The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

E-Book ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความยืดหยุ่นของอุปทาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ณัฐรดา มาลาหอม, 2019-06-05 21:58:29

E-Book ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความยืดหยุ่นอุปทาน

E-Book ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และความยืดหยุ่นของอุปทาน

หน่วยท่ี 4
ความยดื หย่นุ ของอปุ สงค์ และ

ความยดื หยุ่นของอุปทาน

ณฐั รดา มาลาหอม

หน่วยที่ 4 ความยดื หยนุ่ ของอปุ สงคแ์ ละอปุ ทาน

ความยืดหยุ่นเป็นเรื่องเกี่ยวกับการพิจารณา ‘การตอบสนองของการซื้อ’ (อุปสงค์) และ
‘การตอบสนองของการผลติ ’ (อุปทาน) ว่าสามารถตอบสนองได้รวดเร็วหรอื ช้า

3.1 ความยดื หยุ่นของอปุ สงค์ (Elasticity of Demand)
มีด้วยกัน 3 รูปแบบคือ ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand :

Ep หรือ Ed) ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ (Income Elasticity Demand : Ey) และความ
ยดื หยุ่นของอปุ สงคไ์ ขว้ (Cross Price Elasticity Demand : Ec)

3.1.1 ความยดื หยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา (Price Elasticity of Demand : Ep หรอื Ed)
เป็นการวัดเปอร์เซ็นตก์ ารเปลย่ี นแปลงของปริมาณซ้ือท่ีมีต่อการเปล่ียนแปลงของราคาสินค้า
ซึ่งเหตุผลที่ดูเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลง เน่ืองจากถ้าใช้หน่วยดิบของสินค้าแต่ละชนิดจะทาให้
เปรียบเทียบกันลาบาก เช่น ทองคากับน้ามัน เป็นต้น การกาหนดเป็นเปอร์เซ็นต์ทาให้สินค้าเหล่านี้
สามารถนามาเปรยี บเทียบกันได้
โดยค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาจะมีเครื่องหมายเป็นลบ (-) เน่ืองจากตามกฎของ
อปุ สงค์ การเปล่ยี นแปลงปรมิ าณความตอ้ งการซ้อื จะมที ิศทางผกผนั กบั การเปลี่ยนแปลงในราคาสินค้า
นน่ั คือ เม่ือราคาสินคา้ เพิ่มขน้ึ ผู้บริโภคกจ็ ะซอ้ื สินคา้ ลดลง (PD) และเม่ือราคาลดลง ผู้บริโภคก็
จะซือ้ สนิ คา้ เพิ่มมากข้ึน (PD) ซ่ึงค่าท่ีเป็นลบน้ีจะไม่ได้นามาใช้ในการคานวณ เป็นแต่เพียงการ
บอกคณุ ลกั ษณะของเสน้ ส่วนคา่ ที่ใช้จริงจะเปน็ ค่าสมั บรู ณ์ (Absolute Value)
จากความสัมพันธ์ท่ีผกผันกันน้ี ทาให้เราไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่า รายรับรวม (ซ่ึงเท่ากับ
ผลคูณระหว่างราคากับปริมาณซื้อ) จะเพิ่มข้ึนหรือลดลงจากการดูแค่การเปล่ียนแปลงของราคา
นอกจากเราจะทราบค่าความยดื หยุน่ ของอุปสงคต์ อ่ ราคาวา่ อตั ราการเปล่ียนแปลงดังกล่าวมีมากหรือ
น้อยเพียงใด ซง่ึ สามารถพจิ ารณาไดจ้ ากสตู รในการคานวณ คอื

Price Elasticity Demand (Ep/ Ed) = % การเปลี่ยนแปลงของปรมิ าณซือ้
% การเปล่ียนแปลง

ของราคาซื้อ
= ∆Q x P
∆P Q
= Q2 – Q1 x P
P2 – P1 Q

ซง่ึ สตู รดังกล่าว เป็นการหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ ณ ราคาใดราคาหนึ่ง ดังจะกล่าว
รายละเอยี ดตอ่ ไปในหัวขอ้ ท่ี 3.1.1.1

1

3.1.1.1 การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบจุด (ณ ราคาท่ีกาหนด
เช่น ทจี่ ุด A หรือ B)

ใช้วัดในกรณีที่ตัวแปรอิสระ [ในที่น้ีคือ ราคาสินค้า (P)] เปลี่ยนแปลงไปน้อยมาก
(Infinitesimal) จนไม่สามารถวดั ขนาดของการเปล่ยี นแปลงได้

ยกตัวอยา่ งเชน่ ให้หาคา่ Ed ณ ราคา 8 บาท ซง่ึ สามารถแสดงไดด้ งั กราฟที่ 3.1

กราฟท่ี 3.1 การคานวณหาคา่ ความยดื หยุ่นของอุปสงค์แบบจุด1

ราคา(P)

Slope (-)

10 P1 Ed ณ ราคา 8 บาท
8 P2 A

B

D

0 Q1 Q2 ปริมาณ (Q)
200 240

ค่าความยดื หยนุ่ บอกทิศทาง

จากสตู ร Ed ณ ราคา 8 บาท = Q2 – Q1 x P2 ความสมั พนั ธ์ (Direction)
เมือ่ แทนค่าจะได้ = P2 – P1
Qฉระ2ะหนว้นั า่ ตงอร้ างคตาิดกลบั บป(ร-ิ)มแาณตก่ าร
240 - 200 x 8 น(A2าb4มs0าoใlชutจ้ eะVใชalค้uา่eส) มั บูรณ์
8 - 10

= - 2  - 0.67

3

สาหรับการพิจารณาค่าความยืดหยุ่นว่ามากหรือน้อยนั้น จะเอา 1 เป็นตัวต้ัง และ

เปรียบเทียบกบั คา่ สัมบรู ณ์ (Absolute Value) ที่ได้ โดย

1 หมายเหตุ : จะกาหนดใหจ้ ุดใดเป็ นจุดท่ี 1 หรือ 2 กไ็ ด้ แต่ตอ้ งใหส้ อดคลอ้ งกนั คือ Q1P1/ Q2P2

2

Ed > 1  มคี วามยืดหยุ่นมาก (Elastic)
Ed < 1  มีความยืดหยุน่ น้อย (Inelastic)
หากสินค้าชนิดนั้นมีความยืดหยุ่นมาก หรือก็คือ มีการตอบสนองรวดเร็ว แสดงว่า
เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย เพราะราคาเปล่ียนแปลงเพียงเล็กน้อย แต่ทาให้ปริมาณการซ้ือ
เปลย่ี นแปลงไปมาก เช่น ทองคา เป็นตน้ แต่หากสนิ ค้าชนิดนั้นมีความยืดหยุ่นน้อย หรือก็คือ
มีการตอบสนองช้า แสดงว่า เป็นสินค้าท่ีจาเป็นต่อการบริโภค แม้ว่าราคาจะมีการ
เปลี่ยนแปลงอยา่ งไร แตป่ ริมาณการซื้อก็จะเปลยี่ นแปลงไปเพียงเลก็ น้อย เช่น ขา้ ว เป็นตน้
โดยสามารถแสดงได้ดังกราฟที่ 3.2

กราฟท่ี 3.2 เปรียบเทียบสนิ คา้ ทม่ี ีค่าความยดื หย่นุ มากและคา่ ความยืดหยุ่นน้อย

ราคา(P) ราคา(P)

Ed > 1 Ed < 1

P1 ∆P A Slope (-) P1 A Slope (-)
P2 B P2 ∆P B
D ปริมาณ (Q)
∆Q ปริมาณ (Q) ∆Q D

0 Q1 Q2 0 Q1 Q2

ทั้งนี้ ในการจะพิจารณาว่า สินค้าใดเป็นสินค้าฟุ่มเฟือยหรือสินค้าท่ีจาเป็นต่อการ
บริโภค ต้องดูค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาเท่านั้น เนื่องจากเป็นการพิจารณาเร่ือง
การตอบสนองตอ่ ราคานนั่ เอง

3.1.1.2 การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบช่วง ระหว่างจุด A และ
B (Arc elasticity of demand)

เป็นการคานวณหาค่าความยืดหยุ่นจากราคาเฉล่ียและปริมาณเฉลี่ย แทนท่ีหา ณ
ราคาใดราคาหน่งึ ซ่ึงจะใช้ในกรณที ่ีตวั แปรอิสระมีขนาด (Magnitude) ของการเปล่ียนแปลง
ที่เห็นได้อย่างชัดเจน เช่น ค่า P เปล่ียนจาก P1 เป็น P2 แล้วส่งผลให้ค่า Q เปลี่ยนจาก Q1
เปน็ Q2 เปน็ ตน้ โดยหาได้จากสตู รคอื

Ed ท่ี A และ B = Q2 – Q1 x P2 + P1
P2 – P1 Q2 + Q1

3

ยกตัวอย่างเดิมจากกราฟที่ 3.1 โดยกาหนดโจทย์ใหม่ให้หาค่า Ed ณ ราคาระหว่าง
8-10 บาท จะแสดงไดด้ งั กราฟท่ี 3.3

กราฟท่ี 3.3 การคานวณหาคา่ ความยดื หยนุ่ ของอุปสงค์แบบชว่ ง

ราคา(P)

Slope (-)

10 P1 Ed ณ ราคาระหวา่ ง 8-10 บาท
8 P2 A

0 B

D ปริมาณ (Q)

Q1 Q2
200 240

จากสูตร Ed ณ ราคาระหวา่ ง 8-10 บาท = Q2 – Q1 x P2 + P1
P2 – P1 Q2 + Q1
เมอ่ื แทนค่าจะได้ =
= 240 - 200 x 8 + 10
8 - 10 240 + 200

-9  -0.81
11

ในการคานวณว่าสินค้าใดมีค่าความยืดหยุ่นมากหรือน้อย ควรใช้การคานวณ
แบบช่วง เพราะการคานวณแบบจุดนั้นจะมีปัญหา เน่ืองจากความยืดหยุ่น ณ ราคาต่างกัน
จะมีค่าไมเ่ ทา่ กนั

ยกตวั อย่างเดิม โดยลองหาคา่ ความยืดหยุน่ ณ ราคา 10 บาท จะได้ดงั น้ี

4

จากสตู ร Ed ณ ราคา10 บาท = Q2 – Q1 x P1
เมือ่ แทนค่าจะได้ P2 – P1 Q1

= 240 - 200 x 10
8 - 10 200

= -1

โดยแสดงภาพรวมการเปรยี บเทียบทั้งหมดได้ดังกราฟท่ี 3.4

กราฟที่ 3.4 เปรียบเทียบค่าความยดื หยนุ่ ท่ีไดร้ ะหวา่ งการคานวณแบบจดุ และแบบช่วง

ราคา(P)

Slope (-)

10 P1 Ed = -1
A Ed = -0.81

8 P2 B

Ed = -0.67

D

0 Q1 Q2 ปริมาณ (Q)
200 240

จากกราฟจะเห็นได้ว่า ณ ราคาสูง จะมีค่าความยืดหยุ่นสูง และ ณ ราคาต่า จะมีค่า
ความยืดหยุน่ ตา่ เพราะฉะนัน้ บนเสน้ อุปสงคเ์ ส้นเดียวกนั คา่ ความยดื หย่นุ ย่อมไม่เท่ากัน ด้วย
เหตุผลดังกล่าว ในการหาค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์จึงควรใช้การคานวณแบบช่วงเพื่อหา
เปน็ ค่าเฉลย่ี ออกมา

3.1.1.3 ลกั ษณะของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา
ความยืดหยุ่นของเสน้ อุปสงค์มที ง้ั หมด 5 ประเภทดว้ ยกันคอื

1) อุปสงคท์ ม่ี ีคา่ ความยดื หยนุ่ มาก (Ed > 1)
2) อปุ สงคท์ มี่ ีค่าความยืดหยนุ่ น้อย (Ed < 1)

5

3) อปุ สงคท์ มี่ คี ่าความยืดหยนุ่ เทา่ กบั หนึ่ง (Ed = 1)
4) อปุ สงคท์ ม่ี ีคา่ ความยืดหยุ่นมากทส่ี ดุ หรอื อินฟนิ ิตี้ (Ed = ∞)
5) อุปสงคท์ ี่มคี ่าความยืดหยนุ่ นอ้ ยที่สดุ หรอื เทา่ กบั ศนู ย์ (Ed = 0)

หากร้อยละของตัวราคามีผลต่อการเปล่ียนแปลงของปริมาณในทิศทางท่ีมาก (+)
คือ ถ้าราคาสินค้าเปล่ียนแปลงไป 1 หน่วย ส่งผลให้ปริมาณสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงไปมาก
(การเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อ > การเปลี่ยนแปลงของราคา) เราจะเรียกว่า ‘มีความ
ยืดหยุ่นมาก’ (elastic demand) ขณะเดียวกัน ถ้าร้อยละของตัวราคามีผลต่อการ
เปล่ียนแปลงของปริมาณในทิศทางท่ีน้อย (-) คือ ถ้าราคาสินค้าเปล่ียนแปลงไป 1 หน่วย
ส่งผลให้ปริมาณสินค้ามีการเปลี่ยนแปลงน้อย (การเปล่ียนแปลงของปริมาณซ้ือ < การ
เปลี่ยนแปลงของราคา) เราจะเรียกว่า ‘มีความยืดหยุ่นน้อย’ (inelastic demand) หรือ
ถ้าความยืดหยุ่นมีค่าเท่ากับหนึ่ง จะเรียกว่า Unitary Elastic กล่าวคือ เมื่อราคาสินค้า
เปล่ยี นแปลงไปร้อยละ 1 จะส่งผลใหป้ รมิ าณสนิ ค้ามีการลดลงหรือเพ่ิมขนึ้ ในอตั ราที่เท่ากนั

