เน่ืองจำก
กำรเรียงตัวของวำล์วไอดีและไอเสีย

ประหยัดนำ้ มันเชือ้ เพลงิ

** สำมำรถประหยดั นำ้ มันเชือ้ เพลิงได้ถงึ 25% เม่อื เปรียบเทยี บกับเคร่ือง G-200K1

สตำร์ทเคร่ืองยนต์ตดิ ง่ำยและเบำแรง

ด้วย: ระบบลดกาลงั อดั

• สตาร์ทได้งา่ ยขนึ ้ เนื่องจากกลไกลดกาลงั อดั จะทาการยกวาล์วไอเสยี เลก็ น้อยขณะทาการสตาร์ท เพ่ือเป็น
การลดกาลงั อดั ในกระบอกสบู

• เมื่อเครื่องยนต์สตาร์ทติดแล้ว แผน่ ถ่วงนา้ หนกั จะกางออกด้วยแรงเหวี่ยงหนีศนู ย์กลาง ทาให้ตวั ยกวาล์วไอ
เสียสมั ผสั กบั ลกู เบยี ้ วไอเสยี เป็นการคืนกาลงั การอดั แก่เคร่ืองยนต์

มวลถ่วงนา้ หนกั
ลกู เบยี ้ ว
สปริงรัง้ กลบั

กำรบำรุงรักษำไม่ยุ่งยำก

GX-series

- การปรับตงั้ วาล์วท่งี า่ ยขนึ ้

กำรทำงำนขัน้ พนื้ ฐำนของเคร่ืองยนต์เบนซนิ

เคร่ืองยนต์แก๊สโซลนี เป็นเครื่องจกั รสนั ดาปภายในที่เปล่ียนพลงั งานความร้อนของแก๊สโซลีนไปเป็นกาลงั
ในเคร่ืองยนต์ชนิดนีน้ า้ มนั เชือ้ เพลงิ แก๊สโซลนี จะถกู ทาให้เป็นฝอยละอองโดยคาร์บเู รเตอร์ เป็นอปุ กรณ์ท่ีอาศยั หลกั การ
ของการทาให้กลายเป็นฝอยละออง (Atomization) ซงึ่ ฝอยละอองแก๊สโซลนี จะถกู ผสมรวมเข้ากบั อากาศจนได้เป็นสว่ น
ผสมไอดีแล้วจงึ ถกู ดงึ เข้าสชู่ ดุ ฝาสบู ไอดีจะถกู อดั โดยการทางานของลกู สบู แล้วเกิดการเผาไหม้(หรือการระเบดิ ) และ
แก๊สจากการเผาไหม้จะถกู ปลอ่ ยออกเป็นไอเสยี ซงึ่ จะได้กาลงั งานจากการเกดิ การทางาน 4ขนั ้ นีซ้ า้ ไปเรื่อยๆ

กำรทำงำนขัน้ พนื้ ฐำนของเคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ (1)

อำกำศ อำกำศ

สำรผสม

ละอองจังหวะ ่ที 1
จังหวะ ่ที 2
เชอื้ เพลิง
จังหวะ ่ที 3
จังหวะ ่ที 4

1 จังหวะดูด 2 จงั หวะอัด 3 จงั หวะระเบดิ 4 จังหวะคำย

กำรทำงำนขัน้ พนื้ ฐำนของเคร่ืองยนต์ 4 จงั หวะ (2)

จังหวะคำย จังหวะดูด

จังหวะระเบดิ จังหวะอัด

กำรทำงำนขัน้ พนื้ ฐำนของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ (1)

1. รวมจังหวะดูดและจงั หวะอัดไว้ด้วยกัน 2. รวมจงั หวะเผำไหม้และจังหวะคำยไว้ด้วยกัน
จังหวะอดั
จงั หวะเผำไหม้
อำกำศ
นำ้ มันเชอื้ เพลิง+ ไอเสีย
นำ้ มันเคร่ือง 2
จังหวะคำย
จังหวะ
จงั หวะดูด

กำรทำงำนขัน้ พนื้ ฐำนของเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ (2)

ข้อแตกต่ำงระหว่ำงเคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะกบั 4 จงั หวะ

เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ เคร่ืองยนต์ 2 จังหวะ

วำล์วไอดี วำล์วไอเสีย กระเด่อื งวำล์ว

ก้ำนกระท้งุ

เพลำลูกเบยี้ ว

• สนิ้ เปลืองนำ้ มันเชอื้ เพลงิ น้อยกว่ำ ไม่มีระบบวำล์ว
• สนิ้ เปลืองนำ้ มันเคร่ืองน้อยกว่ำ ไม่มีกระเด่อื ง
• เงยี บกว่ำ ไม่มีก้ำนกระท้งุ
• สะอำดกว่ำ ไม่ต้องเตมิ นำ้ มันโอโต้ลูบ ไม่มีตัวยกวำล์ว
• กำรบำรุงรักษำง่ายกว่ำ ไม่มีเพลำลูกเบยี้ ว
• กำรเผำไหม้หมดจดกว่ำ ทำให้มลพษิ น้อยกว่ำ ไม่มีอ่ำงนำ้ มันเคร่ือง

เคร่ืองยนต์ 2 จงั หวะ มีโครงสร้ำงง่ำยกว่ำ เคร่ืองยนต์ 4 จังหวะ

โครงสร้ำงของเคร่ืองยนต์รุ่น GX

1. ระบบจุดระเบดิ
2. ระบบหล่อล่นื
3. ระบบวำล์ว
4. ระบบลดกำลงั อัด
5. ระบบกำวำนำ
6. ระบบระบำยอำกำศ
7. คำร์บเู รเตอร์
8. กรองอำกำศ

1. ระบบจุดระเบดิ

ระบบจดุ ระเบิดแบบทรานซิสเตอร์เป็นระบบจดุ ระเบิดแบบเหน่ียวนา-คายประจุ ที่ประกอบด้วยวงจร
แมเ่ หลก็ ท่ีใช้แมเ่ หลก็ ถาวรและคอยล์จดุ ระเบิดที่ตดิ ตงั้ อยบู่ นขอบของล้อช่วยแรง ทาหน้าทีส่ ร้างกระแสไฟหน้า
แรงดนั สงู เพื่อทาการจดุ ระเบิดเคร่ืองยนต์ อกี ทงั้ การบารุงรักษายงั งา่ ยกวา่ เครื่องยนต์รุ่น G-series อกี ด้วย

หลักกำรทำงำน

แมเ่ หลก็ บนล้อแมเ่ หลก็ จะเป็นตวั สร้างกระแสเล็กๆ
ในขดลวดปฐมภมู ิ ไหลผา่ นทรานซิสเตอร์ตวั ท่ี 1 เป็นการ
กระต้นุ การทางาน หลงั จากนนั ้ กระแสที่มากข้ึนจะไหล
จากขดลวดปฐมภมู ิ ไปยงั ทรานซิสเตอร์ตวั ท่ี 2
และผา่ นไปยงั ขดลวดปฐมภมู ิ จากความต่างศกั ย์หลาย
ร้อยโวลต์ ที่ขดลวดปฐมภมู ิ จะเหน่ียวนาให้ เกิดความ
ตา่ งศกั ย์สงู ( 13 KV) ท่ีขดลวดทตุ ิยภมู ิ
ท้ายสดุ ความตา่ งศกั ย์จะไหลจากขดลวดทตุ ิยภมู ิไปยงั
หวั เทียนเพื่อทาการจดุ ระเบดิ

2. ระบบหล่อล่ืน

1.ระบบหล่อล่ืนแบบวดิ สำด

นา้ มนั ในอ่างนา้ มนั เครื่องจะถกู วดิ สาดขนึ ้ ไปยงั ชนิ ้ สว่ นตา่ งๆของเครื่องยนต์ โดยช้อนวดิ ที่ติดอย่บู นก้านสบู

2. ระบบหล่อล่ืนแบบป๊ัมโทรชอยด์

นา้ มนั ในอา่ งนา้ มนั เครื่องจะถกู ดดู ด้วยป๊ัมโทรชอยด์ แล้วจ่ายไปยงั ชนิ ้ สว่ นตา่ งๆของเครื่องยนต์

