แบบเสนอเพ่ือขอรบั รางวลั
“ครดู ีในดวงใจ”
ครงั้ ท่ี 19 พ.ศ.2565
นางสาวนริศรา แสนสขุ
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
โรงเรียนมกุ ดาหาร อาเภอเมืองมกุ ดาหาร จงั หวดั มุกดาหาร
สงั กดั สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษามกุ ดาหาร
สงั กดั สานักงานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ
แบบประวัตแิ ละผลงาน “ครูดีในดวงใจ” ของนางสาวนริศรา แสนสุข เลม่ นจ้ี ัดทำข้ึนเพื่อให้
คณะกรรมการประเมนิ ครดู ใี นดวงใจ ใช้เปน็ คมู่ อื ในการประเมนิ ครูที่ไดร้ บั การเสนอช่ือเขา้ ประกวด
“ครูดใี นดวงใจ” จะได้ทราบข้อมลู ความรู้ ในส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับผ้ไู ดร้ บั การประเมินในดา้ นตา่ ง ๆ
แบบประวตั ิและผลงานเล่มน้ีประกอบดว้ ยส่วนสำคัญดงั ต่อไปน้ี
ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นตัว เปน็ ส่วนที่เกย่ี วกบั ผู้ได้รับการเสนอชือ่ เขยี นรายละเอียดเกยี่ วกบั ข้อมูล
ของตนเอง
ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกย่ี วกบั การปฏบิ ัตงิ าน พฤติกรรมและเหตผุ ลที่เสนอให้ไดร้ ับการสรรหาและ
คัดเลอื กในโครงการ “ครดู ีในดวงใจ”
ตอนที่ 3 ผลงานทสี่ ำคญั โดยย่อ เป็นสว่ นทผ่ี ู้ไดร้ บั การเสนอช่ือเขียนรายละเอียดเกี่ยวกบั
การปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ี การดำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ทแ่ี สดงถึงความเหมาะสมกับการเปน็ “ครูดใี นดวงใจ”
ขอ้ มูลท่ีปรากฏในแบบประวตั ิเสนอผลงานนเ้ี ปน็ สว่ นหน่งึ ของผลงานท้งั หมดเท่านั้น
ซ่งึ ส่วนอ่นื ๆ ที่เป็นรายละเอียดทงั้ หมดสามารถศึกษา ตรวจสอบไดท้ ี่โรงเรียน ห้องเรยี นของผ้ไู ด้รับการเสนอ
หวงั ว่าแบบประวัติเสนอผลงานเลม่ นี้จะอำนวยประโยชน์ใหแ้ ก่คณะกรรมการประเมนิ และผู้อา่ น
ไดเ้ ปน็ อย่างดี ขอขอบคุณผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะครู นกั เรียน ผปู้ กครอง ศิษย์เก่าและชมุ ชน
ทใ่ี หค้ วามร่วมมือ ทำใหแ้ บบประวตั เิ สนอผลงานนี้เสรจ็ สมบรู ณ์ตามเป้าหมาย
นริศรา แสนสุข
สารบญั ๑
๑
ตอนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตวั ๑
ตอนที่ ๒ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การปฏิบัติงาน 8
41
๑. จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู 46
๒. ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน 56
๓. การใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลในการปฏิบัตงิ าน
๔. การประเมินผลงานเชิงประจักษจ์ ากการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี 66
ตอนท่ี ๓ ผลงานที่สำคญั โดยย่อ 67
71
ภาคผนวก 75
- ทะเบยี นประวัติ (ก.พ.7) 76
- สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรยี นการสอน
- qr-code คลปิ สัมภาษณ์ผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 84
- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-Net) 93
ปีการศึกษา 2556 - 2563
- ขอ้ มลู การศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนในที่ปรกึ ษา
- เปน็ ตัวแทนสมาชกิ ครโู รงเรียนมกุ ดาหารในสหกรณ์ออมทรัพยค์ รูมกุ ดาหาร
ปี 2563 - ปจั จบุ นั
๑
แบบประวัติและผลงาน “ ครดู ใี นดวงใจ” ครัง้ ท่ี ๑9 พ.ศ. ๒๕๖5
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษามัธยมศึกษามกุ ดาหาร
คำชี้แจง ให้ผ้ไู ดร้ บั การคัดเลือก “ครูดใี นดวงใจ” ระดบั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
กรอกขอ้ มูล ตอนท่ี ๑-๓ ใหค้ รบถ้วน
ตอนท่ี ๑ ข้อมลู ส่วนตวั
๑. ช่อื นางสาวนรศิ รา นามสกุล แสนสขุ .
๒. เกิดวันที่ 20 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๒๘ อายุ ๓๕ ปี
๓. บรรจเุ ม่ือวันท่ี ๑๕ เดือน พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ อายุราชการ ๑2 ปี
๔. วุฒิการศกึ ษาสูงสุด กศ.ม. การวิจัยการศกึ ษา สถาบนั การศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
๕. ตำแหน่งปจั จุบัน ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ .
สอนระดับ ชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 และ ๖ .
6. สถานศึกษาท่ีทำงานปัจจบุ นั โรงเรียนมุกดาหาร สพม.มกุ ดาหาร ตำบล มกุ ดาหาร
อำเภอ เมืองมุกดาหาร จังหวดั มกุ ดาหาร รหสั ไปรษณยี ์ 49000 โทรศัพท์ 042611087
7. ทีอ่ ยทู่ ่ตี ิดต่อไดส้ ะดวกที่สุด 81/1 ซอย นิตริ ฐั ถนน มกุ -คำชะอี ตำบล มกุ ดาหาร
อำเภอ เมอื งมุกดาหาร จังหวัด มกุ ดาหาร รหสั ไปรษณยี ์ 49000 โทรศัพท์ (บา้ น) -
มอื ถอื ๐652935566 e-mail [email protected]
ตอนที่ ๒ พฤติกรรมและเหตุผลที่เสนอใหไ้ ด้รับการสรรหาและคัดเลอื กในโครงการ “ครดู ีในดวงใจ”
โดยระบพุ ฤตกิ รรมทำอยา่ งไร และผลท่เี กดิ ขน้ึ พร้อมเอกสารหลักฐานประกอบ (ความยาวไม่จำกัด)
๒.๑ พฤตกิ รรม กระบวนการ วิธกี าร และผลงานท่ีแสดงถึงการเป็นบคุ คลผเู้ ป็นทศ่ี รัทธา
ยกย่อง ยอมรับ ของนกั เรยี น เพอื่ นครู และสังคมวา่ เป็นแบบอยา่ งทด่ี ีแกน่ กั เรียนและผอู้ ่นื
มีความรกั และศรัทธาในวิชาชีพครู การช่วยเหลือเก้ือกลู เพือ่ นครูและชมุ ชนการอนุรกั ษพ์ ัฒนา
ภมู ิปัญญาท้องถ่ินและวัฒนธรรมไทย
๑. จติ วญิ ญาณความเป็นครู
๑.๑ มคี วามรกั และเมตตาตอ่ ผู้เรยี น
จดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคญั ใช้เทคนิคการจดั การเรยี นรทู้ ่หี ลากหลาย
เนน้ การมสี ่วนรว่ มกิจกรรมในห้องเรยี น ให้ผเู้ รยี นแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง จากการลงมอื ปฏิบัติ
มีการจัดกจิ กรรมและกระบวนการให้ผูเ้ รียนได้คดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินและสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ
ฝึกให้ผู้เรียนกล้าพูดกล้าคิด กลา้ แสดงออกในทางท่เี หมาะสม ฝึกการดแู ลช่วยเหลือกนั โดยให้เด็กเก่ง
ช่วยดูแลเด็กอ่อน ในกจิ กรรมเพอื่ นชว่ ยเพ่ือน พีส่ อนน้อง ใชส้ ื่อเทคโนโลยีใหผ้ ูเ้ รยี นทันโลก ทนั เทคโนโลยี
คำนำ
แบบประวัตแิ ละผลงาน “ครูดีในดวงใจ” ของนางสาวนริศรา แสนสุข เลม่ นจ้ี ัดทำข้ึนเพื่อให้
คณะกรรมการประเมนิ ครดู ใี นดวงใจ ใช้เปน็ คมู่ อื ในการประเมนิ ครูที่ไดร้ บั การเสนอช่ือเขา้ ประกวด
“ครูดใี นดวงใจ” จะได้ทราบข้อมลู ความรู้ ในส่วนทเี่ กีย่ วขอ้ งกับผ้ไู ดร้ บั การประเมินในดา้ นตา่ ง ๆ
แบบประวตั ิและผลงานเล่มน้ีประกอบดว้ ยส่วนสำคัญดงั ต่อไปน้ี
ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นตัว เปน็ ส่วนที่เกย่ี วกบั ผู้ได้รับการเสนอชือ่ เขยี นรายละเอียดเกยี่ วกบั ข้อมูล
ของตนเอง
ตอนท่ี 2 ข้อมูลเกย่ี วกบั การปฏบิ ัตงิ าน พฤติกรรมและเหตผุ ลที่เสนอให้ไดร้ ับการสรรหาและ
คัดเลอื กในโครงการ “ครดู ีในดวงใจ”
ตอนที่ 3 ผลงานทสี่ ำคญั โดยย่อ เป็นสว่ นทผ่ี ู้ไดร้ บั การเสนอช่ือเขียนรายละเอียดเกี่ยวกบั
การปฏบิ ตั งิ านในหน้าท่ี การดำเนนิ กิจกรรมต่าง ๆ ทแ่ี สดงถึงความเหมาะสมกับการเปน็ “ครูดใี นดวงใจ”
ขอ้ มูลท่ีปรากฏในแบบประวตั ิเสนอผลงานนเ้ี ปน็ สว่ นหน่งึ ของผลงานท้งั หมดเท่านั้น
ซ่งึ ส่วนอ่นื ๆ ที่เป็นรายละเอียดทงั้ หมดสามารถศึกษา ตรวจสอบไดท้ ี่โรงเรียน ห้องเรยี นของผ้ไู ด้รับการเสนอ
หวงั ว่าแบบประวัติเสนอผลงานเลม่ นี้จะอำนวยประโยชน์ใหแ้ ก่คณะกรรมการประเมนิ และผู้อา่ น
ไดเ้ ปน็ อย่างดี ขอขอบคุณผู้อำนวยการสถานศึกษา คณะครู นกั เรียน ผปู้ กครอง ศิษย์เก่าและชมุ ชน
ทใ่ี หค้ วามร่วมมือ ทำใหแ้ บบประวตั เิ สนอผลงานนี้เสรจ็ สมบรู ณ์ตามเป้าหมาย
นริศรา แสนสุข
สารบญั ๑
๑
ตอนที่ ๑ ข้อมูลส่วนตวั ๑
ตอนที่ ๒ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การปฏิบัติงาน 8
41
๑. จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู 46
๒. ความสามารถในการจัดการเรียนการสอน 56
๓. การใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลในการปฏิบัตงิ าน
๔. การประเมินผลงานเชิงประจักษจ์ ากการปฏิบตั หิ นา้ ท่ี 66
ตอนท่ี ๓ ผลงานที่สำคญั โดยย่อ 67
71
ภาคผนวก 75
- ทะเบยี นประวัติ (ก.พ.7) 76
- สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การจดั การเรยี นการสอน
- qr-code คลปิ สัมภาษณ์ผ้บู รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา 84
- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พ้นื ฐาน (O-Net) 93
ปีการศึกษา 2556 - 2563
- ขอ้ มลู การศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนในที่ปรกึ ษา
- เปน็ ตัวแทนสมาชกิ ครโู รงเรียนมกุ ดาหารในสหกรณ์ออมทรัพยค์ รูมกุ ดาหาร
ปี 2563 - ปจั จบุ นั
๒
ปกครองช้ันเรียนดว้ ยความยตุ ิธรรมใชร้ ะเบียบกฎเกณฑ์ที่ทุกคนยอมรบั เปิดโอกาส
ใหผ้ ูเ้ รยี นไดม้ สี ว่ นร่วมในการสร้างข้อตกลงในการจดั กจิ กรรม ให้อสิ ระและความเสมอภาคและยอมรบั ฟัง
ความคดิ เห็นของคนอ่ืน และยินดรี ับฟงั เสยี งส่วนมาก โดยมุ่งเนน้ ใหผ้ เู้ รยี นยอมรับกตกิ าโดยเริม่ จาก
ระเบียบวนิ ัยในตวั เอง วินัยในหอ้ งเรียนและวินัยในโรงเรยี นเพอ่ื ปลูกฝงั การมีวินยั ต่อสงั คม เป็นพลเมือง
ทีด่ ขี องชาติ ยดึ หลกั ประชาธิปไตย สอนใหผ้ ู้เรยี นยอมรบั และเข้าใจกฎกติกา ขอ้ ตกลงให้ความยตุ ธิ รรม
อย่างเท่าเทียมกนั มุ่งเนน้ การเสรมิ แรงทางบวกแทนการลงโทษ
ครูและนักเรยี นมคี วามสัมพนั ธอ์ ันดีตอ่ กนั ใช้หลักพรหมวิหาร ๔ อันได้แก่ เมตตา
กรณุ า มทุ ิตา อุเบกขา ในการดแู ลเอาใจใส่นักเรียนทัง้ ทีส่ อน นกั เรยี นท่ีปรึกษา และนักเรยี นทกุ คน
รวมทัง้ ใชห้ ลกั กลั ยาณมิตรและมีมนุษยสัมพันธท์ ี่ดี ใช้หลกั จติ วิทยาให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะ
ใชร้ ะบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน จัดกิจกรรมโฮมรูม การเยี่ยมบา้ นนักเรยี น คัดกรองนกั เรียน สรา้ งกลุ่มไลน์
ใช้เครื่องมือสอื่ สาร เปิดโอกาสให้นกั เรียนเขา้ มาสนทนาโต้ตอบ ซกั ถามข้อสงสยั ติดต่อ ส่งผลใหเ้ กดิ
ความเขา้ ใจอนั ดีต่อกนั และช่วยเหลือไดท้ นั ทว่ งที แมน้ ักเรียนจะจบการศึกษาไปแลว้ ยงั ติดตอ่ กัน
อยา่ งสมำ่ เสมอ เปน็ ที่ปรึกษาในการเรยี นและการดำรงชีวติ
๓
ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครองเพอ่ื การพฒั นา ตระหนักเสมอว่าผปู้ กครอง
มีบทบาทสำคัญในการส่งเสริมและสนับสนุนการพฒั นาผ้เู รียน จงึ ใช้หลกั กัลยาณมติ รและมีมนุษยสมั พันธ์
ทดี่ ี ใชห้ ลกั จติ วิทยาให้คำปรึกษา ใช้ระบบดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียน ประชมุ เครือข่ายผู้ปกครองนักเรียน