โดยแสดงภาพรวมของลกั ษณะความยดื หยุน่ ของเส้นอุปสงคด์ ังกราฟที่ 3.5

กราฟที่ 3.5 ลกั ษณะเสน้ อุปสงค์ต่อราคาจาแนกตามความยืดหยุ่น

ราคา(P) Ed = 0

Ed < 1
Ed = 1

Ed > 1

Ed = ∞

0 ปริมาณ (Q)

จากกราฟ จะเห็นได้ว่า กรณีท่ีอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ (Ed = 0) คือ
การเปล่ียนแปลงของราคาไมไ่ ดม้ ีผลกระทบต่อปริมาณเลย ปรมิ าณการซ้ือสินค้ายังคงเท่าเดิม

6

ในขณะท่ีราคาสามารถข้ึนหรือลงได้ตลอดเวลา สินค้าที่ราคาไม่มีผลกระทบต่อการบริโภค
เช่นนี้ในชีวิตจริงค่อนขา้ งหายาก เช่น การซอ้ื ท่ีฝงั ศพ เป็นต้น

กรณีที่อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อย (Ed < 1) คือ ถ้าราคาเปลี่ยนแปลงไป 1
หนว่ ย จะกอ่ ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงการบรโิ ภคท่ไี มม่ าก แสดงว่า อัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ราคามผี ลต่ออัตราการเปลีย่ นแปลงของปรมิ าณไม่มากนกั สนิ ค้าทม่ี คี ่าความยืดหยุ่นน้อยน้ีจะ
เป็นสินค้าประเภทที่เรามีความจาเป็นในการบริโภค เพราะไม่ว่าราคาจะสูงขึ้นหรือลดลง
เท่าไหร่ ปริมาณความตอ้ งการของเรากย็ งั คงเทา่ เดิมในสนิ ค้าชนดิ นนั้

กรณีที่อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 (Ed = 1) เป็นกรณีท่ีไม่ค่อยเกิดใน
ชีวติ ประจาวนั ส่วนใหญจ่ ะเกิดเปน็ ปรากฏการณใ์ นระยะเวลาสนั้ ๆ เท่านนั้

กรณีท่ีอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก (Ed > 1) คือ เม่ือราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง
จะทาให้ปริมาณการบริโภคเปลี่ยนแปลงอย่างมาก สินค้าประเภทน้ีได้แก่สินค้าฟุ่มเฟือย
ตา่ งๆ

กรณีอุปสงค์ท่ีมีค่าความยืดหยุ่นมากที่สุด หรืออินฟินิต้ี (Ed = ∞) คือ ณ ราคา
ใดๆ ราคาหนึ่ง ความต้องการซื้อจะมีอย่างไม่จากัด เป็นตัวอย่างสินค้าในตลาดแข่งขัน
สมบูรณ์ซึ่งสินค้าเหมือนกันและมีผู้ขายจานวนมาก โดยถ้ามีผู้ผลิตคนใดขึ้นราคาสินค้าก็
ยอ่ มจะขายสินค้าน้นั ไม่ได้เลย เพราะผ้บู ริโภคจะเปล่ียนใจไปซอื้ สินค้าอื่นที่ทดแทนกันได้แทน
กรณนี เ้ี ปน็ กรณีทไี่ มค่ อ่ ยเกิดขนึ้ ในชวี ิตประจาวนั เช่นกัน

จากกรณีทีก่ ล่าวมาทง้ั หมด กรณีท่เี กิดขึน้ จรงิ ในชีวิตประจาวัน ส่วนใหญ่จะเป็นกรณี
ท่ีอุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยและกรณีที่อุปสงค์มีค่าความยืดหยุ่นมาก ส่วนกรณีอ่ืนๆ มัก
เกดิ ข้นึ เปน็ ปรากฏการณ์ในระยะเวลาส้นั ๆ เทา่ น้ัน

3.1.1.4 ความลาดชัน (slope) ของเส้นอุปสงค์กับความยืดหยุ่น (elasticity)
ของอปุ สงค์ต่อราคา

มักมีความเข้าใจกันคลาดเคล่ือนว่า ถ้าเส้นอุปสงค์มีความลาดชันมาก น่าจะ
หมายความว่า ค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์ต่า หรือถ้าเส้นอุปสงค์มีความลาดชันน้อย
นา่ จะหมายความว่า คา่ ความยืดหยนุ่ ของอุปสงคส์ ูง

หากในความเป็นจริงแล้ว เราไม่สามารถใช้ความลาดชันของเส้นอุปสงค์เป็นตัวชี้วัด
ระดับของความยืดหยุ่นของอุปสงค์ได้ เนื่องจากความลาดชันของเส้นอุปสงค์เป็นเพียง
องค์ประกอบหนง่ึ ของความยืดหยนุ่ ของอุปสงคเ์ ท่านัน้
ความแตกต่างท่เี หน็ ได้ชดั คอื

1. ค่าความยืดหยุ่นบนเส้นอุปสงค์ที่เป็นเส้นตรง มีได้หลายค่าต้ังแต่ศูนย์จนถึงอินฟิ
นติ ี้ (∞) ขณะทค่ี ่าความลาดชนั จะมีค่าเดียวเท่ากันตลอดท้ังเส้น (ตามคุณสมบัติของเส้นตรง)
และเปน็ ลบ (-) เสมอ

7

ในกราฟท่ี 3.6 จะเห็นได้ว่า ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาจะสูงกว่า 1 (Ed >
1) เมื่อสินค้าอยู่ ณ ระดับราคาสูงกว่า 10 บาท และค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาจะ
ต่ากว่า 1 (Ed < 1) เม่ือสินค้าอยู่ ณ ระดับราคาต่ากว่า 10 บาท ขณะที่ค่าความยืดหยุ่นของ
อปุ สงคต์ อ่ ราคาจะเท่ากับ 1 (Ed = 1) ในส่วนกลางของเสน้ อปุ สงค์ ณ ระดับราคา 10 บาท ซ่ึง
เป็นราคาท่ีไม่สูงไม่ต่า เน่ืองจากอัตราการเปลี่ยนแปลงของปริมาณการซื้อสินค้าและอัตรา
การเปลยี่ นแปลงของราคาเท่ากันพอดี (unitary elasticity)

โดยกรณีเดียวท่ีค่าความยืดหยุ่นจะมีค่าเท่ากันคือ เส้นอุปสงค์เป็นเส้นตรงขนานใน
แกนต้งั และแกนนอน

กราฟท่ี 3.6 แสดงค่าความยืดหย่นุ ที่มีไดห้ ลายคา่ บนเสน้ อุปสงค์ที่เปน็ เส้นตรง

ราคา(P)

20 Slope (-)
Ed > 1

10 Ed = 1
Ed < 1

D

02 4 ปริมาณ (Q)

2. เส้นอุปสงค์ท่ีมีความลาดชันมาก อาจจะมีค่าความยืดหยุ่นของเส้นอุปสงค์สูง
(elastic demand) และเส้นอุปสงค์ที่มีความลาดชันน้อย อาจจะมีค่าความยืดหยุ่นของอุป
สงค์ต่า (inelastic demand) ก็ได้

กรณีตัวอย่างในกราฟท่ี 3.7 เป็นการเปรียบเทียบระหว่างเส้นอุปสงค์ 2 เส้นโดยให้
เส้น DA มีความลาดชันเท่ากับ 3 และเส้น DB มีความลาดชันเท่ากับ 2 ถ้า ณ ราคา 20 บาท
ของสินค้า A และ ณ ราคา 5 บาท ของสินค้า B มีปริมาณการซ้ือสินค้าเท่ากับ 10 หน่วย
ความยืดหยุ่นต่อราคาของเส้น DA จะเท่ากับ (-1/3) (20/10) = -0.67 ส่วนความยืดหยุ่นต่อ

8

ราคาของเส้น DB จะเท่ากับ (-1/2) (5/10) = -0.25 จะเห็นว่า เส้น DA ซ่ึงแม้จะมีความลาด
ชนั มากกว่า DB แต่กส็ ามารถมคี วามยืดหยุ่นสงู กวา่ เส้น DB ได้

กราฟท่ี 3.7 แสดงค่าความลาดชันของเส้นอุปสงค์และความยดื หยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาทไี่ ม่
เหมือนกนั

ราคา(P)

Slope = - 3, Ed = -0.67
20

DA
5 Slope = - 2, Ed = -0.25

DB

0 10 ปริมาณ (Q)

3. ค่าความลาดชันของเส้นอุปสงค์จะเป็นตัวช้ีวัดค่าความยืดหยุ่นต่อราคาของอุป
สงค์ได้ ก็ต่อเม่ือมีการเปรียบเทียบความยืดหยุ่นต่อราคาของอุปสงค์ท่ีปริมาณการซ้ือสินค้า
และราคาสินค้าระดับเดียวกันเท่านั้น ซ่ึงในกรณีดังกล่าว เส้นอุปสงค์ท่ีมีความลาดชันน้อย
กวา่ จะมีความยดื หย่นุ ตอ่ ราคามากกว่าเสน้ อปุ สงคท์ ี่มคี วามลาดชันมากกว่าเสมอ

กรณีตัวอย่างในกราฟที่ 3.8 เป็นการเปรียบเทียบระหว่างเส้นอุปสงค์ 2 เส้น
เช่นเดียวกัน โดยกาหนดให้เส้น DA มีความลาดชันเท่ากับ 2 และเส้น DB มีความลาดชัน
เท่ากับ 4 เมือ่ พจิ ารณาที่ราคา 10 บาทและปรมิ าณ 10 หน่วย ซึง่ เปน็ ราคาและปริมาณท่ีเส้น
อุปสงค์ทงั้ 2 เส้นตัดกัน ความยืดหยุ่นต่อราคาของเส้น DA จะเท่ากับ (-1/2) (10/10) = -0.5
ส่วนความยดื หยนุ่ ต่อราคาของเส้น DB จะเท่ากับ (-1/4) (10/10) = -0.25 จะเห็นว่า เส้น DB
ซ่งึ เปน็ เส้นอุปสงคท์ ม่ี คี วามลาดชันมากกว่าเส้น DA จะมีความยืดหยุ่นต่อราคาต่ากว่าเส้น
DA

9

กราฟท่ี 3.8 แสดงกรณีท่เี ส้นอุปสงค์ทม่ี คี วามลาดชนั น้อยกวา่ จะมคี วามยดื หยนุ่ ต่อราคามากกวา่
เสน้ อุปสงค์ท่ีมคี วามลาดชนั มากกว่าเสมอ

ราคา(P)

Slope = - 4, Ed = -0.25

Slope = - 2, Ed = -0.5
10

DA
DB

0 10 ปริมาณ (Q)

3.1.1.5 ปจั จยั กาหนดค่าความยดื หยุ่นของอุปสงค์ตอ่ ราคา
1) ความสามารถในการทดแทนกันได้ของสินค้า - เป็นปัจจัยท่ีมีอิทธิพลสาคัญ
ท่ีสุด โดยสินค้าท่ีมีสินค้าอื่นทดแทนได้ง่ายจะมีค่าความยืดหยุ่นสูง และสินค้าที่มีสินค้าอ่ืน
ทดแทนได้ยากจะมีค่าความยดื หยุ่นตา่
2) ชนิดของสินค้า - แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ สินค้าจาเป็น ซ่ึงจะมีค่า
ความยืดหยุ่นตา่ และสินคา้ ฟ่มุ เฟอื ยซึ่งจะมคี ่าความยืดหยุ่นสูง
3) มูลค่าสนิ ค้าคิดเปน็ สัดส่วนของรายได้ - สินค้าที่มมี ูลคา่ คิดเป็นสัดส่วนต่อรายได้
ตา่ จะมีค่าความยืดหยุน่ ตา่ เชน่ ปากกา ดนิ สอ ยางลบ เป็นต้น ขณะท่ีสินค้าท่ีมีมูลค่าคิดเป็น
สัดสว่ นต่อรายได้สงู จะมีค่าความยืดหยุ่นสูง เช่น รถยนต์ เส้ือผ้าแบรนด์เนม เป็นต้น โดยผู้มี
รายได้นอ้ ยจะอ่อนไหวตอ่ การเปลย่ี นแปลงของราคามากกวา่ ผู้ทมี่ รี ายได้มาก
4) ระยะเวลาการปรับตัวนับตั้งแต่ราคาเปลี่ยนแปลง - ยิ่งระยะเวลาผ่านไป
ยาวนานเท่าไหร่ ค่าความยืดหยุ่นก็จะสูงมากข้ึนเท่าน้ัน เพราะผู้บริโภคพอท่ีจะหาสินค้าอ่ืน
มาใชท้ ดแทนได้ หรอื ปรับพฤติกรรมตวั เองให้มีการใช้สนิ คา้ ชนดิ นนั้ น้อยลง