3. ระบบหล่อล่ืนแบบใบพดั สริงเกอร์

นา้ มนั จะถกู ทาให้เป็นฝอยละออง โดยใช้ตวั ใบพดั (Rotary Slinger) แล้วจะถกู ป๊ัมออกไปหลอ่ ลื่นโดยการเคลื่อนท่ีของลกู สบู

GX 120 - 390 GXV 120 - 390 GX 22 - 35

2. ระบบหล่อล่ืน

GX 120 - 390

ระบบหล่อล่ืนแบบวดิ สำด

นา้ มนั ในอ่างนา้ มนั เครื่องจะถกู วดิ สาดขนึ ้ ไปยงั ชนิ ้ สว่ นตา่ งๆ
ของเคร่ืองยนต์ โดยช้อนวดิ ท่ีติดอย่บู นก้านสบู

2. ระบบหล่อล่ืน

3. ระบบวำล์ว

1.Side valve (SV)

วาล์วจะอย่ดู ้านข้างของกระบอกสบู เพลาข้อเหวี่ยงจะทาการขบั ตวั ยกวาล์วเพ่ือทาให้วาล์วทางาน
เป็นกลไกการทางานของระบบวาล์วอยา่ งง่ายๆ

2. Over Head Valve (OHV)

วาล์วจะอยใู่ นฝาสบู เพลาข้อเหว่ียงจะขบั ตวั ยกวาล์ว ก้านกระท้งุ วาล์ว และกระเด่ืองวาล์ว ทาให้วาล์วทางาน
เมอื่ เปรียบเทียบกบั SV จะเห็นได้ว่าห้องเผาไหม้มขี นาดกระทดั รัดกว่า ทาให้กาลงั อดั และการเผาไหม้มปี ระสทิ ธิภาพมากกวา่
อีกทงั ้ ยงั ประหยดั นา้ มนั มากกวา่ ด้วย

3. Over Head Camshaft (OHC)

ลกู เบยี ้ วจะอย่ใู นฝาสบู ซง่ึ ลกู เบยี ้ วจะทาการกดกระเด่ืองวาล์ว โดยการขบั ของสายพานไทม์มง่ิ ทาให้วาล์วทางานได้
จะเหน็ ได้ว่าชิน้ สว่ นกลไกของระบบวาล์วตวั นีน้ ้อยลงกว่า OHV ทาไห้การเปิดปิด วาล์วมีประสทิ ธิภาพดีย่ิงขนึ ้

3. ระบบวำล์ว

3. ระบบวำล์ว

หมวกวำล์ว:

เนื่องมากจากไอเสยี เกิดการหมนุ วน ทาให้วาล์วไอเสียหมนุ อยใู่ นช่องอากาศระหวา่ งปลายของวาล์ว และด้าน
ในของหมวกวาล์ว การหมนุ นีช้ ่วยปอ้ งกนั ไมใ่ ห้เกิดการเกาะของคาร์บอนที่วาล์วไอเสีย

หมวกวาล์ว วาล์วไอเสยี จะไมไ่ ด้รับการกดจากกระเดือ่ ง

ระยะหา่ ง

จะมีแรงกดจากสปริงระหว่างบา่ วาล์ว กบั วาล์ว วาล์วไอเสยี จะหมนุ เนื่องจากการไหลวนของไอเสยี

4. ระบบลดกำลังอัด

หน้ำท่ขี องชุดกลไกลดกำลังอัด

ชดุ กลไกลดกาลงั อดั ถกู ออกแบบมาเพื่อระบายแรงดนั ในห้องเผาไหม้ ในชว่ งจงั หวะอดั ขณะทาการสตาร์ทเคร่ืองยนต์
เพื่อลดแรงดงึ สะท้อนกลบั (Back Pressure)ของเครื่องยนต์
(ดรู ายละเอียดจาก VCD GX และ GX module)