การเย่ียมบา้ นนักเรยี นเพื่อทำความรจู้ กั คุ้นเคยและ เปดิ โอกาสใหผ้ ูป้ กครองได้แลกเปลยี่ นประสบการณ์
รว่ มแก้ปญั หา ร่วมประเมนิ ผลงานตลอดจนสง่ เสรมิ กิจกรรมนักเรียนร่วมกนั
๑.๒ ประพฤตติ นเป็นแบบอย่างที่ดตี ่อผ้เู รยี น
ยึดม่นั ในสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตรยิ ์ สนบั สนุนการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์เป็นประมุข วางตัวเปน็ กลางทางการเมืองทุกครงั้ ทีม่ ีการเลือกต้ัง
ไปใชส้ ิทธเิ์ ลอื กตั้งเสมอ ไม่ล่วงละเมิดสทิ ธข์ิ องผู้อนื่ รกั ษาความสามคั คี ให้ความสำคญั ต่อผู้เรยี น
เท่าเทียมกนั รบั ฟังความเหน็ ของทกุ คน สอดแทรกกิจกรรมในชั่วโมงเรยี น สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กจิ กรรม
การเลือกตั้งในโรงเรยี น ใชส้ ทิ ธ์ิของตัวเองทุกคร้งั ในการเลอื กต้ัง ฝึกให้ผูเ้ รียนปฏบิ ตั ติ นตามสิทธหิ น้าที่
เคารพสทิ ธิของผู้อืน่ ร้จู กั การอยรู่ ว่ มกนั อยา่ งประชาธปิ ไตย เช่น การใชห้ ลักประชาธปิ ไตยในการเลอื ก
หวั หน้าหอ้ ง กรรมการห้อง หัวหนา้ กลุ่ม การเลือกประเด็นในการทำงานเมื่อเกิดความคดิ เห็นทีแ่ ตกต่าง
ยอมรับฟงั ความคิดเห็นของเพ่ือน และยอมรับฟงั เสียงสว่ นมาก รวมทัง้ ประสานความรว่ มมือกับ
ผู้ปกครอง ในการสรา้ งความรัก ความสามคั คีและความเปน็ ประชาธิปไตยและความรว่ มมือในการรว่ ม
กิจกรรมตา่ ง ๆ กับทางโรงเรยี น ในโอกาสประชุมผปู้ กครองชัน้ เรียน
๔
ปฏบิ ตั ติ นตามหลักธรรมคำสอนของพระพทุ ธศาสนา ปฏบิ ตั ิตนเปน็ พุทธศาสนิกชนทีด่ ี
มคี วามเมตตากรุณา ซอื่ สตั ย์ สุจรติ ท้งั กายและใจ เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรียนได้ปฏบิ ตั ิกบั สิง่ ทีเ่ รียนรู้จริง
สง่ เสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความซ่ือสัตย์ และได้ประพฤตปิ ฏิบัตติ นใหเ้ หมาะสมกบั ความเป็นครู
โดยถือหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนาเปน็ คณุ ธรรมประจำใจ ไมแ่ สวงหาผลประโยชนจ์ ากหนา้ ทก่ี ารงาน
ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีดว้ ยความซ่ือสตั ย์สุจรติ ดำรงไวซ้ ่ึงความยุติธรรม มนี ำ้ ใจเอื้อเฟอ้ื เผ่ือแผ่ชว่ ยเหลอื เก้ือกูล
ซึง่ กนั และกนั และทำบุญในวันสำคัญของชาติ วนั สำคญั ทางพระพุทธศาสนา เข้ารว่ มโครงการอบรม
คณุ ธรรม จริยธรรมผูเ้ รียนร่วมกับโรงเรยี น และชมุ ชน และกับครอบครัวเป็นประจำ
ปฏิบตั ิตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดี ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทั้งในหนา้ ที่ราชการ
และส่วนตน ดำเนินชีวติ ใหเ้ หมาะสมตามอัตภาพ โดยการใช้จ่ายอย่างประหยดั ไม่ฟมุ่ เฟือย อยู่อยา่ ง
พอเพียง ไมใ่ ช้จา่ ยเกินรายได้ วางแผนการใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยัดและอดออมด้วยยดึ ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง เช่น ใช้น้ำ ใชไ้ ฟฟ้า และสาธารณปู โภคอ่นื ๆ ท้งั ของตนเองและส่วนรวมอยา่ งประหยัด ส่งเสรมิ
ใหผ้ ู้เรยี นประหยดั และอดออม เหมาะสมกบั ฐานะ ค่าใช้จา่ ยและคา่ ครองชีพในทุกสถานการณ์อย่างเช่น
ในการพิมพ์งานเอกสารในแต่ละครัง้ ก่อนทจ่ี ะสง่ั พมิ พ์เคร่ืองพิมพ์ จะทำการตรวจสอบความถูกต้อง
อย่างละเอียดรอบคอบและทำการปรับปรุงแกไ้ ข ใหเ้ สร็จส้นิ กอ่ นสงั่ พมิ พ์ เพื่อเป็นการลดการใช้
ทรพั ยากรไปอย่างสนิ้ เปลืองโดยใชเ่ หตุ กระดาษที่ใชใ้ นการพมิ พง์ านเอกสารตา่ ง ๆ หากใช้ไปแล้ว
เพยี งหน้าเดียวกจ็ ะเก็บไวเ้ พ่ือนำมาใช้ในงานทเี่ หมาะสมต่อไป
ศษิ ยเ์ ก่าโรงเรียนมกุ ดาหาร ปีการศึกษา 2561 ปัจจบุ ันเป็นนสิ ิตคณะศกึ ษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตร์ มมส. ปที ี่ 3
ขอสมั ภาษณ์ครูต้นแบบการสอนคณิตศาสตร์ ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
น้อมนำแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกตใ์ ช้ในการจดั กจิ กรรมการเรยี น
การสอนจนได้รบั การยอมรับปลกู ฝังผ้เู รียนให้รู้จักประหยัดอดออมฝึกจติ สำนกึ พอเพียง เพอื่ เป็นนิสยั
ติดตวั ไปใช้ฝกึ ทำบัญชีรายรบั รายจา่ ยในแต่ละวนั และการจดั สรรเงนิ เก็บไว้ใชใ้ นภายภาคหน้า
การช่วยกนั ดูแลรักษาความสะอาด ทำให้บา้ นน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กลน่ิ เหมน็ ใช้แต่ของทีเ่ ปน็
ธรรมชาติ รายจา่ ยลดลง สุขภาพจะดีข้นึ ประหยัดไฟฟ้าและน้ำประปา ไมว่ า่ จะอยู่ท่ีบา้ นหรือโรงเรยี น
กค็ วรปิดนำ้ ปดิ ไฟ เมื่อเลกิ ใช้งานทุกครั้ง การร้สู กึ พอใจในส่งิ ทตี่ นมีอยู่ ร้จู ักประมาณตน ไม่อยากมี
อยากได้เหมือนผอู้ นื่ เพราะเราจะหลงติดกับวัตถุและไมต่ กเป็นทาสของสอ่ื เทคโนโลยี
๕
๑.๓ มคี วามรกั และศรัทธาในวชิ าชีพครแู ละเป็นสมาชิกท่ดี ขี ององคก์ รวชิ าชพี ครู
ขา้ พเจ้าร่วมกิจกรรมตา่ ง ๆ ทจ่ี ดั โดยองค์กรวิชาชีพครูอยู่เสมอ ขา้ พเจา้ ชว่ ยเหลอื
สนบั สนุนเพือ่ นร่วมงานและองคก์ รวิชาชพี ครู ข้าพเจ้าให้เกียรติยกยอ่ งเพื่อนครูทีป่ ระสบความสำเร็จ
ในวิชาชพี รวมทง้ั ขา้ พเจ้าเป็นแบบอยา่ งผนู้ ำท่ีสรา้ งความรักความศรทั ธาในวชิ าชีพครูและเป็นสมาชกิ ทด่ี ี
ขององค์กรวิชาชพี ครู โดยเป็นวิทยากรในการใหค้ วามรแู้ กเ่ พือ่ นครใู นการพัฒนาตนเองเพือ่ ขอมีและ
เลอ่ื นวทิ ยฐานะ
ข้าพเจ้าเป็นครผู ู้สอนทีม่ ีความม่งุ มั่นในการปฏบิ ตั ิงาน โดยมีความรักและความศรัทธา
ในอาชีพครู ได้รบั การศึกษาอบรมในวิชาชีพครู จึงมีความรัก ความศรทั ธาในอาชีพครู ตระหนักถึง
ความสำคญั ของจรรยาบรรณวิชาชพี ครู ครคู ือผทู้ ส่ี ังคมใหก้ ารยกย่องวา่ เป็น “ปูชนียบุคคล” เป็นบุคคล
ที่ควรค่าแก่การเคารพบูชา นับแต่ไดร้ ับการบรรจุ แต่งต้ังเข้ารับราชการ ปฏบิ ัตหิ น้าทร่ี าชการด้วยความตั้งใจ
ไดป้ ระพฤติปฏบิ ตั ติ นตามจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด และเป็นสมาชิกทดี่ ีขององค์กรวชิ าชีพครู
เป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์และเพื่อนร่วมงาน สง่ ผลให้ได้รบั รางวัลแห่งความภาคภมู ิใจในวิชาชพี ไดแ้ ก่
เครื่องหมายเชิดชเู กียรติ "หนึ่งแสนครูดี" พร้อมเกียรติบัตร และโลร่ างวัล แม่พิมพ์ผสู้ รา้ งชาติ
สาขาครูปฏบิ ตั ิการสอนดีเด่น สร้างสรรคผ์ ลงานแทนคุณแผ่นดิน
ข้าพเจ้าร่วมกจิ กรรมวนั สำคัญของชาติ อาทิ วันพ่อแหง่ ชาติ วนั แมแ่ ห่งชาติ วันนเรศวรมหาราช
และกจิ กรรมวันครู
๖
ปี พ.ศ.๒๕๖3
บริจาคสรา้ งทางเดนิ ลอยฟ้า (Sky walk) ให้กบั โรงเรยี นมุกดาหาร จำนวน 3,000 บาท
บริจาคใหโ้ รงพยาบาลมุกดาหาร จำนวน 539 บาท
ปี พ.ศ.๒๕๖๒
มอบทนุ การศึกษาให้กบั นักเรียนโรงเรยี นมกุ ดาหาร เนื่องในงานวนั ไหวค้ รู จำนวน 3 ทุน
ทนุ ละ 500 บาท รวมเป็นเงิน 1,500 บาท
๗
ข้าพเจา้ ร่วมกจิ กรรมถวายอาลยั และส่งเสดจ็ สู่สวรรคาลัยพระบาทสมเด็จปรมินทร-
มหาภูมพิ ลอดุลยเดช
๑.๔ การชว่ ยเหลือเกอ้ื กูลเพื่อนครู และชมุ ชนอย่างสร้างสรรค์
ขา้ พเจา้ ให้การชว่ ยเหลอื แกเ่ พ่อื นครแู ละชุมชน จนเป็นที่ยอมรบั ของชมุ ชน และ
เปน็ แบบอย่างผูน้ ำในการชว่ ยเหลือเก้ือกลู เพื่อนครูและองค์กรในชมุ ชนอยา่ งสรา้ งสรรคจ์ นเป็นท่พี ึงพอใจ
ในดา้ นการทำเอกสาร งานวิชาการ การเปน็ Coaching ให้เพอื่ นครูเพ่ือขอมีหรือเลอื่ นวทิ ยฐานะ และ
เป็นผนู้ ำในการชว่ ยเหลือเพื่อนครใู นการทำ PLC ทั้งในกลุ่มและนอกกล่มุ สาระการเรยี นรู้ เพือ่ แบ่งปัน
ให้คำปรกึ ษาเกย่ี วกับงานวชิ าการ และชว่ ยเหลืองานบญุ ของชมุ ชนอย่างต่อเนื่อง
ข้าพเจา้ ยดึ หลักอิทธบิ าท 4 คือ ฉนั ทะ มคี วามพอใจในส่งิ ที่ได้รับ วิรยิ ะ มีความพากเพยี ร
พยายาม, จิตตะ เอาใจใสต่ ่อผู้อ่นื , วมิ ังสา ใชป้ ญั ญาในการพิจารณาสง่ิ ตา่ ง ๆ และใช้หลักคุณงามความดี
ในการปฏิบตั งิ าน คือ มคี วามรบั ผิดชอบ ต้งั ใจปฏิบตั ิงานดว้ ยความมงุ่ ม่นั พากเพียร, มีความยุติธรรม
ปฏบิ ัตหิ น้าทดี่ ้วยความเท่ียงตรง, รกั ษาระเบยี บวินยั ประพฤตติ นใหเ้ หมาะสมกบั จรรยาบรรณวิชาชีพครู
มคี วามสามัคคี รว่ มทำงานเป็นทีมกบั ผู้อื่นเพ่ือให้งานบรรลุผลสำเรจ็ ตามความมุ่งหมาย โดยแสดงความ
มีนำ้ ใจเอ้ือเฟ้อื เผ่ือแผ่ต่อเพ่ือนร่วมงาน สิ่งใดทส่ี ามารถชว่ ยเหลือให้กบั เพอ่ื นรว่ มงานได้ จะไมร่ อชา้ ท่จี ะ
เขา้ ไปช่วยเหลือเก้ือกลู ดว้ ยความเต็มใจ ทั้งในดา้ นการใหก้ ำลงั ใจ เสยี สละอุทิศเวลาของตนเพื่อชว่ ยเหลือ
เพอ่ื นร่วมงาน
๘
๑.๕ มีความเป็นผ้นู ำในการอนุรักษพ์ ฒั นาภมู ิปัญญาท้องถ่ินและวฒั นธรรมไทย
ข้าพเจ้าได้ประพฤตปิ ฏิบัตติ น เป็นผู้มีส่วนร่วมอนุรกั ษ์พฒั นาภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นและ
วฒั นธรรมไทยมกี ิจกรรมตา่ ง ๆ ที่เขา้ ร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา แตง่ กายดว้ ยผ้าไทย ทำกจิ กรรม
อนรุ ักษ์สิ่งแวดล้อม ข้าพเจ้าไดพ้ านกั เรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๖/3 ดำเนินกิจกรรมโครงงานคณุ ธรรม
หอ้ งเรยี นสะอาด บรรยากาศนา่ อยู่ จนไดร้ ับรางวลั เกยี รติบตั รระดบั ดีมากและจดั กจิ กรรมการพฒั นาภูมิทศั น์
เพื่อบรรยากาศและส่งิ แวดล้อม จัดกิจกรรมให้ผูเ้ รยี นรณรงค์ Big Cleaning Day ห้องเรียนและบรเิ วณ
โรงเรียน กจิ กรรมการประกวดห้องเรยี น กิจกรรมการแบ่งเขตพนื้ ที่รับผิดชอบให้กับผ้เู รียนและครูประจำชั้น
รว่ มกนั ดูแลความสะอาดเรยี บร้อยของโรงเรียน และรณรงค์ให้ผ้เู รยี นคัดแยกแยกขยะกอ่ นทงิ้ เป็นแกนนำ
ในหนว่ ยอนรุ ักษส์ ง่ิ แวดล้อมธรรมชาติและศลิ ปกรรมท้องถิ่นจงั หวดั มุกดาหาร และเขา้ ร่วมประชมุ ภาคีอนรุ ักษ์
สง่ิ แวดลอ้ มธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมกลมุ่ จงั หวดั ระดบั ประเทศ ติดต่อกัน 2 ปี โดยมกี ารจัดโครงการอบรม
แกนนำในการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อมธรรมชาตแิ ละศลิ ปกรรมทอ้ งถนิ่ จังหวดั มุกดาหาร ตอ่ เนอื่ งทุกปี
๒.๒ พฤติกรรม กระบวนการ วธิ กี าร และผลงานท่แี สดงถึงความสามารถในการเรียน
การสอน เชน่ ความมงุ่ มนั่ ในการพฒั นาตนเอง ความเต็มใจในการให้บรกิ ารแกผ่ ู้รบั บริการ
การสรา้ งองคค์ วามรู้ และนวัตกรรมในการพฒั นาองคก์ รและวิชาชีพ ความสามารถในการจัดทำ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ีเนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ การใช้และพัฒนาส่ือนวตั กรรม การวดั และประเมินผล
การจดั ระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรียน การจัดบรรยากาศทสี่ ่งเสริมการเรยี นรูแ้ ละการวเิ คราะหส์ ภาพ
ปัญหาของนักเรียน นำไปสงั เคราะห์หาแนวทาง วิธีการ เพอ่ื พัฒนาผู้เรียน
