The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบประวัติและผลงานครูดีในดวงใจ นริศรา แสนสุข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by mathkrookung, 2021-08-26 13:11:06

แบบประวัติและผลงานครูดีในดวงใจ นริศรา สพม.มห

แบบประวัติและผลงานครูดีในดวงใจ นริศรา แสนสุข

๔๖

๒. ดำรงชีวติ ไมฟ่ ุ่มเฟือย ใชส้ ิ่งท่ีจำเป็นต่อการดำเนินชวี ิต มีความสุขในการทำงาน
ไม่มปี ัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ได้ดำเนินชีวิตอย่างพอเพยี ง ใช้จา่ ยอยา่ งประหยดั
ในสง่ิ ทจ่ี ำเป็นต่อการดำเนินชีวิตร้จู ักใช้ รจู้ กั ออม ยอมรบั ในความพอดี พอใจในสิ่งทม่ี ีอยู่ ทเี่ ปน็ อยู่
ไม่สร้างปัญหาเกนิ ตนจนส่งผลกระทบต่อหนา้ ที่ของการทำงานและการเรียนรขู้ องผู้เรียน

๓. ให้ความรว่ มมอื ในการช่วยประหยดั นำ้ ไฟฟ้า วัสดุและอุปกรณ์อื่น ๆ ให้โรงเรยี น
เชน่ การใช้กระดาษทั้งสองหนา้ ปดิ น้ำ ปดิ ไฟ ทกุ คร้ังหลงั การใชง้ าน และอบรมส่ังสอน ปลูกฝังจติ สำนกึ
ในการประหยดั ทรพั ยากรใหแ้ ก่ผเู้ รยี นเพ่ือที่จะไดน้ ำไปใชใ้ นการดำรงชีวิตประจำวนั

๔. มีเงนิ ออมไว้ใชใ้ นยามทม่ี ีเหตุการณฉ์ ุกเฉนิ และใชจ้ ่ายในยามจำเปน็
๕. ไดว้ างแผนการใช้จ่ายเงินรายไดข้ องครอบครัวใหเ้ พียงพอ ไม่ฟุ่มเฟือย ไมส่ บู
บหุ ร่ี ไมด่ ่ืมสรุ า ไม่เล่นการพนัน ไม่เทีย่ วกลางคืน ไม่ทงิ้ ขว้างส่ิงของ และใชส้ งิ่ ของอยา่ งรู้คา่

๒.๔ รางวลั และผลงานเชิงประจักษ์จากการปฏิบัติหนา้ ท่ี เชน่ ผลงานดีเดน่ ของนกั เรยี น
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นของนกั เรยี นท่ีสูงขึ้น ผลงานดเี ด่นของครทู ่ีเปน็ ประจักษ์

๔. การประเมินผลงานเชงิ ประจกั ษ์จากการปฏบิ ัติหนา้ ที่
๔.๑ ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นของผู้เรียน

%ของจำนวนนักเ ีรยนที่เ ีรยนรำยวิชำ ้นี 40.00 แผนภมู แิ ทง่ แสดงผลการเรียนรายปีการศึกษา 2563
30.00
20.00 32.76
10.00
19.40
0.00 12.50 10.34 9.05 12.93
0.00 0.00 0.00 3.02

ร มส 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
ระดับผลการเรียน

๔๗

แผนภมู แิ ทง่ แสดงผลการเรียนรายปีการศกึ ษา 2562

%ของจำนวน ันกเ ีรยน ่ีทเรียนรำยวิชำ ้ีน 25.00 21.54 21.92
20.00
15.00 16.15 11.92
10.00 13.08
5.00
0.00 7.69 7.69

20.00 0.00 0.00 0.00
15.00
10.00 ร มส 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4

แผนภมู แิ ท่งแสดงผลการระเดรบัียผนลรากยาปรเีกรายี รนศกึ ษา 2561

%ของจำนวน ันกเ ีรยน ่ทีเ ีรยนรำยวิชำ ้ีน 17.96 16.02

15.53 15.05 13.11 12.62

9.71

5.00
0.00 0.00 1.46 0.00

ร มส 0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
ระดบั ผลการเรยี น

การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพนื้ ฐาน (O-Net) ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 6
วิชาคณติ ศาสตร์ คา่ เฉลย่ี ระดับโรงเรยี นสงู กวา่ คา่ เฉล่ยี ระดับประเทศ โดยข้าพเจ้าได้รบั มอบหมาย
สอนวชิ าคณิตศาสตร์เพ่ิมเติม ระดับชนั้ ม. 6 ตัง้ แตป่ กี ารศึกษา 2557 ถึงปัจจบุ ัน