10

3.1.1.6 ความยืดหยุ่นของอุปสงคแ์ ละรายรบั รวม (Total Revenue : TR)
การรู้ค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์จะทาให้เราสามารถใช้กลยุทธ์ทางราคาได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม ยกตัวอย่างเช่น
หากสินค้าของผู้ผลิตเป็นสินค้าท่ีมีค่าความยืดหยุ่นมาก คือ เป็นสินค้าฟุ่มเฟือย
ผ้ผู ลิตก็ควรจะระมดั ระวงั ในการเพ่ิมราคาสินค้า เพราะการเพ่ิมราคาจะย่ิงเป็นการผลักดันให้
รายได้ของผู้ผลิตลดลง เน่ืองจากผู้บริโภคไม่มีความจาเป็นต้องซ้ือสินค้าชนิดน้ัน โดยผู้ผลิต
ควรจะหันมาใช้กลยุทธ์การลดราคาสินค้า จึงจะเป็นการกระตุ้นยอดขายที่ดี เพราะการลด
ราคาจะทาใหป้ รมิ าณการซ้อื มีการตอบสนองเพ่มิ ขน้ึ อย่างมาก
ในทางตรงกันข้าม ถ้าสินค้าชนิดน้ันเป็นสินค้าท่ีมีค่าความยืดหยุ่นน้อย คือ เป็น
สนิ คา้ จาเปน็ กลับไม่เหมาะสมทจ่ี ะกระตุ้นยอดขายดว้ ยวธิ ีการลดราคา แต่ผู้ผลิตควรจะใช้กล
ยทุ ธ์การเพิม่ ราคาสินค้า เพราะสินค้าดังกล่าว เม่ือมีการเพ่ิมราคาข้ึน ปริมาณการบริโภคจะ
ลดลงเพียงเล็กนอ้ ยเทา่ นั้น ซงึ่ จะสง่ ผลทาให้รายรบั รวมเพ่มิ ขน้ึ ได้
กล่าวโดยสรุป รายรับรวม (Total Revenue : TR) = ผลคูณระหว่างราคากับ
ปริมาณ (P x Q) น่ันคือ
Ed > 1, TR ถา้ P
Ed < 1, TR ถ้า P
Ed = 1, TR ไม่เปลี่ยนแปลงเมอ่ื ราคาเปลีย่ น

3.1.2 ความยืดหยุ่นของอุปสงคต์ อ่ รายได้ (Income Elasticity Demand : Ey)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ตอ่ รายได้ เป็นการวดั เปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซ้ือที่มี
ตอ่ การเปลย่ี นแปลงของรายได้ ซึ่งเราสามารถประมาณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายทั้งแบบจุด
และแบบช่วง ได้เช่นเดียวกับการประมาณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา โดยสูตรในการ
คานวณแบบจุด ซึ่งเป็นการหาค่าความยดื หยนุ่ ณ ระดบั รายไดใ้ ดรายได้หน่งึ คอื

Income Elasticity Demand (Ey) = % การเปลย่ี นแปลงของปริมาณซอ้ื
= % การเปล่ียนแปลงของรายได้
=
∆Q x Y
เมอ่ื Y = รายได้ (Income) ∆Y Q
Q2 – Q1 x Y

Y2 – Y1 Q

11

ขณะทสี่ ตู รในการคานวณแบบชว่ ง ซงึ่ เปน็ การหาคา่ ความยืดหยนุ่ ณ รายได้ 2 ระดับ คอื

Income Elasticity Demand (Ey) = Q2 - Q1 x Y2 + Y1
Y2 - Y1 Q2 + Q1

3.1.2.1 ลกั ษณะของความยืดหยนุ่ ของอุปสงค์ต่อรายได้
แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ลักษณะคือ
ลักษณะแรก ถ้ารายได้เพิ่มข้ึน () การบริโภคสินค้าเพ่ิมข้ึน ()  แสดง
ว่าเป็นสินค้าปกติ (Normal Goods) เช่น เส้ือผ้าเคร่ืองนุ่งห่มต่างๆ เป็นต้น ยกตัวอย่างดัง
กราฟท่ี 3.9

กราฟที่ 3.9 สินคา้ ปกติ (Normal Goods)

รายได้ (Y)

D

2,000 B

1,000 A

Slope (+), Ey > 0

0 10 15 ปริมาณ (Q)

จากสูตร Ey ณ รายไดร้ ะหว่าง 1,000-2,000 บาท = Q2 - Q1 x Y2 + Y1 x
Y2 - Y1 Q2 + Q1

= 15-10

2,000+1,000

2,000-1,000 15+10
= 3 = 0.6

5

12

ลักษณะท่ีสอง ถ้ารายได้เพ่ิมขึ้น ()  แต่การบริโภคสินค้าชนิดน้ันกลับลดลง
()  แสดงว่าเป็นสินค้าด้อยคุณภาพ (Inferior Goods) เช่น เมื่อก่อนผู้บริโภคเคยใช้
น้าหอมราคาถูก แต่ต่อมาเมื่อมีรายได้เพ่ิมมากขึ้น ก็สามารถจะซ้ือน้าหอมยี่ห้อดังๆ ได้ เป็น
ตน้ ยกตวั อย่างดงั กราฟที่ 3.10

กราฟท่ี 3.10 สินคา้ ดอ้ ยคุณภาพ (Inferior Goods)

รายได้ (Y)

2,000 B Slope (-), Ey < 0

1,000 A

D

0 20 30 ปริมาณ (Q)

จากสตู ร Ey ณ รายไดร้ ะหว่าง 1,000-2,000 บาท = Q2 - Q1 x Y2 + Y1 x
Y2 - Y1 Q2 + Q1

= 20-30

2,000+1,000

2,000-1,000 20+30
= -3 = -0.6

5

กลา่ วโดยสรปุ คอื
Ey > 0 ซ่ึงมีเครอ่ื งหมายเป็นบวก (+) แสดงว่า เป็นสินคา้ ปกติ
Ey < 0 ซ่ึงมเี ครื่องหมายเปน็ ลบ (-) แสดงวา่ เปน็ สินคา้ ดอ้ ยคณุ ภาพ

13

3.1.3 ความยืดหย่นุ ของอุปสงค์ไขว้ (Cross Price Elasticity Demand : Ec)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้หรือความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าอื่น เป็นการวัด
เปอร์เซ็นต์การเปล่ียนแปลงของปริมาณซื้อท่ีมีต่อเปอร์เซ็นต์การเปล่ียนแปลงของราคาสินค้าอื่น ซ่ึง
สามารถประมาณค่าความยืดหยุ่นของอุปสงค์ไขว้ได้ทั้งแบบช่วงหรือแบบจุดเช่นเดียวกัน โดยสูตรใน
การคานวณแบบจุดคือ

Cross Price Elasticity Demand (Ec) = % การเปล่ยี นแปลงของปรมิ าณซอ้ื
ของราคาสนิ คา้ อื่น % การเปล่ียนแปลง

= = ∆QA x PB
ขณะทส่ี ตู รในการคานวณแบบช่วงคือ ∆PB QA
QA2 – QA1 x PB

PB2 – PB1 QA

Cross Price Elasticity Demand (Ec) = QA2 – QA1 x PB2 + PB1
PB2 – PB1 QA2 + QA1

3.1.3.1 ลกั ษณะความยืดหยนุ่ ของอุปสงคไ์ ขว้
แบ่งไดเ้ ป็น 2 ลักษณะคอื
ลักษณะแรก กรณีที่สินค้าสองชนิดใช้ทดแทนกัน เช่น กาแฟกับชา เป็นต้น แสดง
เป็นแผนภาพได้ดงั น้ี

PB  QB
 QA

กรณีนี้จะพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้า B กับปริมาณการซื้อสินค้า A
ซงึ่ มีทิศทางเดยี วกัน (+) ยกตวั อยา่ งดังกราฟท่ี 3.11

14

กราฟที่ 3.11 กรณีทส่ี นิ ค้าสองชนดิ ใช้ทดแทนกัน

ราคาสินคา้ B N Dสินคา้ A
M
15 Slope (+), Ec > 0
10

0 50 70 ปริมาณสินคา้ A

จากสตู รEc ณ ราคาสนิ ค้า B ระหวา่ ง 10-15 บาท = QA2 – QA1 x PB2 +
PB1
PB2 – PB1
QA2 + QA1
70-50 x 15 + 10
= 15-10 70+50
5  0.83
= 6

ซ่ึงเส้นความยืดหยุ่นในกรณีสินค้าที่ใช้ทดแทนกันนี้ สามารถแบ่งออกได้เป็น 3
รูปแบบ ดงั กราฟท่ี 3.12

15

กราฟท่ี 3.12 เสน้ ความยืดหยุ่นกรณที ่สี ินค้าสองชนิดใช้ทดแทนกันใน 3 รปู แบบ

PA

D รูปแบบท่ี 1 สินคา้ A และ B
0 ใชท้ ดแทนกนั ไดอ้ ยา่ งสมบรู ณ์
PA
QB

D รูปแบบท่ี 2 สินคา้ ดอ้ ยคุณภาพ
เมื่อ PA QB

0 QB

PA

รู ปแบบที่ 3 สิ นค้าท่ีไม่
สามารถทดแทนกนั ไดเ้ ลย เช่น
น้ าประปากับไฟฟ้ า เป็ นต้น
เส้นจะมีลกั ษณะต้งั ฉาก นนั่ คือ
D PA ไม่มีผลต่อการเปล่ียนแปลง
ของ QB

0 QB

16

ลกั ษณท่ีสอง กรณที ส่ี นิ ค้าสองชนิดใช้ประกอบ/ คู่กัน เช่น กาแฟกับคอฟฟีเมต เป็น
ตน้ แสดงเป็นแผนภาพได้ดงั นี้

PB  QB
 QA

กรณีน้ีจะพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างราคาสินค้า B กับปริมาณการซื้อสินค้า A
ซึ่งมที ิศทางตรงกนั ขา้ มกัน (-) ยกตวั อยา่ งดงั กราฟท่ี 3.13

กราฟที่ 3.13 กรณีที่สนิ ค้าสองชนดิ ใช้ประกอบกัน

ราคาสินคา้ B

15 M Slope (-), Ec < 0

10 N

Dสินคา้ A

0 60 80 ปริมาณสินคา้ A

จากสตู รEc ณ ราคาสินคา้ B ระหว่าง 10-15 บาท = QA2 – QA1 x PB2 +
PB1
PB2 – PB1
QA2 + QA1
80-60 x 10 + 15
= 10-15 80+60
-5  -0.71
= 7

17

กล่าวโดยสรุปคือ
Ec > 0 ซึ่งมีเครื่องหมายเป็นบวก (+) แสดงว่า เป็นกรณีที่สินค้าสองชนิดใช้ทดแทน
กัน
Ec < 0 ซ่ึงมีเคร่ืองหมายเป็นลบ (-) แสดงว่า เป็นกรณีท่ีสินค้าสองชนิดใช้ประกอบ/
คกู่ ัน

3.2 ความยดื หยนุ่ ของอปุ ทาน (Elasticity of Supply)
ในการพิจารณาว่า ผู้ผลิตจะมีความต้องการนาสินค้าออกขาย เม่ือราคาสินค้ามีการ

เปลี่ยนแปลงไปมากหรอื นอ้ ยเทา่ ไหร่ จะดจู ากเรอ่ื งความยืดหยุน่ ของอุปทาน

3.2.1 ความยืดหยนุ่ ของอุปทานต่อราคา (Price Elasticty of Supply)
ความยืดหยุ่นของอุปทานมีอยู่เพียงแบบเดียวคือ ความยืดหยุ่นของอุปทานต่อราคา ซึ่งเป็น
การวดั เปอรเ์ ซ็นตก์ ารเปลี่ยนแปลงของปรมิ าณขายท่มี ีตอ่ การเปลี่ยนแปลงของราคาขาย มีสูตรในการ
คานวณ คอื

Elasticity of Supply (Es) = % การเปลี่ยนแปลงของปรมิ าณขาย
% การเปลี่ยนแปลงของราคาขาย

= ∆Q/Q = ∆Q x P
∆P/P ∆P Q

สูตรดังกล่าวเป็นการคานวณหาความยืดหยุ่นของอุปทาน ณ ราคาใดราคาหนึ่ง ดังจะ
กลา่ วตอ่ ไปในหัวขอ้ ท่ี 3.2.1.1 ซึง่ การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานน้ันไม่ได้มีความแตกต่าง
จากการหาความยืดหยุ่นของอุปสงค์ เพียงแต่สัญลักษณ์ท่ีใช้แทนคือ ตัว Es และความยืดหยุ่นของ
อุปทานจะมีเครื่องหมายเป็นบวก (+) เนื่องจากเม่ือราคาสินค้าเพ่ิมข้ึน ผู้ผลิตก็จะนาสินค้าออกมา
ขายเพ่ิมมากขึ้น (PS) และเม่ือราคาสินค้าลดลง ผู้ผลิตก็จะนาสินค้าออกมาขายลดลง
(PS) ความสัมพนั ธ์จงึ เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

3.2.1.1 การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานแบบจุด (ณ ราคาที่กาหนด
เชน่ ท่ีจุด A หรอื B)

การคานวณหาค่าความยืดหยุ่นของอุปทานแบบจุด สามารถแสดงตัวอย่างดังกราฟ
ท่ี 3.14 โดยกาหนดใหห้ าคา่ Es ณ ราคา 15 บาท

18

กราฟที่ 3.14 การคานวณหาคา่ ความยดื หยนุ่ ของอปุ ทานแบบจุด

ราคา(P)

S

15 B

10 A
Slope (+)

0 300 320 ปริมาณ (Q)

จากสูตร Es ณ ราคา 15 บาท = Q2 – Q1 x P2

เมอ่ื แทนคา่ จะได้ = P2 – P1 คQ่า2ความยดื หยนุ่ บอกทิศทาง
320 - 300 x 15 ความสมั พนั ธ์ (Direction)
=
15 - 10 320ระหวา่ งราคากบั ปริมาณซ่ึง
+ 3  0.19 เป็นไปในทิศทางเดียวกนั