๒. ความสามารถในการจดั การเรยี นการสอน
๒.๑ ครมู ีความมุ่งมน่ั ในการพัฒนาตน เพ่ือปฏบิ ัติหน้าท่ีให้มีคุณภาพ
ขา้ พเจ้าอบรมศึกษาดูงานรวมไมน่ ้อยกวา่ ๔ ครั้งต่อปี นำความรไู้ ปพฒั นางาน
สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียน ครู สถานศึกษา มีผลงานของผู้เรียน ครู และสถานศึกษาเป็นที่ประจกั ษ์
พร้อมท้ังนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ จนเปน็ แบบอยา่ งหรือผนู้ ำในการพัฒนางานให้มคี ณุ ภาพ
ดา้ นการอบรมขา้ พเจา้ ไดผ้ ่านการอบรมดังรายละเอียดดงั ต่อไปน้ี
๙
ลำดบั ท่ี เร่ือง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ
ช่วั โมง
ปกี ารศกึ ษา 2560 สถาบันเสรมิ ศกึ ษาและ ๑6
ทรัพยากรมนุษย์
1 ผา่ นการอบรม หลักสูตร “การบัญชีสำหรับ
ผปู้ ฏิบัตงิ านทางบญั ช”ี รุ่นท่ี ๕ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์
2 เข้าอบรมการจดั การศึกษาทางไกลผ่าน สำนักงานคณะกรรมการ 8
ดาวเทียม (DLTV) การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 8
สถาบันสง่ เสริมการสอน ๖
3 ผา่ นการอบรมครอู อนไลน์ หลักสูตร “การใช้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๖
โปรแกรม GSP ๕.๐๖ พ้ืนฐาน ๑ (เรขาคณิต) 16
รนุ่ ท่ี ๓ สถาบนั ส่งเสรมิ การสอน
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 24
4 ผ่านการอบรม หลักสูตร “การจัดกจิ กรรม ส่งเสริมประสิทธภิ าพการจดั
การเรียนรู้ตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา (STEM) ๑6
ระดับช้ัน ม.๖ ภาคเรียนท่ี ๑ รุ่นท่ี ๓ การศึกษาโรงเรยี น 8
มัธยมศกึ ษา จงั หวดั
5 เขา้ อบรมตามโครงการยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ
และพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาสู่ มุกดาหาร
มาตรฐานสากล OBEC QA ชมรมนักวิจัยการพฒั นา
หลักสูตรและกระบวนการ
6 ผ่านการอบรมหลักสูตร รหัส 60000128
การจัดการเรียนรู้ส่ผู ลลัพธ์ Thailand 4.0 เรียนรู้
ตามโครงการพฒั นาครูตามรปู แบบครบวงจร
รุน่ ที่ 9 / 2560 สพฐ. ร่วมกับมหาวทิ ยาลัย
นครพนม
ปีการศึกษา 2561
7 ผ่านการอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการโครงการพฒั นา สมาคมผู้บรหิ ารสถานศึกษา
ครูรูปแบบครบวงจร ประจำปี พ.ศ. 2561 ขัน้ พืน้ ฐาน จังหวดั มกุ ดาหาร
หลกั สูตรการออกแบบการจดั การเรียนรแู้ ละ โรงเรียนมุกดาหารรว่ มกับ
การวดั ผลประเมินผลบนระบบดจิ ทิ ลั รหสั คณะครศุ าสตร์มหาวิทยาลยั
หลักสูตร 613183004 รนุ่ 008 ระดับ
ความเข้มข้น ระดับสงู ราชภัฏสกลนคร
ปีการศึกษา 2562
8 โครงการอบรมพฒั นาผบู้ ริหาร ครู
เพ่ือสง่ เสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศึกษา
9 การอบรมเชงิ ปฎบิ ัติการเร่ือง plc to
e-Exams for Smart School ภายใต้
โครงการ PLC ชุมชนแหง่ การเรียนรทู้ าง
วิชาชีพ สกู่ ารสรา้ งแบบทดสอบออนไลน์
๑๐
ลำดบั ที่ เรื่อง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ
ชวั่ โมง
10 หลกั สตู รความรูพ้ น้ื ฐานการต่อสมการ ชมรมกรรมการ
คณิตศาสตร์ (เอแม็ท) สำหรับคณะกรรมการ ผฝู้ ึกสอนครอสเวริ ด์ 8
และเทคนิคสำหรับผู้ฝกึ สอน
เอแม็ท คำคม ๒๐
11 ผ่านการอบรมโครงการโรงเรียนปลอดภยั ศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน ๑
ในประเทศไทย หลักสูตรการลดความเสี่ยงภยั ๖
พิบัตธิ รรมชาตแิ ละการปรบั ตัวรับการ สำนักงานคณะกรรมการ
เปลยี่ นแปลงสภาพภูมิอาการ รหัสหลักสตู ร การศึกษาข้นั พื้นฐาน ๒๐
๖๒๐๓๗ จำนวน ๒๐ ชว่ั โมง รว่ มกบั มลู นธิ ศิ ภุ นมิ ิตแห่ง 24
12 การทดสอบออนไลนเ์ กยี่ วกับ”การวิจัยในชน้ั ประเทศไทย
เรียน (Classroom Research)”
คณะศกึ ษาศาสตร์
13 ผ่านการอบรมการจัดการเรียนการสอน มหาวทิ ยาลัยขอนแก่น
ทางไกล ในสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) สำนกั งานคณะกรรมการ
ผา่ นระบบการประชมุ ทางไกล การศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน (สพฐ.)
ปีการศกึ ษา 2563 สำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ.)
14 หลกั สูตรอบรมออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรู้ และสถาบนั สง่ เสรมิ การสอน
วิทยาการคำนวณสำหรับครูมัธยมศึกษา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ปีที่ ๔-๖ Coding Online for Grade
๑๐-๑๒ Teacher (C๔T – ๙) (สสวท.)
สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษา
15 เข้าร่วมการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการซักซ้อม
ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การเลือ่ นเงินเดือน/ มัธยมศึกษา
ค่าจา้ ง/ค่าตอบแทน ครั้งท่ี 2 เขต 22
(1 ตลุ าคม 2563)
16 ผา่ นอบรมครูด้วยระบบออนไลน์ หลักสตู ร สำนักงานคณะกรรมการ 20
อบรมออนไลนก์ ารจัดการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์ การศึกษาขัน้ พื้นฐาน
คำนวณ สำหรบั ครมู ธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 รว่ มกับสถาบันส่งเสริมการ
Coding Online for Grade 7 – 9 สอนวิทยาศาสตร์และ
Teacher (C4T-8) รหัส 63025 เทคโนโลยี
จำนวน 20 ชวั่ โมง
17 ผา่ นการทดสอบความรเู้ กยี่ วกับ “เทคโนโลยี ศูนย์วิทยาศาสตรเ์ พ่ือ 1
ในอนาคต” ดว้ ยระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ การศึกษาพษิ ณุโลก
๑๑
ลำดับท่ี เรอ่ื ง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ
ช่ัวโมง
ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรแ์ ละ
18 ผา่ นการศกึ ษาและการทดสอบความรู้ วฒั นธรรมเพ่อื การศึกษา 1
เรือ่ ง “การเรียนการสอนแบบออนไลน์
E-Learning” ด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ รอ้ ยเอด็
19 เขา้ ร่วมโครงการส่งเสรมิ สถานศกึ ษาและ สถาบันรับรองมาตรฐานและ 8
ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสงั กดั ประเมนิ คุณภาพการศึกษา
เพอ่ื สร้างความรู้ ความเขา้ ใจ เกีย่ วกับ (องค์การมหาชน)
แนวทางการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
20 เขา้ ร่วมประชมุ วชิ าการวิทยาศาสตร์ สถาบันส่งเสริมการสอน 16
คณติ ศาสตร์ในโรงเรียน ระดับชาติ คร้งั ท่ี 24 วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(วทร. 24) ในรปู แบบออนไลน์ รว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั บูรพา
และสมาคมครูวิทยาศาสตร์
คณติ ศาสตร์และเทคโนโลยี
แหง่ ประเทศไทย
21 ผ่านการทดสอบด้วยระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ โรงเรยี นหนองรีประชานิมิต 1
เร่ือง “การวจิ ยั ในช้นั เรียน (CAR : สพม. 8
Classroom Action Research)
22 ผ่านการทดสอบความรเู้ ก่ียวกับ “โปรแกรม ศูนยว์ ิทยาศาสตร์และ 1
Microsoft Excel” ดว้ ยระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วฒั นธรรมรอ้ ยเอด็
23 ผ่านการอบรมออนไลนผ์ ่านเครือขา่ ย โครงการบรกิ ารวชิ าการด้าน 1
อินเตอร์เน็ตหลักสตู รสำหรบั ครู เทคโนโลยสี ารสนเทศ
"รปู แบบการเรยี นการสอนคณิตศาสตร์” สพป. เพชรบรู ณ์ เขต 3
24 ผ่านการอบรมออนไลน์ผ่านเครือขา่ ย โครงการบริการวิชาการด้าน 1
อนิ เตอรเ์ น็ตหลกั สูตรสำหรบั ครู "ทกั ษะครู เทคโนโลยสี ารสนเทศ
กับการจดั การเรียนรู้ออนไลน์ยุคใหม”่ สพป. เพชรบูรณ์ เขต 3
25 ผา่ นการสอบ CEFR ระดบั A1 ENGLISH PROFICIENCY 1
20
26 ผา่ นการอบรมหลักสูตร Microsoft Data สำนกั งานคณะกรรมการ
Science ปงี บประมาณ 2564 รนุ่ ท่ี 1 การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน
๑๒
ลำดบั ท่ี เร่อื ง หน่วยงาน จำนวน หมายเหตุ
ช่วั โมง
สพฐ. โดยความร่วมมือ
ปีการศกึ ษา 2564 ของหน่วยปฏิบตั กิ ารวจิ ยั 8
ส่งิ ประดิษฐแ์ ละนวัตกรรม
27 การอบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar การศึกษา คณะครุศาสตร์ 8
“การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ยคุ ปกติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
ใหม่ : มุมมองของผ้บู รหิ าร นักวิชาการ และ 8
คร”ู ในหวั ขอ้ แนวทางการพัฒนาการเรียน สพฐ. โดยความร่วมมือ
ออนไลนแ์ ละการสอนความปลอดภัยบนโลก ของหน่วยปฏิบตั กิ ารวิจยั 8
อินเตอร์เน็ตดว้ ยการเรียนเชิงรุก สิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรม
การศกึ ษา คณะครุศาสตร์
28 การอบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั
“การจดั การเรยี นการสอนออนไลนย์ ุคปกติ
ใหม่ : มุมมองของผู้บรหิ าร นักวิชาการ และ สพฐ. โดยความร่วมมือ
ครู” ในหวั ขอ้ การสร้างห้องเรยี นออนไลน์ 1 ของหน่วยปฏบิ ตั ิการวิจัย
และการสรา้ งห้องเรยี นออนไลน์ 2 สิง่ ประดิษฐ์และนวัตกรรม
การศกึ ษา คณะครุศาสตร์
29 การอบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
“การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ยคุ ปกติ
ใหม่ : มมุ มองของผบู้ ริหาร นักวิชาการ และ สพฐ. โดยความรว่ มมือ
ครู” ในหวั ขอ้ เทคนคิ และวธิ ีการสอน ของหนว่ ยปฏิบตั ิการวิจัย
ออนไลน์แบบมีปฏิสมั พนั ธแ์ ละหอ้ งเรยี น สิ่งประดษิ ฐแ์ ละนวตั กรรม
ออนไลน์โดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐาน การศกึ ษา คณะครุศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย
30 การอบรมออนไลน์ OBEC 2021 Webinar
“การจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ยุคปกติ
ใหม่ : มมุ มองของผบู้ ริหาร นักวชิ าการ และ
ครู” ในหัวข้อ การส่งเสริมศักยภาพการเรยี นรู้
ด้วยสอ่ื วีดโี อออนไลน์และห้องเรียนกลบั ด้าน
ดว้ ยวีดีโอแบบมีปฏสิ มั พันธ์
ข้าพเจา้ นำความรู้จากการพฒั นาตนเองไปพฒั นางานส่งผลให้สถานศึกษาได้รับรางวลั ดังน้ี
- รางวลั โรงเรยี นพระราชทาน ระดบั มัธยมศกึ ษา ขนาดใหญ่ ประจำปกี ารศึกษา
2558 และปีการศกึ ษา 2563
- รางวัลพระราชทานบัณณาสสมโภช ประจำปี 2563
- รางวัล IQA Awards ประจำปี 2561 และ และประจำปี 2562
- โลร่ างวัลระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น ประจำปี 2563 ประเภทสถานศึกษา
มธั ยมศึกษาขนาดใหญ่ ระดับยอดเยีย่ ม จากสำนักงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
- รางวลั เกยี รตบิ ตั รมนี กั เรยี นทไ่ี ดค้ ะแนนเตม็ จากการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาตขิ ้ันพื้นฐาน (O-Net) ประจำปีการศกึ ษา 2563 ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 วิชาคณิตศาสตร์
จากสำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 22
๑๓