ปกี ารศกึ ษา ค่าเฉลีย่ ระดับประเทศ คา่ เฉลีย่ ระดบั โรงเรียน ความก้าวหนา้
2563 26.04 33.20 + 7.16
2562 25.41 29.67 + 4.26
2561 30.72 36.64 + 5.92
2560 24.53 28.13 + 3.60
2559 24.88 29.43 + 4.55
2558 26.59 28.11 + 1.52
2557 21.74 23.58 + 1.84
2556 20.48 20.47 - 0.01

๔๘

๔.๒ ผเู้ รียนมีคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงคต์ ามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑

ผลการประเมนิ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์
ผู้เรียนผา่ นการประเมนิ คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคค์ รบทง้ั ๘ ขอ้ ระดบั ดีขน้ึ ไป

คิดเป็นรอ้ ยละ 98
ผลการประเมินการอ่านคดิ วิเคราะห์และเขยี น
ผเู้ รียนผา่ นการประเมินการอ่านคิด วิเคราะห์และเขียน ระดบั ดขี ้นึ ไป คิดเปน็

รอ้ ยละ 98.67
ผลการประเมนิ สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
ผ้เู รยี นผ่านการประเมินสมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี นอยู่ในระดับ ดมี าก

๔.๓ ผเู้ รียนมผี ลงานดเี ด่นที่เป็นประจักษ์ (ย้อนหลัง ๓ ปี)
๑. ผู้เรยี นได้รับรางวัล/การยกย่องเชิดชเู กียรต/ิ ประกาศชมเชย
ปีการศกึ ษา ๒๕๖2 คะแนนเตม็ ๑๐๐ คะแนน ผลการทดสอบทางการศกึ ษา

ระดับชาตขิ ้นั พ้นื ฐาน (O-NET) วชิ าคณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3

ปีการศึกษา ๒๕๖๒ นางสาววมิ ลรตั น์ ศรโี ยหะ นกั เรยี นในทปี่ รึกษา
ไดร้ บั รางวลั Volunteer Star 2019 ระดับมัธยมศึกษา ประเภทดาว

๔๙

ปีการศกึ ษา 256๒
รางวัลเหรียญเงิน การประกวดโครงงาน
คณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎีหรือ
คำอธบิ ายทางคณติ ศาสตร์ ระดบั ชั้น
ม.4 - ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนกั เรยี น
ครง้ั ที่ 69 ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื
ระดบั ชาติ

ปกี ารศกึ ษา 256๒ รางวัลเหรียญทอง
การแข่งขนั สรา้ งสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตร์
โดยใชโ้ ปรแกรม GSP ระดบั ช้นั ม.4 - ม.6
งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรียน คร้ังที่ 69
ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ระดับชาติ

ปกี ารศกึ ษา 2562 รางวลั ชมเชย การเขา้ ร่วมประกวดโครงงานนกั เรยี น
มลู นธิ เิ ปรม ติณสูลานนท์ โครงงานคณติ ศาสตร์ ระดับชัน้ ม. 4-6 ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ปกี ารศึกษา 256๒ รางวลั เหรยี ญทองแดง กิจกรรมการต่อสมการคณติ ศาสตร์
(แอแม็ท) ระดบั ชนั้ ม.4 – ม.6 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 69 ระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา

ปีการศกึ ษา 2561 รางวลั เหรียญทอง กิจกรรมการต่อสมการคณิตศาสตร์
(แอแม็ท) ระดับช้ัน ม.4 – ม.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ 68 ระดบั เขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา

ปกี ารศึกษา 2561 รางวลั เหรยี ญชมเชย การสอบแข่งขนั วดั ความรู้ทาง
คณิตศาสตร์ ระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ของโรงเรยี นเลงิ นกทา

๕๐

ปกี ารศกึ ษา 2560 รางวัลเหรียญทอง การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์
ประเภทสร้างทฤษฎีหรอื คำอธบิ ายทางคณติ ศาสตร์ ระดับช้ัน ม.4 - ม.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น
ครัง้ ที่ 67 ระดับภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

