The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by watittu Thummajong, 2019-10-17 07:21:39

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

183

ส่ิงที่ต้องพจิ ารณาในการวางแผน
การออกแบบทดี่ เี ปน็ ส่วนสาคัญอย่างหนง่ึ ของการพฒั นารีสอร์ทเพราะจะช่วยได้เป็นอยา่ งมากในการ

ทาให้นักท่องเทีย่ วมคี วามร้สู ึกที่ดตี อ่ แหลง่ ท่องเทยี่ วและมีความพึงพอใจในประสบการณ์ทไ่ี ดร้ ับ ขอบข่ายของ
การวางแผนและออกแบบมีดังน้ี

1. สถานทีต่ ้งั ของตวั อาคาร โดยเฉพาะอย่างย่ิงความสมั พันธ์กันกบั สถานที่กอ่ สร้าง การจัด
พน้ื ที่ และบรรยากาศโดยรอบ

2. ทิวทศั น์ภายในและภายนอกของรสี อร์ท
3. การใชภ้ มู ิประเทศที่เปน็ จดุ เด่นของสถานท่ี
4. การใชแ้ ละการผสมผสานของพนั ธ์ไม้ในท่นี นั้ ใหเ้ ขา้ กบั การออกแบบ พื้นทีบ่ รเิ วณชายหาด
(หรือบรเิ วณสระว่ายนา้ ถ้ารสี อรท์ นั้นไมไ่ ด้ตัง้ บนชายหาด) นา้ และพน้ื ทสี่ าหรบั การเล่นพักผอ่ น
5. การจัดวางตัวอาคาร ความหนาแนน่ ของการพฒั นา การจดั หมวดหมูข่ องอาคาร และ
ความสมั พนั ธข์ องตัวอาคารกับชายหาด
6. การเข้าถึงสถานท่ที ่องเทยี่ ว
7. การเลือกแบบสถาปัตยกรรม โดยใหส้ ิทธิพเิ ศษแก่รูปแบบของทอ้ งถน่ิ ก่อน ระดบั ของ
นกั ทอ่ งเทีย่ วท่ีอยู่รวมกนั เป็นกลมุ่ หรอื แยกจากกนั (ความสามารถในการรองรับนกั ท่องเท่ยี ว)
นอกเหนือไปจากสิง่ ภายนอกเหล่าน้ี ความต้องการในการพัฒนายังรวมไปถงึ การเอาใจใส่ในคณุ ภาพ
และความพอเพียงของน้าใชภ้ ายในอาคาร การก่อสรา้ ง การตกแต่งภายใน เคร่อื งปรับอากาศ การกาจัดน้าเสีย
และขยะ
(ก) กระบวนการในการวางแผน
การพัฒนารีสอร์ทและสงิ่ อานวยความสะดวกกเ็ พ่ือใหน้ กั ท่องเที่ยวเกิดความพงึ พอใจในประสบการณ์
ทีห่ ลากหลาย แม้บางครัง้ นกั ท่องเทยี่ วอาจจะมีความต้องการไมต่ รงกนั กต็ าม
1. การพกั ผ่อน ความสงบและความเงียบ
2. เป็นอสิ ระจากความแออัด
3. การนนั ทนาการ (คนเดียว หรือเป็นหมคู่ ณะ)
4. การสมาคมสงั สรรค์
ขัน้ ตอนในกระบวนการวางแผนประกอบด้วย
1. ทาการวิจัยตลาดเพ่ือที่จะได้กาหนดประเภทของลูกค้าที่จะมาใช้บริการในรีสอร์ท (การ
ต้ังเปา้ หมายของรสี อรท์ )
2. เลือกทาเลที่ต้ังโดยท่ัวไป ก่อนพิจารณาถึงความยากง่ายในการเข้าถึง ความสวยงามของ
ทิวทัศน์ที่จะดึงดูดความสนใจของนักท่องเที่ยว ศักยภาพของการพัฒนา ขนาดของการใช้บริการทาง
สาธารณูปโภค และจานวนของคนงานท่ีจะตอ้ งใช้
3. การคัดเลอื กสถานท่ี
4. การสรา้ งแนวความคดิ ของรีสอรท์ (ขึน้ อยกู่ บั ผลการวจิ ยั ของตลาด)
5. การประเมินทาเลท่ีต้ังในเบื้องต้น (โดยคานึงถึงสิ่งที่โดดเด่นที่สุดของทาเลท่ีตั้ง รวมกับ
ความต้องการทางด้านวิศวกรรม การจัดแบ่งพื้นท่ีสาหรับอาคารต่างๆ พ้ืนท่ีวางและการเชื่อมโยงระบบการ
ส่อื สาร)

184

6. ปรับแต่งแนวความคิดให้ละเอียดขึ้นและนาเสนอรายละเอียดเพ่ือจะได้บรรลุข้อตกลงใน
กิจกรรมหลักๆ เห็นพ้องกันในรูปแบบของตัวอาคารและยืนยันในขอบเขตท่ีแน่นอนของรูปแบบทาง
สถาปัตยกรรม รวมทั้งการออกแบบ ความสูง และการใช้ประโยชนใ์ นพน้ื ท่ี

(ข) ความตอ้ งการในการวางแผนของสถานท่ี
1. การสรา้ งภาพลกั ษณ์
2. การเตรยี มการในการวางแผนจากแนวความคดิ เพื่อใหบ้ รรลุภาพลกั ษณน์ ั้น
3. การกาหนดรายละเอยี ดในการพัฒนาสถานทีใ่ ห้สอดคล้องกับแนวความคิดที่วางไว้

การวางแผนหลักและส่ิงท่ตี ้องการจากการออกแบบก็เพื่อท่ีจะใหร้ สี อร์ทน้ันมีภาพลกั ษณ์ท่ีโดดเดน่ ซง่ึ
อาจะทาให้เป็นผลสาเร็จได้โดย

4. ปรับส่วนประกอบต่างๆ ของแผนให้เข้ากับสถานท่ี (แทนท่ีจะยัดเยียดแผนตามท่ีต้องการ
ใหก้ บั สถานที่)

5. ปรับตัวอาคารแต่ละหลัง และรวมเป็นกลุ่มให้เข้ากับขนาดและสถานที่เพ่ือให้ทาเล
ท่องเที่ยวดเู ด่นกวา่ แทนทีจ่ ะให้ตัวอาคารดโู ดดเดน่

6. ใชว้ ัสดุกอ่ สร้างทม่ี ีในท้องถ่ิน
7. ปรบั ใช้ใหเ้ ข้ากับรูปแบบของทอ้ งถ่ิน
8. ปรับปรุงการเชื่อมโยงของพื้นท่ีบริการท่ีพักอาศัย พื้นที่บริการจากจุดต่างๆ ของสถานที่
ท่องเที่ยว และบริเวณท่ีเป็นที่รวมของผู้คนให้เข้ากับพื้นท่ีธรรมชาติเพื่อท่ีจะใช้ภูมิทัศน์และบรรยากาศให้เป็น
ประโยชนย์ งิ่ ขน้ึ
9. อยู่ใกลก้ ับหมบู่ ้านในท้องถนิ่ เพอื่ ใหม้ ีการติดต่อสงั สรรค์แลกเปลี่ยนประสบการณ์กนั
การออกแบบรีสอร์ทไม่มีสูตรสาเร็จเป็นการเฉพาะ จาเป็นต้องมีการประเมินและพิจารณาท่ีแตกต่าง
กันไปในแตล่ ะกรณีตามความเปน็ จรงิ
(ค) การวางแผนสร้างแนวความคดิ
หลักท่ีจาเป็นต้องใช้ในการวางแผน มีดังนี้
1. ความใกลช้ ดิ กบั ธรรมชาติ
2. ผสมผสานกบั ส่งิ แวดลอ้ มตามธรรมชาติ
3. ความเหมือนจริงในการจดั ตวั อาคาร พนื้ ที่ การเขา้ ถึง และการออกแบบตวั อาคาร
4. การเน้นพัฒนาแบบรวมเป็นกลุ่ม แทนท่ีจะเป็นการกระจายตัวอย่างสม่าเสมอ หรือแยก
การออกไปโดดๆ
5. ความคาดหวังของลูกคา้
6. ขนาดและระดบั ตามความตอ้ งการของรสี อรท์ และจุดยนื ทางการตลาด
การดาเนินงานพนื้ ฐานในการเตรยี มแผนของแนวความคิดควรจะทาเปน็ ระบบดังนี้
1. ทารายการของแนวความคดิ ทางเลือกต่างๆ และการออกแบบ
2. กาหนดความเปน็ ไปได้และขอ้ จากัดตา่ งๆ ให้ชดั เจน
3. คดั เลอื กทางเลือกเหลา่ นีใ้ หน้ อ้ ยลง โดยพจิ ารณาใชท้ างเลอื กที่มีขอ้ จากดั น้อยทส่ี ดุ
4. ทาการประเมินโดยเปรียบเทียบทางเลือกท่ีคัดเลือกออกมาแล้ว โดยคานึงถึงการตลาด
การแขง่ ขัน และราคาตน้ ทนุ

185
5. ให้เลือกทางเลือกที่ดีท่ีสุดเพ่ือการประเมินอีกช้ันหน่ึง และจัดเตรียมรายละเอียดแบบ

แปลนของสถานทแี่ ละตวั อาคาร
ในการปฏิบัติพบได้ว่าจาเป็นต้องมีการปรับแนวคิดให้เข้ากับการเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ต่างๆ

อย่เู สมอ (เช่น ความต้องการของตลาดทเ่ี ปลีย่ นไป)
ภายในข้อกาหนดของแนวความคดิ พื้นฐานเจา้ ของโครงการอาจจะเลือกดงั นี้
1. การปกป้องทวิ ทศั นโ์ ดยรอบทอ่ี ยู่ไกลออกไป
2. การผสมผสานของสิ่งอานวยความสะดวกกับชายหาด ชายทะเลสาบ หรือปจั จยั ทาง

กายภาพท่ีคลา้ ยกนั
3. ควรจะพฒั นาโดยเนน้ ให้อาคารไม่สูงนักและไม่แออดั เพื่อทจี่ ะหลีกเลย่ี งการบดบงั ทิวทศั น์

จากตัวอาคาร
4. การรวมกลมุ่ ของตัวอาคารและการทากจิ กรรมเอาไวใ้ กลๆ้ กัน เพื่อท่ีจะกันใหม้ ีพนื้ ทีเหลอื

จากากรพฒั นาใหม้ ากท่ีสดุ
5. ทาให้รสี อรท์ เปน็ ศนู ยก์ ลางของจดุ ดึงดูด
6. จดั ความหนาแน่นและการวางแผนให้แตกตา่ งกันตลอดท้ังสถานท่ี เพ่อื หลีกเลี่ยงความ

ซา้ ซากและความน่าเบ่อื หน่าย
7. จดั หาพืน้ ทีท่ สี่ ามารถเป็นที่กาบงั จากอากาศทรี่ นุ แรง
8. จดั สวนธรรมชาติ ถา้ ไม่มีอยูเ่ ดิมแล้วในสถานที่ และก่อสร้างรูปแบบตา่ งๆ ที่นา่ สนใจข้ึน

ถา้ สถานท่นี ัน้ ไม่คอ่ ยมจี ุดเดน่
แม้ในขั้นตอนของแนวความคิด นโยบายในการออกแบบควรจะมงุ่ ไปในด้านแกไ้ ขความด้อยของ

ธรรมชาตใิ นสถานทีต่ ้ังและหลีกเล่ียงในการสร้างส่งิ แปลกปลอมท่ีไมเ่ ปน็ ธรรมชาติ
จดุ สาคัญในการวางแผนความคิดควรจะเป็นดังนี้
1. มีความกลมกลนื กบั สถานที่ทอ่ งเที่ยว
2. มีการแสดงเอกลกั ษณ์และภาพลกั ษณ์
3. มีการจดั วางตัวอาคารและกิจกรรมตา่ งๆ
4. มคี วามสะดวกในการเข้าถึงภายในและการสือ่ สาร
5. มีโอกาสที่นกั ท่องเท่ียวจะไดร้ ับประสบการณท์ ี่พึงพอใจ

(ง) การวางแผนสถานที่
การกาหนดรายละเอยี ดของการวางแผนสถานท่ี มุง่ ท่ีจะบรรลุวัตถปุ ระสงค์ของกระบวนการวางแผน

แนวความคดิ ให้มากที่สดุ เท่าทจ่ี ะมากได้ ในความพยายามท่ีจะปรบั แนวความคดิ ให้เข้ากับสถานทท่ี ่องเที่ยวท่ีมี
อย่แู ลว้ บางดา้ นมุนของแนวความคดิ อาจจะต้องถูกตดั ออกไปหรือปรบั เปล่ยี นบ้าง

การเตรียมแผนของสถานท่ีให้เหมาะสมและมปี ระสทิ ธภิ าพเป็นสิ่งจาเปน็ เพื่อใหม้ ั่นใจวา่ แนวความคิด
นน้ั ไดร้ บั การนาไปปฏิบตั ิอย่างเทยี่ งตรง มีการพิจารณาสภาพของสถานทท่ี ่องเท่ียวโดยละเอยี ด แบบแปลน
และการก่อสรา้ งต้องเปน็ ทต่ี กลงกนั แบบแปลนควรจะรวมเอาการพัฒนาทัง้ หมด (รวมท้ังพนื้ ทธ่ี รรมชาติ) ให้
อยภู่ ายในขอบเขตของรีสอร์ทดงั นี้

1. ตวั อาคาร
2. ส่ิงอานวยความสะดวกและเครื่องไม้ใชส้ อย
3. พ้ืนท่ีท่ีไมม่ ีการก่อสรา้ งใดๆ

186
4. การบรกิ ารสาธารณูปโภค
5. จดุ ทีจ่ ะเข้าถึง
6. ระบบการไหลเวยี น
7. แบบแปลนการจดั สวน
นอกจากน้แี ลว้ ความต้องการในระยะเวลาทจ่ี ะใชพ้ น้ื ท่ีทงั้ หมดตอ้ งระบุไว้ดว้ ย ถงึ แม้วา่ การพัฒนาจะ
กาหนดเป็นช่วงไปอยแู่ ลว้ เปน็ ส่งิ จาเป็นที่จะต้องแน่ใจวา่ การพัฒนาในอนาคตของพนื้ ที่จะเปน็ ไปอย่าง
สมเหตุสมผล
ในปลายประเทศ รฐั บาลไดอ้ อกคู่มือการออกแบบและข้อกาหนดของรัฐบาล ทวา่ มาตรฐานการ
ดาเนนิ การที่ครอบคลุมทง้ั หมดยงั มีอยนู่ ้อย ดงั น้นั มาตรฐานที่แนน่ อนของพ้ืนทีว่ า่ งจึงไม่มีการทารายการไว้
รัฐบาลควรจะระมดั ระวังในการเลยี นแบบมาตรฐานของพื้นทวี่ ่างและอาคารทมี่ กี ารพัฒนามาแล้วจากประเทศ
อน่ื เพื่อนามาใช้ในท้องถิน่ เน่ืองจากสถานการณไ์ ม่เหมือนกนั อยา่ งไรก็ตามมาตรฐานการดาเนนิ งานเช่นนั้น
อาจนามาใช้ได้เพ่ือเปน็ จดุ เริ่มตน้ ซง่ึ อาจจะนาไปสู่การออกมาตรฐานของการออกแบบท้องถิน่ ต่อไป รายการ
ตอ่ ไปน้จี ะชีใ้ หเ้ หน็ ถึงขอบข่ายของประเด็นท่ีมาตรฐานของพื้นทวี่ า่ งและการก่อสร้างเป็นสิ่งจาเปน็
1. ทาเลทก่ี อ่ สร้างอาคาร (ความสัมพนั ธ์กบั ชายหาด พื้นที่ว่างระหว่างตวั อาคาร การรวม
กระจุกตัวของกลมุ่ อาคาร การจดั อาคารเปน็ แถวเป็นแนว การแยกสรา้ งอาคารโดดๆ ความสมั พนั ธ์กบั ภมู ิทศั น์
ความหนาแนน่ และความครอบคลมุ พน้ื ท่)ี
2. การกอ่ สร้าง (วัสดุก่อสรา้ ง การออกแบบ ความสูงของอาคาร)
3. การเขา้ ถงึ (ทางเข้า ระบบหมนุ เวียนภายใน การเชอ่ื มโยงระหว่างสงิ่ อานวยความสะดวก)
4. การจัดสวน (พันธไ์ุ ม้พ้ืนเมือง แบบแผนในการปลกู ต้นไม้ การรักษารูปแบบของส่วนเดิมไว้
การปลูกต้นไม้เพ่ิมเตมิ การวางแผนสิ่งแวดล้อมเพื่อเสริมหรอื เพ่ือซ่อมแซมทวิ ทัศน์ แถบแนวของพนั ธุ์ไมต้ าม
แนวธรรมชาติและความหลากหลายของพื้นท่ีปิดและพน้ื ทเ่ี ปิด)
การวางแผนสถานที่ก่อสร้าง ควรมกี ารปรบั เพอ่ื ใหเ้ ขา้ กนั ไดก้ ับสถานการณต์ า่ งๆ ทนี่ กั ท่องเทยี่ วสว่ น
ใหญค่ ิดวา่ เปน็ แบบฉบับของชีวติ และประสบการณ์ในเขตรอ้ น เพ่อื ให้บรรลุถึงเปา้ หมายดังกลา่ ว แบบแปลน
ของสถานท่จี าเปน็ ต้องครอบคลมุ สง่ิ ต่อไปนี้
1. ความสัมพนั ธก์ นั ของการใช้งานและความสวยงามระหว่างสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอก
ซง่ึ ทาไดด้ ว้ ยการวางผงั ของรสี อรท์ การรวมกลมุ่ ของสิ่งอานวยความสะดวก การปรับตวั อาคารเพ่ือให้ไดร้ ับ
ประโยชนม์ ากที่สุด อากาศ ทางเดินที่มหี ลังคา ทางเดินระหวา่ งร้านที่มหี ลงั คา แนวเสาทเ่ี รียงกนั และทิวทัศน์
2. รวมสง่ิ อานวยความสะดวกเข้าด้วยกันโดยคานงึ ถงึ ลกั ษณะพิเศษของพ้นื ที่ ลักษณะของภมู ิ
ประเทศ ทิวทัศน์ ความต้องการของผคู้ น โอกาสและความแตกตา่ ง ประสทิ ธภิ าพของการบรกิ ารและการ
บารงุ รักษา
3. ความเรียบง่ายของการวางผังเพือ่ ช่วยให้นักท่องเทยี่ วปรับตวั ได้งา่ ย ซง่ึ ทาได้โดยจดั ระบบ
เส้นทางเดนิ ในอาคาร การรวมตัวของส่งิ อานวยความสะดวก จุดศนู ย์กลางทีด่ ึงดูดความสนใจ การจัดสวนตาม
แนวทางเดิน และเคร่อื งหมายต่างๆ
ในช่วงของการออกแบบพ้นื ที่ควรจะพิจารณาใหล้ ะเอยี ดถงึ ความสามารถในการรองรบั จานวนคนของ
รสี อร์ทซึง่ กาหนดโดยปจั จัยต่อไปน้ี
1. พื้นท่วี ่างท่ีจะพฒั นาข้ึนมา
2. จุดทนี่ า่ สนใจพิเศษที่ต้องการอนุรักษ์ไว้
3. ขนาดของพ้นื ท่ีท่ีกาหนดให้อยภู่ ายในอาคาร