เกยี รตบิ ตั ร/วุฒิบตั ร ในการเขา้ รว่ มพัฒนาตนเอง
ปีการศึกษา 2560
๑๔
๑๕
ปีการศึกษา 2561
ปีการศกึ ษา 2562
๑๖
๑๗
ปกี ารศกึ ษา 2563
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
ปกี ารศกึ ษา 2564
๒๓
ในปีการศึกษา 2564 ข้าพเจ้าลงทะเบียนเขา้ รว่ มการอบรมเชงิ ปฏิบัติการเสรมิ สร้างศักยภาพ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาผา่ นระบบออนไลน์ ตลาดนดั การเรยี นรู้ออนไลน์วงั จนั ทรเกษม
ประกอบดว้ ย
- หลกั สตู รคณุ ธรรม จรยิ ธรรมเด็ก ทางรอดของสังคม
- หลกั สูตรการออกแบบการเรียนรเู้ พอื่ สรา้ งประสบการณ์เรยี นรสู้ ำหรบั การศกึ ษาในยคุ
Next Normal Education Reimagined
- หลกั สูตร Education Innovation นวตั กรรมเพ่ืออนาคตการศกึ ษาไทย
- หลักสตู ร Active Learning
๒๔
๒.๒ มคี วามตั้งใจและเต็มใจในการบรกิ ารแก่ผู้รับบรกิ าร
งานบริการเป็นการปฏิบัตงิ านอยา่ งหน่ึงท่ีครูควรมเี พราะในยุคสมัยใหม่นี้ การจดั
การเรยี นการสอนมิใชเ่ พียงแต่สอนหนังสอื อยา่ งเดียวแต่ยังต้องสอนให้ผเู้ รยี นสามารถนำไปประยุกต์
ใช้ในชีวิตจริงได้ ซึ่งจะทำให้ผเู้ รยี นสามารถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมีความสุขและรเู้ ท่าทนั
ต่อการเปลีย่ นแปลงดา้ นต่าง ๆ การบรกิ ารจึงเปน็ ปัจจยั หนง่ึ ของการจัดการเรยี นรใู้ นยคุ ปจั จบุ นั
ดงั น้นั ขา้ พเจ้าได้ให้ความสำคัญกบั ผู้รับการบริการทั้งในโรงเรียนและนอกโรงเรยี น ในดา้ นตา่ ง ๆ
ดงั นี้
๑) การบริการผู้เรียน การศึกษาในยคุ การปฏิรปู การศึกษายดึ โดยเน้นผ้เู รียน
เป็นสำคัญ ขา้ พเจา้ จงึ ไดใ้ ห้บริการแก่ผูเ้ รียนด้านต่าง ๆ เช่นได้จดั หาเอกสาร ตำราเรยี น และเอกสาร
ประกอบการเรยี นอยา่ งเหมาะสม ให้บริการด้านการแนะแนว การจดั หาสื่อการสอน วัสดุอปุ กรณ์
ในการเรียนการสอน ซง่ึ เป็นกระบวนการหนึ่งที่จะช่วยสง่ เสรมิ ให้ผเู้ รียนเกดิ พฒั นาการในการเรียนรไู้ ดด้ ี
นอกจากนต้ี ลอดเวลาท่รี บั ราชการครู ขา้ พเจา้ ได้ใช้ความสามารถอย่างเตม็ ท่ี ทุม่ เทไปเพอื่ การสอน
เพือ่ วิชาการ เพ่อื ศษิ ย์ทำงานอย่างไมค่ ดิ ออมแรง เพอื่ ผลงานทีส่ มบูรณ์นนั้ ก็คอื การปั้นศิษย์ให้มคี วามรู้
ความประพฤติงดงามเป็นท่ีพึงประสงค์ของสงั คม
๒) การบริการทางวชิ าการแก่เพอ่ื นครู โดยใหค้ วามร่วมมือและช่วยเหลือในการ
จัดกิจกรรมตา่ ง ๆ เช่น จดั ทำแผนการจดั การเรยี นรู้ จัดทำสรุปคะแนนประจำภาค/ปี เข้าร่วมเป็น
คณะกรรมการตดั สนิ โครงการทางวิชาการต่าง ๆ เปน็ ตน้
๓) การเผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ ได้จัดทำเอกสารประกอบการสอน งานวิจัย
นำไปใหโ้ รงเรยี นตา่ ง ๆ ทดลองใช้หรือเพื่อศึกษา เชน่ แผนการสอน แบบฝกึ ทกั ษะ ไดร้ ับเชิญเป็น
วทิ ยากรมบี ทบาทการเปน็ ผู้นำทางวชิ าการในวงการวชิ าชีพทง้ั ในระดับเขตพ้นื ท่ี ระดบั จังหวัด ระดบั ภาค
๔) การบรกิ ารผูป้ กครองและชุมชน ขา้ พเจ้าตระหนักดีว่าการศึกษาจะสำเรจ็ ได้
ตอ้ งอาศยั ความรว่ มมือและประสานงานกับผู้ปกครองและชมุ ชน เพื่อใหไ้ ดม้ สี ่วนรว่ มในการจัดการศึกษา
ขา้ พเจา้ จึงให้บริการกับผปู้ กครองและชุมชนดว้ ยความเตม็ ใจ กลา่ วคอื ได้ให้บรกิ ารเกย่ี วกบั ขา่ วสาร
ข้อมูลสารสนเทศเกย่ี วกับการศกึ ษาตามความเหมาะสม จัดทำเอกสารการย้ายแก่ผปู้ กครองที่มาติดต่อ
ขอยา้ ยเข้ามาเรียนและการยา้ ยออกไปศกึ ษาตอ่ ทอี่ ื่น ให้คำปรกึ ษาด้านการเรียนการสอน ดา้ นกีฬา
ร่วมกับผปู้ กครองและชุมชนแกไ้ ขปัญหานกั เรียน ปฏบิ ัตดิ ้วยความเป็นกนั เอง สภุ าพออ่ นน้อม และ
มคี วามเปน็ กลั ยาณมิตร ให้บริการแก่ชมุ ชนดา้ นอปุ กรณ์กีฬา ทำให้ผู้ปกครองและชุมชนมีเจตคตทิ ด่ี ี
ต่อโรงเรยี น ใหค้ วามรว่ มมือกับโรงเรียนก่อใหเ้ กิดความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งโรงเรยี นกับผู้ปกครอง
และชุมชน
๒๕
๒.๓ สรา้ งองค์ความรูแ้ ละนวัตกรรมในการพฒั นาองคก์ รและพฒั นาวิชาชพี
ข้าพเจ้ารวบรวมและวิเคราะหข์ ้อมลู ความรจู้ ดั เปน็ หมวดหมู่ปรับปรุงให้ทันสมัย
สงั เคราะหแ์ ละสรา้ งองคค์ วามรนู้ วัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรูแ้ ละพัฒนาองค์กรพฒั นาวชิ าชพี มีผลงาน
ท่เี กดิ จากการสังเคราะหส์ รา้ งองค์ความรู้นวตั กรรมเพ่อื พัฒนาการจดั การเรียนรู้และพัฒนาองค์กรพฒั นา
วชิ าชพี รวมท้งั เผยแพรเ่ ปน็ แบบอยา่ งในการสร้างองค์ความรนู้ วัตกรรมเพ่ือพัฒนาการจัดการเรยี นรูแ้ ละ
พัฒนาองค์กรพัฒนาวิชาชีพท่ีสอดคลอ้ งกับทักษะการเรยี นรู้ ในด้านการช่วยเหลือและบริการงาน
วชิ าการแก่ครใู นโรงเรียน
ขา้ พเจ้าได้รวบรวบขอ้ มูลสารสนเทศของครผู า่ น โปรแกรม EMIS, โปรแกรม SESA,
ระบบบริหารงานบุคคลออนไลน์ของ สพม. เขต 22 รวมทง้ั รวบรวมสารสนเทศของครู ผบู้ ริหารและ
ชมุ ชนผา่ นเวบ็ ไซต์กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คลโรงเรยี นมุกดาหาร ใหค้ วามรู้และช่วยเหลอื พัฒนาองค์กรและ
พฒั นาวิชาชีพโดยการจดั ทำเว็บไซตเ์ ผยแพร่ผลงานของตนเองผา่ น Google Site
ดแู ลระบบงานบคุ คลของโรงเรียน
๒๖
ข้าพเจ้ามีมงุ่ มั่นต้งั ใจ ศึกษาค้นควา้ หาเทคนิควธิ กี ารต่าง ๆ เพอ่ื พฒั นา
ดา้ นเทคโนโลยีทางการศึกษา ให้กบั ผเู้ รยี นอยา่ งเต็มความสามารถ โดยการอ่านหนังสอื คน้ คว้า
จากอินเทอร์เนต็ การเขา้ รับการประชมุ อบรม สัมมนาทางวชิ าการ สง่ ผลให้ขา้ พเจ้ามีความชำนาญ
เชี่ยวชาญในการสอน โดยเน้นให้เด็กไดป้ ฏิบัติจริง เรยี นรผู้ า่ นทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
ดว้ ยกระบวนการโครงงานเป็นฐาน เน้นปญั หาปลายเปิด และจดั กิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลาย
ข้าพเจา้ ได้แก้ปญั หาเด็กโดยใช้กระบวนการวิจัยมาโดยตลอด ซง่ึ มที ั้งวจิ ัยอยา่ งง่าย
เช่น การแก้ปัญหาการเรยี นรู้ทา้ ยแผนการจดั การเรยี นรู้ และ วิจยั ๕ บท เชน่ งานวจิ ยั ในชัน้ เรียน
เรอื่ ง การพัฒนาชดุ กจิ กรรมการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ หน่วยการเรียนร้กู ารแจกแจงปกติ โดยใชร้ ูปแบบ
การเรียนรแู้ บบร่วมมือเทคนคิ TAI และงานวจิ ัยเรือ่ ง การใช้สัญญาเงือ่ นไขปรบั พฤติกรรม
ความรับผดิ ชอบในการเรยี น เพอื่ พัฒนาผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนักเรยี น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6
โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ เรือ่ ง ลมิ ิตและความต่อเน่ืองของฟังก์ชัน
๒.๔ มคี วามรคู้ วามสามารถในการออกแบบและจัดทำหน่วยการเรยี นร้แู ละแผนการ
จัดการเรยี นรู้
ข้าพเจา้ ออกแบบจดั ทำหนว่ ยการเรียนรูแ้ ละแผนการจัดการเรยี นรู้โดยกำหนด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ให้มีความหลากหลายสอดคล้องกบั หลักสูตรสถานศึกษา นำแผนการจัดการเรยี นรู้
ไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน และมีการบูรณาการใช้อย่างเหมาะสมส่งผลตอ่ คุณภาพผเู้ รียน
อยา่ งเปน็ รปู ธรรม มีการพฒั นาแผนการจดั การเรียนรู้อย่างเปน็ ระบบ เป็นแบบอยา่ งผนู้ ำในการพัฒนา
แผนการจดั การเรยี นรู้อยา่ งเป็นระบบส่งผลต่อคุณภาพผ้เู รยี นจนเปน็ ท่ียอมรบั และมนี วัตกรรมที่เผยแพร่
เปน็ แบบอย่างได้ โดยจดั ทำออกแบบและจัดทำหน่วยการเรยี นรแู้ ละแผนการจดั การเรียนรู้ และเผยแพร่
ผ่าน Google Sites ของตนเอง
การวางแผนการจดั การเรียนรู้
๑. วเิ คราะห์ผูเ้ รยี น
มีการวเิ คราะหผ์ ้เู รียนเป็นรายบุคคล ศกึ ษาข้อมูลพ้นื ฐานทางดา้ นครอบครวั
ร่างกาย อารมณ์ สงั คม สตปิ ัญญา ความรูพ้ ้นื ฐานเดิม ความสนใจ มีกระบวนการวเิ คราะห์ผู้เรียน
เพ่อื ท่จี ะได้รจู้ ักผ้เู รียนอย่างลึกซ้ึง เพ่ือวางแผนการจัดการเรียนรู้ และสามารถจดั การเรยี นรตู้ อบสนอง
๒๗
ตามความต้องการของผเู้ รียนมากที่สุดชว่ ยให้ผู้เรียนได้เรียนรูเ้ ตม็ ตามศักยภาพของแตล่ ะบคุ คล อย่างมี
ความสุขและประสบผลสำเร็จ
๒. วิเคราะหห์ ลักสูตรสถานศึกษา
ศกึ ษาหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรงั ปรงุ
๒๕๖๐) และวิเคราะหห์ ลักสตู รของสถานศึกษา เนื้อหาสาระแกนกลางในรายวิชาท่ีสอน รวมทั้งศกึ ษา
วิเคราะห์นโยบายทางการศึกษา แผนการศึกษาชาติ เป้าหมายของการจัดการศึกษาของชาติเพอ่ื จัดทำ
คำอธบิ ายรายวิชาจดั ทำโครงสรา้ งรายวิชา จดั ทำหน่วยการเรยี นรู้ หลกั สูตรระดบั ชน้ั เรียน สกู่ ารจัดทำ
แผนการจัดการเรียนรู้และสร้างเครื่องมือวัดผลการเรยี นรู้ เพ่อื ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสรมิ ศักยภาพ
ผ้เู รยี นให้รเู้ ทา่ ทันสภาพการเปลยี่ นแปลงของชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลก สามารถนำองค์ความรู้
จากการศึกษาในชน้ั เรยี นและนอกช้นั เรยี นไปใชใ้ นการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชีพ ตลอดจน
สามารถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมไดอ้ ย่างมคี วามสุข ให้ผู้เรียนเป็น คนดี คนเก่ง และมีความสขุ
๒๘
๓. วิเคราะหค์ วามพร้อมของสื่ออปุ กรณ์ ดงั น้ี
๑. สอดคล้องกับจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ของบทเรยี น สอ่ื ทีน่ ำมาใช้ตอ้ งสามารถ
ชว่ ยใหผ้ ้เู รยี นเกดิ การเรยี นรู้ตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรูข้ องบทเรยี น
๒. เหมาะสมกบั ระดับชัน้ และพื้นฐานความรูข้ องผเู้ รยี น
๓. วธิ กี ารนำเสนอเร่ืองราวของส่ือมีความเหมาะสมกับจำนวนผูเ้ รยี น
๔. เนน้ การให้ผเู้ รยี นมีสว่ นร่วมในการใช้ส่อื การมสี ว่ นร่วมครอบคลุมถึงการ
ช่วยกระตนุ้ ให้เกิดความคดิ การตอบสนองดว้ ยการตอบคำถาม การอภปิ รายรว่ มกัน และการขยายฐาน
ความคิด
๕. ผสู้ อนตอ้ งฝึกการใชส้ ่อื เพื่อใหม้ ีความร้คู วามเขา้ ใจและมีทักษะในการใช้สอื่
๖. หลังการใช้สอื่ มกี ารประเมนิ ติดตามผล และการรายงานผลการใชส้ ื่อการเรียน
การสอน เพ่ือแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น เพ่ือนำผลมาปรบั ปรุงครัง้ ตอ่ ไป ผ่าน Google
Form
๔. ออกแบบการเรียนรูท้ เี่ นน้ บรู ณาการ
ศึกษาแนวคดิ จดั การเรยี นการสอนที่เน้นผู้เรยี นเปน็ สำคญั กระบวนการจดั การเรยี น
การสอน เน้นใหผ้ ูเ้ รียนแสวงหาความรแู้ ละพัฒนาความรไู้ ด้ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพของ
ตนเอง จัดกิจกรรมและกระบวนการใหผ้ เู้ รยี นไดค้ ดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เกดิ การเรยี นรู้จากการลงมือ
ปฏิบตั ิ และการเข้ารว่ มกิจกรรม โดยออกแบบและร่วมกันกับเพ่ือนครสู ร้างสรรค์สิง่ ต่าง ๆ นำมาจัด
กจิ กรรมส่งเสริมศักยภาพของผู้เรยี น เชน่ การจดั กจิ กรรมการแข่งขันเกมคณิตศาสตร์ (คิดเลขเร็ว,