ปกี ารศึกษา 2560 รางวลั เหรียญทอง การแข่งขนั สร้างสรรค์ผลงาน
คณิตศาสตร์ โดยใชโ้ ปรแกรม GSP ระดับชัน้ ม.4 - ม.6 งานศลิ ปหตั ถกรรมนักเรียน คร้ังท่ี 67
ระดบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ปีการศึกษา 2560 รางวัลเหรียญทอง การแข่งขันซโู ดกุ ระดับชั้น ม.4 - ม.6
งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน คร้งั ท่ี 67 ระดับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ

ปีการศึกษา 2560 รางวัลเหรยี ญทอง กิจกรรมการต่อสมการคณิตศาสตร์
(แอแม็ท) ระดบั ช้ัน ม.4 – ม.6 งานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี น คร้งั ที่ 67 ระดับเขตพน้ื ที่

ปีการศกึ ษา 2560 รางวัลเหรียญรองชนะเลศิ
อันดับ 1 ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 การสอบแข่งขนั
ความสามารถทางคณิตศาสตร์ ครง้ั ที่ 7 (Math Contest
2017) ของโรงเรยี นกุดชุมวิทยาคม

๔.4 ครมู ีผลงานดเี ดน่ เป็นประจักษ์
ข้าพเจ้าปฏิบัตงิ านในหน้าที่อย่างเต็มศักยภาพ จนไดร้ บั พระราชทาน

เครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ ดังนี้

ชัน้ ทวตี ิยาภรณ์มงกฎุ ไทย
ตามประกาศราชกจิ จานุเบกษา ลงวันท่ี ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
เลม่ ท่ี ๑๓๔ (เล่มท่ี ๘/๒) ตอนที่ ๕๒ ข หนา้ ๑๕๔ ลำดับที่ ๗๙๑๓

รับพระราชทาน วนั ที่ ๘ กรกฎาคม ๒๕๖๐

๕๑

ชน้ั ตรติ าภรณม์ งกุฎไทย
ตามประกาศราชกจิ จานุเบกษา ลงวันท่ี ๒ มิถนุ ายน ๒๕๕๘
เลม่ ที่ ๑๓๒ (เลม่ ท่ี ๘/๒) ตอนท่ี ๑๗ ข หน้า ๔๙ ลำดับที่ ๒๔๖๐

รับพระราชทาน วนั ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๗

ขา้ พเจา้ ได้รับรางวลั เชดิ ชูเกยี รติ ดังตารางต่อไปนี้

วัน/เดือน/ปี ช่อื รางวัล หน่วยงานท่มี อบรางวลั
4 มีนาคม 2564
ครผู ้ดู แู ลเอาใจใส่ มคี วามรบั ผิดชอบ มงุ่ มนั่ ตัง้ ใจ โครงการห้องเรยี น

ปฏบิ ัติหน้าที่ครทู ่ีปรึกษา จนไดร้ ับรางวัลการ พเิ ศษ IEP รว่ มกับ

ประกวดห้องเรยี นสะอาด บรรยากาศส่งเสริม โรงเรยี นมกุ ดาหาร

การเรียนรู้ ประจำภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

รางวลั ชนะเลศิ การประกวดหอ้ งเรียนสะอาด โครงการหอ้ งเรียน

4 มีนาคม 2564 บรรยากาศสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ประจำภาคเรียนที่ 2 พิเศษ IEP ร่วมกับ

ปีการศึกษา 2563 โรงเรยี นมกุ ดาหาร

ครูทปี่ รึกษานักเรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 6/2 ได้รบั โรงเรยี นมกุ ดาหาร
รางวัลการนำเสนอแบบโปสเตอร์ ระดับดมี าก
19 กมุ ภาพนั ธ์ 2563 เนือ่ งในงานนำเสนอ 1 ห้องเรียน 1 นวัตกรรม
(1 classroom 1 innovation)

13 – 14 กันยายน ครูผสู้ อนนักเรียน ได้รับรางวลั เหรยี ญทองแดง สำนักงานเขตพืน้ ที่
2562 กิจกรรมการต่อสมการคณิตศาสตร์ (แอแมท็ ) การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา
ระดับชัน้ ม.4 – ม.6 งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน เขต 22
ระดบั เขตพื้นที่การศึกษา ครั้งที่ 69
ปีการศกึ ษา 2562