187
4. ความหนาแน่น
5. รปู แบบของอาคาร
6. ประเภทของนักท่องเท่ียวที่จะมาพัก
7. กลมุ่ กิจกรรมเสริมในสถานที่

ในบางกรณรี าคาของท่พี ักและบริการของรีสอรท์ ท่ีแพงกอ็ าจจะเป็นข้อจากัดของศกั ยภาพการรองรบั
จานวนของนกั ท่องเท่ยี วทแ่ี ท้จริงได้
รีสอรท์

รีสอร์ทบางแห่งก็อาจจะมีความเป็นเอกเทศ แยกออกไปอยู่โดดและอยู่ในที่ห่างไกล ในกรณีเช่นนี้
ระดับของการผสมผสานบริการรวมกันจะมีสงู มาก เนื่องจากความต้องการและประสบการณ์ของนกั ท่องเทยี่ ว
ส่วนใหญ่ก็จะอยู่ภายใต้รีสอร์ท ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดก็คือ รีสอร์ทท่ีอยู่บนเกาะ ในการออกแบบรีสอร์ทเช่นนี้
การวิจัยทางตลาด สภาพของพ้ืนท่ี ศักยภาพของการออกแบบของพื้นที่จาเป็นต้องสอดรบั กัน ทั้งนี้อาจจะยังมี
ความเช่ือมโยงกับรีสอร์ทอื่นๆ เพื่อใช้บริการเสริมและประสบการณ์ต่างๆ คล้ายกนั อยา่ งไรกต็ าม รสี อร์ทชนิด
นี้เป็นสิ่งท้าทายความสามารถในการวางแผนและออกแบบ ซึ่งต่างๆจากรีสอร์ทบนแผ่นดินใหญ่ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งรีสอร์ทเช่นนี้ต้องผสมผสานการออกแบบ ขอบข่ายของการบริการ และส่ิงอานวยความสะดวกเข้า
ด้วยกัน

(ก) รีสอร์ทแบบปิด (Enclaves)
รสี อรท์ ที่เปน็ เอกเทศอยา่ งสมบูรณเ์ ช่นน้ไี ด้รับการกลา่ วขานกันวา่ รีสอร์ทสาหรบั นักท่องเทย่ี วประเภท

ทีจ่ ะบนิ มาถึงสนามบินนานาชาติ แล้วใชเ้ วลาพกั ผอ่ นในรสี อร์ทเทา่ นน้ั เสรจ็ แล้วกบ็ นิ ตรงกบั บา้ นไป
ประสบการณ์ของการพกั ผ่อนแบบนท้ี าให้ไม่ไดส้ ัมผสั กับส่ิงแวดล้อม ขนบธรรมเนยี มประเพณี และส่งิ อานวย
ความสะดวกท่ีมีอยนู่ อกกาแพงรีสอรท์

สว่ นหนึง่ ของความน่าต่นื ตาต่ืนใจ เมือ่ มาเทีย่ วแทบทมี่ ภี มู ิอากาศแบบเขตร้อนก็คอื โอกาสทจ่ี ะไดส้ มั ผสั
กบั สิ่งแวดลอ้ มอนั เป็นธรรมชาตขิ องทอ้ งถน่ิ ประเพณีวัฒนธรรม ชีวิตความเปน็ อยู่และชาวบา้ นท้องถน่ิ รัฐบาล
ควรจะต้องเฝา้ ระวัง เพ่ือจะใหแ้ นใ่ จว่านกั ท่องเท่ยี วมโี อกาสสมั ผสั กับความหลากหลายของแหลง่ ท่องเทีย่ ว
อาจจะเป็นโอกาสเชน่ นที้ ีท่ าใหแ้ หล่งท่องเทีย่ วบางแห่งได้เปรียบกวา่ แห่งอืน่ น่ีเปน็ ความทา้ ทายท่สี าคญั ในเรื่อง
ของการบูรณาการในการวางแผนการท่องเท่ยี ว

ปรากฏการณ์ของรีสอรท์ แบบปดิ (enclave) มกั จะปรากฏอยู่ในสองรูปแบบ: (1) รสี อร์ทชายทะเลท่ี
รวมทกุ อยา่ งไว้อาจจะมีมากกวา่ ประเภทรสี อร์ทเดยี วแยกโดด และ (2) รีสอร์ททโ่ี ดดเดียวแยกออกไปหา่ งไกล
มีทกุ อย่างในตัวเอง รสี อรท์ ชนดิ ทส่ี องนี้เรามักจะพบบ่อยบนเกาะเล็กๆ

เหตุผลพืน้ ฐานของรีสอรท์ แบบปิด เนื่องมาจากปัจจยั เหลา่ น้ี
1. สภาพแวดลอ้ มและบรรยากาศทสี่ ม่าเสมอ
2. ภาพลกั ษณแ์ ละเอกลักษณ์ทเี่ ปน็ ไปตามทีก่ าหนด
3. มีขนาดความประหยัด
4. กจิ กรรมต่างๆ มคี วามสอดคล้องประสานกัน
5. งา่ ยต่อการทาตลาด
6. ความชอบของนักท่องเที่ยวท่ีได้อยู่ในสถานที่มีการคุ้มครอง มีความสะดวกสบาย

สง่ิ แวดลอ้ มท่ีคนุ้ เคยและมกี ารดูแบรักษาความปลอดภยั

188

สาหรับแบบรีสอร์ทแบบปิดนี้มีส่ิงที่ได้เปรียบในการออกแบบเพราะไม่เพียงแต่จะทาให้นักท่องเท่ียว
พอใจเทา่ น้นั ยังเป็นรปู แบบทีค่ วบคมุ ไดง้ ่ายต่อการจัดการ ส่งิ ทีไ่ ดเ้ ปรียบรวมถงึ

1. การวางแผนแบบเบ็ดเสร็จในเร่ืองของการใช้พ้ืนท่ีและทากิจกรรม เพื่อให้ตรงกับความ
ต้องการของนักท่องเทย่ี ว

2. การวางแผนที่ได้สมดุล ทาให้ส่ิงประกอบสาคัญเกิดความกลมกลืนในเรื่องของปริมารและ
การกระจายพื้นท่ีเพอื่ ทากิจกรรมต่างๆ สอดคลอ้ งกบั สงิ่ แวดลอ้ ม

3. การวางแผนท่เี ป็นระบบทาให้ผลกระทบและความต้องการทางท่องเท่ยี วมรี วมกันอยู่อย่าง
หนาแน่น

4. เป็นโอกาสทจ่ี ะสร้างภาพลักษณแ์ ละเอกลกั ษณ์ใหก้ บั รีสอร์ท
5. เป็นการวางแผนที่เน้นการประสานงานสอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงมีการเชื่อมโยง
จากจดุ ท่เี ข้าประเทศจนถงึ แหล่งท่องเที่ยวของรีสอร์ท
6. เป็นฐานของการผสมผสานสาธารณูปโภคและบริการให้ตรงกับความต้องการของ
นักท่องเท่ยี วได้
รีสอร์ทแต่ละประเภทไม่ว่าจะเป็นแบบรวมกันหรือแบบเดียวก็ต้องมีจุดอิ่มตัวที่เหมาะกับทุกแห่ง
สาหรับรีสอร์ทท่ีเปน็ เอกเทศจุดอ่ิมตัวของการบริการ ส่ิงท่ีดึงดูดความสนใจ ท่ีพักอาศัย และบริการขนส่ง จะมี
การกาหนดโดยจานวนรวมของผู้พักอาศัยในทุกรีสอร์ทในแหล่งท่องเที่ยวนั้น จานวนรวมของนักท่องเที่ยวท่ี
อาจจะมาพักน้ีเป็นพื้นฐานของการบริการท่ีอาจจะเพ่ิมได้ทั้งคุณภาพและปริมาณ สาหรับรีสอร์ทที่แยกอยู่โดด
เดี่ยว ครบวงจรและอยู่ห่างไกล จุดอิ่มตัวอาจจะกาหนดจากปัจจัยหลายๆ อย่างรวมถึงพื้นท่ีว่างที่มอี ยู่ จานวน
และประเภทของนักท่องเที่ยว ความคาดหวงั และความต้องการของนักทอ่ งเที่ยวความเต็มใจของนกั ท่องเท่ียวที่
จะตอ้ งจา่ ยเพอื่ การบรกิ ารต่างๆ การทาใหถ้ ึงจุดอิม่ ตวั เป็นสิ่งสาคญั ในการพัฒนาทจ่ี ะให้รีสอรท์ แบบครบวงจรนี้
อย่ไู ด้
รีสอร์ทที่ครบวงจรแต่ละแห่ง อาจจะเรียกได้ว่าเป็นรีสอร์ทแบบปิด (enclave) ซึ่งมีทุกอย่างที่
นักท่องเที่ยวต้องการ ดังน้ัน นักท่องเท่ียวจึงไม่จาเป็นต้องออกจากรีสอร์ท หรือใช้รีสอร์ทเป็นฐานเพื่อออกไป
หาประสบการณ์ข้างนอกกับสิ่งแวดล้อมธรรมชาติ ส่ิงที่เป็นประเพณีวัฒนธรรมและมรดกของท้องถ่ิน หรือวิถี
ชวี ติ และหมู่บา้ นของชาวพ้ืนเมือง
(ข) รีสอรท์ แบบปกติ
ลกั ษณะโดยทัว่ ไปของการพัฒนาการท่องเที่ยวสาหรบั รีสอร์ทชนดิ น้มี ดี งั นี้
1. โดยปกตจิ ะรวมกนั อยูแ่ ถบชายฝั่งทะเล
2. อาจจะอยู่ห่างไกลหรือโดดเด่ียว หรือไม่ก็เช่ือมโยงในบางลักษณะกับตัวเมืองและหมู่บ้าน
3. ต้ังอยู่ในจุดท่ีไม่ไกลเกินจากสนามบินนานาชาติโดยรถยนต์ เคร่ืองบิน หรือเรือข้ามฟากก็
ตาม
4. มีแนวโน้มที่จะรวมกลุ่มกันอยู่ในเขตความยาวของฝ่ังทะเลท่ีเป็นที่นิยม ตามถนนหลวงท่ี
เชอื่ มต่อกบั ตวั เมืองหรอื อยใู่ นจุดของการขนถา่ ย
5. อย่ตู ามชายฝ่ังที่มีกาบังคลน่ื ลม
6. อยู่นอกฝงั่ ทะเลทีเ่ ข้าถึงได้ หรอื ตามแนวหนิ ท่พี ้นน้า
7. โดยทัว่ ไปแลว้ จะแตกต่างกันที่ราคาตน้ ทุน ขอบขา่ ของสิง่ อานวยความสะดวกสบาย อิสระ
ท่ีจะไปมากบั รสี อรท์ อ่นื ๆ และข้ึนอยกู่ บั ความชอบของนักท่องเท่ยี วทม่ี าพกั

189

ในแง่การวางแผน การรวมตัวกันอยู่ในท่ีแห่งเดียวหรือสองสามแห่งเป็นนโยบายท่ีได้รับความนิยม
เนอื่ งจาก

1. สภาพของสิง่ แวดล้อมจะถกู รบกวนน้อยกวา่ และยังอยใู่ นวสิ ยั ทจ่ี ะจดั การได้
2. จดุ อ่ิมตวั สามารถท่ีจะคาดคะเนได้
3. สามารถคานวณความต้องการการใชส้ าธารณปู โภคได้
4. สามารถจดั การการรกุ ล้าของการทอ่ งเทีย่ วได้
5. สามารถออกแบบให้กลุ่มรีสอร์ทมีความกลมกลืนกับสถานท่ีและบรรยากาศโดยรอบการ
พัฒนารีสอรท์ อาจจะต้องประสบปัญหาบางประการ เชน่
1. พืน้ ท่วี า่ งที่จะใช้ในการขยาย
2. การกระจายตวั ของอาคารและกิจกรรม
3. แหล่งน้า
4. การกาจดั ของเสยี
5. คณุ ภาพการบรกิ าร (บุคลากร)
6. การไหลเวียน (circulation)
7. การเขา้ ถงึ
8. การรกั ษาระดับความพึงพอใจของนักท่องเท่ียว
ปัญหาเหล่านี้อาจจะรนุ แรงขน้ึ ถา้ รีสอร์ทอยู่ในสถานท่ีห่างไกล นอกเสียจากกวา่ การอยหู่ ่างไกลนั้นเป็น
ที่รบั รูเ้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของภาพลักษณ์ การโฆษณา และมีสิ่งดึงดดู ความสนใจเป็นพิเศษ
บางประเทศในแถบเอเชียและแปซิฟิก ได้จัดทาแบบแนวทางสาหรับการพัฒนารีสอร์ทแบบครบวงจร
ซง่ึ มคี าแนะนาเก่ียวกับสงิ่ ต่างๆ ดังตอ่ ไปนี้
1. ทาเลสถานท่ีต้งั
2. การอนรุ กั ษ์ส่ิงแวดล้อม
3. การใชพ้ ืน้ ทใี่ กลเ้ คียงและสถานทีต่ ั้งของรสี อร์ท
4. จดุ ทีต่ ้งั ของอาคารและกิจกรรม
5. การออกแบบสถาปัตยกรรม
6. มาตรฐานของสาธารณปู โภค
7. การจดั การดา้ นกรรมสทิ ธ์ทิ ดี่ นิ
8. การสร้างภาพลักษณ์
9. การปฏสิ ัมพนั ธ์กับหมูบ่ า้ นใกล้เคียง
10. การจดั การดา้ นการเข้าถงึ สถานท่ี
ประเด็นพน้ื ฐานทตี่ ้องคานึงถึงในการพัฒนารีสอร์ทนั้นสามารถนาไปประยุกต์ใช้กบั รสี อร์ทท่วั ไปได้ แต่
กับรีสอร์ทที่อยู่โดดเดียวหรือเป็นเอกเทศนั้น จาเป็นต้องมีการพิจารณาเป็นพิเศษ เพื่อให้เกิดความสอดคล้อง
ระหว่างความคาดหวงั ของนกั ทอ่ งเท่ยี วกับการบริการและสง่ิ อานวยความสะดวกท่จี ัดไว้ให้
การบริหารจัดการแหล่งทอ่ งเทีย่ ว
แหล่งท่องเท่ียวมีความจาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการบริหารจัดการเพื่อให้เกิดการมีส่วนร่วมของผู้มี
ส่วนเก่ียวข้องและช่วยให้แหล่งท่องเที่ยวมีความสมดุลในองค์ประกอบทุกๆด้าน เช่น ด้านที่พัก ด้านการ
คมนาคม ด้านกจิ กรรม ดา้ นส่งิ อานวยความสะดวก เปน็ ต้น

190

ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549)แนวโน้มที่
กาลังเกิดขึ้นทาให้ไม่ต้องสงสัยเลยว่าแหล่งท่องเที่ยวในเมืองและชนบทแบบประเพณีวัฒนธรรม แบบด้ังเดิม
กาลงั เป็นส่วนสาคัญของขอบข่ายของตลาดพเิ ศษเป็นไปได้ทจี่ ะชว้ี ัดให้เห็นลักษณะสาคัญของพื้นที่เหล่านี้ และ
ปัจจัยในการพิจารณาในการวางแผนและการบริหารงานมีความสาคัญเชน่ กันที่ต้องพิจารณาการเรียกร้องของ
นักท่องเท่ียวท่ีต้องการจะพักผ่อนในท่ีมีการผสมผสานเป็นอย่างดี ระหว่างในเมือง ชนบท และกิจกรรมทาง
ธรรมชาติ

แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วในเมือง
แหล่งท่องเท่ียวในเมืองมีความหลากหลายตั้งแต่เมืองขนาดใหญ่มากไปจนถึงชุมชนเล็กๆ แหล่ง
ทอ่ งเที่ยวแต่ละแห่งกม็ ีคุณลักษณะพิเศษหลายอย่างที่เม่ือรวมกันแล้วชว่ ยให้เกิดความสนใจในหมู่นักท่องเท่ียว
ไดเ้ ป็นอยา่ งดี ลกั ษณะทวั่ ไปของแหล่งทอ่ งเท่ียวในเมือง ได้แก่