A-Math, Sudoku, Rubic ฯลฯ) การทดสอบความสามารถทางคณิตศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ TEDET,
การแขง่ ขันวชิ าการนานาชาติ รอบแรก (ระดบั เขตพน้ื ที่) โครงการพัฒนาอัจฉริยภาพทางวิทยาศาสตร์
และคณิตสาสตร์ (สสวท.) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรมทางคณติ ศาสตร์
The Geometer’s Sketchpad เป็นเคร่อื งมือประกอบการเรยี นรู้ เรอื่ ง การหาพื้นท่ีเส้นโคง้
๒๙
ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี 6 และการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน อาทิ Google Classroom,
Google Meet, Google From, Kahoot และ Padlet เป็นตน้
๒.๕ มีการจัดการเรียนรู้ทเ่ี นน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั
ขา้ พเจ้ามีการสำรวจและรวบรวมขอ้ มลู ผู้เรียนเป็นรายบุคคลรายกล่มุ อย่างเปน็ ระบบ
และนำไปเปน็ พ้นื ฐานในการออกแบบกจิ กรรม การเรยี นร้เู พอ่ื พัฒนาผเู้ รยี นตามศักยภาพ มแี ผนการ
จดั การเรยี นรู้ท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญโดยผูเ้ รยี นมีส่วนรว่ มในการออกแบบกิจกรรมอยา่ งหลากหลาย
เป็นรปู ธรรม สง่ เสริมใหผ้ ูเ้ รียนไดร้ ับการพฒั นาตามแผนการจดั การเรยี นรู้ อย่างเต็มศักยภาพมีความรู้
ความสามารถมีทกั ษะและคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ตามหลักสตู รสถานศึกษา พร้อมทงั้ เป็นแบบอยา่ ง
เป็นผ้นู ำท่ีส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นมีสว่ นร่วมในการจดั การเรียนรู้สามารถสรปุ องคค์ วามรูด้ ้วยตนเองและ
มีผลงานเป็นท่ปี ระจักษ์
ข้าพเจ้าศึกษาวิธีสอนการสอนคณิตศาสตร์ทหี่ ลากหลายรปู แบบท่ฝี กึ ให้ผ้เู รียนไดเ้ รียนรู้
และพฒั นาทัง้ ทักษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ เช่อื มโยงความรู้ การแก้ปัญหา โดยผ่านกระบวนการ
ศึกษาค้นคว้า ลงมือปฏบิ ตั ิจริงและเรยี นรจู้ ากสื่อทีห่ ลากหลายรูปแบบ รวมทงั้ ให้ฝึกความแม่นยำในองค์
ความรู้ ดูแลช่วยเหลอื ผู้เรียนทอี่ ่อนไปพร้อม ๆ กันโดยใช้กิจกรรมคู่หแู ละกจิ กรรมเพ่ือนช่วยเพ่ือน
อกี หนง่ึ รูปแบบของการจัดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ีผ่ ู้ขอรับการประเมินไดอ้ อกแบบ
เพ่อื สง่ เสรมิ ความรู้ความสามารถของผ้เู รียน คอื การใชโ้ ปรแกรม The Geometer’s Sketchpad
โปรแกรม Google meet ทอี่ ัดคลปิ การสอนของครู และกระดานสนทนาอัจฉรยิ ะ Padlet ผสมผสาน
กบั การใชก้ ลวิธีเพื่อนชว่ ยเพ่ือน เปน็ วิธกี ารจดั การเรยี นรทู้ ่ีให้ผเู้ รยี นได้ศึกษาคน้ คว้าหรอื ฝกึ ปฏิบัติและ
สรา้ งองค์ความรเู้ องได้ ซึ่งนอกจากชว่ ยให้ผเู้ รียนสามารถย้อนกลบั เพอื่ ทบทวนบทเรยี นหากไม่เขา้ ใจ
๓๐
หรอื แก้ไขใหมไ่ ดเ้ สมอหากทำไม่ถูก และสามารถเลือกเรยี นไดต้ ามเวลาและสถานที่ทต่ี นเองสะดวก
ยังมีการตอบสนองท่ีรวดเรว็ ของคอมพิวเตอรท์ ่ีให้ทง้ั สีสัน ภาพ ทำใหเ้ กิดความต่ืนเต้น ไม่เบือ่ หนา่ ย
และเพิ่มความแม่นยำ ชดั เจน รวมทัง้ เกดิ ประสบการณ์ตรงในการสร้างองคค์ วามรดู้ ว้ ยตนเอง ทงั้ ส่งเสรมิ
การมภี าวะผ้นู ำให้กบั ผ้เู รยี น ตลอดจนการสรา้ งสมั พนั ธ์ อันดตี อ่ เพอื่ น โดยการสร้างเครือข่ายความรู้
ใช้เทคนคิ การสรา้ งองค์ความรูใ้ นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังน้ี
การสรา้ งองค์ความรู้
๑. การสรา้ งองคค์ วามรู้ก่อนเรียน มีการจัดกจิ กรรมการเรยี นรใู้ ห้ผูเ้ รียนสรา้ งองค์
ความรูก้ ่อนจะเรียนเรื่องใดเร่ืองหนง่ึ โดยเชื่อมโยงกบั ประสบการณ์เดิม ประสบการณ์ในชวี ิตจริง ฝึกให้
ผู้เรยี นไดค้ ้นพบความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีโปรแกรม The Geometer’s Sketchpad เปน็ ส่อื ในการ
สรา้ งองค์ความรู้
๒. การสรา้ งองค์ความรู้ระหว่างเรียน จัดกิจกรรมการเรยี นรูท้ ีเ่ กดิ ขนึ้ ระหวา่ ง
การเรยี นการสอนเรื่องใดเรือ่ งหนึง่ เชน่ สอนเรอ่ื งการลบจำนวนจรงิ เม่อื ครยู กตัวอยา่ งการลบจำนวน
จรงิ และอธบิ ายวิธกี ารลบจนผเู้ รยี นเข้าใจแล้ว จากนั้นให้ผู้เรยี นคิดโจทย์การลบและแสดงวิธีหาคำตอบ
ซงึ่ ขณะนโี้ จทยข์ องผเู้ รียนจะไม่เหมอื นกนั โดยครจู ะให้ทำเพียง ๑ หรือ ๒ ข้อ หากผู้เรยี นเข้าใจการลบ
จำนวนจริงจะสามารถทำโจทย์ของตัวเองไดถ้ ูกตอ้ ง
๓. การสรา้ งองคค์ วามรู้หลังเรียน เป็นการสรา้ งความรหู้ ลงั จากเรยี นเร่อื งใด
เรอื่ งหนึง่ จบ เชน่ ครูสอนเรื่องโจทยป์ ัญหาจบแล้วให้ผเู้ รียนสร้างโจทย์ปัญหาเปน็ รายบุคคล รายกลุ่ม
เพราะการใหผ้ ้เู รยี นสร้างโจทย์ปัญหาผู้เรียนจะตอ้ งบูรณาการความร้ทู างภาษาไทยและคณิตศาสตร์
เขา้ ดว้ ยกนั หรืออาจจะต้องใช้ความรู้ในวชิ าอืน่ มารว่ มด้วย สามารถใช้โปรแกรม Google meet, Line
และ Messenger Facebook ในการติดตามนักเรยี น พร้อมทง้ั ทบทวนความรู้หลังเรียน
การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้
๑. จดั กระบวนการเรยี นรู้ตามธรรมชาติของแตล่ ะวชิ า
ไดจ้ ัดกจิ กรรมการเรยี นรวู้ ิชาคณติ ศาสตร์ ธรรมชาติของวชิ าคณติ ศาสตร์
มลี ักษณะเปน็ นามธรรม การเรยี นการสอนควรเริ่มจากแนวคดิ (Concept) ทเี่ ป็นรูปธรรมไปสนู่ ามธรรม
คณิตศาสตรเ์ ป็นวิชาทตี่ ้องฝึกให้ผ้เู รียนเกิดกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ ซึ่งเป็นสมรรถนะทีจ่ ำเป็น
ต่อการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ จะเน้นให้ผู้เรียนได้สร้างองคค์ วามรู้เองรว่ มกนั
และลงมือปฏบิ ตั ิ จากรปู แบบท่ีหลากหลาย ทัง้ ในรูปแบบกิจกรรมเดย่ี ว กิจกรรมงานคู่ และกิจกรรมกลุ่ม
รวมท้ังการใหโ้ อกาสเด็กอ่อนในการฝึกทักษะเพิ่มเติมโดยใช้กจิ กรรมเด็กเก่งชว่ ยเด็กอ่อน จัดกระบวน
การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการกลุ่ม ใช้กิจกรรมกำหนดสถานการณเ์ พอื่ ใหฝ้ ึกปฏิบัติ รวมทั้งให้ลงฝกึ
ภาคสนามจรงิ ผ่านกิจกรรมร่วมกับชมุ ชนเพ่ือใหฝ้ ึกการใชท้ ักษะตามสถานการณ์จริง
2. จัดกจิ กรรมใหค้ รบถว้ นตามธรรมชาตวิ ิชาและความแตกต่างระหว่างบุคคล
โดยเนน้ ให้ฝกึ ทกั ษะ และกระบวนการคดิ จดั กจิ กรรมการเรียนร้ทู ่ีฝกึ ใหผ้ ู้เรียนเกดิ การแกป้ ัญหา
ทางคณิตศาสตร์ การให้เหตผุ ลทางคณิตศาสตร์ การส่ือสารและการสื่อความหมายทางคณติ ศาสตร์
การเชอื่ มโยงทางคณิตศาสตร์ และความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ทางคณิตศาสตร์ โดยเน้นใหผ้ ู้เรียน
ไดฝ้ ึกทักษะ การคิดวิเคราะห์สร้างองค์ความรเู้ องร่วมกัน และลงมือปฏิบัติ จากรปู แบบท่ีหลากหลาย
เพอ่ื ใหผ้ ู้เรียนได้เกิดทกั ษะครบท้งั ๕ ทกั ษะ ทง้ั ในรูปแบบกิจกรรมเดีย่ ว กิจกรรมงานคู่ กิจกรรมกล่มุ
(ตามเทคนิค STAD) รวมท้ังการให้โอกาสผู้เรยี นท่ีเรียนออ่ นในการฝึกทักษะเพมิ่ เติมโดยใชก้ จิ กรรม
๓๑
เด็กเก่งช่วยเด็กอ่อน และออกแบบกจิ กรรมทค่ี ำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคลคล โดยออกแบบ
กิจกรรมเสรมิ สำหรบั เด็กเก่ง และดแู ลเด็กอ่อน และผ้เู รียนมคี วามสขุ กับการเรียนรทู้ ้ังในชั้นเรยี น
และนอกช้นั เรียน
๓. จัดกิจกรรมหลากหลายวิธีและเหมาะสมกบั ผ้เู รียน
ศึกษาแนวคดิ การจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคัญ ใช้เทคนิค
การจดั การเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เนน้ การมสี ว่ นร่วมกิจกรรมในห้องเรียนและสง่ เสรมิ การฝึกทกั ษะ
กระบวนการทางคณติ ศาสตร์ คอื การแก้ปัญหา (ตามแนวคิดของ โพลยา Polya) การเชือ่ มโยง
คณติ ศาสตร์กบั ศาสตร์อืน่ ๆ การแสดงเหตผุ ล การนำเสนอและสื่อสาร ความคดิ สร้างสรรค์
ผ่านกจิ กรรมและสอื่ นวัตกรรมหลากหลายรปู แบบ ให้ผูเ้ รียนแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเอง จากการลงมือ
ปฏิบตั ิ มีการจัดกิจกรรมและกระบวนการใหผ้ ้เู รยี นได้คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมนิ และสร้างสรรค์
สง่ิ ตา่ ง ๆ ฝกึ ให้ผ้เู รยี นกล้าพูดกล้าคิด กลา้ แสดงออกในทางท่เี หมาะสม ฝึกการดูแลช่วยเหลือกัน โดยให้
เด็กเก่งชว่ ยดูแลเด็กอ่อน ในกิจกรรมเพ่ือนช่วยเพื่อน ใชส้ ่ือเทคโนโลยีใหผ้ ู้เรยี นทันโลก ทันเทคโนโลยี
๔. ใช้สอ่ื การเรียนรู้เหมาะสมกับเนือ้ หาและผู้เรยี น
ใช้สือ่ เหมาะสมกบั เนื้อหาและผ้เู รียน สอดคล้องกับรปู แบบของกจิ กรรมท่ไี ด้
ออกแบบไว้ โดยยึดหลักการเชอ่ื มโยงจากรูปธรรมไปสูน่ ามธรรม สง่ เสริมให้ผเู้ รยี นมกี ารสาธิตและ
ฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ ด้วยตวั เอง ตลอดจนการใช้คำถามกระตนุ้ ให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด เน่ืองจากผูเ้ รยี น
เกดิ การเรียนรูจ้ ากการกระทำ การมปี ฏิสมั พนั ธ์กบั ส่ือ ทำใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจ และเกดิ องค์ความรู้ ทักษะ
เกีย่ วกบั เนอื้ หา สาระ และบรรลุวัตถุประสงค์ ตัวชวี้ ัด และมาตรฐานการเรยี นรู้ รวมทัง้ ให้ผเู้ รียนได้มี
โอกาสรว่ มผลิตสือ่ การเรียนการสอน เพื่อเป็นการสร้างองค์ความรู้ใหค้ งทน จากการลงมือปฏบิ ัติและ
ถ่ายทอดความรู้
๓๒
๕. ใชเ้ ครื่องมือประเมนิ ผลเหมาะสม
ขา้ พเจ้าศกึ ษาวิธกี ารวัดผลและประเมินผล ใช้เครอ่ื งมอื ประเมินผลเหมาะสม
ตอ่ การจัดกระบวนการเรยี นรู้อยา่ งต่อเน่อื งและประเมินจากสภาพจริง การเลือกและสรา้ งเครือ่ งมอื
ในการวดั คณุ ลักษณะหรือพฤติกรรมท่ีกำหนดไว้นั้น ดงั นี้
๑. แบบทดสอบ
๒. แบบฝกึ หดั /แบบฝกึ ทักษะ
๓. แบบประเมินพฤติกรรมผ้เู รยี นรายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรรม
การทำงานเป็นกลุ่ม
๔. แบบประเมินตนเองของผู้เรียน
๕. แบบประเมนิ สมรรถนะผู้เรยี น
๒.๖ มีการใชแ้ ละพฒั นาสื่อ นวตั กรรมเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้
ขา้ พเจ้าจดั หาส่อื ใช้สือ่ ผลติ สื่อนวตั กรรมเทคโนโลยีทีท่ นั สมยั นวตั กรรมเทคโนโลยี
ในการจัดการเรยี นรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้ พัฒนาสื่อที่ทันสมยั
อยา่ งหลากหลาย เป็นแบบอย่างผู้นำในการผลติ ใชส้ ื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี โดยจดั การเรียนรู้
ผา่ นหอ้ งเรียนออนไลน์ ตลอดจนมีสอ่ื ออนไลน์ผา่ น Google classroom
ข้าพเจ้าไดน้ ำนวัตกรรมทางการศึกษามาปรับใช้ใหเ้ หมาะสมกับบริบท สอดคล้องกับ
วฒุ ภิ าวะตามความแตกต่างระหว่างบคุ คล โดยนำมาสรา้ งสรรค์เป็นแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
โดยมีแผนการจดั การเรียนรู้ทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็นสำคัญเปน็ ปจั จุบนั ซ่งึ มแี ผนการสอนทสี่ อดคลอ้ งมาตรฐาน
๓๓