๕๒

วนั /เดอื น/ปี ชอื่ รางวัล หนว่ ยงานท่ีมอบรางวัล

14 – 15 กนั ยายน ครูผ้สู อนนกั เรยี น ไดร้ ับรางวัลเหรียญทอง สำนักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษามธั ยมศกึ ษา
2560 กิจกรรมการต่อสมการคณิตศาสตร์ (แอแม็ท) เขต 22

ระดบั ช้ัน ม.4 – ม.6 งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น นิตยสารสารคดี
คนสร้างชาติ
ระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา คร้ังท่ี 67 สำนกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษามธั ยมศกึ ษา
ปกี ารศกึ ษา 2560 เขต 22

๔ มนี าคม ๒๕๖๐ รางวลั สาขาครปู ฏิบตั ิการสอนดเี ดน่ สร้างสรรค์

ผลงานแทนคณุ แผน่ ดนิ ประจำปี ๒๕๖๐

17 – 18 พฤศจกิ ายน ครูผู้สอนนักเรียน ได้รับรางวลั เหรยี ญทอง

2559 กิจกรรมการแขง่ ขนั คิดเลขเร็ว ระดับชั้น ม.4 – ม.6

งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่

การศึกษา ครงั้ ที่ 66 ปกี ารศึกษา 2559

๕๓

๕๔

๕๕

๕๖

ตอนที่ ๓ ผลงานที่สำคญั โดยย่อ เพื่อนำไปจัดพิมพ์ในหนังสืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ “ครดู ีในดวงใจ”
ชือ่ ผลงาน/พฤติกรรมเด่น การพฒั นาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียน
วิชาคณติ ศาสตร์ สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 6 โดยใชร้ ปู แบบ
การเรยี นรแู้ บบรว่ มมือบรู ณาการความรใู้ นเน้ือหาผนวกวิธสี อนเทคโนโลยี
ชอื่ - สกลุ นางสาวนรศิ รา แสนสขุ
โรงเรยี น มุกดาหาร สังกัด สพม. มุกดาหาร
อำเภอ เมืองมุกดาหาร จังหวดั มุกดาหาร
หมายเลขโทรศัพท์ทีต่ ดิ ต่อสะดวก ๐652935566
อดุ มคติในการทำงาน ความพยายามไมเ่ คยทำร้ายใคร

เนื้อหาประกอบดว้ ย ๓ ส่วน คอื
1. เกริ่นนำ - อดุ มการณ์

ร่วมสร้างสรรค์งานทกั ษะวชิ าคณติ นำความคิดประยุกตใ์ ช้ใหเ้ กิดผล
แสวงหานวตั กรรมพัฒนาตน เสยี สละ อดทน เพื่อองค์กร
คอยช้ีแนะแนวทางแก่ลกู ศิษย์ ใหร้ ูถ้ กู ร้ผู ิดโดยพรำ่ สอน
เสริมความรคู้ ู่คณุ ธรรมครบวงจร ตามขัน้ ตอนแหง่ วถิ ีครูดใี นดวงใจ