1. อาหารและเคร่อื งดื่ม
2. อาคารและแหลง่ ประวตั ิศาสตร์
3. ตลาด
4. วถิ ีชวี ติ และประเพณี
5. ศาสนา
6. ความสานกึ เป็นชมุ ชน
7. ความสานกึ ในสถานที่
8. เหตุการณ์งานเฉลิมฉลองต่างๆ
9. การละครและดนตรี
10. การจัดประชุมใหญ่ๆ
11. ศิลปะและหัตถกรรม
12. การศกึ ษา
13. สขุ ภาพ
14. พพิ ิธภัณฑ์
15. การจบั จ่ายซอ้ื ของ
ส่ิงที่ท้าทายของแหล่งท่องเที่ยวในเมือง คือ ต้องมีความแน่ใจว่าความต้องการและความกังวลของ
พลเมืองต้องได้รับความเคารพ ในขณะเดียวกันก็เป็นโอกาสดีที่จะสร้างสรรค์การพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนา
สังคม สิ่งต่างๆ ท่ีได้ปรับปรุงข้ึนรวมทั้งส่ิงอานวยความสะดวกเพ่ือนักท่องเที่ยวก็เป็นประโยชน์แก่ประชาชน
ท้องถิ่นเชน่ กนั เป็นส่ิงจาเป็นท่กี ารพัฒนาการท่องเทย่ี วในตัวเมืองจะต้องเปน็ สว่ นหนึ่งของกระบวนการหลักใน
การวางแผน และพัฒนาการเข้าแทรกแซงในหลายรูปแบบทาให้การบริหารแหล่งท่องเที่ยวในตัวเมืองบรรลุผล
สาเร็จ การริเริ่มใหมๆ่ ในการบรหิ ารแหล่งทอ่ งเทยี่ วในเมอื งเปน็ การเฉพาะพงึ พจิ ารณาในประเด็นต่อไปนี้
1. แหลง่ ศลิ ปวัฒนธรรม
2. แผนหลักด้านศลิ ปะ
3. การเปน็ ภาคหี ุ้นส่วนระหวา่ งภาครัฐบาลกบั ภาคเอกชน
4. การดูแลทด่ี ิน
5. การแบง่ เขตการใชส้ อยหรือโซนนงิ่
6. การถ่ายโอนสิทธใิ นการพัฒนา
7. การควบคมุ การออกแบบ

191

แหลง่ ท่องเท่ียวในชนบท
ในพ้ืนท่ีชนบทหลายๆ แห่ง การท่องเที่ยวสามารถเป็นส่วนหน่ึงของการเติบโตทางเศรษฐกิจและการ
กินดีอยู่ดีของชุมชนในขณะที่พ้ืนที่ในเมือง มีกิจกรรมทางเศรษฐกิจหลากหลายกว่า ทว่าในชนบทแล้วการ
ท่องเท่ียวมีบทบาทความสาคัญอย่างย่ิง ในขณะเดียวกันก็อาจจะก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบและทาให้เกิด
ความเสยี หายระยะยาวต่อชมุ ชนและสงิ่ แวดลอ้ ม
การท่องเที่ยวในชนบทมีอยู่สองรูปแบบ แบบที่หนึ่งเป็นกิจกรรมการท่องเท่ียวที่เกิดขึ้นในพื้นที่ชนบท
ในขณะที่แบบท่ีสองเป็นการสร้างส่ิงดึงดูดความสนใจจากส่ิงแวดล้อมที่มีอยู่ในชนบท สิ่งท่ีดึงดูดความสนใจใน
ชนบทมดี ังนี้

1. วถิ ีชวี ติ ของชาวชนบท
2. ประเพณวี ัฒนธรรมทแี่ ตกต่าง
3. สถาปัตยกรรมในท้องถน่ิ
4. ทวิ ทัศนข์ องชนบท
5. ระบบค่านยิ มทางเลือก
ความท้าทายอยู่ที่เราจะนาเสนอสิ่งท่ีดึงดูดความสนใจเหล่านี้ให้นักท่องเที่ยวได้ช่ืนชมอย่างไรโดยที่
ยังคงความเคารพนับถอื ตอ่ ขนบธรรมเนียม คณุ คา่ ทางสงั คม และวิถีชาวบา้ นไว้
มหี ลายรปู แบบของการท่องเท่ียวในชนบทท่ีควรพิจารณาเพ่ือเป็นกลยุทธ์ในการวางแผน การวางแผน
การทอ่ งเท่ยี วแบบยง่ั ยืนควรจะหาวิธบี รู ณาการกิจกรรมที่หลากหลายเข้าไปในแผนหลัก
รปู แบบตา่ งๆ ของการท่องเที่ยวในชนบทรวมถงึ
1. ประเพณวี ัฒนธรรม
2. ความเปน็ ชนเผา่ ดง้ั เดิม
3. การทอ่ งเทย่ี วเชิงนเิ วศ
4. การกฬี า (เช่น เลน่ สกี ว่ายนา้ เปน็ ตน้ )
5. การผจญภัย
6. หตั ถกรรม
7. การตั้งแคมป์ การลา่ สตั ว์
8. จบั จา่ ยซือ้ ของ
9. การพกั ผ่อนในฟารม์ เลย้ี งสัตว์
10. งานฉลอง
11. การจดั แสดงเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
12. การประชมุ สัมมนา
13. การพักอาศยั อยู่กบั ชาวบา้ น
แหล่งท่องเที่ยวเชิงนเิ วศ
การทอ่ งเที่ยวเชิงนิเวศได้เปน็ สว่ นสาคญั ที่เพ่มิ มากข้ึนเร่อื ยๆ ในตลาดการท่องเทีย่ วโดยรวม อย่างไรก็
ตาม จาเป็นต้องย้าว่าการท่องเท่ียวเชิงนเิ วศไม่จาเปน็ ต้องเป็นการทอ่ งเทยี่ วแบบย่ังยืน และการท่องเทีย่ วแบบ
ธรรมชาตทิ ง้ั หมดก็ไม่ใช่การท่องเทย่ี วเชิงนเิ วศ หลกั สาคัญของการท่องเที่ยวเชงิ นิเวศควรจะไดร้ บั การพิจารณา
ทง้ั นี้ ถ้าจะวางแผนให้การทอ่ งเท่ยี วเชงิ นิเวศเปน็ สิง่ ที่ยง่ั ยืนและผสมผสานกับกจิ กรรมตา่ งๆ มาตรการอกี หลาย
อย่าง จาต้องเกดิ ข้ึนเพอื่ ให้แน่ใจในดา้ นคุณภาพและการอนุรักษ์

192

(ก) หลักสาคัญของการท่องเที่ยวเชงิ นิเวศ
หลักการตา่ งๆ ของการท่องเท่ยี วเชงิ นิเวศโดยท่วั ไปแล้วควรจะรวมถงึ
1. ต้องส่งเสริมให้มีจริยธรรมท่ีดีต่อส่ิงแวดล้อม ชักนาให้เกิดทัศนคติและพฤติกรรมท่ีพึง

ประสงคใ์ นหมู่ผูม้ สี ่วนรว่ มในการท่องเท่ยี ว
2. ต้องไม่ทาลายทรพั ยากร และต้องไม่มกี ารสึกหรอของธรรมชาติแวดล้อมหลังการไปเยือน
3. ในขณะท่กี ารล่าสตั ว์เป็นกีฬาและการตกปลาอาจจะนับเป็นกาท่องเท่ียวแบบป่าเขาลาเนา

ไพร เปน็ การท่องเท่ยี วแบบผจญภยั มากกว่าจะเปน็ แบบเชงิ นเิ วศ
4. สิ่งอานวยความสะดวกและบริการอาจจะช่วยเสริมในการได้สัมผัสกับทรัพยากรที่แท้จริง

แต่ส่ิงอานวยความสะดวกและบริการต้องไม่เป็นส่วนหน่ึงของการดึงดูดความน่าสนใจ หรือไม่ทาให้เกิดการ
เบ่ียงเบนการดงึ ดูดความสนใจไปจากสิ่งทน่ี า่ สนใจตามธรรมชาติ

5. ในเชิงปรัชญา การให้ความสาคัญกับส่ิงมีชีวิตทั้งหลายมากกว่าจะเนน้ หลักความสาคัญกบั
มนษุ ย์ นกั ท่องเที่ยวเชิงนเิ วศเมอื่ เขา้ สู่สง่ิ แวดล้อมน้ันแล้ว ต้องยอมรับสภาพของธรรมชาตติ ามความเป็นจริง ไม่
คาดหวงั ให้เปลีย่ นแปลงหรอื แก้ไขเพอื่ ความสะดวกสบายของตน

6. ต้องเปน็ ประโยชน์ต่อสัตวป์ ่าและส่ิงแวดล้อม ถ้าส่ิงแวดล้อมไม่ได้ประโยชน์อย่างน้อยท่ีสุด
ในดา้ นความย่ังยืนและความสมบูรณ์ของระบบนเิ วศ นั่นก็ไมใ่ ช่การทอ่ งเท่ยี วเชงิ นเิ วศ

7. ต้องเป็นประสบการณ์โดยตรงจากสิ่งแวดล้อม ภาพยนตร์และสวนสัตว์นั้นไม่นับเป็น
ประสบการณท์ างการทอ่ งเทย่ี วเชิงนเิ วศ

8. ตอ้ งเป็นการชว้ี ัดกนั ในแง่ของการศึกษาหรือความพงึ พอใจ แทนทีจ่ ะเปน็ ความตื่นเต้นหรือ
ความสาเร็จทางกายภาพ ในส่วนหลงั นีจ้ ะเปน็ ลักษณะของการทอ่ งเทีย่ วแบบผจญภัยมากกว่า

9. การท่องเที่ยวเชิงนิเวศต้องมีการเตรียมการเป็นอย่างดี และอาศัยความรู้อย่างมากท้ังจาก
ผู้นาและผเู้ ข้าร่วม

(ข) การวางแผนการทอ่ งเท่ียวเชิงนเิ วศ
เพ่อื ใหก้ ารวางแผนเป็นไปดว้ ยดตี อ้ งทาความเข้าใจกับธรรมชาตขิ องนักท่องเที่ยวเชิงนิเวศ คณุ ลกั ษณะ

ของนกั ทอ่ งเที่ยวเชิงนิเวศมดี งั นี้
1. ไมพ่ งึ พอใจกบั การเทยี่ วชมทิวทศั น์ตามแบบปกติด้ังเดิม
2. มีความเห็นวา่ การเสริมสร้างชีวิตให้เจริญงอกงามยิง่ ข้นึ เป็นเป้าหมายสาคัญยิ่ง
3. มคี วามปรารถนาทจ่ี ะสัมผัสสง่ิ ทเ่ี ป็นของจรงิ แท้
4. มคี วามปรารถนาท่ีจะมีประสบการณก์ บั ส่ิงทแี่ ปลกใหม่ และเป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะ
5. แสวงหาท่พี กั ทางเลอื กและเปน็ เอกลักษณ์

กระบวนการวางแผนเพื่อการทอ่ งเทีย่ วเชิงนเิ วศ ตอ้ งรบั มือกบั ประเดน็ ปัญหาหลายๆ ประการดงั ต่อไปนี้
6. คณุ ภาพและความเปน็ ของจรงิ แทข้ องประสบการณ์ท่นี กั ท่องเที่ยวจะได้รบั
7. ประเดน็ ระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกจิ กับการอนุรักษ์ (โดยมสี ิ่งแวดลอ้ มทีก่ ลายเปน็

สนิ คา้ )
8. ต้องใหแ้ น่ใจวา่ ผลกาไรทางเศรษฐกจิ ตกเปน็ ของชมุ ชนท้องถน่ิ
9. ต้องตดั สนิ ใจว่าใครควรจะไดเ้ ขา้ ไปสมั ผัสกับธรรมชาติ (ระหวา่ งนักท่องเท่ยี วเชิงอนุรกั ษท์ ี่

แท้จรงิ กับนักท่องเทยี่ วท่ีไม่สนใจการอนุรักษ)์ (ระหว่างนักท่องเทย่ี วทอ้ งถนิ่ กับนักท่องเทย่ี วจากต่างประเทศ)
10. ตดั สินใหไ้ ดว้ ่าจุดอิ่มตวั อยู่ตรงไหน
12. ต้องมีการประเมินผลกระทบทีเ่ พิ่มข้นึ

193
13. ข้อขดั แยง้ ระหว่างวิทยาศาสตรก์ บั เศรษฐศาสตร์วา่ อะไรจะสาคัญกว่า

คุณลักษณะพเิ ศษ (niche) เหลา่ นแ้ี ละธรรมชาตขิ องประเด็นปัญหาการวางแผน ทาให้การทอ่ งเทยี่ ว
เชงิ นเิ วศมีความทา้ ทายเปน็ พเิ ศษซ่ึงรวมถงึ

1. ความตอ้ งการทางวทิ ยาศาสตร์และการแบ่งปนั ข้อมลู ทางวทิ ยาศาสตร์
2. การพัฒนาบทบาทหน้าที่ท่ีเป็นจรงิ ของภาคเอกชนในการดาเนนิ งาน
3. คาจากดั ความในบทบาทหน้าทีใ่ หมข่ องภาครฐั ในการพัฒนาสินค้าและการควบคุมคุณภาพ
4. ความสาคญั ของการฝึกอบรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการตคี วามหมายของการท่องเท่ยี วเชงิ
นเิ วศ
5. การปรบั ฐานความคดิ ของการตลาดใหม่ เพอ่ื ใหส้ ะท้อนหลักการของการท่องเทีย่ วเชงิ
นิเวศอยา่ งลกึ ซ้งึ
6. การจัดทาเอกสารเก่ยี วกับกรณกี ารปฏบิ ัติที่ดที ีส่ ุด (best practices)
7. การสร้างความเขา้ ใจในมติ ิเศรษฐกิจใหช้ ดั เจนยิง่ ขึ้น
8. ความตอ้ งการในการแสวงหาทางเลอื กการออกแบบเชิงกายภาพ (อาทิ ที่พกั เชงิ นิเวศ หรอื
ecolodge)
รปู แบบการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียว
เครื่องมืออันหนึ่งท่ีใช้เพ่ือเปน็ หลกั ประกันความสาเร็จของการท่องเที่ยวในเมืองและชนบทก็คือ การมี
รูปแบบการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวที่ดีซ่ึงจาเป็นต้องคานึงถึงชุมชนเจ้าของท้องถิ่น ส่ิงแวดล้อม และ
นักท่องเท่ียวในแผนผังที่ 1 แสดงให้เห็นรูปแบบของการบริหารจัดการส่ิงที่จาเป็นต้องทาความเข้าใจให้ลึกซึ้ง
คือ การปฏิบัติต่างๆ ที่ประกอบกันเพื่อนาไปสู่การท่องเที่ยวท่ีมีคุณภาพ ในแผนผังนี้ต้องการแสดงถึงส่ิงท่ีเป็น
หวั ใจในการจัดการแหล่งทอ่ งเท่ียวท่ดี ี นัน่ คอื
1. การมอี งค์กรและการบรหิ ารจดั การที่มีประสิทธิภาพ
2. มีการวางแผนในดา้ นกายภาพและด้านสังคมของแหลง่ ท่องเท่ยี ว
3. ให้ความสาคัญเรอ่ื งการตลาดเพื่อการประสบความสาเร็จทางเศรษฐกจิ และไดน้ ักท่องเท่ียว
ประเภทท่ตี อ้ งการ
4. ให้ความสาคัญต่อการพัฒนาสินค้า เพ่ือให้ตรงกับความต้องการของนักท่องเที่ยวและให้
เหมาะสมกับประเภทและลกั ษณะของทรัพยากร
5. ให้ความเอาใจใส่กับการวางแผนและการบริหารจัดการในด้านการดาเนินงานกับแหล่ง
ท่องเทยี่ วในเมือง และในชนบท
การนาแผนการพัฒนาการทอ่ งเทย่ี วไปปฏิบตั ิ
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเท่ียวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549: 27-28)การ
วางแผนควรไดร้ บั การพจิ ารณาว่าเป็นกระบวนการต่อเนื่องที่บรู ณาการข้ันตอนตา่ งๆ ของการจัดทาแผนเข้ากับ
การนาไปปฏิบัติ
ขั้นตอนตา่ งๆ ของการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ มีดงั ตอ่ ไปน้ี
1. การเตรียมการและการจัดทาคู่มือ/แนวทางการปฏิบัติงาน กฎระเบียบและนโยบายต่างๆ
ทจี่ าเป็นต่อการนาแผนไปสู่การปฏิบตั จิ นบรรลผุ ลทีต่ อ้ งการ
2. การดาเนินการพัฒนาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนท่ีกาหนด













200

แผนบรหิ ารการสอนประจาบทที่ 9
ผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยว

เน้ือหาประจาบท
1. ผลกระทบจากการท่องเที่ยว
2. การประเมินผลกระทบจากการทอ่ งเท่ียว
3. ผลกระทบของการทอ่ งเที่ยวตอ่ ชุมชนทอ้ งถนิ่
4. สรุป
5. แบบฝึกหัดท้ายบท

วัตถุประสงค์เชงิ พฤติกรรม
1. อธบิ ายผลกระทบจากการทอ่ งเท่ยี วได้
2. สามารถอธบิ ายหลกั การประเมินผลกระทบจากการท่องเท่ียวได้
3. สรุปผลกระทบของการทอ่ งเทีย่ วตอ่ ชุมชนท้องถิน่ ได้
4. สามารถประเมนิ ผลกระทบท้ังดา้ นบวกและด้านลบจากการทอ่ งเทย่ี วได้

วิธีสอน
1. ศกึ ษาจากเอกสารประกอบการสอนวชิ าการพฒั นาการท่องเทย่ี วอย่างยั่งยนื
2. อาจารย์ผสู้ อนใหห้ ัวขอ้ ผเู้ รียนอภปิ รายผลและสรุป
3. ใชป้ ัญหาเปน็ ฐาน ถาม-ตอบผ้เู รียน
4. บรรยายและยกตวั อยา่ งประกอบ