โครงสร้ ำง

4. ระบบลดกำลังอัด

มวลถ่วงนา้ หนกั
ลกู เบยี ้ ว
สปริงรัง้ กลบั

5. ระบบกำวำนำ

หน้ำท่:ี

ระบบกาวานาจะทาหน้าทร่ี ักษาความเร็วรอบของเคร่ืองยนต์ไว้ เมื่อเคร่ืองยนต์มภี าระเปลยี่ นแปลง
ถ้าระบบกาวานาไมไ่ ด้รับการปรับตงั้ อย่างถกู ต้องแล้ว เคร่ืองยนต์จะไมส่ ามารถควบคมุ ความเร็วได้ตามต้องการ

โครงสร้ ำง:

5. ระบบกำวำนำ

กำรทำงำน:

*เม่อื ควำมเร็วรอบเคร่ืองยนต์เร่ิมตก
เมือ่ มีแรงภายนอกมากระทากบั เคร่ืองจงึ ทาให้รอบเคร่ืองยนต์ตก และแรงเซนติฟิ เกลทก่ี ระทาบนเรือนกาวานา
ก็ลดลงเช่นกนั เลยทาให้นา้ หนกั ถว่ งกาวานาเลอ่ื นเข้าใกล้มากขนึ ้ แขนกาวานาไปดนั ปีกผีเสอื ้ ในคาร์บเู รเตอร์ให้
เปิดมากขนึ ้ สง่ ผลให้ความเร็วรอบของเคร่ืองยนต์สงู ขนึ ้

5. ระบบกำวำนำ

กำรทำงำน:

*เม่ือควำมเร็วรอบเคร่ืองยนต์สูงเกินไป
เม่ือมีแรงภายนอกลดลงทาให้รอบเคร่ืองเพ่ิมสงู ขนึ ้ แรงเซนติฟิ เกลก็สงู ขนึ ้ ตาม เลยทาให้แขนกาวานาดงึ ปีกผีเสอื ้
ปิดลดลง สง่ ผลให้ความเร็วรอบของเครื่องยนต์ลดลงด้วย

6. ระบบระบำยอำกำศ

หน้ำท่:ี

ระบบระบายอากาศได้ถกู ออกแบบมาเพ่ือระบายแรงดนั ทเี่ กิดขนึ ้ จากการเคลอ่ื นทข่ี นึ ้ -ลงของลกู สบู ในห้องเครื่องผา่ น
ทางวาล์วระบายอากาศและยงั ช่วยสง่ แก๊สกาลงั อดั ร่ัวไหลในห้องเคร่ืองกลบั ไปยงั ห้องเผาไหม้ เพื่อเผาไหม้อีกครัง้ จะ
ชว่ ยทาให้ไอเสยี ลดน้อยลง และยงั ประหยดั นา้ มนั เพ่ิมมากขนึ ้ อีกด้วย

กำรทำงำนของวำล์วทำงเดียว

7. คำร์บเู รเตอร์

หน้ำท่:ี

คาร์บเู รเตอร์เป็นอปุ กรณ์ที่ใช้เพ่ือผสมนา้ มนั เชือ้ เชือ้ เพลิงกบั อากาศ ให้อยใู่ นอตั ราสว่ นที่เหมาะสมตอ่ การเผาไหม้
และยงั ทาหน้าที่เปลย่ี นสว่ นผสมนา้ มนั กบั อากาศให้เป็นฝอยละออง แล้วสง่ ผ่านไปยงั ห้องเผาไหม้

อตั รำส่วนผสมนำ้ มนั กับอำกำศ

7. คำร์บเู รเตอร์

ชนิดของคำร์บเู รเตอร์ในเคร่ืองยนต์ตระกูล GX:

1. แบบปีกลนิ ้ ผีเสอื ้ ด้านข้าง
GX 120 - 390

2. แบบปั๊มไดอะแฟรม
GX 22 - 35
ข้อด:ี สามารถจ่ายสว่ นผสมนา้ มนั กบั อากาศได้ 360 องศา
โดยไมท่ าให้เคร่ืองยนต์ได้รับผลกระทบใดๆ

7. คำร์บูเรเตอร์

โครงสร้ำงคำร์บเู รเตอร์:

7. คำร์บเู รเตอร์

กำรทำงำนของคำร์บเู รเตอร์:

รอบเดินเบา ปีกผีเสอื ้ เปิดเลก็ น้อย ปีกผีเสอื ้ เปิดสดุ

8. กรองอำกำศ

หน้ำท่:ี

กรองอากาศทาหน้าท่ใี ห้อากาศทส่ี ะอาดแกเ่ ครื่องยนต์ โดยการใช้ไส้กรองแยกอนภุ าคตา่ งๆ ในอากาศ ที่เป็นอนั ตราย
ตอ่ เคร่ืองยนต์ ไมว่ า่ เครื่องยนต์จะทางานอยใู่ นสถานท่ใี ดกต็ าม กจ็ ะมเี ศษฝ่นุ ผงละอองเลก็ ลอยปะปนอยใู่ นอากาศ
ทงั้ สนิ ้ ถ้าเครื่องยนต์ทางานอยใู่ นบริเวณที่มีฝ่นุ มาก อาจก่อให้เกิดความเสียให้แกเ่ คร่ืองยนต์ได้ ซง่ึ ถ้ามฝี ่นุ ละออง
ปะปนอยใู่ นอากาศขาเข้า จะทาให้เกิดการสกึ หรออยา่ งรวดเร็วในชิน้ สว่ นตา่ งๆของเคร่ืองยนต์

8. กรองอำกำศ

กรองอำกำศแบบต่ำงๆ:

แบบควบคู่

แบบแห้ง

แบบกงึ่ แห้ง

แบบแช่นา้ มนั แบบแชน่ า้ มนั

กำรบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์

กำรบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์

กำรเปล่ียนถ่ำยนำ้ มนั เคร่ือง: นำ้ มนั เคร่ืองท่แี นะนำ API 10W30 (SE, SF) หรือ

SAE 10W30 1

ถา่ ยนา้ มนั เครื่องโดยการถอด โบ๊ลท์ถ่าย
นา้ มนั เครื่อง และก้านวดั นา้ มนั เคร่ือง

2

ปริมาณนา้ มนั เคร่ือง: 0.6 ลิตร ขนั โบ๊ลท์ถา่ ยนา้ มนั เคร่ือง และเติมนา้ มนั เครื่อง
ขีดต่าสดุ 0.35 ลิตร ใหม่ พร้อมขนั ก้านวดั นา้ มนั เคร่ืองให้แนน่

กำรบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์

กำรทำควำมสะอำดไส้กรองอำกำศ:

1. ถอดหม้อกรองอากาศ 2. ล้างไส้กรองอากาศใน 3. บีบให้
นา้ มนั ก๊าดหรือนา้ มนั เชือ้ เพลงิ แห้ง

4. จมุ่ ลงในนา้ มนั เครื่อง 5. บีบให้แห้งพอหมาดๆ

กำรบำรุงรักษำเคร่ืองยนต์

กำรทำควำมสะอำดหวั เทยี น:

1. ใช้แปรงลวดขดั เขมา่ คาร์บอนท่สี ะสมบนเขีย้ วหวั เทยี นออก ตรวจสอบความเสยี หายของแหวนกนั รั่ว
2. ตรวจสอบระยะห่างเขีย้ วหวั เทียน ถ้าระยะหา่ งผิดไปจากคา่ ท่ีกาหนด ให้ปรับตงั้ โดยการดดั เขีย้ วข้างให้ได้ระยะ

**ระยะหา่ งเขีย้ วหวั เทียน 0.7 - 0.8 มิลลิเมตร

หวั เทยี นท่ีกาหนดใช้
BP6ES(NGK)
BPR6ES(NGG) แบบปอ้ งกนั คลนื่ รบกวน
W20EP-U(ND)
W20EPR-U(ND) แบบปอ้ งกนั คล่ืนรบกวน

กำรปรับตัง้ เคร่ืองยนต์

กำรปรับตงั้ วำล์ว:

ควรทำกำรปรับตงั้ วำล์วขณะเคร่ืองเยน็

กำรปรับตัง้ เคร่ืองยนต์

กำรปรับตงั้ กำวำนำ:

1. ถอดถงั นา้ มนั
2. คลายน๊อตล๊อกแขนกาวานา
3. เลือ่ นคนั เร่งให้อย่ทู ่ตี าแหน่งเปิดเตม็ ท่ี
4. หมนุ แกนกาวานาในทศิ ตามเขม็ นาฬิกา
5. ขนั น๊อตล๊อกแขนกาวานาให้แน่น
6. ตรวจสอบน๊อตทกุ ตวั ให้อย่ใู นสภาพแน่น
7. ประกอบถงั นา้ มนั กลบั
8. ตรวจความเร็วเคร่ืองยนต์ให้ได้ตามมาตราฐาน

กำรปรับตัง้ เคร่ืองยนต์

กำรปรับตงั้ คอยล์จุดระเบดิ : 0.4±0.2 ม.ม.