การเรยี นรู้ ตัวชว้ี ัด มีเครื่องวัดและประเมนิ ผลทหี่ ลากหลาย มกี ารทำวจิ ัยในชัน้ เรียนเพอื่ แก้ไขปัญหา
ท่ีเกดิ จากการเรยี นการสอน มีประเมนิ การใช้สื่อการเรียนรู้ เปน็ การนำข้อมลู จากการใชส้ ่อื มาวเิ คราะห์
ใหเ้ กิดความชัดเจนวา่ มีอุปสรรคจากการใชส้ อื่ อย่างไร มีความเหมาะสมกบั กิจกรรมและผู้เรียนระดับใด
การประเมินชว่ ยในการตดั สินใจเลือกใชส้ ื่อการเรยี นรสู้ ำหรับการจดั การเรียนรูใ้ นครงั้ ต่อ ๆ ไป
๒.๗ มกี ารวดั และประเมนิ ผลการเรยี นรู้ท่ีมปี ระสิทธภิ าพ
ข้าพเจ้าใช้เคร่อื งมือวดั ผลและประเมินผลอย่างถูกต้องเหมาะสมกบั เนอ้ื หากิจกรรม
การเรียนรู้ นำผลการประเมินไปใชใ้ นการปรับปรุงเพื่อพฒั นาการจัดการเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ือง พร้อมท้ัง
เผยแพร่ วิธีการพัฒนาคุณภาพผเู้ รยี นให้กบั เพ่อื นร่วมงานและองคก์ รอนื่ ๆ ได้
การวัดผลประเมินผล
๑. มีการศกึ ษาเคร่ืองมือวดั ผลประเมินผลดา้ นการจดั การชน้ั เรยี นอยา่ งเหมาะสม
ศกึ ษาวธิ กี ารวัดผลและประเมินผลอย่างเหมาะสมต่อการจัดการเรยี นรู้ ใช้วธิ ีการ
วดั และประเมนิ ผลอย่างหลากหลายอย่างต่อเนอ่ื งและประเมนิ จากสภาพจริง และขอนำเสนอวิธกี าร
ปฏบิ ัตใิ นการวัดผลและประเมินผลผูเ้ รียน ดงั น้ี
๑.๑ การกำหนดจุดประสงค์ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียน กอ่ นท่จี ะวดั
และประเมินผลการเรยี นของผูเ้ รียน กำหนดจดุ ประสงค์ให้สอดคล้องกบั ผลลัพธท์ ตี่ ้องการให้เกดิ
กบั ผู้เรยี นในแต่ละเรอ่ื งท่ีทำการสอน
๑.๒ การเลือกและสร้างเคร่อื งมอื ในการวดั คณุ ลักษณะหรือพฤตกิ รรมท่ีกำหนด
ไว้น้ัน ควรใชเ้ ครือ่ งมืออะไรบ้าง การวัดในแต่ละคร้งั จึงต้องเลอื กเคร่ืองมือให้เหมาะสมหรืออาจต้องใช้
เครือ่ งมือหลาย ๆ ชนิดประกอบกนั เพ่ือวัดพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ครบทุกด้านตามจุดประสงค์
๑.๓ การนำเคร่ืองมือไปทำการสอบวัดผูเ้ รยี น ครูผู้สอนจัดเตรียมสภาพแวดลอ้ ม
ใหเ้ หมาะสม เพอื่ ให้ผูเ้ รียนทำข้อสอบหรือแกป้ ญั หาได้อย่างเตม็ ความสามารถ รวมท้งั กำหนดเวลาสอบ
ใหเ้ หมาะสม
๑.๔ การตรวจและนำผลเปรียบเทยี บกับเกณฑ์ เป็นการรวบรวมและแปลง
คำตอบของผเู้ รียนให้เป็นคะแนน รวบรวมคะแนนของผเู้ รยี นท่ไี ดจ้ ากการวัดทุกชนดิ จากทุกระยะ
มาเปรียบเทียบกับเกณฑ์
๑.๕ การประเมินผล เปน็ การตดั สินวา่ ผู้เรยี นมีความสามารถสูงหรอื ต่ำกว่าเกณฑ์
๓๔
๒. ใช้วิธกี ารวัดและประเมินผลอยา่ งหลากหลาย
ใชว้ ธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลอยา่ งหลากหลาย สอดคล้องกบั จดุ ประสงค์ เลอื ก
และสรา้ งเคร่ืองมือในการวัดคุณลกั ษณะหรือพฤตกิ รรมทกี่ ำหนดไวอ้ ย่างเหมาะสม วัดและประเมินผล
ตามสภาพจรงิ ข้าพเจ้าขอนำเสนอการวัดผลและประเมินผลผเู้ รียน ดังน้ี
๒.๑ แบบทดสอบ เพื่อใชป้ ระเมนิ ความสามารถดา้ นความรู้ ใช้ทดสอบก่อนเรยี น
และหลงั เรยี น
๒.๒ แบบฝึกหัด/แบบฝกึ ทักษะ เพ่ือใชป้ ระเมินความสามารถด้านความรู้ ทักษะ
และกระบวนการ เรยี นรู้ทางคณติ ศาสตร์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.๓ แบบประเมินพฤตกิ รรมผู้เรยี นรายบุคคล แบบประเมินพฤติกรรรม
การทำงานเป็นกลุ่ม
๒.๔ แบบประเมินตนเองของผูเ้ รียน เพื่อใช้ประเมนิ จุดออ่ น จดุ แข็งด้านความรู้
ทักษะและกระบวนการทางคณติ ศาสตร์และคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ด้วยตนเอง
๒.๕ แบบประเมนิ สมรรถนะผ้เู รยี น เพ่ือใช้ประเมินสมรรถนะทางการเรียนร้แู ละ
การปฏิบัติท่ตี ้องการให้เกิดกับผู้เรยี นระหว่างการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้
๓. นำผลการประเมินมาพฒั นาการจดั การชัน้ เรียน
นำผลทไี่ ดจ้ ากการประเมนิ ผ้เู รียนการพัฒนาการจดั การเรยี นรู้ เพื่อยกระดับ
ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและพัฒนาผเู้ รยี นดา้ นวชิ าคณิตศาสตร์ มาใชใ้ นการพัฒนาการเรียนการสอน
ทำใหผ้ เู้ รยี นได้พฒั นาคุณภาพตามหลกั สตู ร มคี วามสามารถในการแกป้ ญั หา การใหเ้ หตุผล การส่ือสาร
สอื่ ความหมายและการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรูแ้ ละความคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ มที กั ษะการแสวงหา
ความรู้ ดว้ ยตนเอง เกิดแรงจงู ใจใฝ่สมั ฤทธใิ์ นการเรียนทำให้มผี ลสมั ฤทธ์ทิ างเรยี นดีขึ้น และพัฒนา
ผู้เรยี นตามความถนัด ความสนใจ ใหส้ ามารถฝึกฝนตนเอง ส่งผลใหเ้ กิดประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รียน ดงั นี้
๓.๑ ผเู้ รียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นวชิ าคณติ ศาสตร์สงู ขึ้นตามลำดับ
๓.๒ ผูเ้ รยี นไดร้ บั การพัฒนาเต็มตามศักยภาพ โดยผูร้ ับการประเมินเป็นครู
ผฝู้ กึ สอนและควบคุมผเู้ รียนเขา้ ประกวดแขง่ ขนั จนประสบผลสำเร็จไดร้ บั รางวัลจากการประกวดแข่งขนั
ทกั ษะด้านวิชาการ
๓๕
๓.๓ ผเู้ รยี นเป็นบุคคลแหง่ การเรียนรู้ มีความสามารถในการแกป้ ญั หา การให้
เหตผุ ล สื่อความหมายและการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ ความคดิ รเิ ร่ิมสร้างสรรค์ มีทกั ษะการ
แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง มีความเปน็ ผู้นำ กล้าแสดงออก
๔. เผยแพร่ผลการพฒั นาการจัดการชนั้ เรียน
ข้าพเจา้ เผยแพร่ผลของการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ เพ่อื ยกระดับผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรยี นและพฒั นาผู้เรียน ดงั น้ี
๔.๑ เปน็ วทิ ยากรสอนเสริม เตมิ เต็มความรู้ PAT1 ภายในโรงเรียนและภายนอก
โรงเรียน
๔.๒ เป็นวทิ ยากรการใชโ้ ปรแกรมทางคณิตศาสตร์
๔.๓ วิทยากรการใช้เวบ็ ไซตน์ ำเสนอผลงานของตนเอง
๔.๔ เปน็ วิทยากรในการยกระดับผลสมั ฤทธท์ิ างเรียน (O-NET)
๔.๕ เป็นวทิ ยากรกจิ กรรมตวิ ออนไลน์ “มกุ ดาหารสานฝัน ปนั น้ำใจ ติวออนไลน์
O-NET” ของสำนักงานเขตพื้นท่กี ารศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร
๔.๖ เผยแพรผ่ ลงาน นำเสนอเน้ือหาผา่ นทาง Google Site
๓๖
๒.๘ มกี ารจัดระบบดแู ลช่วยเหลือผู้เรยี น
ข้าพเจา้ ไดจ้ ัดระบบดูแลชว่ ยเหลือนักเรยี น ดงั นี้
๑. ตดิ ตามพฤติกรรมของนักเรียนและแก้ไขสถานการณไ์ ด้เหมาะสม
ในด้านการตดิ ตามพฤติกรรมนกั เรยี น ได้ใชส้ ื่อเทคโนโลยี เปน็ ช่องทางในการ
ติดตอ่ สือ่ สารกบั ผ้ปู กครองและติดตามพฤติกรรมของผู้เรยี น พบปะสนทนาพูดคยุ กับผ้ปู กครองนักเรยี น
แตล่ ะคนอย่เู สมอ ในพัฒนาการทางการเรียน การตดิ ตามความคืบหนา้ ของงาน ลดช่องว่างระหว่างวยั
ของครูกบั ผูเ้ รยี นเพื่อให้ผเู้ รียนเกดิ ความไว้วางใจและกล้าท่ีจะปรึกษา เมือ่ มีปญั หาเกิดขึ้น รวมถึง
สอดสอ่ งพฤติกรรมการของผู้เรียนจากการสอบถามจากเพ่ือนและคนรอบข้าง การสรา้ งเครอื ขา่ ย
ใหค้ วามร่วมมือในการสอดส่องดแู ลพฤติกรรมของนักเรยี น
๓๗
๒. จัดช้นั เรียนใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
ไดร้ ว่ มกนั กบั นกั เรยี นท่ีปรกึ ษาและนกั เรียนท่สี อน จดั สภาพแวดล้อม ทั้งภายใน
และภายนอกหอ้ งเรียน เพื่อให้นกั เรียนเกดิ การเรียนรูอ้ ย่างมีความสขุ คำนึงถึงความสะอาด
ความปลอดภัย ความสะดวกในการทำกจิ กรรม ความพร้อมของอาคารสถานท่ี มีความเพยี งพอ
เหมาะสมในเรื่องขนาด จำนวน บรรยากาศในการเรยี นรู้ และมุมประสบการณต์ ่าง ๆ จดั ป้ายนิเทศ
ในหอ้ งเรียนและหน้าห้องเรียนให้เปน็ บรรยากาศทเี่ อื้อต่อการเรยี นร้ตู ลอดเวลา และมีนักเรยี นทท่ี ำ
หน้าทเี่ วรรกั ษา ความสะอาดทุกวันเปน็ การสร้างนิสัยความรับผดิ ชอบให้เกิดกับตัวนักเรยี น ทำใหไ้ ด้รบั
รางวัลชนะเลิศ การประกวดหอ้ งเรยี นสะอาด บรรยากาศส่งเสริมการเรยี นรู้โครงการส่งเสริมคณุ ธรรม
จริยธรรม ของนกั เรยี นห้องเรียนพิเศษ IEP
๓. กำหนดระเบียบวนิ ยั ในการเรียนรแู้ ละการอยูร่ ว่ มกนั ในชนั้ เรยี นอยา่ งตอ่ เนื่อง
เปิดโอกาสให้ผเู้ รียนไดม้ ีสว่ นรว่ มในการสรา้ งข้อตกลงในการจัดกจิ กรรมการเรยี น
การสอนร่วมกัน ให้อิสระและความเสมอภาคและยนิ ดรี ับฟังทกุ ข้อเสนอ โดยมุ่งเน้นให้ผเู้ รียนยอมรบั
กตกิ าโดยเรม่ิ จากระเบยี บวนิ ยั ในตัวเอง วินัยในห้องเรียนและวนิ ยั ในโรงเรยี น เพอื่ ปลูกฝงั การมีวนิ ยั
ตอ่ สังคม เป็นพลเมืองท่ีดขี องชาติ ยดึ หลกั ประชาธปิ ไตย สอนให้ผู้เรยี นยอมรบั และเขา้ ใจกฎกตกิ า
ข้อตกลงตา่ ง ๆ ให้ความยตุ ิธรรมอยา่ งเท่าเทียมกนั มงุ่ เนน้ การเสริมแรงทางบวก
๔. สร้างบรรยากาศให้ผูเ้ รียนได้เกดิ การเรยี นรู้
นำความรจู้ ากการศึกษาคน้ คว้า จากประสบการณ์การจดั การเรยี นร้จู ากการศึกษา
เพิม่ เตมิ ในระดบั ทสี่ ูงขน้ึ จากการอบรมตลอดจนจากการแลกเปล่ยี นเรียนรกู้ บั เพ่ือนครูในวงวชิ าชีพ
มาจดั กจิ กรรมการเรียนร้แู ละสรา้ งบรรยากาศใหผ้ ้เู รียนได้เกดิ การเรยี นร้แู ละไดฝ้ ึกทักษะรวมท้ังพฒั นา
ศักยภาพของผู้เรียนแต่ละบุคคล ให้เกิดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยสร้างบรรยากาศ
ในการจัดการเรียนรู้ทเ่ี อ้ือ และกระตุ้นใหผ้ ู้เรยี นได้ เกดิ การคิดวิเคราะห์ การรว่ มมือ กระตือรอื รน้
ท่จี ะเรียนรู้และเรียนรอู้ ยา่ งมีความสุข
๓๘
๕. มที ักษะในการดึงความสนใจผู้เรียน
ได้นำเอาเทคนิคการจดั กระบวนการเรียนการสอนท่ีหลากหลาย มาใช้ในการดึงดูด
ความสนใจผู้เรยี น เพอื่ กระตุ้นให้ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ จดั กิจกรรมส่งเสรมิ ศักยภาพของผ้เู รียน ผ่าน
การใช้ส่อื ICT การใช้เกมท้ังแบบ on line และ off line เชน่ Box Questions, Kahoot เป็นต้น และ
ใช้การสอบวัดความรู้ทางคณิตศาสตร์ เพื่อส่งเสรมิ ความรู้และประสบการณ์ของผูเ้ รยี น
๖. มอบหมายงานตามความสามารถผเู้ รียน
จัดการเรียนการสอนโดยผ้เู รียนเปน็ สำคญั มอบหมายให้ผเู้ รียนทำงานร่วมกัน
เปน็ หมคู่ ณะ ช่วยกันคน้ ควา้ แกป้ ญั หาหรอื ปฏิบตั ิกิจกรรมตามความสามารถ ตามความถนดั ความสนใจ
เปน็ การฝกึ ให้ผูเ้ รียนทำงานร่วมกนั ตามวิธีแบบประชาธปิ ไตยทุกคนจะต้องดำเนินการตามทีม่ อบหมาย
ให้เปน็ วิธีการชว่ ยฝึกฝนผู้เรยี นใหไ้ ดร้ ับประสบการณต์ รงได้เรยี นรู้เพื่อนร่วมงานโดยดำเนินการ
อย่างมหี ลกั เกณฑ์ มีการวางแผนให้ผเู้ รยี นทกุ คนในแตล่ ะกลุ่มปฏบิ ัตอิ ยา่ งเคร่งครดั เพ่ือให้ผ้เู รียน
มีความรับผดิ ชอบรว่ มกัน ช่วยเหลือซ่งึ กันและกัน ทำงานอยา่ งมรี ะบบระเบยี บ มวี ินัย รู้จกั ทำหนา้ ท่ี
เปน็ ผูน้ ำและผตู้ ามท่ีดี และออกแบบแบบทดสอบและแบบฝึกหัดในแต่ละเรื่องสำหรับเด็ก เก่ง กลางและ
อ่อน เพ่ือจดั ให้ผเู้ รียนได้ฝกึ ตามความสามารถของแต่ละบคุ คล
๗. ฝึกให้ผู้เรยี นรับผิดชอบในการรักษาความสะอาดและฝึกการทำงานรว่ มกัน