กจิ กรรม
1. แบ่งกล่มุ ใหน้ กั ศึกษาสรุปเนือ้ หาสาคัญและนาเสนอ
2. การแสดงบทบาทสมมติ
3. ค้นคว้าเพ่มิ เติมจากอนิ เตอรเ์ น็ต
4. ตอบคาถามระหว่างบรรยาย
5. ทาแบบฝกึ หัดทา้ ยบท

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชาการพฒั นาการท่องเทย่ี วอย่างยง่ั ยืน
2. PowerPoint ประกอบการบรรยาย
3. ภาพประกอบตา่ งๆจากอินเตอร์เน็ต

201
การวดั และประเมนิ ผล
1. ประเมินผลจากการนาเสนอรายงาน
2. ประเมินผลจากการทาแบบฝึกหดั ทา้ ยบท
3. สงั เกตพฤติกรรมผ้เู รียนในการถาม-ตอบ
4. สงั เกตจากพฤติกรรมความสนใจและการรว่ มกิจกรรมในช้นั เรยี น

202

บทที่ 9
ผลกระทบจากการทอ่ งเทย่ี ว

อุตสาหกรรมท่องเท่ียวเป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กับประเทศไทยเป็นอันดับ 1 มาหลายปีจะ
เห็นได้จากนโยบายการสนับสนุนจากภาครัฐท่ีมีการกระตุ้นการท่องเที่ยวด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การหยุดยาว
ติดต่อกันหลายวัน การลดหย่อนภาษีจากการท่องเท่ียว เป็นต้น ซ่ึงการท่องเท่ียวมีบทบาทในการกระตุ้น
เศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างดี อีกมุมหน่ึงการท่องเท่ียวก็ส่งผลกระทบบางอย่างไปสู่ สังคม วิถีชีวิต
วัฒนธรรม ทรัพยากรต่างๆของประเทศ ซงึ่ จะต้องมกี ารศึกษาผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นจากการท่องเท่ียวทง้ั ด้านบวก
และด้านลบเพ่ือหาวิธีป้องกันและแก้ไขนาไปสู่การพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีความยั่งยืน ในบทนี้จะกล่าวถึง
ผลกระทบจาการท่องเท่ียว ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชนท้องถิ่น การประเมินผลกระทบจากการ
ทอ่ งเที่ยว
ผลกระทบจากการทอ่ งเท่ียว

การทอ่ งเทีย่ วเป็นอตุ สาหกรรมท่ีส่งผลต่อภาพลักษณ์และภาพรวมของประเทศเป็นอยา่ งมาก
พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์ (2553: 24-27) ได้อธิบายถึงการศึกษาวิจัยท่ีน่าสนใจของ มอสคาร์โด
(Moscardo, 2008) ที่ได้ศึกษากรณีศกึ ษาเกี่ยวกับผลกระทบของการท่องเท่ยี วถึง 329 กรณศี ึกษาดว้ ยกนั จาก
ประเทศต่างๆ 90 ประเทศ ซ่ึงได้ระบุถึงผลกระทบในแง่ลบท่ีเกิดจากการพัฒนาการท่องเที่ยวในภาพรวม ซึ่ง
สามารถแยกออกเป็นข้อใหญ่ท่ีชัดเจนได้ 5 หัวข้อด้วยกัน คอื
1. การเกดิ การทาลายสิง่ แวดล้อม
2. เกดิ การขดั แยง้
3. ผลกระทบทางวฒั นธรรม
4. ผลกระทบตอ่ ชวี ติ ประจาวันของชมุ ชน
5. ความคาดหวงั ทว่ี ่าการทอ่ งเที่ยวจะนาผลประโยชน์มาสูช่ มุ ชนนัน้ ไมเ่ ป็นไปตามความคาดหวงั
หากจะมองในรายละเอียดของแต่ละข้อแล้ว ในด้านการทาลายสิ่งแวดล้อมสามารถแยกออกเป็น 5
มมุ มองด้วยกัน คอื
1. การทาลายส่ิงแวดล้อมและระบบนเิ วศเมื่อมีการก่อสร้างส่ิงอานวยความสะดวกหรือสาธารณูปโภค
ดา้ นการทอ่ งเที่ยวข้นึ
2. เกิดมลภาวะและปัญหาดา้ นขยะ
3. การเส่ือมสลายหรอื ไมเ่ พียงพอในเรอ่ื งของทรพั ยากรธรรมชาติของชมุ ชนรวมไปถึงน้าและอาหาร
4. การเปลยี่ นพฤติกรรมของสตั วท์ ่อี าศัยในชุมชน
5. ลกั ษณะทางสถาปตั ยกรรมทไ่ี มเ่ หมาะสมซ่งึ อานวยประโยชนเ์ พียงดา้ นการท่องเทีย่ วเท่านน้ั
ในหัวข้อที่ 2 คือ เร่ืองของความขัดแย้งซ่ึงความขัดแย้งท่ีเกิดข้ึน และถูกกล่าวถึงมากคือ เร่ืองของ
ความขัดแย้งระหว่างสมาชิกของชุมชนโดยท่ัวไปและจะเกิดข้ึนระหว่างกลุ่มท่ีสนับสนุนการท่องเที่ยวกับกลุ่มท่ี
ต่อต้านการท่องเท่ียว ความขัดแย้งเกิดได้จากกความเห็นท่ีไม่ลงรอยกันในรูปแบบของการพัฒนาทางการ
ทอ่ งเทย่ี วเนือ่ งจากผลประโยชนท์ ี่เกดิ ขน้ึ การได้รับการจดั การท่ีไม่ลงตวั ความขดั แยง้ ของกลุ่มอานาจตา่ งๆ ใน
ชุมชนก็เป็นอกี รูปแบบหน่ึงของความขัดแย้งท่ีทาลายความเช่ือม่นั หรือความสัมพันธอ์ นั ดีทนี่ า่ จะเกิดข้นึ ใหม่ใน
ชุมชน อันอาจเป็นผลให้เกิดความขัดแย้งหรือไม่เข้าใจกันของสมาชิกภายในชุมชน หรือแม้แต่สมาชิกใน
ครอบครัวเอง เน่ืองจากการเปล่ียนแปลงในด้านของบทบาทของสมาชกิ ครอบครวั ซึ่งทาให้เกิดความตึงเครยี ด
จากการเปลี่ยนแปลงน้ีได้ เช่น บทบาทของสตรีที่มีมากข้ึน ความขัดแย้งในรูปแบบสุดท้ายที่เกิดขึ้นจาก

203
กรณีศกึ ษา คอื ความขัดแย้งระหวา่ งกจิ กรรมทางการท่องเท่ียวกับกิจกรรมดา้ นอื่นๆ เช่น การก่อสรา้ งอาคารท่ี
พักรีสอร์ท อาจเกิดการจากัดการเข้าถึงสถานท่ีต่างๆ ที่ชุมชนเคยเข้าถึงได้ รวมถึงสถานท่ีท่ีเคยเป็นแหล่ง
นนั ทนาการในชมุ ชน เป็นต้น

ผลกระทบหัวข้อที่ 3 คือ เรอื่ งของการกระทบทางด้านวัฒนธรรม ซึง่ ความต้องการที่จะชมวฒั นธรรม
ของชุมชนของนักท่องเที่ยวอาจทาให้เกิดการขายหรือแสดงวัฒนธรรมขึ้น เพ่ือตอบสนองความต้องการของ
นักท่องเที่ยว ซ่ึงเป็นปัญหาที่เห็นโดยทั่วไป ผลกระทบเช่นนี้คือการเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรมท่ีเกิดข้ึนโดยมิ
อาจควบคุมได้ แต่ในทางตรงกนั ข้ามบางชุมชนเกดิ ปญั หาในเร่อื งของการทม่ี ิอาจจะเปลี่ยนแปลงวฒั นธรรมของ
ตนได้ เพอื่ สนองความต้องการทางการท่องเทย่ี ว เน่อื งจากการใชภ้ าพลักษณ์อย่างใดอย่างหน่ึง หรอื วฒั นธรรม
ท่ีนาเสนอในการประชาสัมพันธ์ทางการท่องเท่ียวก่อให้เกิดปัญหาที่ชุมชนต้องติดอยู่กับวิถีชีวิตท่ีถูกนาเสนอ
น้ันๆ เพียงเพ่ือไม่ทาให้นักท่องเท่ียวผิดความคาดหวัง รูปแบบการจ้างงานด้านการท่องเท่ียวของชุมชนก็
สามารถนาผลกระทบมาส่วู ัฒนธรรมได้ คอื แรงงานที่ต้องการมากในชว่ งฤดูการท่องเท่ียว อาจไมส่ มั พันธ์กับฤดู
การทางานในชีวิตประจาวัน เช่น อาชีพ ทาไร ทานา จึงทาให้ชุมชนต้องเลือกและอาจกระทบต่อประเพณี
วฒั นธรรมทเี่ คยปฏิบัตมิ าได้ ซง่ึ อาจก่อใหเ้ กิดผลเสียในระยะยาวมใิ ชน่ าสูก่ ารท่องเทยี่ วท่ยี ่งั ยืน

ในดา้ นของผลกระทบต่อชีวติ ประจาวนั ของชุมชน สามารถแยกออกได้ 4 ประการดว้ ยกัน คอื
1. การจราจรทต่ี ดิ ขดั และชมุ ชนท่ีแออดั
2. การเพม่ิ ของคา่ ครองชีพทสี่ ูงขึ้น
3. การทม่ี ีผคู้ นแปลกหน้าเข้ามาในชมุ ชน ซง่ึ อาจมาเขา้ ร่วมในงานพิธีต่างๆ โดยชมุ ชนไมเ่ ต็มใจ
4. การเปลี่ยนแปลงของการใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เคยเป็นของชุมชน ซึ่งอาจมีผลให้ชุมชนต้องโยกยา้ ย
ออกไปอกี ไม่วา่ จะเปน็ ด้านที่อยอู่ าศยั การทางานหรอื แหลง่ นนั ทนาการ
หัวข้อผลกระทบสุดท้าย คือ ด้านความคาดหวังว่า การท่องเที่ยวจะนาผลประโยชน์ที่ดีมาให้แกช่ ุมชน
แต่หากไม่เป็นไปตามความคาดหวังก็จะเกิดการผิดหวังข้ึน และเกิดทัศนคติท่ีไม่ดีต่อการท่องเที่ยว ความ
ผิดหวังนั้น เช่น รายได้ท่ีไม่ดีอย่างท่ีคาด งานท่ีไม่มากอย่างท่ีคาดหวัง เป็นต้น จากกรณีศึกษาพบว่า งานท่ีคน
ในชุมชนสามารถทาได้น้ันมีไม่มาก เน่ืองจากเกิดการแย่งงานจากคนภายนอกชุมชนที่มีทักษะความชานาญใน
งานนนั้ ๆ มากกว่า และคนในชมุ ชนไม่ได้รบั การฝึกทักษะทต่ี รงต่อความต้องการสาหรับงานนัน้ ๆ จงึ ทาให้คนใน
ชุมชนไดเ้ พียงงานในระดบั ล่างทีม่ ีรายได้ไม่มากและบางคร้ังก็เป็นเพยี งงานชว่ั คราว หรือตามฤดกู าล นอกจากน้ี
ยังเกิดปัญหาด้านการล้มของธุรกิจขนาดย่อมท่ีชุมชนเป็นเจ้าของธุรกิจ เน่ืองจากขาดประสบการณ์และทักษะ
หรือความรู้เกี่ยวกับการประกอบธุรกิจทางการท่องเที่ยวหรือเน่ืองจากนักท่องเที่ยวท่ีเข้ามาไม่เพียงพอตาม
ความคาดหมาย ซ่ึงทาให้การพฒั นาทางด้านการทอ่ งเทยี่ วต้องลม่ สลายลง
จากผลกระทบที่กล่าวมาข้างต้นเป็นตัวอย่างให้เห็นถึงผลในด้านลบท่ีการพัฒนาการท่องเท่ียวอาจ
นามาสู่ชุมชนได้หากการบริหารจัดการเป็นไปอย่างไม่ระมัดระวัง ท้ังน้ี การมองจุดแข็งจุดอ่อน วิกฤตและ
โอกาสต่างๆ ของสถานการณ์ของชุมชนน้ันๆ เป็นวิธีการหนึ่งท่ีจะทาให้การพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนเป็นไป
อย่างรอบคอบมากยง่ิ ขนึ้

204

การประเมนิ ผลกระทบจากการทอ่ งเท่ียว
การประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวมีความสาคัญเป็นอย่างย่ิง เป็นแนวทางท่ีจะทาให้การ

ท่องเทย่ี วของประเทศไทยมคี วามยั่งยนื อย่างเป็นรปู ธรรม
ศูนย์เพื่อการวางแผนการท่องเที่ยวและการแก้ไขปัญหาความยากจนแห่งเอเชีย (2549 : 75 -115)ได้

อธิบายถึงการศึกษาและการวัดผลกระทบของการพัฒนาการท่องเที่ยวเป็นส่ิงท่ีทาได้ยากและมีค่าใช้จ่ายสูง
เน่ืองจากเม่ือเรามีความรู้ความเข้าใจในเรื่องของผลกระทบที่เกิดจากการท่องเที่ยวเพ่ิมมากข้ึน ความยุ่งยาก
ซับซ้อนในการวัดก็เพ่ิมข้ึนตาม การชี้ให้เห็นถึงผลกระทบทางบวกและทางลบของการท่องเท่ียวนัน้ ค่อนข้างจะ
ทาได้ชัดเจน แต่ในทางตรงกันข้ามการรวบรวมข้อมูลท่ีจาเป็นและการลงมือประเมินผลกระทบกลบั เปน็ เร่ืองที่
สลับซับซ้อน ในบทน้ี มีจุดประสงค์เพื่อท่ีจะระบุเขตของผลกระทบและเพื่อช้ีให้เห็นถึงเคร่ืองมือท่ีเหมาะสมใน
การประเมินผลกระทบ การนาผลทไ่ี ด้จากการประเมินผลกระทบไปใช้น้ันต้องมีการพจิ ารณาอย่างละเอียดรอบ
คอบ ท้ังนี้จากการที่การพัฒนาการท่องเที่ยวมีความสลับซับซ้อนและจากแรงกดดันทางด้านสังคม เศรษฐกิจ
ทาให้มีความจาเป็นท่ีจะต้องรักษาสมดุลระหว่างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคมกับการบรร ลุผลสาเร็จใน
การพัฒนาเศรษฐกิจและการพัฒนาชุมชน ดังน้ันการตัดสินใจเชิงนโยบายอย่างรอบคอบ และการเน้นให้ผู้มี
ส่วนรว่ มไดเ้ สียเขา้ รว่ มในกระบวนการตดั สนิ ใจน้นั เป็นส่ิงจาเป็นอย่างมาก โดยไมม่ กี ระบวนการการประเมินผล
กระทบใดๆ จกั สามารถจะมาแทนท่ีได้กจิ กรรมการท่องเทย่ี วนัน้ ส่งผลกระทบทั้งในทางบวกและทางลบ มเี พียง
บางกรณเี ทา่ นั้นทเ่ี ราสามารถมองเห็นเส้นแบ่งระหว่างตน้ ทุนราคาและผลกาไรได้อย่างชดั เจน ดงั นนั้ จึงเหน็ ได้
ว่ากระบวนการประเมินผลกระทบเป็นกระบวนการท่ีค่อนขา้ งยุ่งยากและมีความซับซ้อน

การพัฒนาการท่องเที่ยวส่วนใหญ่อยู่บนพ้ืนฐานความเชื่อผิดๆ ท่ีว่าผลกระทบของการท่องเที่ยวจะ
เป็นไปในทางบวกเสมอ ซ่ึงอันที่จริงแล้วการท่องเที่ยวนั้นสามารถส่งผลกระทบท้ังในทาบวกและทางลบ ผลดี
ของการพัฒนาการท่องเทยี่ วมดี ังน้ี

1. การเพมิ่ จานวนกจิ กรรมเชิงธุรกจิ
2. การเพิ่มข้ึนของการจ้างงาน
3. การเพ่มิ ข้ึนของรายไดจ้ ากการสง่ ออก
4. การไหลเวียนของการแลกเปลยี่ นเงนิ ตราตา่ งประเทศเพ่ิมขึ้น
5. ประเทศแลชุมชนมีชื่อเสียงดีย่งิ ข้ึน ซึ่งจะนาไปสู่การลงทุนในด้านอ่ืนๆ ท่ีแม้ไม่ใช่
การท่องเท่ียว
6. การเพม่ิ ขน้ึ ของเงินทนุ เพือ่ การอนุรักษธ์ รรมชาติและสิง่ ทเ่ี ป็นมรดกทางวฒั นธรรม
7. เปน็ การสนบั สนุนงานฝีมอื หตั กรรมของชุมชน
8. เปน็ การคงไว้ซงึ่ ประเพณีและวิถีชีวติ เพื่อประโยชน์ในการทอ่ งเที่ยว
9. เกิดกิจกรรมใหม่ๆ ในอตุ สาหกรรมการกอ่ สรา้ งและการพฒั นา
10. การปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน
11. การพัฒนาในระดับภมู ิภาค
เมอ่ื เราศกึ ษาผลกระทบของกิจกรรมการท่องเทีย่ วแลว้ เราพบว่าผลกระทบบางอยา่ งอาจเปน็ ไป
ในทางตรงกนั ข้ามกบั ท่ีกลา่ วมาขา้ งต้น นน่ั คือ
1. ผลกระทบทเ่ี ปน็ อนั ตรายตอ่ สิง่ แวดล้อมทเ่ี ปราะบางและอ่อนไหว
2. ก่อความราคาญให้กบั ชุมชน
3. ผลในทางลบต่อวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณีทีม่ มี าแต่ดง้ั เดิม