16 ฉะน้นั จึงเป็ นบวก (+) เสมอ

3.2.1.2 การคานวณหาคา่ ความยดื หยุน่ ของอุปทานแบบช่วง
ในการพิจารณาว่า สินค้าชนิดใดชนิดหน่ึงมีความยืดหยุ่นของอุปทานมากหรือน้อย
เราไม่สามารถใช้การหาค่าความยืดหยุ่น ณ จุดใดจุดหนึ่งเป็นตัวตัดสินได้ ดังน้ันจึงต้องใช้
วิธีการคานวณหาค่าความยืดหยนุ่ ของอปุ ทานแบบช่วง
โดยสูตรในการคานวณหาคา่ ความยดื หยุน่ ของอุปทานแบบช่วง คือ

Es = ∆Q/ (Q2+Q1)
∆P/ (P2+P1)

= (Q2-Q1) x (P2+P1)
(P2-P1) (Q2+Q1)

19

จากตวั อยา่ งเดิมในกราฟท่ี 3.14 กาหนดโจทย์ใหม่ให้หาค่า ES ณ ราคาระหว่าง 10-
15 บาท โดยแสดงตวั อย่างกรณีสินค้ามีคา่ ความยืดหยุน่ นอ้ ยดงั กราฟท่ี 3.15 และกรณีสินค้า
มีคา่ ความยืดหยนุ่ มากดงั กราฟที่ 3.16

กราฟท่ี 3.15 การคานวณหาค่าความยดื หยนุ่ ของอุปทานแบบช่วง กรณีสนิ ค้ามีคา่ ความยืดหยนุ่
นอ้ ย

ราคา(P)

ES ณ ราคาระหวา่ ง 10-15 บาท S
Slope (+)
15 B

10 ∆P A

∆Q ปริมาณ (Q)
0 300 320
(Q2-Q1) x (P2+P1)
จากสตู ร Es ณ ราคาระหว่าง 10-15 บาท = (P2-P1) (Q2+Q1)
(320-300) x (15+10)
=
15-10 320+300

0.16

จะเห็นได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของราคาท่ีมากข้ึน มีผลต่อสัดส่วนการเปล่ียนแปลง
ของปริมาณเพียงนิดเดียว โดยมีค่าความยืดหยุ่น ES เท่ากับ 0.16 น่ันคือ ถึงแม้ราคาจะเพ่ิม
สงู ขึ้น ผูผ้ ลติ กส็ ามารถท่ีจะนาสินค้าออกมาขายได้เพิ่มขนึ้ เพียงเล็กน้อยเทา่ นน้ั

20

กราฟที่ 3.16 การคานวณหาคา่ ความยดื หยุน่ ของอปุ ทานแบบชว่ ง กรณสี ินค้ามคี า่ ความยืดหย่นุ
มาก

ราคา(P)

ES ณ ราคาระหวา่ ง 10-15 บาท S
Slope (+)
15 B
10 ∆P
A

∆Q
0 300 500 ปริมาณ (Q)

จากสตู ร Es ณ ราคาระหว่าง 10-15 บาท = (Q2-Q1) x (P2+P1)
= (P2-P1) (Q2+Q1)
= (500-300) x (15+10)

15-10 500+300
1.25

จะเห็นได้ว่า สัดส่วนการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้ันมากกว่าการเปล่ียนแปลงของ
ราคา โดยมีค่าความยืดหยุ่น ES เท่ากับ 1.25 น่ันคือ ราคาท่ีเพิ่มสูงข้ึนเพียงเล็กน้อย มีผลทา
ให้ผู้ผลติ สามารถนาสนิ ค้าออกมาขายเพิม่ ขนึ้ ได้ในปริมาณมาก

ดังน้ันจากการคานวณหาค่าความยืดหยุน่ ของอุปทานทัง้ 2 กรณี สามารถสรปุ ไดว้ า่
Es > 1  มีความยืดหยนุ่ มาก (Elastic)
Es < 1  มีความยืดหยุ่นน้อย (Inelastic)

21

สาหรับสินค้าท่ีมีความยืดหยุ่นมาก ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้ากลุ่มอุตสาหกรรมท่ีเมื่อ
ราคาสินค้าเกิดการเปลีย่ นแปลง ผผู้ ลิตก็สามารถทจ่ี ะผลิตสนิ คา้ ออกมาตอบสนองต่อตลาดได้
อย่างรวดเร็วและในปริมาณมาก ขณะที่สินค้าที่มีความยืดหยุ่นน้อย ส่วนใหญ่จะเป็นสินค้า
กลุ่มเกษตรกรรมหรือหัตถกรรม ซึ่งแม้จะมีราคาหรือปริมาณความต้องการเพิ่มมากขึ้น
ผู้ผลิตก็สามารถท่ีจะผลิตสินค้าออกมาตอบสนองต่อตลาดได้ช้าและเพิ่มข้ึนในจานวนเพียง
เล็กน้อยเท่านนั้

3.2.2 ลกั ษณะของความยดื หย่นุ ของอุปทาน
ลักษณะความยืดหยุ่นของอุปทานสามารถจาแนกตามทฤษฎีได้ท้ังหมด 5 ประเภท

เชน่ เดยี วกนั กับอุปสงค์ ดังแสดงในกราฟที่ 3.17

กราฟท่ี 3.17 ลักษณะเสน้ อุปทานจาแนกตามความยืดหยุน่

ราคา(P) Es= 0 Es< 1
Es= 1

Es> 1

Es = ∞

0 ปริมาณ (Q)

จากกราฟ จะเห็นได้ว่า กรณีท่ีอุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ (Es = 0) คือ
ไม่ว่าราคาจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ปริมาณการขายสินค้าชนิดนั้นก็ยังคงเท่าเดิม ส่วน
ใหญ่สินค้าประเภทนี้จะเป็นสินค้าที่มีอยู่จากัด เช่น วัตถุโบราณ พระเคร่ืองรุ่นหายาก
ภาพวาดของศิลปินช่ือดัง เป็นต้น หากใครอยากได้สินค้าชนิดนี้จะต้องแข่งขันกันท่ีราคา
นอกจากนยี้ งั รวมถึงสินค้าท่พี จิ ารณาในชว่ งส้ันๆ วา่ ไมส่ ามารถท่จี ะผลิตเพม่ิ ได้

22

กรณีที่อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ 1 (Es = 1) คือ ปริมาณกับราคา
ตอบสนองต่อการเปลย่ี นแปลงเท่ากนั ซึง่ ไม่มจี รงิ

กรณีที่อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1 (Es < 1) ดังได้แสดงไปในกราฟที่
3.15

กรณีที่อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นมากกว่า 1 (Es > 1) ดังได้แสดงไปในกราฟที่
3.16

และสดุ ท้าย กรณีที่อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นเท่ากับ ∞ (Es = ∞) คือ ปริมาณกับ
ราคา ตอบสนองตอ่ การเปล่ยี นแปลงอย่างไม่จากดั ซ่ึงไม่มจี รงิ เชน่ กนั

จากกรณีท่ีกล่าวมาทั้งหมด ส่วนใหญ่เราจะพิจารณาในกรณีท่ีอุปทานมีค่าความ
ยืดหยุ่นเท่ากับศูนย์ กรณีที่อุปทานมีค่าความยืดหยุ่นน้อย และกรณีที่อุปทานมีค่าความ
ยืดหยุ่นมาก เป็นหลัก ส่วนกรณีอื่นๆ เป็นแต่เพียงทฤษฎีหรือเกิดขึ้นเป็นปรากฏการณ์ใน
ระยะเวลาสัน้ ๆ เทา่ นั้น

3.3 การประยกุ ตใ์ ช้ความยดื หยุ่นเพ่ือวิเคราะหป์ ญั หาทางเศรษฐกิจ

3.3.1 ประโยชน์ของความยืดหย่นุ
ประโยชน์ของการศึกษาในเรื่องความยืดหยุ่น เราสามารถจะนามาใช้ในการวิเคราะห์ปัญหา
ทางเศรษฐกิจตา่ งๆ ไดใ้ น 6 ลักษณะสาคัญดว้ ยกันคือ
1) เรือ่ งของภาษแี ละภาระของภาษี ว่าเมื่อมีการข้ึนภาษีแล้ว ภาษีน้ันจะถูกจ่ายโดยใคร หรือ
ถูกผลกั ภาระให้กบั ใคร
2) การแก้ไขปญั หาการค้าระหว่างประเทศ
3) การกาหนดราคาสินค้า ว่าควรจะกาหนดราคาเท่าไหร่จึงจะไม่กระทบกระเทือนต่อ
ผ้บู ริโภคหรือผู้ผลิตมากนัก
4) การประกนั ราคาสนิ คา้ ทางการเกษตร
5) การกาหนดราคาของสนิ ค้าในตลาด
6) การกาหนดราคาสนิ ค้าสาธารณะ
ซึ่งในที่น้ีจะขอกล่าวถึงการนาเรื่องความยืดหยุ่นมาวิเคราะห์มาตรการแทรกแซงของ
รัฐบาลในรูปแบบของการกาหนดราคาข้ันสูงและการกาหนดราคาข้ันต่าหรือการประกันราคา และ
เรอ่ื งการแทรกแซงตลาดโดยการเก็บภาษี โดยจะพิจารณาผลกระทบจากมาตรการแทรกแซงดังกล่าว
ตอ่ ดลุ ยภาพของการซ้ือขายสินคา้

3.3.2 การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาล
การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาลมี 2 ลกั ษณะคือ

23

3.3.2.1 การกาหนดราคาขั้นต่า (Floor Price : PF) เป็นมาตรการเพ่ือช่วยเหลือผู้ผลิต
แก้ปญั หาอปุ ทานสว่ นเกนิ

3.3.2.2 การกาหนดราคาขั้นสงู (Price Ceiling : PC) เปน็ มาตรการเพ่ือช่วยเหลือผู้บริโภค
แก้ปญั หาอุปสงคส์ ว่ นเกนิ

3.3.2.1 การกาหนดราคาข้นั ต่า (Floor Price : PF)
ราคาข้ันต่า (Floor Price หรือ Minimum price หรือ Price Support) หมายถึง
ราคาตา่ สุดทถ่ี กู กาหนดข้นึ มาในระดับท่ีสงู กว่าราคาดุลยภาพอันเกิดจากการทางานของกลไก
ราคา เพอ่ื ป้องกนั ไม่ใหร้ าคาสินค้าชนิดตา่ งๆ ตา่ เกินไป
การกาหนดราคาข้ันต่าจะเกิดขึ้นในฝ่ังของอุปทาน เป็นมาตรการที่ใช้ในการ
ชว่ ยเหลือผู้ผลิต เรียกอกี อยา่ งวา่ การประกันราคา หรือ การพยุงราคา ที่เห็นได้ชัดคือ กรณี
การช่วยเหลือเกษตรกรในการประกันราคาสนิ ค้าทางการเกษตร เมื่อรัฐบาลพิจารณาเห็นว่า
ราคาตลาดหรือราคาดุลยภาพของสินค้าเกษตรในช่วงเวลาหนึ่งเป็นราคาที่ต่าเกินไป ไม่ได้
สะท้อนตน้ ทนุ การผลิตที่แท้จรงิ ทาให้เกษตรกรเดือดร้อน รัฐบาลก็จะมีนโยบายประกันราคา
สนิ ค้าให้สงู กวา่ ราคาดลุ ยภาพเพอื่ เปน็ การช่วยเหลอื เกษตรกร ดังแสดงในกราฟที่ 3.18

กราฟท่ี 3.18 การกาหนดราคาข้นั ต่า (ช่วยเหลือผู้ผลติ / เกษตรกร)

ราคา(P)

ราคาข้นั ต่า Excess Supply Sตลาด ดลุ ยภาพของตลาด
ท่ีรัฐประกนั (Market Equilibrium)
AB
PF E

PM

ราคาตลาด Dตลาด
(ราคาดุลยภาพ QF

ที่ D=S)

0 QD QM ปริมาณ (Q)

24

จากกราฟ เส้นอุปทาน (เส้นสีเขียว) แทนผู้ผลิตซ่ึงเป็นเกษตรกร ส่วนเส้นอุปสงค์
(เส้นสีชมพู) คือ ผู้บริโภคท่ีเป็นประชาชนทั่วไป เม่ือราคาตลาดของสินค้าเกษตรที่ PM นั้น
เป็นราคาที่ต่าเกินไป หากยังคงปล่อยให้ตลาดปรับตัวไปตามการทางานของกลไกราคา จะ
ก่อให้เกิดผลกระทบต่อเกษตรกร รัฐบาลจึงต้องเข้ามาแทรกแซงด้วยการประกันราคาขั้น
ตา่ ท่ี PF

การเข้ามาแทรกแซงตลาดดังกล่าว ส่งผลให้เกษตรกรต้องการนาสินค้าออกมาขาย
เพ่ิมมากขึ้น ขณะท่ีผู้บริโภคลดจานวนการซื้อลงเน่ืองจากการเพ่ิมข้ึนของราคา ทาให้สินค้า
ล้นตลาด (Surplus) ดังจะเห็นว่า ณ จุด AB เกิดสิ่งที่เรียกว่า อุปทานส่วนเกิน (Excess
Supply) ข้นึ ซ่ึงถา้ เป็นไปตามกลไกตลาดปกติ ราคาสินค้าเกษตรก็จะถูกดันกลับลงมายังจุด
PM ท่ีเป็นดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) แต่การเข้ามาแทรกแซงของรัฐบาลทา
ใหก้ ลไกตลาดเกิดการบิดเบอื นไป