ฝกึ ให้ผูเ้ รยี นรบั ผิดชอบต่อตนเองและร่วมกนั รับผดิ ชอบต่อส่วนรวม เม่อื อยู่
ในโรงเรียนทกุ คนมีหนา้ ทที่ ี่ต้องปฏบิ ัตติ ่อโรงเรียน ผูเ้ รยี นปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บของหอ้ งเรียนและ
โรงเรียน เพอ่ื ทจี่ ะได้อยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสขุ และ เกิดความเป็นระเบียบเรยี บร้อย เช่น ชว่ ยกันรกั ษา
ความสะอาดห้องเรยี นและบริเวณต่าง ๆ ในโรงเรียน ทิง้ ขยะลงในถังขยะที่โรงเรยี นจัดให้ นอกจากน้ี
ควรปฏบิ ตั ติ นให้เปน็ สมาชิกที่ดีของห้องเรยี นและโรงเรยี น เชน่ การเปน็ ผ้นู ำและผ้ตู ามท่ดี ี ในการทำ
กจิ กรรมต่าง ๆ ซ่งึ ได้นำกิจกรรมกล่มุ มาประยุกต์ใชก้ บั ผู้เรียนเพ่ือให้เรียนรู้การทำงานร่วมกันเป็นกลมุ่
รู้จักยอมรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อน่ื ไดฝ้ กึ บทบาทการเปน็ ผู้นำและผู้ตามที่ดี รวมถึงฝกึ การเสียสละ
๓๙
ฝกึ ความมีนำ้ ใจเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ แบ่งปนั และการช่วยเหลือซ่ึงกนั และกันสง่ เสรมิ ให้เกิดความรกั
ความสามัคคใี นห้องเรียนและในโรงเรียน
๒.๙ จดั บรรยากาศทส่ี ่งเสรมิ การเรียนร้อู ยา่ งมคี วามสุขและความปลอดภัยของผ้เู รียน
ข้าพเจ้าจดั บรรยากาศในชนั้ เรยี น เป็นการจดั สภาพแวดล้อมในชนั้ เรยี นใหเ้ อื้ออำนวย
ตอ่ การเรยี นการสอน เพ่อื ชว่ ยสง่ เสรมิ ใหก้ ระบวนการเรียนการสอนดำเนนิ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ และ
ช่วยสร้างความ สนใจใฝร่ ู้ ใฝ่ศึกษา ตลอดจนชว่ ยสรา้ งเสรมิ ความมีระเบยี บวนิ ัยใหแ้ ก่ผเู้ รียน ข้าพเจา้
ได้จัดบรรยากาศในช้ันเรยี นที่ส่งเสรมิ การเรยี นรูอ้ ย่างมคี วามสขุ และความปลอดภัยของผู้เรยี น ดังนี้
๑. จดั สถานท่อี ำนวยความสะดวกสนองต่อการจัดกิจกรรมต่าง ๆ
จัดบรรยากาศสภาพแวดลอ้ มด้านอาคาร สถานที่ สื่อวสั ดุ อุปกรณ์ ส่ิงอำนวย
ความสะดวกต่าง ๆ ท่เี กีย่ วกบั การเรยี นการสอน เช่น ปา้ ยนิเทศ มมุ วิชาการ ชน้ั วางหนงั สือ และแหล่ง
ความรูท้ ีเ่ กื้อกูลต่อการเรียนรแู้ ละการปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่าง ๆ ภายในหอ้ งเรยี นใหเ้ ปน็ ระเบียบเรยี บร้อย
มคี วามสะอาด มเี ครื่องใช้ และสิง่ อำนวยความสะดวกต่าง ๆ ท่จี ะส่งเสรมิ ให้การเรียนของนกั เรยี น
สะดวกขน้ึ โดยเนน้ ความสะดวกสบาย มเี ครือ่ งมือและแหล่งความรสู้ อดคล้องกบั กิจกรรมและ
จดั บรรยากาศห้องเรียนให้อากาศถ่ายเทได้อย่างสะดวก มีแสงสวา่ งเพยี งพอ โปร่งสบายและมีความ
เป็นระเบียบเรยี บร้อยสวยงาม
๒. จัดสอ่ื อุปกรณ์สอดคลอ้ งกับกจิ กรรม
จัดสือ่ วสั ดอุ ุปกรณ์สอดคล้องกับการทำกิจกรรม เน่ืองจากผูเ้ รยี นเกดิ การเรียนรู้
จากการกระทำ การมีปฏสิ มั พันธก์ บั สือ่ วัสดุตา่ ง ๆ ทำให้เกิดความเข้าใจและแสดงผล การเรียนรู้
ผ่านการแสดงออกและจากผลงาน ดงั นั้นจะต้องหาส่อื อุปกรณ์ทส่ี อดคลอ้ งกบั รูปแบบของกจิ กรรมทไี่ ด้
ออกแบบไว้ โดยยึดหลักการเช่ือมโยงจากรปู ธรรมไปส่นู ามธรรม ฝกึ ปฏบิ ัตจิ ริงดว้ ยตวั เอง ตลอดจน
การใช้คำถามกระตนุ้ ใหผ้ ้เู รยี นเกดิ กระบวนการคิด
๔๐
๓. จดั แหล่งความรูส้ อดคล้องกับกจิ กรรมและความสนใจของผ้เู รยี น
จดั บรรยากาศในห้องเรียนใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรทู้ เ่ี หมาะสม เพอ่ื สง่ เสริม
การเรยี นร้แู ละกระต้นุ ให้ผู้เรียนสนใจการเรยี น โดยคำนึงความสอดคล้องกับกจิ กรรมและความสนใจ
ของผู้เรียน ทง้ั หน่วยการเรยี นรตู้ ามเนอื้ หาบทเรียนและการเรียนรู้ทผี่ ูเ้ รยี นเลอื กท่จี ะเรียนรู้ด้วยตนเอง
ใชไ้ ดอ้ ย่างสะดวก มีความนา่ สนใจ สนับสนนุ และส่งเสริมให้ผูเ้ รยี นอยากสืบเสาะ ค้นหาและลงมือ
ปฏบิ ัติ จดั มมุ ตา่ ง ๆ ในห้องเรียน มุมหนังสือรกั การอ่าน นทิ รรศการต่าง ๆ เพ่ือสง่ เสริมการค้นคว้าและ
การใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ กิดประโยชน์ มมุ แสดงผลงานของนกั เรยี น
๒.๑๐ มีการวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาของผ้เู รยี นนำไปสังเคราะห์หาแนวทาง วิธกี าร
เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ข้าพเจา้ รวบรวมวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์ข้อมลู เก่ียวกบั สภาพปัญหาของผู้เรยี น
อย่างเปน็ ระบบและนำไปสู่แนวทางการแก้ปัญหาของผู้เรียน นำแนวทางวธิ ีการพฒั นาปฏิบัตติ ่อผู้เรยี น
อยา่ งต่อเนื่อง และเป็นแบบอยา่ งเป็นผู้นำทีม่ ีผลการพัฒนาผู้เรียนเผยแพร่เป็นทย่ี อมรับเผยแพร่
ผลการดูแลและพัฒนาผู้เรยี นอย่างกวา้ งขวาง โดยจดั ทำข้อมูลเกี่ยวกบั สภาพปญั หาของผ้เู รยี น
รายบุคคล และนำมาเสนอต่อทปี่ ระชมุ ใน ชมุ ชนแห่งวิชาชีพ (PLC) เพ่ือแก้ปัญหาทง้ั ดา้ นผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี น และพัฒนาคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ขา้ พเจา้ ไดร้ บั การพัฒนาจากหน่วยงานการศึกษาตา่ ง ๆ การพัฒนาตนเอง และได้ศึกษา
ต่อในระดับปริญญาโทในสาขาการวิจัยการศึกษา จนทำให้ขา้ พเจา้ เกิดองค์ความรดู้ ้านการจัดการเรยี น
การสอน การวดั และประเมินผล และการสงั เคราะหห์ าแนวทางเพ่ือพฒั นาผูเ้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ
โดยมขี ั้นตอนในการจดั การเรียนการสอนเพอื่ พัฒนาผเู้ รียน ดงั น้ี
๑. การแก้ปญั หา / พัฒนาผเู้ รยี นโดยใช้กระบวนการวจิ ยั ในช้นั เรียน
ทำวจิ ัยช้ันเรยี นด้วยการวิเคราะห์ผู้เรยี นรายบุคคล สำรวจสภาพปัญหาและ
ความต้องการของผู้เรียน ได้นำแนวทางการจัดการเรียนการสอนรปู แบบการสอนแบบโครงงานมาใช้
ในการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน และผลติ นวตั กรรมบทเรยี นสำเร็จรูปมาประยกุ ต์ใช้ในการแก้ปัญหา
ดา้ นการเรียนให้แก่ผูเ้ รียนได้
๒. การแก้ปัญหา / พัฒนาผู้เรยี นโดยใช้นวัตกรรมทางการเรยี นการสอน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยการผลิตนวตั กรรมบทเรียนสำเร็จรปู
มาประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาดา้ นการเรียนใหแ้ ก่ผูเ้ รียนเป็นการพัฒนาคุณลักษณะและทักษะการเรียน
วชิ าคณิตศาสตร์ ได้แก่ การฝึกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ พฒั นาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผ้เู รยี น คือ ดา้ นความรู้ ความสามารถและคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ผลของการพัฒนาท่ีประสบผลสำเร็จ
๔๑
ผู้เรยี นสามารถสร้างองค์ความรูไ้ ด้ด้วยตนเอง ไดล้ งมือปฏิบัตดิ ้วยตนเองตง้ั แต่ขน้ั แรกจนสำเรจ็ ซง่ึ มี
คุณคา่ และสามารถนา่ ไปใช้งานได้จริง ทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ คุณธรรม จริยธรรม รกั การทำงาน เห็นประโยชน์
ของเทคโนโลยี จัดกิจกรรมโดยใหผ้ ู้เรียนได้มกี ารสรปุ ผลการทำงาน ต้ังแตต่ น้ จนจบ กลา่ วถงึ ปัญหา
อุปสรรคและประโยชนข์ องการทำงาน
๓. การแก้ปญั หา/พัฒนาผเู้ รียนโดยใช้ระบบดแู ลช่วยเหลือนกั เรียน
ไดน้ ำระบบดูแลชว่ ยเหลอื นักเรยี นมาใช้แก้ไขปัญหาผ้เู รยี นอย่างเป็นระบบ
มีขั้นตอนชดั เจน มีวิธกี ารและเครือ่ งมอื ท่ีมีมาตรฐานคณุ ภาพและมหี ลักฐานการทำงานที่ตรวจสอบได้
โดยมีกระบวนการและขัน้ ตอน ดังน้ี การร้จู ักผ้เู รียนเป็นรายบุคคล รู้จักข้อมูล ที่จำเป็นเกยี่ วกับ
ตวั ผูเ้ รยี นทัง้ ดา้ นบวกและด้านลบ เป็นสิ่งสำคัญท่ีจะชว่ ยให้ครูท่ปี รึกษามีความเข้าใจในผ้เู รียน สามารถ
นำข้อมูลมาวิเคราะห์ เพ่ือการคดั กรองนักเรียน เปน็ ประโยชน์ในการสง่ เสริม การป้องกนั และแก้ไข
ปญั หาผเู้ รียนได้อย่างถูกทาง โดยการจดั กจิ กรรมหลักสำคัญ ไดแ้ ก่ การจดั กิจกรรมโฮมรูม การเย่ียมบ้าน
นักเรยี น การจดั ประชมุ ผปู้ กครองช้ันเรียน การจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างทักษะการดำรงชีวิตและกจิ กรรม
พฒั นาผูเ้ รยี น โดยจะแยกเปน็ รายกรณี ดังนี้
๑. กรณผี เู้ รยี นที่มีปัญหา ไมว่ ่าจะเปน็ ปญั หาทางการเรยี นหรอื ปญั หาพฤตกิ รรม
ได้แกป้ ัญหาโดย การพูดคุยกับผู้เรียนเพื่อหาแนวทางการแกป้ ัญหา เชญิ ผปู้ กครองและผูม้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง
มารับทราบปญั หา พรอ้ มทงั้ หาแนวทางการแก้ไขปญั หารว่ มกัน ทั้งนโ้ี รงเรยี นไดจ้ ดั กิจกรรมอบรม
ใหค้ วามร้แู กน่ ักเรียนกลุ่มเสยี่ งโดยเชิญวทิ ยากรมาให้ความรู้
๒. กรณีพัฒนานกั เรียนกลุ่มปกติ ได้พัฒนานักเรยี นดา้ นความเป็นผนู้ ำและผตู้ าม
การสง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มสี มรรถนะดา้ นการส่ือสาร ทักษะชีวิต ทกั ษะ
การคิด ทักษะการแกป้ ญั หาและทกั ษะการใช้เทคโนโลยี
๓. กรณีนกั เรยี นกลมุ่ มีความเป็นเลศิ ได้ทำการสง่ เสริมให้นกั เรียนแสดง
ความสามารถของตนเองในโอกาสต่าง ๆ ส่งเสริมใหเ้ ปน็ ผนู้ ำในการพฒั นาเพ่ือน ๆ และองคก์ ร เปน็ ผนู้ ำ
ในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เชน่ เปน็ พธิ ีกรโรงเรียน เขา้ ร่วมประกวดแขง่ ขันทกั ษะทางวชิ าการ
๒.๓ พฤติกรรม กระบวนการ วธิ ีการและผลงานที่แสดงถึงการใชห้ ลักธรรมาภบิ าลในการ
ปฏบิ ตั ิงาน เชน่ การใช้หลักธรรม หลักความโปรง่ ใส หลักการมีส่วนรว่ ม หลกั ความคุ้มค่า การใช้
หลักเศรษฐกจิ พอเพียงในการปฏบิ ตั งิ าน
๓. การใชห้ ลักธรรมภิบาลในการปฏบิ ตั ิงาน
ตลอดเวลา ๑2 ปีเศษ ของการปฏบิ ัติหน้าทขี่ ้าราชการครู ข้าพเจา้ มีความม่งุ มนั่
มีความรักและศรัทธาในวชิ าชพี ครูพัฒนาตนเอง ท้งั ดา้ นเน้ือหาวิชาการ ธรรมชาตวิ ชิ า การจัดการเรียนรู้
รปู แบบการจัดการเรยี นรู้ การผลิตและการใช้ส่ือการเรียนรู้ การวัดผลและการประเมินผล จติ วทิ ยา
การเรียนรู้ พฒั นาแนวทางในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้กับผู้เรียน โดยยึดหลักคุณธรรม จริยธรรม
ตามจรรยาบรรณวิชาชพี ครู การทำงานดว้ ยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เปิดโอกาสใหเ้ พื่อนรว่ มงาน
มสี ว่ นร่วมในการปฏบิ ตั งิ าน และการแสดงความคดิ เห็น โดยยึดความคุ้มค่า ใช้หลกั การของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง หลกั ทางสายกลาง “ความพอประมาณ มีเหตุผล มีภูมคิ ุ้มกันในตวั ท่ดี ”ี มีความรู้ “รอบรู้
รอบคอบ ระมดั ระวงั ” มีคุณธรรม “ซือ่ สตั ย์ สจุ ริต ขยนั อดทน สตปิ ัญญา และแบง่ ปัน” ยดึ ประโยชน์สขุ
๔๒
ของสังคมส่วนรวมมากกวา่ ส่วนตัว มุง่ ม่นั พัฒนาผู้เรียนให้เป็น “คนดี คนเก่ง และมีความสขุ ”
ตามเป้าหมายของการจดั การศึกษาของชาติ ปฏบิ ตั ิงานในหน้าที่ จนเปน็ ผ้ทู ไ่ี ดร้ บั การยอมรับนับถอื