205
4. ความแออัดในพืน้ ที่ทอ่ งเท่ยี ว
5. อปุ สงค์ความต้องการบรกิ ารดา้ นสาธารณูปโภคเพิ่มข้ึน
6. เกิดการเรียกร้องในกรรมสิทธท์ิ ่ดี ิน
7. เกิดการแตกแยกเสอื่ มสลายของสังคมและชุมชน
8. เกดิ มลภาวะตามชายหาด
9. การพัฒนาโรงแรมที่พักอยา่ งไม่เหมาะสม
10. ปญั หาการคา้ ประเวณี
11. การทาใหว้ ัฒนธรรมกลายเป็นการค้า
12. ระดบั น้าใต้ดินหมด
13. การพ่ึงพากิจกรรมการทอ่ งเที่ยวมากเกนิ ไป
14. การสญู เสียความเป็นชุมชน
15. คนในทอ้ งถ่ินเกิดความตึงเครยี ด
16. การสูญเสียความเป็นสว่ นตัว
17. อาชญากรรมเพมิ่ ขึ้น
18. การเกบ็ ภาษเี พม่ิ ขึน้
19. การพฒั นาท่ีสญู เสียความเป็นของแท้-ของตน้ ตาหรับ
20. การจ้างงานในตาแหน่งทเ่ี งินเดือนนอ้ ยและสถานภาพต่า
21. ภาวะเงนิ เฟ้อ
22. ต้นทนุ คา่ ใชจ้ า่ ยเพิ่มข้ึน (ทีด่ นิ ท่ีอยู่อาศยั อาหาร และค่าบริการ)
23. ปัญหามลภาวะ

ภาพที่ 9.1 ปญั หาขยะจากการท่องเท่ยี ว
ท่มี า : http://local.environnet.in.th/news2_detail.php?id=6909
เราจะเห็นได้ว่าผลกระทบของการท่องเที่ยวนั้นอาจปรากฏให้เห็นได้ชัดในระยะเวลาอันสั้น ซ่ึงเรา
สามารถพิจารณาได้อย่างละเอียด และง่ายต่อการประเมิน หรือในทางตรงกันข้าม ผลกระทบนั้นอาจจะค่อยๆ
เกดิ ขน้ึ อยา่ งช้าๆ ซ่ึงยากทจ่ี ะประเมนิ ในกระบวนการวางแผนโครงการโดยทว่ั ๆ ไป

206
นอกจากน้ันจากการท่ีมีความเร่งรีบที่จะบรรลุผลในการพัฒนาอาจทาให้กระบวนการประเมินผล
กระทบจากการท่องเท่ียวมีข้อจากัด โดยอาจมีการทาการประเมินที่ไม่ครอบคลุมหรือไม่รอบด้าน หรืออาจมี
การข้ามข้ันตอนการประเมินบางขั้นไปเพ่ือให้ได้ผลท่ีรวดเร็ว เพื่อรองรับต่อนโยบายการพัฒนา และหากการ
พัฒนาเป็นไปอย่างไร้ขีดจากัดแล้วจะก่อให้เกิดผลเสียร้ายแรงต่อสิ่งแวดล้อม รวมทั้งยังส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ
และชมุ ชน ในบางกรณีโครงการอาจถูกละทิ้งกลางคันหรืออาจถูกยับยัง้ โดยชมุ ชนท้องถนิ่ และกลุ่มผลประโยชน์
ดังนนั้ การทาการศึกษาผลกระทบ จงึ จะเปน็ ต้องทาอย่างถกู ต้องละเอียดรอบคอบ
การประเมินผลกระทบทาให้คาดการณ์ถึงสถานการณ์และผลของการพัฒนาท่ีจะเกิดข้ึนในอนาคต
เปน็ ไปอย่างเป็นระบบจึงจาเป็นต้องนาวิธีการต่างๆ มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการประเมินผลกระทบ เพอื่ ช่วยใหเ้ ราเข้า
ใจความซับซ้อนของระบบสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ และสังคมได้ดี เพ่ือว่าการจัดผลกรทบจะได้บรรลุ
วตั ถุประสงค์ท่ีตง้ั ไว้
วิธีการประเมินผลกระทบ แม้ว่าจะมีข้อจากัดอยู่บ้าง ทว่าเป็นเสมือนกระบวนการทางตรรกะวิทยา
และหลักต-ุ ผล ท่เี ปดิ เผยให้เห็นถงึ ผลท่ีจะเกดิ ขึน้ จากการตดั สนิ ใจดาเนินการตามแผนการทีไ่ ดว้ างไว้
ส่ิงสาคัญที่ต้องคานึงถึง คือ การประเมินผลกระทบมิได้ประกอบขึ้นเป็นการตัดสินใจเชิงนโยบาย
โดยตรง หากแต่เป็นการให้ข้อมูลแก่ผู้ท่ีมีหน้าท่ีรับผิดชอบในกระบวนการตัดสินใจ ระบบการตัดสินใจกาหนด
นโยบายบางระบบ กาหนดให้ต้องมีการประเมินผลกระทบเสียก่อนที่จะดาเนินการได้ โดยปกติจะเป็นการ
ประเมินผลกระทบส่งิ แวดล้อม ซ่ึงหลังจากผา่ นกระบวนการทางการเมืองแล้วจึงจะกลายเป็นนโยบายตอ่ ไป
การประเมินผลกระทบเป็นการคาดการณ์สภาพแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจในท้องถิ่นและภูมิภาคและ
สภาพชุมชนในอนาคต อันเป็นผลมาจากการพัฒนาท่ีเสนอมา การประเมินผลกระทบเป็นระบบบริหารจดั การ
ในการรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ ตีความหมาย และนาเสนอข้อมูล ทานายผล คานึงถึงความไม่แน่นอน ระบุ
ทางเลือกอน่ื ๆ ท่จี ะทาใหบ้ รรลุเปา้ หมายและชใ้ี หเ้ ห็นถึงกลยุทธ์ท่ีจาเป็นในการลดและบรรเทาความเสยี หายต่อ
สิง่ แวดล้อม เศรษฐกจิ และสังคม
การเตรียมการประเมินผลกระทบเป็นส่ิงท่ีไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ หากกาหนดนโยบายต้องการท่ีจะ
ทราบถึงผลที่จะตามมาจากการพัฒนาท่ีได้รับการเสนอมา การประเมินผลกระทบนั้นเป็นเรื่องของหลักการใช้
สามัญสานึก ลักษณะความยากง่ายของการประเมินเป็นเครื่องบ่งบอกถึงระดับความชานาญการที่ต้องใช้การ
ประเมนิ ผลกระทบ โดยส่วนใหญจ่ ะเป็นในดา้ นเศรษฐกจิ สิ่งแวดลอ้ ม สังคม และวัฒนธรรม

การประเมนิ ด้านเศรษฐกิจ
จุดประสงค์ของการประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจ คือเพ่ือชี้ให้เห็นถึงผลที่เกิดขึ้นจากกิจกรรมและ
การพัฒนาในด้านการจ้างงาน รายได้ และความม่ันคง ผลของการประเมินจะแสดงให้เห็นถึงต้นทุนค่าใช้จ่าย
และผลกาไรท่ีได้หรืออัตราส่วนของต้นทุนและผลได้จากการท่องเที่ยวต่อความอยู่ดีกินดีทางเศรษฐกิจในพื้นที่
นัน้

การประเมินดา้ นสงิ่ แวดล้อม
คุณภาพทางกายภาพของสถานท่ีท่องเท่ียว รวมทั้งบริเวณที่อยู่ใกล้เคียง มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิด
กับความน่าดึงดูดใจในการท่องเท่ียว ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อส่ิงแวดลอมและระบบนิเวศวิทยาน้ันอาจเกิดจาก
การพัฒนาและกิจกรรมการท่องเที่ยวถึงแม้ว่าผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อมท่ีเกิดจากแต่ละบุคคลน้ันจะน้ อยมาก
แต่เม่ือนามารวมกันแล้วอาจกลายเป็นปัญหาร้ายแรงท่ีคุกคามคุณภาพสิ่งแวดล้อม การประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมน้ันควรแสดงให้เห็นถึงลักษณะ ระดับ และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เพื่อหาวิธีการจัดการเพ่ือลด
ระดบั ความไม่สมดุลของการรักษาภาวะสิ่งแวดลอ้ มกบั การพัฒนา

207

การประเมินดา้ นสังคม
การท่องเท่ียวเป็นส่วนหนึ่งที่อาจทาให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม และระบบทาง
การเมือง ซ่ึงการเปล่ียนแปลงบางอย่างอาจใช้ระยะเวลานานกว่าจะเป็นที่ประจักษ์ อย่างไรก็ตามการติตาม
ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ซ่ึงอาจเป็นผลที่เกิดจากการท่องเที่ยวน้ันมีความจาเป็น
อยา่ งยงิ่ ในการทจ่ี ะปกป้อง และรกั ษาสง่ิ ทช่ี ุมชนหวงแหน
ในการประเมินผลกระทบน้ัน จาเป็นต้องศึกษาทั้งทาบวกและทางลบ สิ่งหนึ่งที่ท้าทายการบูรณาการ
แผนการท่องเทยี่ วคอื การพัฒนาการท่องเท่ยี วซ่ึงก่อใหเ้ กิดผลประโยชนส์ งู สดุ และใหเ้ กิดผลกระทบทางลบน้อย
ท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ แนวทางนี้นาไปสู่การพัฒนาวิธีการประเมินค่าที่มีความซับซ้อนมากขึ้น การนามา
ประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กิดประสิทธภิ าพสงู สุดควรทาโดยผชู้ านาญการท่ผี า่ นการฝกึ อบรมเปน็ เฉพาะ ในหนงั สือเล่มน้ีจัก
นาเสนอเฉพาะวิธีการโดยทั่วไป ส่วนการประเมินความเหมาะสมและได้ผลท่ีน่าเชื่อถือน้ัน ควรกระทาโดยนัก
เศรษฐศาสตร์ นักเศรษฐมิติ-ผู้ใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ นักวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม และนักสังคม
วิทยาที่มีความชานาญการในหลายๆ ด้านการประเมินผลกระทบแบบผลหลายๆ ด้านเป็นวิจารณญาณของ
ชุมชน และกระบวนการทางการเมือง โดยใช้ผลการประเมินค่าทางเทคนิคเป็นข้อมูลนาเข้าสู่กระบวนการ
ตดั สนิ ใจ อย่างไรกต็ าม

ตารางที่ 9.1 การประเมนิ ผลกระทบการท่องเท่ยี ว ผลกระทบทางลบ
ด้าน ผลกระทบทางบวก  จานวนนักทอ่ งเทีย่ วมากว่าผู้
สงั คม  การผสมผสานทางสงั คม
อาศัย
 การผสมรวมทางวัฒนธรรม  ความขดั แย้ง
 หลกั ฐานทางวัฒนธรรม  สภาพทแ่ี ออัด
 สนับสนุนวฒั นธรรมและงาน  พฤติกรรมของนกั ทอ่ งเท่ยี วท่ีขาด

ฝีมอื ความรับผดิ ชอบ
 การนาเสนอวฒั นธรรมเพื่อการค้า
เศรษฐกิจ  นาเงนิ ตราสู่เศรษฐกจิ ในท้องถิ่น  ปัญหาอาชญากรรม
 การสรา้ งงานและความมั่นคง่ั ใน  ปญั หาการคา้ ประเวณี

ทอ้ งถน่ิ  มงี านให้เลอื กนอ้ ย
 ผลกระทบทวีคูณ  การวา่ งงานนอกฤดกู าล
 ผลกาไรร่วั ไหลออกนอกพนื้ ท่ี
 ปรบั ปรุงระดับการบรกิ าร  ความต้องการในสิ่งสาธารณูปโภค
 ขนาดและความหลากหลาย
 แหล่งท่ีมาของรายไดท้ เี่ พม่ิ ข้นึ เพ่ิมข้ึน
 การละท้งิ โอกาสทางเศรษฐกิจ
 มกี ารลงทุนใหม่ๆ
อน่ื ๆ

208

ดา้ น ผลกระทบทางบวก ผลกระทบทางลบ
สิ่งแวดล้อม  มแี ผนงานในการปรับปรุง
 ความแออัดและการที่
สิง่ แวดลอ้ ม นักทอ่ งเท่ยี วใชส้ ิง่ แวดลอ้ ม มาก
เกนิ ไป
 การบรหิ ารจัดการพ้ืนท่ี
ธรรมชาติ  การกระทาของพวกทช่ี อบทาลาย

 การปรบั ปรงุ ซ่อมแซม และ  การคกุ คามถ่ินท่ีอยู่ของพชื และ
การฟ้ืนฟใู ห้กลบั คนื สู่สภาพ สัตว์
ปกติ  มลภาวะทางสายตา
 การรเิ ร่ิมการอนรุ กั ษ์
สิง่ แวดล้อม  ความไม่แนน่ อน

 นาเงินทนุ ไปใชใ้ นการอนรุ ักษ์
ทีม่ า : ศูนยเ์ พื่อการวางแผนการท่องเทยี่ วและการแก้ไขปญั หาความยากจนแห่งเอเชยี (2549)

การประเมินผลกระทบส่วนใหญ่จะเป็นการตัดสินใจท่ีเก่ียวข้องกับการชั่งน้าหนักสิ่งท่ีจะได้มา -เสียไป
(trade offs) ซึ่งถอื เป็นสิทธขิ องชุมชนในการตดั สินใจ และการตัดสินทางการเมอื ง

ผลกระทบทางบวกและทางลบต่อสังคม เศรษฐกิจ และส่ิงแวดล้อม ซึ่งเกิดจากการพัฒนาการ
ทอ่ งเทยี่ ว สามารถสรปุ ไดด้ ังนี้

ในกระบวนการการประเมิน เราตอ้ งคานึงถึงปจั จัยทจี่ ะสง่ ผลต่อระดับความรนุ แรงของผลกระทบ
ได้แก่

1. จานวนนกั ทอ่ งเทยี่ ว
2. ความสามารถในการกลบั คืนสสู่ ภาพเดิมของระบบนิเวศ
3. ความรบั ผิดชอบของนกั ทอ่ งเท่ียว
4. ความสามารถในการเข้าถึง
5. วิธีการบริหารจดั การ
สิง่ ทท่ี า้ ทายในการประเมินผลกระทบ ได้แก่
1. ไมค่ วรแยกการประเมนิ ออกมาพจิ ารณาเดีย่ วๆ
2. การประเมินเป็นเพยี งข้อมูลนาเข้าส่กู ระบวนการตดิ ตาม ตรวจสอบ และการบริหารจัดการอยา่ ง
ตอ่ เนื่อง ซึง่ ไมใ่ ชจ่ ดุ สนิ้ สุดตอนทา้ ยในตัวเอง
3. การตรวจสอบหลังจากเสร็จสิน้ โครงการควรเป็นตัววดั ความแม่นยาของการคาดการณ์ เพือ่ เป็น
แรงจงู ใจในการพิจารณาทบทวนการบรหิ ารจดั การ
4. การประเมนิ อาจต้องดาเนินการด้วยข้อมูลท่ไี ม่สมบรู ณ์
5. การประเมนิ ควรเปน็ ส่วนหน่ึงของกระบวนการบรู ณาการวางแผนและการจดั การ
ทรพั ยากรธรรมชาติ
ในลาดับต่อไปจะกล่าวถึงการประเมินผลกระทบจากการท่องเท่ียวการประเมินผลกระทบเป็นระบบ
บริหารจัดการ ในการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ตีความหมายและนาเสนอข้อมูล ทานายผล คานึงถึงความไม่
แน่นอน ระบุทางเลือกอื่นๆ ที่จะทาให้บรรลุเป้าหมาย เป็นการลดและบรรเทาความเสียหายต่อส่ิงแวดล้อม
สังคมและเศรษฐกิจ เพ่ือเป็นแนวทางในการบริหารจัดการแหล่งท่องเท่ียวให้มีคุณภาพและลดผลกระทบจาก

209
การท่องเท่ียวให้มีน้อยท่ีสุด ซึ่งการประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวจะคานึงถึง ด้านสังคม เศรษฐกิจและ
สง่ิ แวดลอ้ ม

ศราวุธ ผิวแดง (2556) ได้ศึกษา รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชนอย่างย่ังยืนภายใต้แนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียง กรณีศึกษา ตาบลหนองกุงทับม้า อาเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยได้ประเมินผล
กระทบจากการท่องเท่ียวด้าน สังคมและเศรษฐกิจ (Social and Economic) ด้านส่ิงแวดล้อม
(Environmental) การแยกแยะส่วนเกี่ยวข้องต่างๆ (stakeholder identification) การวิเคราะห์ผู้มีส่วน
เกยี่ วข้อง (stakeholder Analysis) เพ่อื เป็นแนวทางในการพฒั นาแหล่งท่องเท่ียว บ้านวงั ใหญ่ ตาบลหนองกุง
ทบั มา้ อาเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยมรี ายละเอยี ดดังต่อไปน้ี

ภาพท่ี 9.2 การดแู ลความปลอดภยั ใหก้ บั นักท่องเท่ียว
ทมี่ า : http://loeitouristpolice.go.th

210

ตารางท่ี 9.2 การประเมนิ ผลกระทบสงั คมและเศรษฐกิจ (Social and Economic)