การจะแก้ปัญหาอุปทานส่วนเกินที่เกิดข้ึน เพื่อให้การทางานของกลไกตลาดกลับมา
สจู่ ดุ ดลุ ยภาพ รฐั บาลสามารถกระทาไดใ้ น 2 ลกั ษณะคือ

ลกั ษณะที่ 1 รฐั บาลรบั ซ้อื อุปทานส่วนเกนิ
ลักษณะท่ี 2 รัฐบาลจ่ายเงินอดุ หนุนใหแ้ ก่เกษตรกร
ซง่ึ สามารถอธบิ ายรายละเอยี ดได้ดงั น้ี

 ลักษณะที่ 1 รฐั บาลรับซอ้ื อปุ ทานส่วนเกิน
คือการที่รัฐรับซื้อผลผลิตท่ีเกษตรกรผลิตข้ึนมาเหลือเกินความต้องการของ

ผูบ้ รโิ ภค ดงั แสดงตัวอยา่ งกรณสี ินค้าออ้ ยในกราฟท่ี 3.19

กราฟที่ 3.19 การประกนั ราคาขั้นต่าโดยรัฐบาลรับซ้ืออุปทานสว่ นเกนิ

25

ราคาออ้ ย (P)

Shift ขนึ้

ราคาข้นั ต่า Excess Supply Sตลาด ดุลยภาพใหม่ของตลาด
ท่ีรัฐประกนั E/ (Market Equilibrium)
A
PF 800 E B ดลุ ยภาพเดมิ ของตลาด
(Market Equilibrium)
PM 700

ราคาตลาด D/ตลาด
(ราคาดลุ ยภาพ
รัฐบาลจ่าย Dตลาด
ที่ D=S)

0 8,000 10,000 12,000 ปริมาณออ้ ย (Q)

QD QM QF

จากกราฟ จะเห็นว่า ราคาตลาดของอ้อยคือ 700 บาท (PM) และมีปริมาณความ

ต้องการอ้อยอยทู่ ่ี 10,000 ตนั (QM) โดยดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium) อยู่ท่ีจุด

E

เม่ือรัฐบาลเข้ามาแทรกแซงโดยการประกันราคาขั้นต่าที่ 800 บาท (PF) ส่งผลให้

เกษตรกรนาอ้อยออกมาขายเพิ่มมากขึ้นเป็น 12,000 ตัน (QF) ขณะเดียวกันการท่ีราคาเพิ่ม

สูงขึ้น ก็ส่งผลให้โรงงานน้าตาลลดการรับซื้ออ้อยลงไปอยู่ท่ี 8,000 ตัน (QD) จึงทาให้เกิด

อปุ ทานส่วนเกนิ (Excess Supply) ข้นึ ที่จุด AB

การแก้ปญั หาดงั กล่าว สามารถทาได้โดยรัฐบาลเข้ามารับซื้ออุปทานส่วนเกินท้ังหมด

ที่เกิดข้ึนในตลาด ซ่ึงจะต้องใช้งบประมาณเท่ากับพื้นท่ี ABQFQD (พื้นท่ีเส้นแรเงา) หรือคิด

เป็นจานวนเงนิ เทา่ กบั

รัฐบาลใช้งบประมาณ = PF x (QF-QD)
= 800 x (12,000-8,000)
= 3,200,000 บาท

หน่วยงานซึ่งมีหน้าท่ีเข้ามารับช่วงต่อจากนโยบายรัฐบาลในการรับซื้อส่วนเกินคือ
องค์การคลังสินค้า (อคส.) โดยจะนาสินค้าท่ีรับซ้ือเข้าไปเก็บไว้ในคลังสินค้า (ซึ่งยังต้องมี
ภาระคา่ ใช้จ่ายอีก) จากนนั้ รอจนระยะหนงึ่ ถึงจะนาสนิ ค้าเหลา่ นีอ้ อกมาขาย

26

ผลจากการเข้ามารับซื้อส่วนเกิน ทาให้เส้นอุปสงค์ D (เสีนสีชมพู) เกิดการ
เปล่ียนแปลงโดย Shift ข้ึนไปทางขวาของเส้นเดิม กลายเป็นเส้นอุปสงค์ใหม่คือ D/ (เส้นสี

แดง) นั่นคือ เป็นการเพิ่มอุปสงคห์ รือความตอ้ งการสนิ คา้ ใหม้ ากขนึ้ ทาให้เกิดดุลยภาพใหม่
ของตลาดข้ึนทจี่ ุด E/

สาหรบั ภาระท่รี ัฐบาลต้องเข้ามาแบกรับจะมากหรือน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นอยู่กับระดับ

ราคาท่ีเข้าไปประกันและจานวนผลผลิตส่วนเกินท่ีเกิดข้ึนในตลาด ซึ่งจานวนส่วนเกินจะถูก

กาหนดจากความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทานโดยเปรียบเทียบของสินค้าที่เข้าไป

แทรกแซงอกี ทอดหนึง่ ดงั แสดงในกราฟท่ี 3.20

กราฟที่ 3.20 รัฐบาลรบั ซ้ืออุปทานสว่ นเกนิ ในกรณีความยืดหย่นุ ของอุปสงค์นอ้ ยลง

ราคา(P) Shift ขนึ้

D1ตลาด D/ตลาด D/1ตลาด ดุลยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)
ราคาข้นั ต่า Dตลาด (Ed < 1) Excess Supply Sตลาด
ที่รัฐประกนั B ดุลยภาพเดมิ ของตลาด
(Market Equilibrium)
PF C A

PM E

ราคาตลาด รัฐบาลจ่าย
(ราคาดุลยภาพ

ที่ D=S)

0 QD QM QF ปริมาณ (Q)

จากกราฟ เปน็ ตวั อยา่ งในกรณที เ่ี ส้นอปุ สงค์มีค่าความยืดหยุ่นน้อยลง (Ed < 1) โดย
กาหนดให้เส้นอุปสงค์เปลี่ยนจาก เส้น D มาเป็น D1 (เส้นสีชมพู) และเมื่อรัฐบาลเข้ามา

27

ประกนั ราคาขั้นต่า ทาให้เส้นเกิดการ Shift ขึ้นไปทางขวาของเส้นเดิม กลายเป็นเส้นอุปสงค์
ใหม่ โดยเปลี่ยนจากเส้น D/ เป็น D/1 (เส้นสีแดง) ดังกราฟท่ี 3.20 จะเห็นว่า งบประมาณท่ี
รฐั บาลต้องใช้ในการรบั ซ้ือสนิ คา้ เกษตรจะลดลง เน่อื งจาก ณ ทร่ี าคาประกัน PF เส้นอุปสงค์ท่ี
มีความยืดหยุ่นต่าทาให้เกิดอุปทานส่วนเกิน (จุด AB) น้อยกว่าในกรณีที่เส้นอุปสงค์มีความ
ยดื หยุ่นมากกวา่ (จดุ CB)

 ลักษณะท่ี 2 รฐั บาลจ่ายเงนิ อดุ หนุนใหแ้ ก่เกษตรกร
คือการท่ีรัฐบาลต้องการให้เกษตรกรขายผลผลิตที่ผลิตออกมาได้ทั้งหมดและขายใน
ราคาที่รฐั บาลประกันไว้ โดยไมต่ อ้ งไปจัดหาสถานท่ีเก็บสินค้าและไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการ
ดูแลรักษาผลผลิต เรียกวิธีการนี้ว่า Subsidy ซ่ึงจะเป็นการจ่ายเงินให้เท่ากับส่วนต่างที่
หายไป คือ รายได้ท่ีเกษตรกรขายได้จริงกับรายได้ท่ีรัฐประกันราคาขั้นต่าไว้ ขณะท่ีในตลาด
จะยังคงมีปริมาณสินค้าเท่าเดิม น่ันคือ รัฐยังคงปล่อยให้มีการซ้ือขายสินค้าเกษตรไปตาม
กลไกราคาในตลาด โดยจะขอยกตัวอย่างเดมิ ในกรณีสนิ ค้าอ้อย ดงั กราฟท่ี 3.21

กราฟท่ี 3.21 รัฐบาลจา่ ยเงินอุดหนนุ ใหแ้ ก่เกษตรกร

ราคาออ้ ย (P)

S/ตลาด Sตลาด
ส่วนตา่ ง (ES = 0)
ราคาข้นั ต่า ดุลยภาพของตลาด
ท่ีรัฐประกนั Excess Supply (Market Equilibrium)

PF 800 A CB

รัฐบาลจ่าย E
PM 700

ราคาตลาด Dตลาด
(ราคาดลุ ยภาพ 0 8,000 10,000 Fix ปริมาณตลาด

ที่ D=S) QD QM/ QF

ปริมาณออ้ ย (Q)

จากกราฟในตัวอย่างเดิม เมื่อรัฐบาลเข้ามาแทรกแซงตลาดสินค้าอ้อยโดยการ
ประกนั ราคาขน้ั ต่าที่ 800 บาท (PF) หากรัฐบาลไม่มีการดาเนินการใดๆ ต่อ โรงงานน้าตาลก็

28

จะลดปริมาณการรับซื้ออ้อยลงไปอยู่ท่ี 8,000 ตัน (QD) ซึ่งจะทาให้เกิดอุปทานส่วนเกิน
(Excess Supply) ขึ้นท่จี ุด AB

การแกป้ ญั หาดังกลา่ ว นอกจากการเข้ามารับซื้ออุปทานสว่ นเกินทั้งหมดดังในวิธีแรก

แล้ว รัฐบาลยังสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยวิธีการจ่ายเงินอุดหนุน ซึ่งวิธีนี้แตกต่างจากวิธีแรก

ตรงทปี่ ริมาณตลาดจะถูกกาหนดไวต้ ายตวั น่ันคอื รัฐบาลจะต้องรู้ปริมาณที่แน่นอนว่า จะมี
สนิ คา้ เกษตรถูกผลิตออกมาสตู่ ลาดในปรมิ าณเทา่ ไหร่2 และเม่ือขายในปริมาณเท่านี้จะมีผู้เข้า

มารับซ้ือท้ังหมด เส้นอุปทานจึงมีลักษณะตั้งฉากกับแกนนอน โดยมีค่าความยืดหยุ่นของ

อุปทานเท่ากบั ศนู ย์ (ES = 0)
สาหรับงบประมาณที่รัฐบาลจะต้องใช้ในการจ่ายเงินอุดหนุนจะเท่ากับ PFCEPM

(พน้ื ทเี่ ส้นแรเงา) หรอื คิดเป็นจานวนเงินเท่ากบั

รฐั บาลใชง้ บประมาณ = (PF-PM) x QM
= (800-700) x 10,000
= 1,000,000 บาท

วิธีการจ่ายเงินอุดหนุนน้ี รัฐบาลจะกระทาโดยผ่านพ่อค้าคนกลาง ในกรณีน้ีคือ
โรงงานนา้ ตาล ซง่ึ จะเขา้ มาประมลู เพือ่ ทาหน้าท่ีแทนรัฐบาลด้วยการรับซื้ออ้อยจากเกษตรกร
ทปี่ รมิ าณ 10,000 ตนั (QM) ในราคาประกันที่ 800 บาท (จากเดิมที่รับซ้ืออยู่ 700 บาท) โดย
สว่ นต่างท่ีเกิดข้ึน (800-700 = 100 บาท) ณ จุด AC รัฐบาลจะเป็นผู้รับภาระในการจ่ายเงิน
อุดหนนุ สว่ นนนั้ ใหแ้ ก่โรงงานนา้ ตาลแทนเกษตรกร

กล่าวโดยสรุป การช่วยเหลือผู้ผลิตโดยการประกันราคาขั้นต่าทั้ง 2 ลักษณะ จะทา
ให้ราคาทรี่ ฐั บาลเข้ามาแทรกแซงสูงกว่าราคาตลาด (PF > PM) โดยการแทรกแซงด้วยการรับ
ซ้ืออุปทานส่วนเกินจะทาให้ปริมาณความต้องการสินค้าในตลาดเพิ่มมากขึ้น ขณะท่ีการ
จ่ายเงินอุดหนนุ น้นั ปริมาณความตอ้ งการสนิ คา้ ในตลาดยงั คงเทา่ เดมิ

3.3.2.2 การกาหนดราคาข้นั สงู (Price Ceiling : PC)
การแทรกแซงราคาโดยรัฐบาลไม่ได้เกิดข้ึนกับกรณีของสินค้าเกษตรอย่างเดียว
บางคร้ังรัฐบาลก็เข้ามาแทรกแซงในกรณีท่ีเป็นสินค้าทั่วๆ ไป อย่างสินค้าอุปโภคบริโภคหรือ
สินคา้ จาเป็นต่างๆ ดว้ ย โดยใชว้ ิธกี ารกาหนดราคาขัน้ สงู

2ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการประกาศราคาข้นั ต่า จะเป็ นในช่วงที่เกษตรกรไม่สามารถเพาะปลูกเพิ่มไดอ้ ีกแลว้ เพื่อ
วา่ ราคาตลาดจะไดอ้ ยสู่ ูงและภาระการจ่ายเงินอุดหนุนจะลดนอ้ ยลงไปดว้ ย ซ่ึงก็คือ ช่วงเวลาท่ีการเก็บเกี่ยวเสร็จ
สิ้นลง