อุดมการณก์ ารในการพฒั นาตนเองและวชิ าชพี ครู
ข้าพเจ้าใฝ่ฝนั อยากเป็นครูต้ังแต่เดก็ เพราะอาชีพครเู ปน็ อาชพี ท่ีมเี กยี รติ ไดถ้ ่ายทอดความรู้
ใหก้ บั คนอ่ืน ประกอบกับมีความประทับใจคุณครูหลายๆ ท่านทีไ่ ด้อบรมส่ังสอนขา้ พเจา้ ด้วยความรกั
ความเข้าใจ ความเมตตา และเม่อื จบการศกึ ษาระดบั ชนั้ มัธยมศึกษา ขา้ พเจ้าได้สมัครศึกษาตอ่
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณติ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ด้วยโครงการผลิตครูการศกึ ษา
ขั้นพ้ืนฐาน ระดบั ปรญิ ญาตรี หลักสูตร ๕ ปี (ทนุ ครูพันธุใ์ หม่) และไดร้ บั ทุนการศึกษาปลี ะ ๖๙,๐๐๐ บาท
ตลอดระยะเวลาท่ีเรยี น ๕ ปี ขา้ พเจ้ามุ่งม่ันตัง้ ใจเรียน รว่ มกิจกรรมของคณะและมหาวทิ ยาลยั และ
ได้ประกอบอาชพี ครู โดยเร่มิ จากตำแหน่งครผู ้ชู ว่ ย โรงเรยี นดงมอนวทิ ยาคม อำเภอเมืองมุกดาหาร
จงั หวดั มกุ ดาหาร ซึ่งเปน็ โรงเรียนขนาดเล็ก ข้าพเจา้ ใชเ้ วลาเรียนรู้ ปรบั ตัว วเิ คราะห์ผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล
วเิ คราะหส์ ภาพแวดล้อมชุมชนเพอ่ื ศกึ ษาหาแนวทาง เทคนิควิธีการจดั การเรยี นการสอนให้เหมาะสม
กบั ผูเ้ รยี น พร้อมทัง้ ส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นเห็นถงึ ความสำคัญของการศึกษา แนะแนวทางการศึกษาเพื่อตอ่
ระดบั อดุ มศึกษา ท้ังนเี้ พราะต้องการให้นักเรยี นมีอนาคตทดี่ ี และข้าพเจ้ามุง่ มัน่ ในใจวา่ จะขอเปน็ สว่ นหน่งึ
ทช่ี ่วยส่งเสรมิ สนบั สนุนและพฒั นาการศึกษาของคนในทอ้ งถิน่ ใหม้ ีคุณภาพ เพื่ออนาคตท่ดี ขี องสงั คม
และประเทศชาตติ ่อไป ตลอดระยะเวลา ๑2 ปีทผี่ า่ นมา ข้าพเจา้ ต้งั ใจพัฒนาตนเองเพื่อทำใหก้ ารศึกษา
มีคุณภาพ โดยการเขา้ รบั การอบรม สมั มนาต่าง ๆ เพื่อพัฒนาตนเองอยา่ งต่อเน่ืองและสมำ่ เสมอ
จนมีผลงานดีเดน่ เป็นประจักษ์แกบ่ ุคคลทั่วไป ขา้ พเจ้ามีความคดิ รเิ ริ่มสร้างสรรค์งานใหม่ ๆ ส่งผลใหม้ ี
ความรู้ทท่ี นั โลก ทันเหตุการณ์ สามารถนำความความรู้ไปประยกุ ตแ์ ละพัฒนางานตนเองใหเ้ กิดประโยชน์
ต่อนักเรยี น หนว่ ยงาน องค์กรและชมุ ชนได้เป็นอยา่ งดี
ข้าพเจ้าปฏิบัติงานท่ไี ดร้ บั มอบหมายจากผูบ้ ังคับบัญชาอย่างตั้งใจ โดยยึดหลักการปฏบิ ัติงาน
คือ การครองตน ครองคน ครองงาน มาเปน็ แนวทางการปฏิบตั งิ าน ดา้ นการครองตน ไดน้ ำหลักธรรม