ผมู้ สี ว่ นเกย่ี วขอ้ ง ัปญหาอาชญากรรม
และไดร้ ับผลกระทบ การผสมรวมทาง
ัวฒนธรรม
นัก ่ทองเ ี่ทยวมากก ่วา ู้ผ
อา ัศย
สภาพ ่ทีแออัด
ความ ัขดแ ้ยงภายใน
ุชมชน
ันก ่ทองเ ี่ทยวขาดความ
ัรบ ิผดชอบ
การเผยแพ ่ร ัวฒนธรรม
ส ันบสนุน ัวฒนธรรมและ
การแปร ูรปผ ิลต ัภณฑ์
นาเ ิงนตรา ู่สเศรษฐ ิกจ
้ทอง ิ่ถน
มีการลง ุทนใหม่
การส ้รางงานและความ
ม่ันคงใน ุชมชน
การ ่วางงานนอกฤดู
่ทองเ ี่ทยว
ผลกาไร ั่รวไหลออกจาก
ุชมชน
การย้าย ่ิถนฐานมาทางาน
รวม
ลาดับ

1.ภาครัฐ - + + - + - + + + + + - + -9
อบจ.อดุ ร

มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อุดร - + - - - - + + + - - - - - 4
การท่องเท่ียวแห่ง - + + - + + + + + + + - - + 10 3
ประเทศไทย อดุ รธานี
ท่องเท่ียวและกฬี า - + - - + - + + + + + - - +8
จงั หวัดอดุ ร
อบต.หนองกุงทบั มา้ + + + + + + + + + - + - - + 11 2
พัฒนาชมุ ชนจงั หวดั อดุ ร - + - - - - + + + - + - - - 4
เกษตรจงั หวัดอุดร - - - - - - + + + + + - - -5
ชลประทานจงั หวดั อดุ ร - - - - - - + + + + + - - - 5
อาเภอวงั สามหมอ - - - - - - + + + + + - - -5
2.ภาคเอกชน
สภาอุตสาหกรรมจังหวัด - + + - - - + + + + + - + + 9
อุดร
หอการค้าจังหวดั อุดร - + + - - - + + + + + - + - 8
ชมรมมัคคุเทศก์จงั หวดั - - + - - - + + + + + - - - 6
อดุ ร
3.ภาคประชาชน
ประชาชนในพืน้ ท่ี + + + + + + + + + + + - - + 12 1

ร้านอาหารในพ้ืนท่ี - - + - + - + + + + + - - -7

รา้ นจาหนา่ ยสินค้าใน + + + - + - + + + + + - - - 9
พื้นท่ี
วดั - - - - - - + - - + + - - - 3
4.นักท่องเท่ยี ว
วยั เดก็ - - + - - + + - + + + - - -5
วยั รุ่น - + + - + + + - + + + - - + 8
วยั ทางาน - - - - + - + + + + + - - +7
วัยผสู้ งู อายุ - - - - + - + + - - + - - -3
รวม 3 11 11 2 10 4 20 17 18 16 19 0 3 7
ลาดบั 13 2

ที่มา : ศราวุธ ผิวแดง (2556)
จากตารางที่ 9.1 การประเมินผลกระทบสังคมและเศรษฐกิจ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบ
ทางด้านสังคมและเศรษฐกิจ ในการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว ประกอบไปด้วย ลาดับท่ี 1 ประชาชนใน
พ้ืนที่ ลาดับท่ี 2 อบต.หนองกุงทับม้าและลาดับท่ี 3 คือการท่องเท่ียวแห่งประเทศไทยสานักงานอุดรธานีซ่ึง
ผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อมในการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวประกอบไปด้วย ลาดับท่ี 1 การเผยแพร่
วัฒนธรรม ลาดับที่ 2 การสร้างงานและความม่ันคงในชุมชนและลาดับท่ี 3 คือการนาเงินตราสู่เศรษฐกิจ
ทอ้ งถ่นิ

211

ตารางที่ 9.3 การประเมินผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Impacts Matrix)
การ ัจดการ ูภมิ ัทศน์
ผมู้ สี ่วนเก่ยี วขอ้ งและได้รับ ่อางเ ็กบน้า
ผลกระทบ
ทรัพยากรร่อยหรอ
ส่ิงป ิฏ ูกล/ขยะ

มลภาวะทาง ิดนจาก
การใช้สารเคมี
สถาน ี่ทจอดรถ

มลภาวะทางอากาศ
จากยานพาหนะ
การถางพื้นท่ีการ ั้ตง

ค่ายพักแรม
ูภมิ ัทศน์เสียหาย
มลภาวะทางน้าของ

่อางเ ็กบน้า
มลภาวะทางเสียง
การ ุอปโภคและ
บริโภคน้าของชุมชน
รบกวน ิ่ถนที่อยู่อา ัศย

ของสัต ์วน้า
รวม
ลาดับ

1.ภาครฐั + -+ + + - - - + + + + 8
อบจ.อดุ ร

มหาวิทยาลัยราชภฏั อุดร + + + + - + - - + + + + 9 3
การท่องเทีย่ วแห่ง + -+ - - - - - - - - - 2
ประเทศไทย อดุ รธานี
ท่องเทีย่ วและกีฬา + -+ - - - - - - - - - 2
จังหวัดอุดร
อบต.หนองกุงทับมา้ + + - - + + + + + + + + 12
0
พฒั นาชุมชนจงั หวัดอุดร + - - - - - - - + - + - 3
เกษตรจงั หวดั อุดร + ++ + - - - - + - + + 7
ชลประทานจงั หวัดอุดร + - + + - - - - + - + + 6
อาเภอวังสามหมอ + -+ - + - + + + - + - 7
2.ภาคเอกชน
สภาอตุ สาหกรรมจังหวัด + - + - - - - - - - - -2
อุดร
หอการค้าจงั หวดั อดุ ร + - + - + - - - - - - - 3
ชมรมมคั คเุ ทศกจ์ ังหวดั + - - - - - - - + - + - 3
อดุ ร
3.ภาคประชาชน
ประชาชนในพืน้ ท่ี + + + - + + + + + + + + 11
1
ร้านอาหารในพน้ื ท่ี + ++ + + - - - + - + + 8
ร้านจาหนา่ ยสนิ ค้าใน + - + + + - - - + + + + 8
พื้นที่
วัด + - + - + - + + + - + - 7
4.นักทอ่ งเท่ยี ว
วัยเดก็ - + + + - - - - - - + + 7
วยั ร่นุ - - + + - - - - + - + + 6
วยั ทางาน + -+ - + - + + + - + - 7
วัยผสู้ ูงอายุ + -+ - + - + + + - + - 7
รวม 18 6 17 8 10 3 6 6 15 5 16 10
ลาดับ 1 2 3
ท่ีมา : ศราวุธ ผวิ แดง (2556)
จากตารางท่ี 5 การประเมินผลกระทบส่ิงแวดล้อม ผู้มีส่วนเก่ียวข้องและได้รับผลกระทบทางด้าน
สิ่งแวดล้อมในการวางแผนพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว ประกอบไปด้วย ลาดับท่ี 1 ประชาชนในพ้ืนท่ี ลาดับที่ 2
อบต.หนองกุงทับม้าและลาดับที่ 3 คือมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดร ซึ่งผลกระทบทางด้านส่ิงแวดล้อมในการ
วางแผนพฒั นาแหล่งทอ่ งเท่ียวประกอบไปดว้ ย ลาดบั ท่ี 1 การจัดการภูมทิ ศั น์แปลงเกษตรต่างๆและอ่างเก็บน้า
ลาดบั ที่ 2 ส่งิ ปฏิกูล/ขยะและลาดับที่ 3 คือการอุปโภคและบริโภคน้าของชุมชน

212

ตารางที่ 9.4 การแยกแยะสว่ นเกยี่ วขอ้ งต่างๆ (stakeholder identification)

ทรัพยากร ผู้มีส่วนไดเ้ สยี การใชท้ รพั ยากร ประโยชน์ที่ได้ ผลกระทบ ความขดั แย้ง
ท่องเที่ยว ในชุมชน ประมง/อปุ โภค/ และอืน่ ๆ
อ่างเกบ็ น้าลา แหลง่ ท่องเทย่ี ว ยังชพี /รายได/้ ด้านบวก กฎเกณฑ์
พันชาด อบต/ประชาชน พักผอ่ นหยอ่ น -การเผยแพร่ ระหวา่ ง
ในพืน้ ท่ี ปลกู ผกั / ใจ/จัดกิจกรรม วัฒนธรรม
เล้ยี งปลา ของชุมชนและ -การสรา้ ง
ของอาเภอวัง งานและ หน่วยงาน
สามหมอ เชน่ ความม่นั คง ราชการกับ
บุญบั้งไฟ ในชุมชน ชมุ ชนในดา้ น
ประเพณี -นาเงินตราสู่ การบรหิ าร
จัดการพ้ืนท่ี

สงกรานต์ เศรษฐกจิ
ทอ้ งถิน่
ดา้ นลบ
-นกั ท่องเทยี่ ว
ขาดความ
รบั ผิดชอบ
-การเผยแพร่
วฒั นธรรมที่
ผิด เช่น การ
พนันบ้งั ไฟ
แปลงปลูกผกั อบต/ประชาชน รายได้ คุณภาพชวี ิต
ปลอดสารพษิ ในพ้ืนที่ ดีขน้ึ จากการ
สายพนั ธ์ตา่ งๆ มรี ายไดเ้ สรมิ
รอบอ่างเกบ็ น้า ประชาชนใน
วิถชี ีวติ การทา พื้นที่ รายได้ - คุณภาพ กฎเกณฑเ์ ร่ือง
ประมงแบบ ชีวติ ดขี ึ้นจาก คุณภาพของนา้
พอเพียง การมีรายได้ ระหว่าง
เสริม หน่วยงาน
ทม่ี า : ศราวุธ ผิวแดง (2556) -คณุ ภาพของ ราชการกับ
น้าจากการ ชุมชน
เลี้ยงปลา

213

ตารางที่ 9.5 การวเิ คราะหผ์ ้มู ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง (stakeholder Analysis)
1. Environmental
Box A (Manage : Take Action) Box B (Involve : Key Players)
อบต.หนองกุงทบั มา้ ประชาชนในพื้นที่
เป็นกลมุ่ ผู้มสี ่วนได้ส่วนเสยี จากการจดั การท่องเทย่ี ว ชมุ ชนหนองกุงทับมา้ ถือไดเ้ ป็นกลมุ่ ที่มีสว่ นไดส้ ่วน
แต่ไม่มปี ากเสียงมากนัก เนอ่ื งจากภายในชมุ ชนมกี าร เสียอยา่ งเต็มที่และมีปากมีเสียงในชมุ ชน เนอื่ งจาก
เลือกต้ังนายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบลจึงแบ่ง การจัดการท่องเทยี่ วจะส่งผลกระทบทางทั้งตรง
ออกเป็น 2 กลุ่ม ซ่งึ ในชุมชนหนองกุงทับม้าได้ให้ และทางอ้อมกบั ชมุ ชน เชน่ สง่ิ แวดล้อมต่างๆใน
ความสาคญั กบั การลงมตขิ องชมุ ชนเปน็ สว่ นใหญ่ และ ชุมชนจงึ จาเปน็ อย่างยง่ิ ท่ีจะต้องมีการจัดทาประชา
การลงมติจากสภาองค์การบริหารสว่ นตาบลหนองกงุ พิจารณ์เพอ่ื รบั ฟงั ความคิดเห็นและหา
ทบั มา้ เพอ่ื ลดข้อขดั แข้งและข้อพิพาทในการจดั การ วิธีดาเนินการแบบมสี ว่ นรว่ มเพือ่ ให้การท่องเที่ยว Degree of Importanc
ทอ่ งเท่ียวชมุ ชนและเป็นผู้รบั ผดิ ชอบพน้ื ท่แี ละ เปน็ การท่องเที่ยวอยา่ งยง่ั ยืนตอ่ ไป
สง่ิ แวดล้อมในชุมชนทงั้ หมด
Box C (Monitor : Watch Over) Box D (Support : Keep Informed)
รา้ นอาหารในพน้ื ท่ี มหาวิทยาลัยราชภัฏอดุ ร
ร้านอาหารในพน้ื ท่ีเปน็ กลุม่ ท่ีไม่มสี ว่ นได้ส่วนเสยี มาก มหาวิทยาลยั ราชภัฏอุดรเป็นกลมุ่ ทไ่ี มม่ ีส่วนไดส้ ว่ น
นักและไม่มีปากมเี สยี งเนื่องจากกลมุ่ นี้ก็คือกลมุ่ เสียแตอ่ ยา่ งใด แตส่ ามารถให้คาแนะนาและความรู้
ประชาชนในพื้นท่นี ั้นเอง ซ่ึงไดร้ บั ผลกระทบดา้ น ตา่ งๆในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนกดุ ลงิ ง้อ
สิง่ แวดลอ้ มทง้ั ทางตรงและทางอ้อมอยู่แล้ว เพือ่ ใหเ้ กดิ ความย่งั ยืนภายในชมุ ชนและสง่ ผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้น้อยทีส่ ดุ
ที่มา : ศราวุธ ผวิ แดง (2556)
Degree of Influence

อบต.หนองกุงทับม้าเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการท่องเท่ียวแต่ไม่มีปากเสียงมากนัก
เนื่องจากภายในชุมชนมีการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนตาบลจึงแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งในชุมชนกุดลิง
ง้อได้ให้ความสาคัญกับการลงมติของชุมชนเป็นส่วนใหญ่ และการลงมติจากสภาองค์การบริหารส่วนตาบล
หนองกุงทับม้าเพื่อลดข้อขัดแข้งและข้อพิพาทในการจัดการท่องเที่ยวชุมชนและ เป็นผู้รับผิดชอบพื้นท่ีและ
ส่งิ แวดลอ้ มในชุมชนท้ังหมด

ประชาชนในพ้ืนที่ชุมชนหนองกุงทับม้าถือได้เป็นกลุ่มท่ีมีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเต็มท่ีและมีปากมีเสียง
ในชุมชน เนื่องจากการจัดการท่องเท่ียวจะส่งผลกระทบทางท้ังตรงและทางอ้อมกับชุมชน เช่น สิ่งแวดล้อม
ตา่ งๆในชุมชนจงึ จาเป็นอย่างยง่ิ ที่จะต้องมกี ารจดั ทาประชาพิจารณ์เพ่ือรบั ฟงั ความคิดเหน็ และหาวิธีดาเนินการ
แบบมสี ่วนรว่ มเพ่ือใหก้ ารท่องเท่ียวเปน็ การท่องเที่ยวอย่างย่งั ยืนต่อไป

ร้านอาหารในพ้ืนที่เป็นกลุ่มท่ีไม่มีส่วนได้ส่วนเสียมากนักและไม่มีปากมีเสียงเน่ืองจากกลุ่มน้ีก็คือกลุ่ม
ประชาชนในพ้ืนท่ีน้นั เอง ซง่ึ ได้รบั ผลกระทบด้านสง่ิ แวดลอ้ มทงั้ ทางตรงและทางอ้อมอยู่แล้ว

มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรเปน็ กลุม่ ที่ไมม่ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี แต่อยา่ งใด แตส่ ามารถใหค้ าแนะนาและความรู้
ต่างๆในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนกุดลิงง้อ เพ่ือให้เกิดความยั่งยืนภายในชุมชนและส่งผลกระทบต่อ
สงิ่ แวดล้อมให้นอ้ ยทส่ี ดุ

214

ตารางท่ี 9.6 การวิเคราะห์ผ้มู ีสว่ นเกยี่ วข้อง (stakeholder Analysis)
2. Social and Economic
Box A (Manage : Take Action) Box B (Involve : Key Players)
อบต.หนองกงุ ทบั ม้า ประชาชนในพนื้ ที่
เป็นกลุ่มผูม้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสียจากการจดั การท่องเที่ยว หนองกงุ ทบั ม้าถือได้เปน็ กลมุ่ ทีม่ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสีย
แต่ไม่มปี ากเสียงมากนัก เนื่องจากเป็นหนว่ ยงานทมี่ า อย่างเตม็ ท่ีและมปี ากมเี สียงในชุมชนเน่ืองจากการ
จากการเลือกต้งั ของประชาชนเวลาจะดาเนนิ การ จัดการท่องเท่ยี วจะสง่ ผลกระทบทง้ั ทางทั้งตรงและ
อะไรตอ้ งฟังเสยี งจากประชาชนเป็นสว่ นใหญ่ แต่ถือ ทางอ้อมกับเศรษฐกิจและสงั คมในชุมชนจึงจาเปน็
ไดว้ ่า อบต.หนองกุงทับมา้ ก็คือหน่วยงานราชการใน อย่างยงิ่ ทีจ่ ะต้องมีการจดั ทาประชาพจิ ารณเ์ พื่อรับ
พ้ืนทีซ่ งึ่ ออกนโยบายทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม ฟังความคดิ เห็นและหาวธิ ีดาเนินการแบบมสี ่วน
ตา่ งๆใหก้ บั ประชาชนในพืน้ ทีเ่ พอื่ ใช้เป็นมอนเิ ตอร์ ร่วมเพอื่ หาวิธีลดผลกระทบจากการท่องเทยี่ วให้
ขบั เคล่อื นชมุ ชนต่อไป นอ้ ยท่ีสดุ และเป็นการทอ่ งเท่ียวชมุ ชนอยา่ งยัง่ ยนื
ต่อไป
Degree of Importanc
Box C (Monitor : Watch Over) Box D (Support : Keep Informed)
ร้านจาหน่ายสนิ ค้าในพื้นท่ี การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย สานักงาน
รา้ นจาหน่ายสินคา้ ในพื้นท่ีเป็นกลมุ่ ท่ีไมม่ สี ว่ นไดส้ ว่ น อดุ รธานี เป็นกลุ่มท่ไี ม่มีส่วนไดส้ ่วนเสยี แต่อย่างใด
เสียมากนักและไมม่ ีปากมเี สียงเน่ืองจากกลมุ่ นี้ก็คือ แต่สามารถให้คาแนะนาแผนส่งเสริมการตลาดใน
กลมุ่ ประชาชนในพ้ืนทีน่ ัน้ เอง ซงึ่ ได้รับผลกระทบดา้ น การจัดการท่องเท่ียวของชุมชนหนองกุงทับม้า
เศรษฐกิจและสงั คมท้งั ทางตรงและทางอ้อมอยแู่ ลว้ เพื่อให้เกิดความยั่งยืนและกระตุ้นการท่องเท่ียว
ส่งผลตอ่ เศรษฐกจิ และสงั คมภายในชมุ ชน