กำรสตำร์ ทเคร่ืองยนต์

**** ควรทำกำรตรวจระดับนำ้ มันเชอื้ เพลงิ และนำ้ มนั เคร่ือง ก่อนทำกำรสตำร์ทเคร่ืองยนต์ทกุ ครัง้ ****

1. เปิดก๊อกนา้ มนั 2. เร่งเครื่องยนต์เลก็ น้อย 3. ปิดโช๊ค 4. เปิดสวิทชเครื่องยนต์ไป
ยงั ตาแหนง่ “ ON “

5. ดงึ ชดุ สตาร์ทเบาๆจนกระทง่ั รู้สกึ ตงึ มอื 6. เปิดโช๊ค 7. ตงั้ คนั เร่งตามต้องการ
และทาการดงึ อีกครัง้ อย่างรวดเร็ว

กำรดับเคร่ืองยนต์

1. ปรับคนั เร่งไปท่ตี าแหนง่ รอบเดินเบา 2. ปิดสวทิ ช์เครื่องยนต์มาท่ตี าแหน่ง “ OFF “

3. ปิดก๊อกนา้ มนั

ระวัง ! ท่อไอเสีย ร้อน!

กำรเกบ็ เคร่ืองยนต์

1. ถ่ายนา้ มนั ออกจากถงั นา้ มนั ให้หมด 2. ถ่ายนา้ มนั ออกจากห้องลกู ลอยให้หมด 3. ถ่ายนา้ มนั เครื่อง

4. เตมิ นา้ มนั เคร่ืองจนได้ระดบั 5. ตงั ้ ลกู สบู ให้อยทู่ ่ีตาแหน่งศนู ย์ตายบน 6. เก็บในกลอ่ งให้มดิ ชดิ
เพ่ือปิดวาล์วไอดีและไอเสีย ปอ้ งกนั อากาศ เพ่ือปอ้ งกนั ฝ่นุ หนู
เข้าภายในกระบอกสบู

Asian Honda Service and Technology Department

กำรใช้งำนเคร่ืองยนต์

กำรเปิ ดองศำปี กผีเสือ้
: ไมเ่ กิน 50% ขององศาเปิด

สงู สดุ

กำลังออกสูงสุดท่ไี ด้
: ไมเ่ กิน 90% ของกาลงั ออก

สงู สดุ

กำลังต่อเน่ืองท่คี วำมเร็ว 3600 รอบ/ (100%:5.5แรงม้ำ)

นำที (90%:4.95แรงม้ำ)
: 80% ของกาลงั ออกสงู สดุ (80%:4.4แรงม้ำ)

ควำมเร็วเคร่ืองยนต์

ไม่มภี ำระ : 3850 รอบ/นำที

รอบท่แี นะนำ : 2000-3600

รอบ/นำที

รอบเดนิ เบำ : 1250-1600

รอบ/นำที

กำรใช้งำนเคร่ืองยนต์

อุณหภมู ทิ ำงำน : -15°~ 40°
อณุ หภมู ิภายนอก : ไมเ่ กิน 140°
อณุ หภมู ินา้ มนั เครื่อง : 270°
อณุ หภมู หิ วั เทยี น : ไมเ่ กิน 60°
อณุ หภมู ิภายในถงั นา้ มนั และคาร์บเู รเตอร์

กำรส่ันสะเทอื น : ไมเ่ กิน 7 G
R.M.S(root mean square) : ไมเ่ กิน 20°

มุมลำดเอียง
ชว่ งมมุ ทางาน

กำรแก้ไขปัญหำเคร่ืองยนต์

ระบบจุดระเบดิ :


Click to View FlipBook Version