29

ราคาข้ันสูง (Price Ceiling หรือ Maximum Price) นั้นหมายถึง ราคาสูงสุดที่ถูก
กาหนดข้ึนมาในระดับที่ต่ากว่าราคาดุลยภาพอันเกิดจากการทางานของกลไกราคา เพ่ือ
ป้องกันไม่ให้ราคาสนิ คา้ ชนดิ ตา่ งๆ สงู เกนิ ไป

การกาหนดราคาขั้นสงู จะเกดิ ขึ้นในฝงั่ ของอุปสงค์ เม่อื รัฐบาลเหน็ วา่ ราคาตลาดหรือ
ราคาดุลยภาพของสินค้าอุปโภคบริโภคในช่วงเวลาหน่ึงเป็นราคาท่ีสูงเกินไป ทาให้ผู้บริโภค
เดือดรอ้ น เชน่ ในภาวะที่เกดิ เงินเฟ้อรุนแรง ภาวะที่ราคาสินค้าถีบตัวสูงข้ึนจนทาให้สินค้าใน
ตลาดขาดแคลน หรอื ภาวะสงคราม เป็นตน้ รฐั บาลจึงต้องมีนโยบายเข้ามาแทรกแซงโดยการ
กาหนดราคาข้ันสูง เพ่ือพยุงราคาให้เกิดการผลิตที่มากขึ้น จนกระท่ังสินค้านั้นๆ มีราคาท่ี
สมดลุ ดังแสดงในกราฟที่ 3.22

กราฟที่ 3.22 การกาหนดราคาขัน้ สงู (ช่วยเหลอื ผู้บรโิ ภค)

ราคา(P)

ราคาตลาด Sตลาด
(ราคาดลุ ยภาพ

ท่ี D=S)

PM E ดุลยภาพของตลาด
PC AB (Market Equilibrium)

ราคาข้นั สูง Excess Demand ปริมาณ (Q)
ที่รัฐประกนั Dตลาด

0 QD QM QC

จากกราฟ แสดงกรณที ี่เกิดปญั หาสินค้าขาดตลาด เพื่อช่วยเหลือไม่ให้ผู้บริโภคได้รับ
ความเดือดร้อนจากการซ้ือสินค้าในราคาที่สูงเกินไป รัฐบาลจึงต้องเข้าไปแทรกแซงการ
ทางานของกลไกราคา โดยการทาใหร้ าคาตา่ ลง ด้วยการกาหนดราคาข้ันสูงที่จุด PC ซึ่งต่ากว่า
ราคาดุลยภาพที่จุด PM เพ่อื ใหเ้ กดิ ความสมดุลหรอื ความตอ้ งการในการซ้ือสินค้าทเี่ หมาะสม

ผลทีต่ ามมาคือ เมอ่ื ราคาลดลงต่า ผู้ผลิตก็จะขายสินค้าลดลงโดยจะนาสินค้าออกมา
ขายเพียง QD ในขณะที่ทางด้านผู้บริโภคจะมีความต้องการซื้อสินค้าเพิ่มมากขึ้นเป็น QC จึง

30

ก่อให้เกิดการขาดแคลนสินค้า (Shortage) หรือ อุปสงค์ส่วนเกิน (Excess Demand)
ขึ้นในตลาด

กรณีปัญหาท่ีเกิดข้ึนดังกล่าว รัฐบาลจึงต้องเข้ามาแทรกแซงเพื่อแก้ปัญหาอุปสงค์
สว่ นเกินในตลาด โดยมีมาตรการดว้ ยกัน 2 ลักษณะ ดังแสดงในกราฟที่ 3.23

กราฟท่ี 3.23 การกาหนดราคาขนั้ สงู โดยวิธีปันส่วนสินคา้ และการจดั หาสนิ ค้ามาเพ่มิ ในตลาด

ราคา(P) 1 ใชว้ ธิ ีปันส่วนสินคา้
2 จดั หาสินคา้ มาเพมิ่ ในตลาด เช่น
ราคาตลาด Shift ลง
(ราคาดุลยภาพ 2.1 นาเขา้ สินคา้ จากต่างประเทศหรือนาสินค้าท่ีมี
ในสต็อกออกมาจาหน่าย
ที่ D=S)
2.2 สนบั สนุนให้มีการผลิตในประเทศเพมิ่ ข้ึน
PM E
PC A Sตลาด S/ตลาด

ราคาข้นั สูง C2.2 2.1 Shift ขนึ้
ท่ีรัฐประกนั
QD QM B ดุลยภาพของตลาด
0 (Market Equilibrium)
D/ตลาด Dตลาด
QC ปริมาณ (Q)

12

จากกราฟ สามารถอธิบายรายละเอยี ดไดด้ ังนีค้ อื

ลักษณะท่ี 1 รัฐบาลใช้วิธีปันส่วนสินค้าจากจานวนปริมาณขายที่มีอยู่เป็นเกณฑ์
ซึ่งก็คือ การจากัดปริมาณการบริโภคลงมาให้เท่ากับปริมาณสินค้า เช่น การแจกคูปองเพ่ือ
ใช้ในการแลกซ้ือสินค้า ซึ่งจะเป็นการช่วยเหลือให้ผู้บริโภคซ้ือสินค้าได้ในราคาที่ถูกลง โดย
ผูผ้ ลิตสามารถนาคปู องดงั กลา่ วไปขน้ึ เงนิ จากรัฐบาลได้ เป็นต้น จะเห็นได้ว่า วิธีการเช่นน้ี ทา

31

ให้เสมอื นวา่ อุปสงค์ของผบู้ รโิ ภคลดลง โดย Shift ลง จากเส้น D (เส้นสีชมพ)ู มาเป็น D/ (เส้น
สีน้าเงิน) ปญั หาการขาดแคลนสินคา้ ก็จะหมดไป

ลักษณะที่ 2 รัฐบาลจดั หาสินค้าเพิ่มในตลาด ตามความต้องการของผู้บริโภค ซ่ึงก็
คือ การเพิ่มอุปทานของผู้ผลิต โดยทางเลือกแรก ได้แก่ 2.1) การนาเข้าสินค้าจาก
ต่างประเทศ หรือนาสินคา้ ท่ีมีในสต็อกออกมาจาหน่าย ซึ่งวิธีการน้ีจะทาให้อุปทานท้ังหมด
ในตลาดเพิ่มข้ึน เส้นก็จะ Shift ขึ้น จากเส้น S (เส้นสีเขียว) ไปเป็นเส้น S/ (เส้นสีแดง) หรือ
อีกทางเลอื กคอื 2.2) สนบั สนุนให้มีการผลิตสินค้าภายในประเทศมากข้ึน ด้วยการท่ีรัฐออก
มาตรการให้ความชว่ ยเหลอื ในการลดต้นทนุ ใหแ้ กผ่ ้ผู ลิตที่อัตรา EC หน่วย (เช่น ลดภาษี เป็น
ต้น) ก็จะทาให้เส้น S (เส้นสีเขียว) สามารถ Shift มาเป็นเส้น S/ (เส้นสีแดง) ได้เช่นเดียวกัน
ปัญหาสินค้าไม่เพยี งพอต่อการบริโภคก็จะหมดไป

อย่างไรก็ตาม มาตรการการนาเข้าและการลดต้นทุนให้แก่ผู้ผลิต ก็ยังมีความ
แตกต่างกันในประเด็นของการกระจายผลประโยชน์และค่าใช้จ่ายของรัฐบาล โดยถ้าใช้
มาตรการนาเข้า รัฐบาลจะไม่มีค่าใช้จ่าย แต่ผู้ผลิตในประเทศจะขายสินค้าได้แค่ในปริมาณ
QD และผู้ผลิตสินค้าในต่างประเทศจะขายสินค้าได้ในปริมาณ QC-QD ขณะที่ถ้าใช้มาตรการ
ลดต้นทุนใหแ้ ก่ผผู้ ลิต ผู้ผลิตในประเทศจะขายสินค้าได้ทั้งหมดถึง QC แต่รัฐบาลก็จะต้องเสีย
คา่ ใช้จา่ ยด้วย

นอกจากนี้ การที่เกิดกรณีสินค้าในตลาดขาดแคลน หากรัฐบาลไม่มีการเข้ามา
แทรกแซง ขณะท่ีผู้ผลิตก็ไม่สามารถยกระดับราคาให้สูงขึ้นได้เพราะผิดกฎหมาย ผลท่ีจะ
ตามมาก็คือ อาจจะทาให้เกิดการกักตุนสินค้าบางส่วนไปขายในตลาดมืด (Black market)
หรือตลาดท่ีมีการซื้อขายกันในราคาท่ีสูงกว่าท่ีรัฐบาลกาหนดได้ เน่ืองจากมีผู้ซ้ือบางรายเต็ม
ใจจะจ่ายเงินเพ่ือซ้ือสินค้าท่ีสูงกว่าในราคาข้ันสูง ขณะเดียวกันผู้ขายก็ยินดีที่จะนาสินค้ามา
ขายในราคาที่สูงกว่าที่รัฐบาลกาหนดเป็นจานวนมากขึ้น ซ่ึงจะทาให้การซ้ือขายในตลาด
เกิดข้ึนในระดับราคาและปริมาณท่ีเกิดจากการปรับตัวของอุปสงค์และอุปทานในตลาดมืด
นัน่ เอง

กล่าวโดยสรุป การช่วยเหลือผู้บริโภคโดยการกาหนดราคาขั้นสูงท้ัง 2 ลักษณะ จะ
ทาให้ราคาท่ีรัฐบาลเข้ามาแทรกแซงต่ากว่าราคาตลาด (PC < PM) โดยวิธีปันส่วนสินค้าทาให้
เสมือนว่าปริมาณความต้องการสินค้าในตลาดลดลง ขณะท่ีวิธีการจัดการสินค้ามาเพ่ิมใน
ตลาด ทาให้ปริมาณการผลิตสนิ ค้าในตลาดเพิ่มมากขึ้น

3.3.3 การแทรกแซงตลาดโดยการเก็บภาษี
นอกจากรัฐบาลจะแทรกแซงตลาดด้วยการช่วยเหลือผู้ผลิตและผู้บริโภคในลักษณะของการ
กาหนดราคาข้ันต่าและการกาหนดราคาข้ันสูง ซ่ึงทาให้ต้องเสียงบประมาณรายจ่ายแล้ว ในส่วนของ

32

รายรับ รัฐบาลก็จะมีการจัดเก็บภาษีต่างๆ เช่น ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษี
การค้า เป็นต้น

ในสวนของการเกบ็ ภาษีจากการซอ้ื ขายสินคา รฐั บาลอาจจะเกบ็ ภาษีได้ 2 แบบคือ
1) เรียกเก็บจากผู้ผลิต หมายถึง ผู้ผลิตเป็นผู้ทาหน้าท่ีจ่ายชาระภาษีน้ันให้เจ้าหน้าที่รัฐบาล
ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อเส้นอุปทาน
2) เรียกเก็บจากผู้บริโภค หมายถึง ผู้บริโภคเป็นผู้ทาหน้าท่ีจ่ายชาระภาษีน้ันให้เจ้าหน้าที่
รฐั บาล ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อเส้นอปุ สงค์
โดยลกั ษณะของภาษที ี่จัดเกบ็ นนั้ กระทาไดใ้ น 2 ลักษณะคือ
1) การเก็บภาษีต่อหน่วยสินค้า (Specific Tax หรือ Per unit tax) เปนการจัดเก็บด้วย
จานวนคงทใ่ี นแตละหนวยสนิ คาทท่ี าการซอื้ ขายกัน เช่น ขวดละ 2 บาท หรอื ซองละ 5 บาท เปน็ ต้น
2) การเก็บภาษีโดยร้อยละของราคาขาย (Ad-valorem Tax) เป็นการคานวณจาก
เปอรเ์ ซ็นต์ หรอื อัตราภาษที ก่ี าหนดไว้ คณู ดว้ ยราคาสินค้า ดงั น้นั สินค้าท่ีมีราคาแพง ก็จะต้องเสียภาษี
มากกว่าสนิ ค้าที่มรี าคาถูก เชน่ เก็บภาษรี อ้ ยละ 10 ของราคาขาย ถ้าสินค้าราคา 10 บาท จะต้องเสีย
ภาษี 1 บาท ขณะทถ่ี ้าสนิ คา้ ราคา 100 บาท ก็จะตอ้ งเสียภาษี 10 บาท เปน็ ต้น

3.3.3.1 การเก็บภาษจี ากผผู้ ลติ ในลักษณะภาษีต่อหนว่ ยสินค้า
การจัดเก็บภาษีในลักษณะน้ี ไม่ว่าราคาสินค้าจะเพิ่มมากข้ึนเท่าไหร่ก็ตาม การเก็บ
ภาษีก็จะจัดเก็บตามสัดส่วนเดิม ซึ่งตัวภาษีเม่ือเป็นการจัดเก็บจากผู้ผลิตก็จะมีผลกระทบต่อ
เส้นอุปทาน ดังกราฟที่ 3.24 โดยกาหนดให้เส้น S (เส้นสีเขียว) เป็นเส้นอุปทานตลาดก่อนท่ี
จะมีการเก็บภาษี ต่อมาเม่ือรัฐบาลมีการเก็บภาษีแบบต่อหน่วยสินค้า ในราคาหน่วยละ T
(Tax) บาท ภาษกี ็จะถูกบวกรวมเข้าไปในราคาสินค้านั้นๆ ส่งผลให้เส้นอุปทานตลาดเกิดการ
Shift ไปทางดา้ นซ้ายมือ กลายเป็นเสน้ ST (เส้นสนี ้าเงนิ ) ในลกั ษณะทขี่ นานกับเสน้ เดิม