ทีม่ า : ศราวธุ ผวิ แดง (2556) Degree of Influence

อบต.หนองกุงทับม้าเป็นกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากการจัดการท่องเที่ยวแต่ไม่มีปากเสียงมากนัก
เน่ืองจากเป็นหน่วยงานที่มาจากการเลือกต้ังของประชาชนเวลาจะดาเนินการอะไรต้องฟังเสียงจากประชาชน
เปน็ ส่วนใหญ่ แต่ถอื ได้ว่า อบต.หนองกงุ ทบั มา้ ก็คือหนว่ ยงานราชการในพ้นื ท่ีซึง่ ออกนโยบายทางดา้ นเศรษฐกิจ
และสงั คมตา่ งๆใหก้ ับประชาชนในพน้ื ที่เพ่อื ใชเ้ ป็นมอนเิ ตอร์ขบั เคล่ือนชมุ ชนต่อไป

ประชาชนในพื้นท่ีชุมชนหนองกุงทับม้าถือได้เป็นกลุ่มที่มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างเต็มที่และมีปากมีเสียง
ในชุมชนเนื่องจากการจัดการท่องเที่ยวจะส่งผลกระทบท้ังทางท้ังตรงและทางอ้อมกับเศรษฐกิจและสังคมใน
ชุมชนจึงจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการจัดทาประชาพิจารณ์เพื่อรับฟังความคิดเห็นและหาวิธีดาเนินการแบบมี
ส่วนรว่ มเพ่ือหาวธิ ีลดผลกระทบจากการทอ่ งเทย่ี วใหน้ ้อยท่ีสดุ และเป็นการท่องเทีย่ วชมุ ชนอย่างยั่งยืนตอ่ ไป

ร้านจาหน่ายสินค้าในพื้นที่เป็นกลุ่มท่ีไม่มีส่วนได้ส่วนเสียมากนักและไม่มีปากมีเสียงเน่ืองจากกลุ่มน้ีก็
คือกลมุ่ ประชาชนในพน้ื ท่นี ้นั เอง ซงึ่ ไดร้ ับผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมท้ังทางตรงและทางอ้อมอยแู่ ล้ว

การท่องเท่ียวแห่งประเทศไทย (ททท.) สานักงานอุดรธานี เป็นกลุ่มที่ไม่มีส่วนได้ส่วนเสียแต่อย่างใด
แต่สามารถให้คาแนะนาแผนส่งเสริมการตลาดในการจัดการท่องเที่ยวของชุมชนหนองกุงทับม้าเพ่ือให้เกิด
ความยงั่ ยืนและกระตุ้นการท่องเท่ยี วส่งผลตอ่ เศรษฐกิจและสังคมภายในชุมชน

215
ผลกระทบของการทอ่ งเท่ยี วต่อชุมชนท้องถ่ิน

ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชนท้องถ่ินจะต้องคานึงถึง ผลกระทบที่เกิดข้ึนในด้าน เศรษฐกิจ
สงั คม วฒั นธรรมและสิง่ แวดล้อม

บุญเลิศ จิตตั้งวัฒนา (2548 : 156-160) ได้กล่าวถึงชุมชนท้องถ่ินเกิดจากวิวัฒนาการทางสังคม
แรกเริ่มเป็นครอบครัวเดียวประกอบด้วยพ่อแม่และลูกๆ คร้ันลูกๆ แต่งงานไปก็มีการขยายครอบครัว มีเครือ
ญาติเป็นพันธุ์ เม่ือมีหลายครอบครัวอาศัยในขอบเขตถ่ินฐานเดียวกันก็ก่อเกิดความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนบ้าน
กลายเป็นหมู่บ้านหรือชุมชนท้องถิ่นข้ึนในยุคต้นๆชุมชนท้องถ่ินยังมีประชากรน้อยเม่ือเปรียบเทียบกับสัดส่วน
ของทรัพยากรธรรมชาติ จึงยังไม่เกิดสิทธิในทรพั ยากรเหล่านั้นต่อมาเมื่อประชากรเพ่ิมขึ้นก็มีการตกลงแบง่ ปนั
เขตแดนในการครอบครองพ้ืนท่ีทากินบนพื้นฐานการตกลงกันระหวา่ งเครอื ญาติและเพื่อนบ้าน เม่ือเกิดปัญหา
กรณีพิพาทกันก็จะมีหัวหน้าชุมชนท้องถ่ินน้ันเป็นผู้ไกลเกลี่ยหรือพิพากษา แต่ในปัจจุบันชุมชนท้อถิ่นในแหล่ง
ท่องเที่ยวมีความหมายถึงผู้คนในท้องถิ่นที่ใดท้องถิ่นหนึ่งที่มีเขตแดนการปกครองภายใต้กฎหมายท่ีกาหนดใน
เรื่องความเก่ียวข้องของชุมชนท้องถิ่นกับการท่องเที่ยวน้ัน เนื่องจากสังคมไทยแต่เดิมเป็นสังคมเกษตรกรรม
ประชากรส่วนใหญ่ยังอาศัยอยู่ในเขตชนบทที่ต้องอาศัยทรัพยากรธรรมชาติในป่าเขาเพ่ือยังชีพ และมีชีวิต
ผกู พนั อยกู่ ับธรรมชาติอย่างแนบแน่ เมื่อมกี ารพัฒนาการท่องเท่ียวเกิดขนึ้ ในชุมชนท้องถิ่น ทาให้ชุมชนท้องถิ่น
ขยายตัวอยา่ งรวดเร็ว และกอ่ ผลกระทบโดยตรงต่อชุมชนท้องถิ่นท้ังด้านผลบวกและผลลบอย่างหลีกเลย่ี งไม่ได้
ซง่ึ ผลกระทบของการท่องเทีย่ วต่อชมุ ชนท้องถน่ิ อาจจาแนกเปน็ 4 ด้านคือ

216

ผลกระทบของการท่องเท่ียวตอ่ ชมุ ชนท้องถิน่ ดา้ นเศรษฐกิจ
เมอื่ ชมุ ชนท้องถ่ินใดมกี ารทอ่ งเท่ยี วเกดิ ขน้ึ ย่อมกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบด้านเศรษฐกจิ ทงั้ ด้านผลบวกและ

ดา้ นผลลบต่อชมุ ชนท้องถนิ่ นั้น ซ่ึงพอสรุปไดถ้ งึ ผลกระทบของการทอ่ งเที่ยวตอ่ ชมุ ชนท้องถิน่ ดา้ นเศรษฐกจิ

ตารางท่ี 9.7 ผลกระทบของการท่องเทยี่ วตอ่ ชุมชนท้องถ่ินดา้ นเศรษฐกิจ
ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชุมชนท้องถ่ินด้าน ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชมุ ชนท้องถนิ่
เศรษฐกจิ ทางด้านผลบวก ด้านเศรษฐกิจทางด้านผลลบ
1. การท่องเทีย่ วก่อให้เกิดประโยชน์ในการ 1. การทอ่ งเทีย่ วก่อให้เกิดปัญหารายไดใ้ น
เปลย่ี นแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกจิ ของ นอกฤดกู าลท่องเที่ยวแกช่ ุมชนท้องถิ่น
ชมุ ชนท้องถนิ่ 2. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกิดปญั หาคุณภาพ
2. การทอ่ งเท่ยี วก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการ ของแรงงานแกช่ มุ ชนท้องถ่ิน
ขยายตัวของธรุ กิจท่องเทีย่ วในชุมชนท้องถน่ิ 3. การท่องเที่ยวก่อใหเ้ กดิ ปัญหาค่าครองชีพ
3. การท่องเทย่ี วก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการ สงู แกช่ ุมชนท้องถิ่น
สร้างสรรค์อาชีพและการจา้ งงานแกช่ ุมชน 4. การทอ่ งเทยี่ วก่อใหเ้ กดิ ปัญหาการสง่ั ซอ้ื
ท้องถิน่ สินคา้ จากตา่ งประเทศแกช่ มุ ชนท้องถิ่น
4. การท่องเทีย่ วก่อเกิดประโยชนใ์ นการนา 5. การทอ่ งเที่ยวก่อใหเ้ กิดปัญหาแก่งแย่ง
รายได้สชู่ ุมชนทอ้ งถน่ิ ผลประโยชนแ์ ก่ชุมชนท้องถิน่
5. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกดิ ประโยชนใ์ นการ 6. การท่องเท่ียวก่อใหเ้ กดิ ปัญหาสว่ นแบง่
กระจายรายไดส้ ภู่ มู ิภาค ผลประโยชนอ์ ันควรได้ของชมุ ชนทอ้ งถิน่
6. การท่องเที่ยวก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการเพ่มิ 7. การท่องเทยี่ วก่อใหเ้ กดิ ปัญหาค่าใชจ้ ่าย
รายได้ตอ่ หวั ของชุมชนท้องถ่ิน การจดั การชมุ ชนท้องถนิ่
7. การทอ่ งเท่ยี วก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการ 8. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกิดปญั หาราคาที่ดิน
กระต้นุ การผลติ ของชมุ ชนทอ้ งถิน่ แก่ชมุ ชนทอ้ งถน่ิ
8. การท่องเทีย่ วก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในการช่วย
แก้ปัญหาดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ
9. การท่องเท่ยี วก่อใหเ้ กิดการหมนุ เวยี นเงินตรา
ภายในประเทศ
ทีม่ า : ปรับปรงุ จาก บญุ เลศิ จติ ต้งั วฒั นา (2548)

217

ผลกระทบของการท่องเที่ยวตอ่ ชุมชนทอ้ งถิน่ ด้านสังคม
เม่อื ชุมชนท้องถน่ิ ใดมีการทอ่ งเทย่ี วเกิดข้นึ ย่อมก่อให้เกิดผลกระทบดา้ นสังคมท้งั ด้านผลบวกและด้าน

ผลลบตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถ่ินนน้ั ซึ่งสรปุ ได้ถึงผลกระทบของการท่องเทย่ี วต่อชุมชนทอ้ งถิน่ ด้านสังคม

ตารางท่ี 9.8 ผลกระทบของการทอ่ งเทย่ี วต่อชุมชนทอ้ งถ่ินด้านสังคม

ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชนทอ้ งถน่ิ ด้าน ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชมุ ชนทอ้ งถ่ิน
สงั คมทางดา้ นผลบวก ดา้ นสงั คมทางดา้ นผลลบ

1. การท่องเท่ยี วก่อให้เกิดประโยชน์ในการเปลี่ยน 1. การทอ่ งเทีย่ วก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการ
แบบแผนการประกอบอาชพี ของชุมชนท้องถ่ิน เปล่ยี นแปลงวถิ ีชีวิตและคา่ นิยมของ
สงั คมชมุ ชนทอ้ งถ่ิน
2. การท่องเท่ียวก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการ
สรา้ งสรรค์ความเจริญทางสังคมแกช่ ุมชน 2. การทอ่ งเที่ยวก่อใหเ้ กดิ ปญั หาความ
ท้องถิ่น ผกู พนั ของครอบครัวของชมุ ชนท้องถ่นิ

3. การทอ่ งเทีย่ วก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการช่วยยก 3. การท่องเทย่ี วก่อใหเ้ กิดปญั หาความไม่
มาตรฐานการครองชีพของชมุ ชนทอ้ งถิน่ เปน็ ธรรมในสงั คมชมุ ชนท้องถ่ิน

4. การทอ่ งเทย่ี วก่อใหเ้ กิดในการเปล่ียนแปลง 4. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกิดปญั หาการ
โครงสรา้ งครอบครวั ของชุมชนท้องถิน่ เปลยี่ นแปลงอปุ นสิ ัยอนั ดีของชุมชน
ทอ้ งถน่ิ
5. การท่องเทย่ี วก่อให้เกิดประโยชน์ในการสร้าง
ความเข้าใจอนั ดีระหว่างนกั ท่องเทีย่ วกบั ชมุ ชน 5. การท่องเท่ียวก่อใหเ้ กดิ ปัญหาเพศ
ทอ้ งถิ่น พาณชิ ย์ในชมุ ชนท้องถน่ิ

6. การท่องเท่ยี วก่อให้เกิดประโยชน์การสร้าง 6. การทอ่ งเท่ียวก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการอพยพ
ความสามัคคแี กช่ มุ ชนท้องถน่ิ ยา้ ยถิ่นฐานของชมุ ชนท้องถนิ่

7. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกิดประโยชน์ในการ 7. การทอ่ งเท่ยี วก่อให้เกิดปญั หาการ
ปอ้ งกันการอพยพย้ายถ่นิ ของชุมชนทอ้ งถ่ิน หลอกลวงเอาเปรียบนักท่องเท่ยี วของ
ชุมชนทอ้ งถน่ิ
8. การทอ่ งเที่ยวก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการเริ่ม
สร้างการศกึ ษาแกช่ มุ ชนท้องถ่ิน 8. การท่องเที่ยวก่อใหเ้ กดิ ปัญหา
อาชญากรรมขึน้ ในชมุ ชนท้องถ่นิ
9. การท่องเที่ยวก่อใหเ้ กิดประโยชน์ในการ
เสริมสร้างความปลอดภัยแกช่ มุ ชนทอ้ งถน่ิ 9. การทอ่ งเที่ยวก่อใหเ้ กิดปัญหาการขดั แย้ง
ระหวา่ งนกั ท่องเที่ยวกับชมุ ชนท้องถ่นิ

ทีม่ า : ปรับปรุงจาก บุญเลิศ จิตตงั้ วฒั นา (2548)

218

ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชุมชนท้องถนิ่ ด้านวัฒนธรรม

เมอื่ ชุมชนท้องถน่ิ ใดมกี ารท่องเท่ียวเกดิ ขึน้ ยอ่ มกอ่ ให้เกิดผลกระทบด้านวัฒนธรรมทั้งดา้ นผลบวกและ
ด้านผลลบตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถนิ่ น้ัน ซึง่ สรุปได้ถงึ ผลของการท่องเท่ียวตอ่ ชมุ ชนท้องถน่ิ ด้านวัฒนธรรม

ตารางที่ 9.9 ผลกระทบของการทอ่ งเทยี่ วต่อชุมชนท้องถ่นิ ดา้ นวฒั นธรรม
ผลกระทบของการท่องเที่ยวตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถิ่นด้าน ผลกระทบของการท่องเที่ยวต่อชุมชนทอ้ งถน่ิ
วฒั นธรรมทางด้านผลบวก ดา้ นวฒั นธรรมทางดา้ นผลลบ

1. การท่องเทย่ี งกอ่ ให้เกดิ ประโยชน์ในการใช้ 1. การทอ่ งเทย่ี วก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการขดั แย้ง
วัฒนธรรมของชุมชนทอ้ งถนิ่ เป็นสิ่งดงึ ดูดใจ ทางวัฒนธรรมระหวา่ งนกั ท่องเท่ียวกบั
นกั ท่องเทีย่ ว ชมุ ชนท้องถ่นิ

2. การทอ่ งเท่ยี วก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการสรา้ ง 2. การทอ่ งเที่ยวก่อใหเ้ กดิ ปญั หาการ
ความเขา้ ใจแก่นักท่องเทย่ี วกับวฒั นธรรมของ เปลี่ยนแปลงค่านยิ มทางวฒั นธรรมของ
ชุมชนทอ้ งถน่ิ ชุมชนท้องถน่ิ

3. การทอ่ งเท่ยี วก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วย 3. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกิดปญั หาการ
ฟ้ืนฟูสบื ทอดวฒั นธรรมของชุมชนท้องถ่ิน เปลี่ยนแปลงรปู แบบวัฒนธรรมอยา่ ง
รวดเรว็ แกช่ ุมชนทอ้ งถ่ิน
4. การท่องเที่ยวก่อให้เกิดประโยชน์ในการสรา้ ง
ความรัก ความหวงแหน และความภาคภูมิใจ 4. การท่องเท่ียวก่อใหเ้ กดิ ปัญหาการลด
ของวัฒนธรรมประเพณชี ุมชนท้องถน่ิ คณุ คา่ ของวฒั นธรรมในชุมชนท้องถน่ิ

5. การท่องเทยี่ วก่อให้เกดิ ประโยชน์ในการรว่ มมอื 5. การทอ่ งเทีย่ วก่อให้เกิดปญั หาการลด
ร่วมใจช่วยอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมของชมุ ชนท้องถนิ่ คณุ คา่ งานศิลปะหัตกรรมของชมุ ชน
ทอ้ งถน่ิ
6. การทอ่ งเที่ยวก่อให้เกิดประโยชน์ในการ
แลกเปลย่ี นวัฒนธรรมอนั ดีระหว่างชุมชน 6. การทอ่ งเทย่ี วก่อให้เกดิ ปัญหาการทาลาย
ทอ้ งถนิ่ ศิลปวตั ถขุ องชุมชนท้องถ่ิน

7. การทอ่ งเท่ยี วก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการ
ส่งเสรมิ การผลิตและจาหน่ายงาน
ศลิ ปวฒั นธรรมแกช่ ุมชนทอ้ งถ่นิ

ทีม่ า : ปรบั ปรงุ จาก บุญเลิศ จติ ตง้ั วัฒนา (2548)

219

ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชนท้องถน่ิ ดา้ นส่งิ แวดลอ้ ม
เม่อื ชมุ ชนท้องถ่ินใดมกี ารทอ่ งเทยี่ วเกดิ ขึน้ ย่อมก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบดา้ นส่งิ แวดล้อมทงั้ ด้านผลบวก

และดา้ นผลลบต่อชมุ ชนท้องถิ่นนน้ั ซึ่งพอสรุปไดถ้ ึงผลกระทบของการท่องเทยี่ วตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถ่ินดา้ น
ส่งิ แวดลอ้ ม