ของศิษย์ ชุมชน และบุคคลทวั่ ไป
๓.๑ ครใู ชห้ ลักคุณธรรม/นิตธิ รรมในการปฏบิ ตั ิงาน
ข้าพเจ้ามีการพฒั นาตนเองด้านคุณธรรมจริยธรรมและปฏิบตั ติ ามกฎหมาย นำหลกั
คุณธรรมนิตธิ รรมไปใช้ในการปฏิบัตงิ านที่เกดิ ผลต่อตนเองและส่วนรวม มพี ฤติกรรมทเี่ ป็นแบบอยา่ ง
ด้านคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและแสดงออกอย่างสมำ่ เสมอ จนได้รบั รางวัล หน่งึ แสนครดู ี
ข้าพเจ้าตระหนักสำนึกอยู่เสมอว่าตนเองเป็นแม่พิมพ์ของชาตติ ้องเปน็ ตวั อย่างทด่ี ี
ใหก้ บั ลกู ศิษย์โดยยึดถือแนวปฏิบัติในจรรยาบรรณวิชาชีพครู ด้วยความรกั และเมตตาศิษย์ โดยให้
ความเอาใจใสด่ ูแลชว่ ยเหลอื สง่ เสริมใหก้ ำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแกศ่ ิษยโ์ ดยเสมอภาค อบรม
สง่ั สอน ฝึกฝน สรา้ งเสรมิ ความรู้ ทักษะและสขุ นสิ ัย ท่ถี ูกต้องดงี ามใหแ้ ก่ศษิ ย์ พฒั นาตนเอง รกั และ
ศรัทธาในวชิ าชพี ช่วยเหลือ เกอ้ื กลู เพื่อนร่วมวิชาชีพและชุมชนในทางสร้างสรรค์ ประพฤติ ปฏิบตั ติ น
เป็นผูน้ ำในการอนรุ กั ษ์ภูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทย
ขา้ พเจา้ มีความรับผดิ ชอบต่อหนา้ ทท่ี ีไ่ ดร้ บั มอบหมาย เอาใจใส่กระตือรือรน้
ในการเรยี นรูง้ านและเพ่ิมพนู วชิ าความร้คู วามสามารถในการทำกจิ การงานและมุ่งม่นั ทีจ่ ะทำงาน
ในหน้าท่ีรบั ผดิ ชอบหรือกจิ การงานอาชีพของตนใหส้ ำเรจ็ เรียบรอ้ ยอยเู่ สมอ มคี วามวิริยะ ขยันหม่ันเพียร
ความอดทน ไม่ย่อท้อต่อความยากลำบากในการทำงาน เอาใจใสต่ อ่ กจิ การงานทท่ี ำ และทำงาน
อยา่ งต่อเนือ่ งจนกวา่ จะสำเรจ็ ที่สำคญั ข้าพเจา้ มีความคดิ พัฒนา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขสง่ิ ท่ลี ้าหลังหรือ
ขอ้ บกพร่องในการทำงานให้ดีขนึ้ อยเู่ สมอ พร้อมท้ังมคี วามมั่นใจตนเอง ม่ันใจในความรู้ ความสามารถ
สติปัญญาและวิสยั ทัศน์ในการทำงาน
๓.๒ ครใู ชห้ ลักความโปร่งใสในการปฏิบัตงิ าน
ข้าพเจา้ ได้ประพฤติปฏบิ ตั ิตนท่แี สดงถงึ การยดึ ม่นั ปฏิบตั หิ น้าที่ตามหลกั นิติธรรม
ได้รับการยกยอ่ ง ชมเชยและมีการรณรงคแ์ ละเสริมสร้างผู้อ่นื ดังน้ี
๑. ปฏิบตั ริ าชการโดยยดึ หลักนติ ิธรรมปฏบิ ัติราชการดว้ ยความโปรง่ ใส ตรวจสอบได้
ประเมินผลสัมฤทธิข์ องผูเ้ รียน ขา้ พเจา้ ประเมนิ สอดคลอ้ งกับความรคู้ วามสามารถของผ้เู รยี นไมค่ ำนึงว่า
๔๓
ผ้เู รยี นจะมฐี านะเชน่ ไร สัญชาติใด และต้ังใจสอนผเู้ รยี นทุกคนด้วยความต้งั ใจไม่เลือกว่าเปน็ เด็กอ่อน
เดก็ เก่งหรือไม่ เคารพในสทิ ธิและหนา้ ท่ีของทกุ คนและปฏิบัตติ ามกฎหมายอย่างเครง่ ครัด เพอ่ื ดำรงไว้
ซึ่งเกียรติและศักด์ศิ รีของความเปน็ ครู
๒. ไดย้ ึดมน่ั ในหลักนติ ิธรรม ยืนหยดั กระทำในส่ิงที่ถูกต้อง เป็นธรรมและชอบด้วย
กฎหมายโดยไดย้ ดึ ถอื การปฏบิ ตั ิตนตามระเบยี บวนิ ยั ของราชการและกฎหมายบ้านเมืองอยา่ งเคร่งครัด
โดยจะหลีกเลย่ี งพฤตกิ รรมทจี่ ะเส่ียงตอ่ การกระทำผิดวนิ ยั หรือกฎหมาย การกระทำที่ผดิ ตอ่ คุณธรรม
จริยธรรม การเสพสิ่งเสพตดิ ให้โทษ การเล่นการพนนั การช่วยเหลือพรรคการเมือง หรือเปน็ กรรมการ
กิจกรรมบริษัทใด ๆ หรือแม้แตก่ ารคัดลอกจ้างวานผู้อื่นทำผลงานวชิ าการ การหาผลประโยชน์กับผเู้ รยี น
นอกจากน้ีได้ให้ข้อแนะนำแก่บคุ คลใกลช้ ดิ ให้ละเวน้ หลีกเลยี่ งพฤติกรรมที่เสย่ี งต่อการกระทำผดิ วินยั
ทง้ั ปวงอยูเ่ สมอ เมื่อมีโอกาส กิจกรรมการส่งเสริมผเู้ รียนให้ใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ สอนและ
จดั กิจกรรมให้กับผูเ้ รียนเปน็ ผู้ทมี่ ีความรู้คู่คุณธรรม เปน็ คนดขี องสงั คมและสามารถอยใู่ นสงั คมได้
อย่างมีความสขุ
๓. ในฐานะเจ้าหน้าทขี่ องรัฐและฐานะพลเมืองดี ได้ปฏบิ ัตงิ านด้วยความรับผดิ ชอบ
จรงิ จังต้ังใจ โดยการประพฤติปฏิบตั ิตนตามกฎระเบียบของทางราชการอยา่ งถูกต้อง โปร่งใส สามารถ
ตรวจสอบได้
๔. ปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่ีโดยมงุ่ เนน้ ผลสำเรจ็ ของงานเปน็ สำคัญปฏิบัตงิ านใหเ้ ปน็ ไป
ตามหลักราชการ คือ การบริการประชาชน และปฏบิ ัตหิ น้าท่ีสนองความต้องการของสังคมและทอ้ งถน่ิ
๕. รว่ มกับคณะครู คณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ผู้ปกครองนกั เรียนและ
องค์กรต่าง ๆ ในชมุ ชน จัดกจิ กรรมส่งเสริมการปฏบิ ตั ิหน้าท่ีให้เป็นไปตามกฎหมาย สง่ เสรมิ สนับสนนุ
การปฏิบัตงิ านตามภาระหนา้ ท่ีของแต่ละคนทเี่ ป็นไปตามกฎหมายของรัฐ
๖. ยึดมนั่ ในหลกั นติ ธิ รรม ยืนหยัดและกระทำในสิง่ ทถี่ ูกต้องเป็นธรรมและชอบด้วย
กฎหมาย ตลอดระยะเวลาผ่านมา ขา้ พเจ้าไดร้ ับการอบรมสงั่ สอนให้เป็นคนดีให้ทำในสง่ิ ท่ดี ีท่ถี ูกตอ้ ง
ดีงามเป็นที่ยอมรบั ของสงั คม ซ่งึ ขา้ พเจ้าได้ยดึ ถือและปฏบิ ัติเรอ่ื ยมา นอกจากนยี้ ังได้สอดแทรกคำสอน
เหล่าน้ไี ว้ในการจัดการเรยี นการสอนเพื่อเปน็ การย้ำเตอื นให้ผ้เู รียนกระทำความดี
๓.๓ ครูใช้หลักความมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน
ข้าพเจา้ รบั ผดิ ชอบสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ และหัวหน้าสำนกั งาน
บริหารงานบุคคลข้าพเจา้ จะเปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรยี น เพื่อนครู ผ้ปู กครอง ชุมชน และหน่วยงานอื่น ๆ
ทีเ่ กี่ยวข้อง มสี ่วนร่วมในการรับรู้ แสดงความคิดเหน็ ต่อการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ และได้นำผลท่ีได้
ไปปรบั ปรุงแก้ไขเพ่ือพัฒนาการจดั กิจกรรมการเรียนรอู้ ยา่ งสมำ่ เสมอ ทัง้ นี้ไดส้ ่งเสรมิ ผเู้ รียน
๔๔
ตามความสามารถจนประสบความสำเร็จท้งั ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา จนได้รบั รางวัล
โรงเรียนคณุ ธรรม สพฐ. ระดบั 2 ดาว ประจำปกี ารศึกษา 2563
ข้าพเจ้าประพฤติปฏิบัตติ น มจี ิตอาสา จิตสาธารณะ ใชห้ ลักความมีสว่ นรว่ ม
ในการปฏบิ ัติงานและมุ่งประโยชนส์ ว่ นรวม ดงั น้ี
๑. มุง่ มัน่ ในการทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ไดแ้ สดงออกโดยการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
ตา่ ง ๆ ท่โี รงเรียนได้ดำเนินการทกุ รายการ เป็นผ้ทู ี่มจี ิตอาสา จิตสาธารณะ และมงุ่ ประโยชนแ์ ก่สว่ นรวม
ด้วยการใหค้ วามช่วยเหลือ ให้ความรว่ มมอื แก่สว่ นรวม อย่างทมุ่ เทและเสยี สละ จนสำเรจ็ เกิดประโยชน์
ตอ่ สว่ นรวมไดบ้ รจิ าคสิ่งของเคร่อื งใช้น่งุ ห่มให้กบั นักเรียนที่ยากจน ได้อทุ ิศตนเพ่ือปฏบิ ัติงานและหนา้ ที่
ด้วยความเสียสละ แมเ้ ปน็ วนั หยดุ หรอื นอกเวลาราชการ ท้ังน้ีโดยคำนงึ ถงึ เป้าหมายคุณภาพของงาน
และผลสัมฤทธิ์ของงาน เพื่อมุ่งประโยชน์แก่สว่ นรวมเป็นสำคญั ได้ปฏบิ ตั ริ าชการโดยบริจาคทรัพย์
เพื่อชว่ ยเหลือนักเรียนทเี่ ดือดรอ้ น ไดม้ ีจิตอาสาช่วยเหลือเพื่อนร่วมงานในการปฏิบตั หิ น้าทตี่ ่าง ๆ
โดยท่ไี มม่ ีคำส่งั
๒. การรว่ มบรจิ าคทรัพย์ในกิจกรรมตา่ ง ๆ เชน่ วันสำคัญทางศาสนา บริจาคเงนิ
ทำบุญผา้ ปา่ บริจาคเงนิ สงเคราะหศ์ พ บริจาคช่วยเหลือผปู้ ระสบอัคคีภัยเปน็ ตน้
๓. เขา้ ร่วมกบั หนว่ ยงานในการเดนิ รณรงคก์ ารไปใชส้ ิทธเิ ลือกตั้งในชมุ ชน
๔. เขา้ ร่วมกับหน่วยงานและชุมชน ในการเดินรณรงค์ตอ่ ต้านอบายมุข
๕. ให้ความรว่ มมือแก่ส่วนรวมโดยการเขา้ ร่วมกจิ กรรมทชี่ ุมชนจัดงานด้วยความ
เต็มใจทมุ่ เทและเสยี สละจนสำเรจ็ เกดิ ประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม
๖. ใหก้ ารช่วยเหลอื หรือใหค้ วามร่วมมือแกส่ ่วนรวมอยา่ งทุ่มเท เสยี สละจนสำเรจ็
และเกิดประโยชนต์ ่อส่วนรวม
๔๕
๓.๔ ครูใช้หลกั ความค้มุ คา่ ในการปฏบิ ตั งิ าน
ขา้ พเจ้าดำเนินชวี ติ โดยใชห้ ลกั ความคุ้มคา่ ใชท้ รัพยากรท่ีมีอยู่อยา่ งประหยัดใหเ้ กิด
ประโยชนส์ งู สุดตอ่ สถานศึกษา ตอ่ ชมุ ชนและต่อตนเอง พร้อมทง้ั ชักชวนเพื่อนครู และผเู้ รียนให้มี
ส่วนรว่ มในการใช้ทรัพยากร สงิ่ แวดลอ้ มอย่างประหยดั ดำเนินการปฏบิ ัตติ ามมาตรการขอ้ ตกลง
เก่ยี วกบั การใช้ทรพั ยากรส่ิงแวดลอ้ มอย่างประหยัด ปดิ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทกุ คร้งั ก่อนออกจากหอ้ ง
ตลอดจนปลกู ฝังค่านิยมในการประหยัดทรัพยากรให้แก่ผู้เรียน
๓.๕ ครใู ชห้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการปฏิบตั งิ าน
ขา้ พเจ้าวิเคราะหห์ ลักสูตรสถานศึกษา หลกั สตู รท้องถิ่น นำหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง มาบรู ณาการในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ของผเู้ รยี นทง้ั ในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้
คณิตศาสตร์และนอกสาระการเรยี นรู้ โดยจะเน้นกิจกรรมหรือสถานการณท์ ใ่ี กลต้ ัว จึงทำให้ผู้เรียน
สามารถนำไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตประจำวันได้เปน็ อยา่ งดี
ขา้ พเจา้ ประพฤตปิ ฏบิ ตั ิตน ปฏบิ ัติตนตามหลักของปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ดังน้ี
พอประมาณ ขา้ พเจา้ ยึดหลกั ในการปฏิบัตติ นวา่ จะดำรงชีวติ ของตนเองและ
ครอบครัว ยดึ ความพอดี เกบ็ ออมสะสมยามชราหรือเจบ็ ป่วย ปฏบิ ัติราชการโดยไม่ประมาท ร้จู กั ใช้
ทรพั ยากรเพื่อการบริหารโดยเนน้ ประโยชน์สงู สดุ เพอื่ ใหเ้ หมาะกับความรคู้ วามสามารถของข้าพเจ้า
และให้เกิดความพึงพอใจของประชาชนและผู้รว่ มงาน
มีเหตผุ ล ขา้ พเจา้ ยดึ หลักของปญั ญาธรรมหรือความมีเหตุผลในการครองตน
ครองคน และครองงานดว้ ยการพงึ่ ตนเองก่อน ตามศักยภาพและรว่ มมือกับผู้ใต้บงั คบั บัญชาและ
ผมู้ สี ่วนเกี่ยวข้องเพอื่ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้และระดมความสามารถเพื่อประโยชนส์ ุขของประชาชน นักเรยี น
ในความรบั ผดิ ชอบ โดยเนน้ ความสจุ ริต เท่ยี งตรง เสมอภาค เปน็ ธรรมและประโยชน์ส่วนรวม
สรา้ งภูมิคมุ้ กัน ขา้ พเจา้ สร้างภูมคิ ุม้ กันให้ตนเองด้วยการยึดหลกั ธรรมพรหมวิหาร๔
อนั ประกอบดว้ ย เมตตา กรณุ า มุทิตา อเุ บกขา เปน็ หลักปฏิบัตแิ ละประพฤตติ นเปน็ ตวั อยา่ งมิให้
ความชวั่ เข้าครอบงำทำลายตนเอง ครอบครวั หรือเพอ่ื นร่วมงาน
ขา้ พเจ้าดำเนนิ การจดั กิจกรรมตามแนวทางหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ดังนี้
1. มีการใชจ้ า่ ยอย่างประหยดั ไดด้ ำรงชีวติ ตามแนวทางหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาโดยตลอด โดยมีการวางแผนการใช้จา่ ยเงินเท่าท่ีจำเป็นแก่การดำรงชีวติ จดั การรายได้
อยา่ งเหมาะสมเพยี งพอกับการใช้จ่าย การวางแผนใชจ้ า่ ยในส่ิงท่จี ำเปน็ ต่อการดำเนนิ ชีวิต เก็บออมเงิน
สว่ นหน่งึ ไวใ้ ชย้ ามฉกุ เฉนิ สร้างหลักประกนั ให้ครอบครวั โดยการทำประกนั ชวี ิต