กราฟที่ 3.24 การเกบ็ ภาษีจากผูผ้ ลิตในลกั ษณะภาษตี ่อหน่วยสนิ ค้า

33

Shift ลง

ST
Sตลาด

Tax

PM ช่วงห่างระหว่างเส้น 2 เสน้
คือ จานวนภาษีที่ถูกเกบ็

Dตลาด ปริมาณ (Q)
0 QM

เหตุผลท่ีเป็นเช่นนี้เพราะเม่ือรัฐบาลเรียกเก็บภาษี จะมีผลทาให้ต้นทุนของสินค้า
สูงข้ึนกว่าเดิมเท่ากับจานวนภาษีท่ีเรียกเก็บ ดังน้ันเส้นอุปทานหลังจากมีการเก็บภาษีต่อ
หนว่ ย จะเคลอ่ื นสงู ขนึ้ ไปเปน็ เสน้ ST

3.3.3.2 การเกบ็ ภาษีจากผู้ผลติ ในลักษณะภาษีคิดเปน็ รอ้ ยละของราคาขาย
สาหรับการเก็บภาษีในกรณีท่ี 2 จะมีลักษณะแตกต่างจากการเก็บภาษีต่อหน่วย
สินค้า โดยยิง่ สนิ คา้ มีมลู คา่ สงู ขนึ้ เทา่ ไหร่ รฐั บาลกจ็ ะจดั เกบ็ ภาษีมากขึ้นตามสัดส่วนของราคา
สินค้านั้น ดังกราฟท่ี 3.25 จะเห็นว่า เส้นไม่ขนานกับเส้นเดิม แต่จะมีการบิดสูงข้ึนเร่ือยๆ
หรือก็คือ ระยะห่างระหว่างเส้นอุปทานตลาดเส้นเดิมคือ S (เส้นสีเขียว) ก่อนเก็บภาษี กับ
อุปทานเสน้ ใหมค่ ือ ST (เส้นสีนา้ เงนิ ) หลงั เก็บภาษีไม่เท่ากันตลอดช่วง โดย ณ ระดับราคาต่า
ชว่ งหา่ งของเสน้ อปุ ทานทงั้ สองจะแคบ แสดงวา่ จานวนภาษีที่ถูกเก็บน้อย แต่ ณ ระดับราคา
สงู ช่วงห่างจะย่งิ กว้างข้ึน แสดงวา่ จานวนภาษที ีถ่ ูกเก็บมาก

34

กราฟท่ี 3.25 การเก็บภาษีจากผู้ผลติ ในลกั ษณะภาษีคิดเปน็ ร้อยละของราคาขาย

ราคา(P)

Shift ลง

ST Sตลาด

Tax

PM ช่วงห่างระหวา่ งเส้น 2 เสน้
คือ จานวนภาษีท่ีถูกเกบ็
Tax
ปริมาณ (Q)
Dตลาด

0 QM

3.3.3.3 การเก็บภาษจี ากผู้ผลติ และภาระภาษี
โดยปรกติ ไมว่ า่ รัฐบาลจะเรียกเก็บภาษีสนิ ค้าจากผผู้ ลิตหรอื ผู้บรโิ ภค คนทวั่ ไปมักจะ
คิดว่า ในทส่ี ุดผบู้ ริโภคจะเป็นผู้รับภาระภาษีท้ังหมด ซ่ึงในความจริงไม่ได้เป็นเช่นน้ันเสมอไป
ดังแสดงตัวอย่างในกราฟที่ 3.26

35

กราฟท่ี 3.26 การเกบ็ ภาษีจากผูผ้ ลิตและภาระภาษี

Shift ลง ดลุ ยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)
Excess Supply
ST

Sตลาด

P2 13 E/ Tax (2 บาทต่อ
PT 11 หน่วย)
PM 10 E ดลุ ยภาพเดมิ ของตลาด
P1 9 ผ้บู ริโภคจ่าย G A (Market Equilibrium)

ผ้ผู ลติ จ่าย

B

Dตลาด

0 800 900 1,000 ปริมาณ (Q)
QG QT QM

จากกราฟ จะเห็นว่า เส้นอุปสงค์ตลาดคือ D (เส้นสีชมพู) และเส้นอุปทานตลาดเดิม
คือ S (เส้นสีเขียว) โดยจุดดุลยภาพเดิมของตลาดอยู่ ณ จุด E ที่ปริมาณดุลยภาพ 1,000
หน่วย (QM) และราคาดุลยภาพ 10 บาท (PM) ซึ่งถือเป็นราคาสุทธิ (Net Price) หรือราคา
จรงิ ท่ผี ู้ผลิตได้รับ ต่อมาเม่ือรฐั บาลมกี ารจัดเก็บภาษีจากผู้ผลิต เส้นอปุ ทานก็จะเกิดการ Shift
ไปเป็นเส้นใหม่คือ ST (เส้นสีน้าเงิน) และห่างจากเส้นเดิมเท่ากับจานวนภาษีต่อหน่วยท่ีเก็บ
(Tax)

หากพจิ ารณา ณ ทร่ี าคา 10 บาท จะเห็นว่า ผู้ผลิตไม่อยากขายสินค้าในปริมาณเท่า
เดมิ อีกแลว้ ทาให้อปุ สงค์มากกว่าอปุ ทาน (D > S) การจะทาให้มสี นิ คา้ ออกมาขายในตลาด ก็
ต้องยอมให้ราคามีการขยับขึ้นไป จนในท่ีสุดก็จะเกิดจุดดุลยภาพใหม่ท่ี E/ โดยปริมาณดุลย
ภาพใหม่จะลดลงเป็น 900 หน่วย (QT) และได้ราคาดุลยภาพใหม่เพ่ิมขึ้นเป็น 11 บาท (PT)
ซ่งึ กค็ อื ราคาบวกด้วยภาษี (Gross Price)

จะสังเกตเห็นได้ว่า เม่ือมีการเก็บภาษีจะทาให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าน้อยลง และต้อง
จ่ายค่าสินค้าในราคาแพงข้ึน อย่างไรก็ตาม ราคาที่สูงข้ึนนี้ก็ยังน้อยกว่าจานวนภาษีท่ี
รัฐบาลเรียกเก็บ เน่ืองจากผู้ผลิตไม่สามารถผลักภาระภาษีไปยังผู้บริโภคได้หมดเต็มจานวน
ภาษี แต่ผลักภาระภาษีไปให้ผู้บริโภคได้เพียงบางส่วนเท่าน้ัน และผู้ผลิตเองก็ต้องรับภาระ
ภาษีส่วนที่เหลือไป เพราะถ้าผู้บริโภคต้องรับภาระภาษีไปทั้งหมด ราคาสินค้าก็จะเพิ่มขึ้น

36

เท่ากับอัตราภาษีเป็น 13 บาท ซึ่งจะส่งผลให้เกิดอุปทานส่วนเกินข้ึนในตลาด (Excess
Supply) ดังน้ันราคาสินค้าจึงต้องลดลงมาอยู่ท่ี 11 บาท โดยผู้ผลิตจะได้รับราคาสุทธิเพียง
แค่ 9 บาทเท่านั้น เพราะต้องเสยี ภาษีให้แก่รฐั ดว้ ย

ซึง่ สามารถคิดคานวณจานวนเงนิ ได้ดังน้ี

ผูบ้ ริโภคต้องจา่ ยเงนิ = PT x ปรมิ าณซอ้ื
= 11 x 900
= 9,900

ผู้ผลติ ไดร้ ับเงินทง้ั หมด = 9,900 – 1,800
หรอื = 8,100………………… (1)

= 9 x 900
= 8,100………………… (2)

โดยมีภาระทางภาษีดงั นี้

อตั ราภาษี คือ ชว่ งหา่ งระหวา่ ง E/B = 11 - 9
=2

ภาษีที่รัฐเกบ็ ได้ = อัตราภาษี x ปริมาณขาย
= 2 x 900
= 1,800

ซึง่ ภาษีทรี่ ฐั จดั เกบ็ 1,800 บาทนี้ เปน็ สว่ นประกอบของ

ภาระภาษีของผบู้ ริโภค = (11-10) x 900
ภาระภาษีของผ้ผู ลติ = 900
= (10-9) x 900
= 900

กล่าวโดยสรุป ทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างก็ต้องรับภาระภาษี โดยผู้บริโภคจะต้อง
รับภาระภาษีเท่ากับพ้ืนที่ PTE/APM (พ้ืนท่ีลายจุด) ส่วนผู้ผลิตจะต้องรับภาระภาษีเท่ากับ

37

พื้นที่ PMABP1 (พื้นที่เส้นแรเงา) สาหรับภาษีท่ีรัฐบาลจัดเก็บได้ท้ังหมดจะเท่ากับพื้นท่ี
PTE/BP1 ซึง่ การจัดเก็บภาษีจากผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นในรูปแบบต่อหน่วยสินค้าหรือร้อยละของ
ราคาขาย จะมีผลทาให้ราคาตลาดสูงข้ึน (P) และปริมาณตลาดลดลง (Q)
ขณะเดยี วกนั ผู้ผลติ เองกจ็ ะได้เงินลดลงดว้ ย

38

3.3.3.4 การผลักภาระภาษีไปยงั ผผู้ ลิตและผู้บริโภค กับความยดื ห
ในความเป็นจรงิ ผูผ้ ลิตและผู้บริโภคนัน้ ไม่ไดร้ บั ภาระภาษเี ท่ากัน ซ่ึงก
ข้นึ อยกู่ ับลักษณะความยดื หยุน่ ของอปุ สงค์เปน็ สาคญั ดงั กราฟที่ 3.27

กราฟท่ี 3.27 แสดงการผลกั ภาระภาษีไปยังผ

Shift ลง ดุลยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)

Dตลาด ST
(Ed = 0)
Sตลาด
E/
PT Tax

ผู้บริโภคจ่าย ดุลยภาพเดมิ ของตลาด
PM E (Market Equilibrium)

0 QM ปริมาณ (Q)

(A)

หยุ่นของเส้นอุปสงค์
การท่ีฝ่ายใดจะต้องรับภาระภาษีเท่าไหร่น้ัน ในกรณีท่ีเป็นการเก็บภาษีจากผู้ผลิต จะ

ผผู้ ลติ และผู้บริโภค กบั ความยืดหยนุ่ ของเสน้ อปุ สงค์

Shift ลง ดุลยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)

ST ดุลยภาพเดมิ ของตลาด
Sตลาด

PM/ PT ผ้ผู ลิตจ่าย E/ Tax (Market Equilibrium)
P1 C Dตลาด

E (Ed = ∞)

0 QT QM ปริมาณ (Q)

(B)

39

จากกราฟ ถ้าพิจารณารูป (A) จะเห็นว่า เส้นอุปสงค์ D (เส้นสีชมพู) มีลักษณะเป็น
เส้นตรงตั้งฉากกับแกนนอน โดยมีค่าความหยืดหยุ่นเป็นศูนย์ (Ed = 0) ดังนั้นการเก็บภาษี
ของรัฐบาลจากผู้ผลิตน้ัน ทางผู้ผลิตสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้บริโภคได้หมดเต็ม
จานวนภาษี น่ันคือ ผู้บริโภคจะต้องจ่ายเงินมากขึ้นเท่ากับจานวนภาษีท่ีรัฐเรียกเก็บ คือ
PMPT หน่วย โดยพื้นท่ี PTE/EPM (พ้ืนที่ลายจุด) คือ ภาระภาษีท่ีผู้บริโภคต้องเป็นคนรับ
ทง้ั หมด

ขณะที่ถ้าพิจารณารูป (B) จะเห็นว่า เส้นอุปสงค์ D (เส้นสีชมพู) มีลักษณะเป็น
เส้นตรงขนานกับแกนนอน โดยมีค่าความหยืดหยุ่นเป็นอินฟินิต้ี (Ed = ∞) หรือมีค่าความ
ยดื หยนุ่ เตม็ ที่ ดังนน้ั การเก็บภาษีของรฐั บาลจากผู้ผลิตนั้น ทางผู้ผลิตจะต้องรับภาระภาษีไป
เพียงฝ่ายเดียว น่ันคือ ผู้บริโภคยังจ่ายเงินในราคาเท่าเดิมคือ PM ส่วนทางด้านผู้ผลิต
หลังจากหักคา่ ภาษีออกไปแลว้ จะไดร้ บั ราคาสุทธิตา่ กว่าเดิมที่ P1 เท่ากับจานวนภาษีที่รัฐบาล
เรียกเก็บ PMP1 หน่วย โดยพื้นที่ PME/CP1 (พื้นท่ีเส้นแรเงา) คือ ภาระภาษีท่ีผู้ผลิตต้องเป็น
คนรบั ไปทงั้ หมด

สรุปได้ว่า เส้นอุปสงค์ย่ิงมีความหยืดหยุ่นน้อยเท่าไหร่ ภาระภาษีที่ผู้ผลิตจะ
สามารถผลักไปยังผู้บริโภคก็จะยิ่งมากข้ึนเท่านั้น ในทางกลับกัน ถ้าเส้นอุปสงค์ย่ิงมีความ
ยืดหยุ่นมากเท่าไหร่ ภาระภาษีท่ีผู้ผลิตจะสามารถผลักไปยังผู้ซ้ือก็จะย่ิงน้อยลงเท่านั้นด้วย
เช่นเดียวกัน