ตารางท่ี 9.10 ผลกระทบของการท่องเท่ยี วต่อชุมชนท้องถ่ินดา้ นสงิ่ แวดลอ้ ม

ผลกระทบของการท่องเท่ียวตอ่ ชุมชนทอ้ งถ่นิ ดา้ น ผลกระทบของการท่องเที่ยวตอ่ ชมุ ชนทอ้ งถิน่
สง่ิ แวดล้อมทางดา้ นผลบวก ด้านสิง่ แวดล้อมทางด้านผลลบ

1. การท่องเทยี่ วก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นการสร้าง 1. การทอ่ งเที่ยวก่อให้เกดิ ปญั หาการ
ความตระหนักถงึ คณุ ค่าส่งิ แวดล้อมของชุมชน ทาลายทรพั ยากรป่าไม้ของชมุ ชน
ทอ้ งถน่ิ ทอ้ งถ่ิน

2. การทอ่ งเทยี่ วก่อให้เกิดประโยชน์ในการช่วย 2. การทอ่ งเทย่ี วก่อใหเ้ กดิ ปัญหา
รกั ษาสิ่งแวดลอ้ มของชุมชนท้องถิ่น ทรัพยากรน้าของชุมชนทอ้ งถิ่น

3. การท่องเที่ยวก่อให้เกดิ ประโยชน์ในการช่วย 3. การท่องเทย่ี วก่อให้เกิดปญั หาทาลาย
ฟ้นื ฟูและเสริมคุณคา่ ของสงิ่ แวดล้อมในชุมชน ทรพั ยากรชีวภาพของงชมุ ชนทอ้ งถิ่น
ทอ้ งถ่นิ
4. การท่องเทีย่ วก่อใหเ้ กิดปัญหามลภาวะ
4. การทอ่ งเท่ียวก่อให้เกิดประโยชนใ์ นการพัฒนา ในชมุ ชนท้องถนิ่
และปรบั ปรงุ สิง่ แวดล้อมของชุมชนท้องถิน่
5. การทอ่ งเทยี่ วก่อใหเ้ กดิ การทรุดตวั ของ
5. การทอ่ งเท่ยี วก่อใหเ้ กดิ ประโยชนก์ ารคน้ ควา้ ทรพั ยากรดนิ ในชมุ ชนท้องถน่ิ
หาแนวทางรักษาสง่ิ แวดล้อมของชมุ ชนท้องถ่ิน
ใหม้ ีประสิทธภิ าพย่ิงขึน้ 6. การท่องเที่ยวก่อใหเ้ กิดปญั หาทาลาย
ภมู ทิ ศั น์ของชุมชนท้องถน่ิ

ทม่ี า : ปรับปรุงจาก บญุ เลศิ จิตตง้ั วฒั นา (2548)

220
บทสรุป

บทน้ีได้กล่าวถึง ผลกระทบจาการท่องเท่ียว ผลกระทบของการท่องเท่ียวต่อชุมชนท้องถิ่น การ
ประเมินผลกระทบจากการท่องเท่ียวซ่ึงอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็ว
เป็นอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้กับประเทศเป็นอันดับ 1 นาความเจริญเข้าสู่ชุมชนท้องถ่ินท้ังจากทางตรง
เช่น โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ประปา ไฟฟ้า สัญญาณโทรศัพท์ เป็นต้น ทางอ้อมคือ การสร้างงาน สร้างอาชีพ
ให้กับชุมชนนาไปสู่คุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น ตามมุมมองของธรรมชาติและความเป็นจริง เหรียญมี 2 ด้าน มีขาวก็
ต้องมีดา มุมมองการทอ่ งเทย่ี วจงึ ต้องมีท้ัง 2 ดา้ นคอื ดา้ นบวกและดา้ นลบจาเปน็ อยา่ งยิง่ ทผ่ี ู้มีสว่ นเกี่ยวข้องทุก
ภาคสว่ นจะต้องใหค้ วามสาคญั กบั มิตทิ ่จี ะส่งผลกระทบสู่การทอ่ งเที่ยว ทงั้ ดา้ น สังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและ
สิ่งแวดล้อม ว่าจากการท่องเท่ียวท่ีกาลังขยายตัวควรมีการประเมินผลกระทบส่ิงเหล่านี้เพื่อให้การจัดการ
ทอ่ งเที่ยวสามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงค์ได้อย่างชดั เจนและยัง่ ยนื นาน การประเมนิ ผลกระทบจากการท่องเที่ยวจึง
เป็นแนวทางหนึ่งท่ีจะสร้างหรือพัฒนาการท่องเท่ียวให้มีทิศทางท่ีสามารถสร้างความยืดหยุ่นและพัฒนาไปใน
มุมมองของธรรมชาตขิ องสรรพส่งิ ถ้าสามารถเข้าถึงความจรงิ ทั้งหมดได้กจ็ ะลดปญั หาตา่ งๆได้ดี พรอ้ มทัง้ กาจัด
สิ่งท่ีไม่พึงประสงค์บางอย่างออกไป นาไปสู่แนวทางท่ีสามารถพัฒนาให้การท่องเท่ียวของประเทศไทยไปสู่มิติ
แหง่ ความยงั่ ยืน รองรับยคุ ดจิ ติ อลในฉบับ 4.0 และรองรบั ศตวรรษท่ี 21 ต่อไป

แบบฝกึ หัดท้ายบท
1. จงอธิบายผลกระทบจากการทอ่ งเทีย่ วที่เกดิ ข้ึนกบั ประเทศไทยมาให้เขา้ ใจ
2. สามารถอธิบายหลักการประเมนิ ผลกระทบจากการท่องเทยี่ ว
3. จงสรุปผลกระทบของการท่องเทยี่ วต่อชุมชนท้องถน่ิ
4. จงประเมนิ ผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวทง้ั ดา้ นบวกและด้านลบของจงั หวดั อดุ รธานี
5. จงอธบิ ายผลกระทบจากการท่องเทยี่ วทสี่ ่งผลตอ่ สงั คม
6. จงอธบิ ายผลกระทบจากการทอ่ งเท่ยี วท่ีสง่ ผลต่อเศรษฐกิจ
7. จงอธิบายผลกระทบจากการทอ่ งเที่ยวทส่ี ่งผลต่อวฒั นธรรม
8. จงอธิบายผลกระทบจากการทอ่ งเทยี่ วทสี่ ง่ ผลตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม

221
เอกสารอา้ งองิ

กรมสง่ เสรมิ คุณภาพส่งิ แวดล้อม. (2008). อกี 30 ปี ปริมาณขยะจะมากกวา่ ปลาในท้องทะเล.ค้นเม่ือ 25
กันยายน 2559. จาก http://local.environnet.in.th/news2_detail.php?id=6909

บุญเลศิ จติ ตง้ั วฒั นา. (2542). การวางแผนพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอย่างย่งั ยนื . เชียงใหม่ : คณะ มนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.

พิมพ์ระวี โรจน์รงุ่ สตั ย์ (2553). การทอ่ งเท่ยี วชมุ ชน. พิมพค์ รัง้ ท่ี 1: กรงุ เทพ สานกั พิมพ์โอเดยี นสโตร์.
ศราวุธ ผิวแดง (2556) .รูปแบบการจัดการท่องเทย่ี วโดยชมุ ชนอยา่ งยั่งยนื ภายใตแ้ นวคิดเศรษฐกิจ

พอเพยี ง กรณศี ึกษา ตาบลหนองกุงทับมา้ อาเภอวังสามหมอ จงั หวดั อดุ รธานี.มหาวทิ ยาลับราช
ภัฏอดุ รธานี
ศนู ย์เพ่ือการวางแผนการท่องเท่ยี วและการแก้ไขปญั หาความยากจนแหง่ เอเชีย (2549). แนวทางการวาง
แผนการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอยา่ งย่ังยืน : คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์
ศนู ย์รังสติ .
สถานีตารวจทอ่ งเท่ียว 6. (2559). ตร.ทท.เปดิ โครงการตตู้ ารวจท่องเท่ียว’อานวยความสะดวกนกั ท่องเท่ยี ว.
ค้นเมอ่ื 20 มถิ ุนายน 2559.จาก http://loeitouristpolice.go.th/.

222

บรรณานกุ รม

ก า ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว แ บบ ย่ัง ยื น. จ าก http://wean-wean-greentourism blogspotcom. blogspot.com/.
สืบคน้ เมอื่ 10 ม.ค. 2559.

การมสี ่วนร่วมของประชาชน.http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title. สบื คน้ เมอ่ื วนั ที่ 20 มกราคม 2558.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม. (2558).บูรณาการหนว่ ยงานภาครัฐ จดั ระเบียบ “ภทู ับเบกิ ”

เพอ่ื รักษาธรรมชาติให้อยู่อย่างย่งั ยนื และสมดุล.สืบค้นเมื่อวนั ที่ 25 กนั ยายน 2558.จาก
http://www.mnre.go.th/ewt_news.php?nid=7139.
คนึงภรณ์ วงเวียน. (2554). การพัฒนายุทธศาสตร์การท่องเท่ียวเชิงนิเวศอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษา
เกาะเสมด็ จงั หวดั ระยอง. วิทยานพิ นธ์นีเ้ ปน็ ส่วนหนึ่งของการศกึ ษาตามหลกั สตู รปรชั ญาดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชายทุ ธศาสตร์การพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภฏั พระนคร.
เจิมศักด์ิ ปิ่นทอง. (2528). การระดมประชาชนเพื่อการพัฒนาชนบท. วารสารเศรษฐศาสตร์ปริทัศน์.
กรุงเทพฯ: คณะเศรษฐศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย.
ฉัตร ณ สมุย. (2009). อีกด้านของงานฟูลมูนปาร์ต้ี เกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี.ค้นเม่ือวันท่ี 20
กนั ยายน 2558.จาก http://www.oknation.net/blog/Chatsamui/2013/02/01/entry-1.
เฉลียว บุรีภักดี. (2548). ชุดการศึกษาค้นคว้า รายวิชา 2553101 ทฤษฎีระบบและการประยุกต์ใช้ในการ
พฒั นา. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏพระนคร.
ชูสทิ ธิ์ ชชู าติ. (2553). ค่มู อื การท่องเท่ียวในมติ เิ ศรษฐกจิ พอเพียง.มหาวิทยาลัยเชยี งใหม.่
ชานาญ วัฒนศิริ. (2543). ความเข้มแขง็ ของชมุ ชนและประชาคม. วารสารพัฒนาชมุ ชน, มกราคม, 24- 26.
ณักษ์ กุลิสร์และคณะ. (2553). แผนการตลาดการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการบนฐานข้อมูลพฤติกรรม
นักท่องเที่ยวและการมีส่วนร่วมของชุมชนจังหวัดชัยนาท. สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
(สกว.).
ดลฤทัย โกวรรธนะกุล. (2556).การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างย่ังยืน.เอกสารประกอบการสอน
คณะวทิ ยาการจดั การ มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ .
ทวีศิลป์ กุลนภาดล. (2553). การพัฒนาภาวะผู้นาเพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถ่ินของ
ประชาชน. สานกั งานคณะกรรมการอดุ มศกึ ษาและสานักงานกองทนุ สนบั สนุนการวจิ ัย.
เทิดชาย ช่วยบารงุ . (2552).บทบาทขององค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิน่ กับการพัฒนาการทอ่ งเท่ียวอยา่ ง
ย่ังยนื บนฐานเศรษฐกจิ พอเพียง.วิทยาลัยการปกครองท้องถ่นิ สถาบันพระปกเกล้า.
นรเพชร ฟองอ่อน (2558) สัมภาษณ์ประเด็นความจาเป็นท่ีต้องมีการท่องเท่ียวอย่างย่ังยืน.วันที่ 24
สงิ หาคม 2558 ณ คณะวทิ ยาการจัดการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั อดุ รธานี.
นรเพชร ฟองออ่ น. (2558) สมั ภาษณ์ประเดน็ ข้อดีข้อเสียของการท่องเที่ยวชุมชน. วนั ท่ี 24 สิงหาคม 2558
ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั อดุ รธาน.ี
นิสา บญุ ทะสอนและคณะ (2557). การพัฒนาการตลาดและการทอ่ งเทีย่ วของธุรกิจชมุ ชนสวู่ ิสาหกิจชุมชน
เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในอาเภอหันคา จังหวัดชัยนาท. สถาบันวิจัยและพัฒนา
มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั จนั ทรเกษม.
บุญลาภ ภูสุวรรณ. (2015).สายการบินภายในประเทศ. ค้นเม่ือวันที่ 20 กันยายน 2558. จาก
http://thaipublica.org/2015/06/icao-1/.

223
บญุ เลิศ จติ ตัง้ วัฒนา. (2542 ).การวางแผนพฒั นาการทอ่ งเทย่ี วอย่างยงั่ ยนื . เชียงใหม่ : คณะ มนุษยศาสตร์

มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
บุญศิลป์ จิตตะประพันธ์และคณะ. (2556 ). การท่องเที่ยวทางทะเลและชายฝ่ังในจังหวัดชุมพร:

สถานะ ความต้องการ ปัญหา และแนวโน้มในการพัฒนาการท่องเท่ยี วอย่างยงั่ ยนื . มหาวิทยาลัย
แมโ่ จ้.
บริษัท ส (นภา)ประเทศไทย จากัด. (2015). การบาบัดและกาจัดน้าเสีย.ค้นเม่ือวันที่ 22 สิงหาคม 2558.
จากhttp://www.snapa.co.th/th/wastewater_treatment.html.
ประจวบ อมแก้ว. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า. วารสารพัฒนาชุมชน, มิถุนายน,
39-44.
ประมาณ เทพสงเคราะห์และจรินทร์ เทพสงเคราะห์. (2551) การพัฒนาการท่องเท่ียวอย่างยั่งยืนของ
ชมุ ชนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาฝ่งั ตะวันตก. มหาวิทยาลัยทักษณิ .
ประทีป มีคติธรรม. (2557).แนวความคดิ การพฒั นาที่ยง่ั ยืน. สืบค้น เม่อื วันที่ 4 มกราคม 2558. จาก
http://www.lrct.go .th/tools/?p=425.
ฝาตีม๊ะ เกนุ้ย และคณะ. (2556). วิจัยเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบการบริหารจัดการข้อมูลตาบลรูปแบบ
“เกิดผลเร็ว” โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจพัฒนาพื้นท่ี ตาบลนาทอน
อาเภอทงุ่ หว้า จังหวดั สตูล. สานักงานกองทนุ สนบั สนุนการวิจัย (สกว).
พจนา สวนศรี. (2542). การท่องเที่ยวที่ย่ังยืนโดยชุมชน. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรปริญญาโท
สาขาวชิ าการจดั การอตุ สาหกรรมทอ่ งเที่ยว. เชยี งใหม่: มหาวทิ ยาลัยเชยี งใหม่. (เอกสารอัดสาเนา).
พจนา สวนศร.ี (2546). คมู่ ือการจดั การท่องเที่ยวโดยชมุ ชน. กรงุ เทพฯ: โครงการทอ่ งเทีย่ วเพอ่ื ชีวิต.
พจนา สวนศรี (2556) คมู่ อื การจัดการทอ่ งเที่ยวโดยชุมชน. โครงการทอ่ งเทีย่ วเพอื่ ชีวติ และธรรมชาติ.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2542).จากัดความของกลยุทธ์.ราชบัณฑิตยสถาน. ค้นเมื่อ 20
ม ก ร า ค ม 2 5 5 9 จ า ก http://dictionary.sanook.com/search/%E0 % B8 %
81%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%97%E0%B8%98%E0%B9%8C.
พทิ ยะ ศรีวัฒนสาร. (2554).การทอ่ งเที่ยวแบบยง่ั ยนื .สืบค้นเมือ่ 10 ม.ค. 2559 จาก
(http://sustainabletourismdpu.blogspot. com/ 2011/02/blog-post_7353.html..
พิมพ์ระวี โรจนร์ ่งุ สตั ย์ (2553). การทอ่ งเทย่ี วชุมชน. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1: กรุงเทพ สานกั พมิ พโ์ อเดยี นสโตร.์
เพ่ิมศักด์ิ มกราภิรมย์. (2543). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการป่า: กรอบคิดข้อจากัดและการ
วิเคราะห์ทางเลือก. วารสารพัฒนาชุมชน, มถิ นุ ายน.
มาริษา แก้วบารุง. (2553).ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการขนส่งเพื่อการท่องเท่ียว.ค้นเมื่อวันท่ี 22 สิงหาคม
2558.จาก http://marisaof .blogspot.com / 2010/11/blog-post_11.html.
ยุวดี นิรัตน์ตระกูล. (2544). Eco-Tourism การท่องเท่ียวเชิงอนุรักษ์: จุลสารการท่องเท่ียวปที ี่ 16 เล่มที่ 4

ตลุ าคม-ธันวาคม. กรุงเทพฯ: สานักพมิ พ์กองวิชาการและฝกึ อบรมการท่องเทย่ี วแห่งประเทศไทย.
รชพร จันทร์สว่าง. (2546). ความรู้เบ้ืองต้นเก่ียวกับการท่องเท่ียว .เอกสารการสอนชุดฝึกอบรมทางไกล

หลักสูตรการจดั การทอ่ งเท่ยี วชุมชนอยา่ งยง่ั ยนื . นนทบุร:ี มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช.
ราไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2544). การท่องเที่ยวชมวิถีชีวิตชนบทอย่างย่ังยืน. เอกสารประกอบการบรรยาย

เร่ือง การจัดการท่องเท่ียวชนบท ณ ห้องประชุมใหญ่ อาคารสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน
กรุงเทพมหานคร.26-28 กันยายน. (อดั สาเนา).














Click to View FlipBook Version