3.3.3.5 การเกบ็ ภาษีจากผู้บรโิ ภคในลักษณะภาษีต่อหนว่ ยสินค้า
การเก็บภาษจี ากผู้บรโิ ภคน้นั ก็มรี ูปแบบในการพิจารณาแบบเดียวกนั กบั การเก็บภาษี
จากผู้ผลิต เพียงแต่เปลี่ยนมาพิจารณาในด้านของอุปสงค์แทน เนื่องจากการเก็บภาษีจาก
ผู้บริโภคจะทาให้ผู้บริโภคซื้อสินค้าได้น้อยลง โดยแบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ภาษีต่อ
หน่วย (Specific Tax) และ ภาษีแบบคิดเป็นร้อยละของราคาขาย (Ad Valorem Tax)
เช่นเดยี วกนั

40

กราฟท่ี 3.28 การเกบ็ ภาษจี ากผ้บู ริโภคในลักษณะภาษีต่อหน่วยสนิ คา้

ราคา(P)

Shift ลง

Sตลาด

ช่วงห่างระหวา่ งเสน้ 2 เส้น
คือ จานวนภาษีท่ีถูกเก็บ

PM
Tax Dตลาด
DT

0 QM ปริมาณ (Q)

ในส่วนของภาษีต่อหน่วยสินค้า จากกราฟที่ 3.28 จะเห็นว่า เส้น D (เส้นสีชมพู)
เป็นเส้นอุปสงค์ของตลาดก่อนที่จะมีการเก็บภาษี ต่อมารัฐบาลเก็บภาษีสินค้าแบบต่อหน่วย
ทาให้เส้นอุปสงค์ Shift ลงไปทางซ้ายมือ กลายเป็นเส้น DT (เส้นสีน้าเงิน) และขนานกับเส้น
อุปสงค์เดิม โดยมีช่วงห่างเท่ากับ T (Tax) ตลอดช่วง ท่ีเป็นเช่นนี้เพราะ ด้วยเงินจานวนเท่า
เดิม หลังจากท่ีถูกหักเป็นค่าภาษีแล้ว จะทาให้ผู้บริโภคมีเงินเหลือสาหรับซ้ือสินค้าได้ใน
จานวนทีน่ ้อยลงกวา่ เดมิ

3.3.3.6 การเก็บภาษีจากผู้บริโภคในลักษณะภาษีคดิ เปน็ ร้อยละของราคาขาย
ขณะที่ในกรณีการเก็บภาษีจากผู้ขายแบบคิดเป็นร้อยละของมูลค่าของสินค้าน้ัน จะ
มีข้อแตกต่างจากกรณีการเก็บภาษีสินค้าแบบต่อหน่วยคือ ระยะห่างระหว่างเส้นอุปสงค์เดิม
คือ D (เส้นสีชมพู) ก่อนเก็บภาษี และเส้นอุปสงค์ใหม่คือ DT (เส้นสีน้าเงิน) หลังเก็บภาษีนั้น
ไม่เทา่ กนั ดงั กราฟที่ 3.29

41

กราฟที่ 3.29 การเกบ็ ภาษีจากผบู้ ริโภคในลักษณะภาษคี ดิ เปน็ รอ้ ยละของราคาขาย

ราคา(P)

Shift ลง

Sตลาด

PM Tax ช่วงห่างระหวา่ งเสน้ 2 เสน้
คือ จานวนภาษีที่ถูกเกบ็

Tax Dตลาด
DT

0 QM ปริมาณ (Q)

จากกราฟ จะเห็นว่า ระยะห่างระหว่างเส้นทั้งสองจะกว้างขึ้นตามลาดับเม่ือระดับ
ราคาสงู ข้ึน ทั้งนก้ี ็เนื่องมาจากผู้บริโภคจะต้องจ่ายภาษีมากข้ึนเม่ือราคาสินค้าต่อหน่วยสูงข้ึน
นน่ั เอง

3.3.3.7 การเก็บภาษีจากผบู้ รโิ ภคและภาระภาษี
กรณกี ารเก็บภาษีจากผู้บริโภค การจะดูว่าภาระภาษีจะตกอยู่ท่ีใครน้ันต้องพิจารณา
ท่ีอปุ ทาน ดังแสดงในกราฟที่ 3.30

42

กราฟที่ 3.30 การเก็บภาษีจากผ้บู รโิ ภคและภาระภาษี

ราคา(P) ดุลยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)
Shift ลง

P2 12 A Sตลาด
PM 10
PT 8 ผู้บริโภคจ่าย G B E Tax
E/
P1 6 ผ้ผู ลติ จ่าย (4 บาทตอ่ Dตลาด ดลุ ยภาพเดมิ ของตลาด
(Market Equilibrium)
หน่วย)
Excess Demand
DT

0 600 8Q0T0 1,Q00M0 ปริมาณ (Q)
QG

จากกราฟ เส้น D (เส้นสีชมพู) คือ เส้นอุปสงค์เดิมก่อนที่รัฐบาลจะมีการเรียกเก็บ

ภาษี นั่นคือ ทรี่ ะดบั ราคา 10 บาท (PM) ผู้บริโภคจะซ้ือสนิ ค้าได้ 1,000 หน่วย (QM) โดยมีจุด
ดลุ ยภาพอยู่ท่ี E แต่เมื่อมีการจัดเก็บภาษีจากผู้บริโภค เส้นอุปสงค์ก็จะเกิดการ Shift ไปเป็น
เส้นใหมค่ ือ DT (เส้นสนี ้าเงนิ ) และห่างจากเส้นเดิมเทา่ กับจานวนภาษีต่อหน่วยทีเ่ ก็บ (Tax)

หากพิจารณา ณ ที่ราคา 10 บาท จะเห็นว่า เกิดอุปทานมากกว่าอุปสงค์ (S > D)

ซ่ึงด้วยจานวนเงินเท่าเดิม ผู้บริโภคจะสามารถกลับมาซื้อสินค้าในราคา 10 บาทได้ ก็ต่อเมื่อ
ผู้ผลิตยอมลดราคาสินค้าลงมาหน่วยละ 4 บาท เท่ากับจานวนภาษี น่ันคือ ที่ระดับราคา 6

บาท (P1) ซ่ึงการกระทาดังกล่าวย่อมเป็นไปไม่ได้เพราะจะทาให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกิน
(Excess Demand) ขนึ้ มาในตลาด กลไกตลาดจึงต้องมีกระบวนการปรับภาวะดุลยภาพจน
มาสู่จุดดุลยภาพใหม่ ณ จุด E/ ท่ีระดับราคาตลาดใหม่ 8 บาท (PT) และปริมาณตลาดใหม่
800 หน่วย (QT)

ซงึ่ สามารถคิดคานวณจานวนเงินได้ดังน้ี

ผู้บรโิ ภคตอ้ งจา่ ยเงิน = (PT + ภาษี) x ปรมิ าณซื้อ
= (8 + 4) x 800
= 9,600

43

ผ้ผู ลิตได้รบั เงินทั้งหมด = PT x ปรมิ าณขาย
= 8 x 800
= 6,400

โดยมีภาระทางภาษีดงั นี้

อตั ราภาษี คือ ชว่ งหา่ งระหวา่ ง E/A = 12 - 8
=4

ภาษีทรี่ ฐั เกบ็ ได้ = อตั ราภาษี x ปริมาณขาย
= 4 x 800
= 3,200

ซ่ึงภาษีทีร่ ัฐจัดเกบ็ 3,200 บาทน้ี เปน็ ส่วนประกอบของ

ภาระภาษีของผู้บริโภค = (12-10) x 800
ภาระภาษขี องผผู้ ลติ = 1,600
= (10-8) x 800
= 1,600

กล่าวโดยสรุป ท้ังผู้ผลิตและผู้บริโภคต่างก็ต้องรับภาระภาษี ถึงแม้ว่าภาษีนี้จะ
เรียกเก็บจากผู้บริโภคก็ตาม โดยภาระภาษีที่ผู้ผลิตต้องรับไป เท่ากับพ้ืนท่ี PMBE/PT (พ้ืนที่
เส้นแรเงา) ส่วนผู้บริโภครับภาระภาษีเท่ากับพ้ืนท่ี P2ABPM (พื้นท่ีลายจุด) สาหรับจานวน
ภาษีท้ังหมดท่ีรัฐบาลเรียกเก็บได้เท่ากับพ้ืนท่ี P2AE/PT ซ่ึงการจัดเก็บภาษีจากผู้บริโภค ไม่ว่า
จะเป็นในรูปแบบต่อหน่วยสินค้าหรือร้อยละของราคาขาย จะมีผลทาให้ราคาตลาดลดลง

(P) และปริมาณตลาดลดลง (Q) ซ่ึงแตกต่างจากการเก็บภาษีจากผู้ผลิตท่ีจะทาให้

ราคาตลาดใหม่เพม่ิ สูงขึน้

44

3.3.3.8 การผลกั ภาระภาษีไปยังผผู้ ลิตและผ้บู รโิ ภค กับความยดื ห
ไม่วา่ การเกบ็ ภาษจี ากผู้ผลิตหรือผู้บริโภค ในความเป็นจริงภาระภาษ
วา่ ใครตอ้ งแบกรับภาระทางภาษมี ากกว่านั้นข้นึ อยู่กบั ลกั ษณะและความยืดหย

กราฟท่ี 3.31 แสดงการผลกั ภาระภาษีไปยงั ผู้ผล

ราคา(P) Shift ลง

Sตลาด ดลุ ยภาพเดมิ ของตลาด
(Market Equilibrium)
(Es = 0)

PM E

ดุลยภาพใหม่ของตลาด

ผ้ผู ลติ จ่าย (Market Equilibrium)

PT Tax Dตลาด

E/

DT

0 QM ปริมาณ (Q)

(A)

หยุ่นของเส้นอปุ ทาน
ษีที่แต่ละฝ่ายแบกรับย่อมไม่เท่ากัน ซ่ึงในกรณีของการเก็บภาษีจากผู้บริโภค การจะดู
ยุน่ ของอุปทานเป็นสาคัญ ดงั กราฟที่ 3.31

ลิตและผู้บรโิ ภค กบั ความยืดหยุน่ ของเสน้ อปุ ทาน

ราคา(P) ดุลยภาพใหม่ของตลาด
(Market Equilibrium)
Shift ลง

P1 A ดลุ ยภาพเดิมของตลาด
(Market Equilibrium)
ผู้บริโภคจ่าย Tax
E Sตลาด
PM/ PT E/
(Es = ∞)
0 QM
Dตลาด
DT

ปริมาณ (Q)

(B)

45

จากกราฟ ถ้าพิจารณาจากรูป (A) จะเห็นว่า เส้นอุปทานคือ S (เส้นสีเขียว) มี
ลักษณะเป็นเส้นตรงต้ังฉากกับแกนนอน โดยมีค่าความยืดหยุ่นเป็นศูนย์ (Es = 0) ดังน้ันการ
เกบ็ ภาษีของรัฐบาลจากผู้บริโภคน้ัน ผู้บริโภคจะสามารถผลักภาระภาษีไปให้ผู้ผลิตได้หมด
เต็มจานวนภาษี กล่าวคือ ผู้บริโภคยังคงจ่ายเงินซื้อสินค้าในราคาเดิมคือ PM แต่ผู้ผลิต
หลังจากหักค่าภาษีแล้วจะได้รับเงินเพียงท่ีระดับ PT เท่าน้ัน โดยจานวนเงินท่ีผู้ขายได้รับจะ
น้อยกว่าเดิมเท่ากับจานวนภาษี (Tax) พอดี แสดงว่า ภาระภาษีท่ีผู้ผลิตต้องเป็นคนรับไปจะ
เท่ากบั พนื้ ท่ี PMEE/PT (พน้ื ที่เสน้ แรเงา) หรอื กค็ ือ เทา่ กับจานวนภาษีท่ีรฐั บาลเกบ็

ส่วนในรูป (B) น้ัน แสดงให้เห็นถึงเส้นอุปทานคือ S (เส้นสีเขียว) ท่ีเป็นเส้นตรง
ขนานกับแกนนอน โดยมีค่ายืดหยุ่นเป็นอินฟินิตี้ (Es = ∞) หรือมีความยืดหยุ่นเต็มที่ ดังน้ัน
ภาษีท่ีรัฐบาลเรียกเก็บจากผู้บริโภค ผู้บริโภคจะต้องรับภาระภาษีน้ีไปเพียงคนเดียว
กล่าวคือ เม่ือรัฐบาลมีการจัดเก็บภาษี ผู้บริโภคจะต้องจ่ายเงินซ้ือสินค้ามากกว่าเดิมเท่ากับ
จานวนภาษี (Tax) พอดี ที่ระดับราคา P1 ส่วนผู้ผลิตหลังจากหักค่าภาษีแล้วยังคงจะได้เงิน
เท่ากับราคาเดิมคือ PM แสดงว่า ภาระภาษีที่ผู้บริโภคต้องเป็นคนรับไปจะเท่ากับพ้ืนท่ี
P1AE/PM (พนื้ ที่ลายจดุ ) หรอื ก็คือ เทา่ กบั จานวนภาษีท่รี ัฐบาลเกบ็

สรุปได้ว่า เส้นอุปทานย่ิงมีความหยืดหยุ่นน้อยเท่าไหร่ ภาระภาษีที่ผู้บริโภคจะ
สามารถผลักไปยงั ผู้ผลิตก็จะย่ิงมากข้นึ เทา่ นั้น และในทางกลับกัน ถ้าเส้นอุปทานยิ่งมีความ
ยืดหยุ่นมากเท่าไหร่ ภาระภาษีที่ผู้บริโภคจะสามารถผลักไปยังผู้ผลิตก็จะย่ิงน้อยลงเท่าน้ัน
นัน่ เอง

--------------------------------

46


Click to View FlipBook Version