๕๗

มาใชค้ อื การมี สติสัมปชัญญะ มีหริ ิโอตปั ปะ มคี วามขยันหม่นั เพียร และมีความรบั ผิดชอบในหน้าที่
และตนเอง ต้ังใจทำงาน จนประสบผลสำเร็จ ไมย่ ่อทอ้ ต่ออุปสรรค ร้จู กั ประหยัด รกั ษาทรพั ยส์ นิ
ทางราชการ มรี ะเบียบวนิ ยั เคารพกฎหมาย ประพฤติตนเป็นตัวอยา่ งทด่ี ีแกบ่ ุคคลทัว่ ไป ปฏิบัติตาม
หลกั ศาสนา ทำบญุ ตักบาตรทุกคร้งั ที่มโี อกาส เสียสละเงินส่วนตัวเพ่อื บำรงุ สถานศกึ ษา สถานพยาบาล
และพุทธศาสนา ร่วมงานวันสำคญั ต่าง ๆ และงานทีส่ ำคญั อยา่ งสม่ำเสมอ ดา้ นการครองคน สามารถ
ประสานความสมั พนั ธแ์ ละสร้างความเขา้ ใจท่ีดีกับผบู้ งั คบั บัญชาและเพื่อนร่วมงานไดเ้ ป็นอยา่ งดี
โดยการนำหลกั ธรรมคำสอนมาใช้ในการทำงาน และประพฤตติ น คอื พรหมวหิ าร ๔ และสังคหวัตถุ ๔
สง่ ผลใหไ้ ดร้ บั แต่งตง้ั เปน็ หัวหนา้ งานสำนักงานบรหิ ารงานบุคคลของโรงเรียน หัวหน้าโครงการ
Mukdahan Math Test เลขานกุ ารโครงการห้องเรยี นพเิ ศษ Intensive English Program ตั้งแต่
เรมิ่ จดั ตง้ั โครงการจนถึงปัจจุบนั สามารถเปน็ ผนู้ ำและทำงานเปน็ กล่มุ กับทุกคนได้ สามารถให้คำแนะนำ
คำปรกึ ษากับเพือ่ นครู ยอมรับฟังความคิดเห็นของทกุ คน นำความเหน็ ท่ีไดม้ าปรับปรงุ พัฒนา ทำให้
การปฏิบตั งิ านมีประสิทธภิ าพยิง่ ขน้ึ มคี วามรบั ผิดชอบ มีเหตุผล สรา้ งความสามัคคี และร่วมงาน
ของหมู่คณะทงั้ ภายในและภายนอกหนว่ ยงานราชการ ได้แก่ เปน็ วิทยากรเพิ่มผลสมั ฤทธ์ิทางการศึกษา
(O-Net) เป็นวทิ ยากรให้ความรู้เก่ยี วกบั การขอมีและเล่ือนวิทยฐานะ เป็นต้น ดา้ นการครองงาน
ปฏิบตั ิงานด้วยความต้ังใจ อดทน มานะ พยายาม เพอื่ ใหง้ านสำเรจ็ บรรลุเป้าหมายด้วยดเี พ่อื เกิดผลดี
แก่เดก็ โรงเรียนทุกคนและทุกฝา่ ย โดยใช้ หลกั ธรรมในการปฏิบัตหิ น้าทีค่ อื อทิ ธบิ าท ๔ ไดจ้ ดั ทำ
แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรยี นเป็นสำคญั จดั ทำรายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี นเพอื่ พัฒนาผ้เู รียนอยา่ งเป็น
ระบบ อบรมส่งั สอนนกั เรยี นใหเ้ ปน็ คนดคี นเก่งอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข หมนั่ พฒั นาตนเอง และ
ปรับปรุงงานในหนา้ ที่ของตนใหม้ ศี ักยภาพมากข้ึนเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพของตนเองให้ทันตอ่ เหตุการณ์
และการเปล่ยี นแปลงในยุคปัจจุบัน

2. เปา้ หมาย ความคาดหวัง กระบวนการแนวทางการปฏิบตั งิ าน/กระบวนการจดั การเรียน
การสอน/ปญั หา/วิธีการแก้ปัญหาทท่ี ำให้เกดิ ผลงานดเี ด่นทเ่ี ป็นประจักษ์

ด้านการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนได้จัดสภาพการเรียนการสอนใหม้ ีบรรยากาศ
ในการเรียน เนน้ การฝึกทักษะ การทำงานกลุ่ม รู้จกั วธิ กี ารทำงานรว่ มกนั เปน็ ทีม ใหน้ กั เรียนรว่ มอภปิ ราย
รบั ฟังความคดิ เหน็ ซึ่งกันและกนั ให้นกั เรยี นเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง ฝกึ ให้นักเรยี นลงมือปฏิบัติ
ดว้ ยการศึกษาคน้ คว้า ทำความเข้าใจ แกป้ ัญหาหรือข้อสงสยั ฝกึ ให้นักเรยี นมีความรับผดิ ชอบ
ในการเรยี น การใช้อปุ กรณ์ การจดั เกบ็ รักษา การดูแลห้องเรียน จดั การเรยี นการสอนให้สอดคลอ้ ง
กบั ความสนใจและความถนดั ของผู้เรียน โดยคำนงึ ถงึ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และวุฒภิ าวะ
ของผูเ้ รียน จดั เน้ือหา โดยคำนงึ ถึงความยากงา่ ย ความต่อเน่ือง และลำดับขนั้ ของเนื้อหา มจี ดั การเรยี นรู้
หลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้จากการบรรยาย การเรียนรจู้ ากการฝึกทักษะปฏบิ ตั ิจริง การเรียนร้จู าก
การใช้คำถามประกอบการอธบิ ายและแสดงเหตุผล การเรียนรจู้ ากการศึกษาค้นคว้า การเรียนรแู้ บบ
โครงงาน การจดั การเรียนรแู้ บบใช้ปญั หาเป็นฐาน การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ และการบูรณาการ
ความร้ใู นเน้ือหาผนวกวธิ สี อนเทคโนโลยี เป็นต้น

คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคญั ย่ิงตอ่ ความสำเรจ็ ในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เนอื่ งจาก
ช่วยให้มีความคิดรเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ คดิ อย่างมเี หตุผล เปน็ ระบบ มีแบบแผน สามารถวเิ คราะหป์ ัญหา
หรอื สถานการณ์ได้อยา่ งรอบคอบและถ่ีถว้ น ชว่ ยในแก้ปัญหา การสอื่ สาร การเชื่อมโยง การใหเ้ หตผุ ล

๕๘

การคดิ สร้างสรรค์ และนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั ได้อย่างถกู ตอ้ งเหมาะสม การเรียนคณติ ศาสตร์
ในประเทศไทยมคี วามสำคญั ไม่น้อยไปกวา่ วชิ าอนื่ ๆ โดยมุง่ เน้นให้เยาวชนทุกคนได้เรยี นรู้คณิตศาสตร์
อย่างต่อเน่อื งตามศกั ยภาพ เพือ่ ใหเ้ ป้าหมายในการจัดการเรยี นการสอนตามหลักสตู รแกนกลาง
การศึกษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) บรรลุวัตถปุ ระสงค์ จากการ
วิเคราะห์ผูเ้ รียนรายบคุ คล ในรายวิชาคณิตศาสตร์เพิม่ เตมิ ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 6 ประจำปกี ารศกึ ษา
2560 – 2562 พบวา่ นักเรียนส่วนใหญม่ ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นเฉล่ยี ค่อนข้างตำ่ เม่ือเทียบกบั เกณฑ์
ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นทโ่ี รงเรียนกำหนด และมีแนวโนม้ ต่ำลงเรอื่ ย ๆ จากการสำรวจปัญหา พบวา่
ปญั หาดังกล่าวเกดิ จากการจดั การเรยี นการสอนแบบเดิม ขาดนวัตกรรมใหม่ ๆ ไม่ไดป้ ลกู ฝงั ให้มี
กระบวนการคดิ วิเคราะหแ์ ละการแกป้ ัญหา นกั เรียนจงึ ขาดทกั ษะในการวางแผนการทำงาน เพ่อื ให้
มกี ารพฒั นาให้เป็นไปในทางท่ีดขี น้ึ จงึ ทำการศึกษานำรปู แบบการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ด้วยกล่มุ รว่ มมือ
บรู ณาการความรใู้ นเนื้อหาผนวกวธิ กี ารสอนเทคโนโลยีมาจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ เพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธ์ิ
ทางการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ให้สงู ข้นึ ให้ผู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ รจู้ ักการแก้ปัญหาการมปี ฏิสัมพนั ธ์
ในกลุ่มรู้จักรับผิดชอบร่วมกนั สง่ ผลใหผ้ ้เู รยี นมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน พบวา่ ในปีการศกึ ษา ๒๕63
มผี ลการเรียนระดบั 3 ขนึ้ ไป คดิ เป็นรอ้ ยละ 54.75 ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖2 คิดเปน็ รอ้ ยละ 27.30 จะเหน็
ได้ว่าผลการเรยี นเพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 100.55 ซง่ึ มีแนวโน้มพฒั นาขึ้นและสูงกว่าเป้าหมายของสถานศึกษา
ที่กำหนดไว้

๓. สรปุ ประโยชนท์ ่ีได้รับจากผลงาน เรือ่ งท่ีได้เรยี นรูแ้ ละข้อคิดเหน็ เพ่อื การพัฒนาการศกึ ษา
ในอนาคต รวมท้ังข้อเสนอแนะ

จากการพฒั นาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน โดยใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบรว่ มมอื บูรณาการ
ความร้ใู นเนอื้ หาผนวกวธิ ีการสอนเทคโนโลยี สง่ ผลให้ผู้เรยี นมีผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นสงู ขึน้ ซ่ึงมปี ัจจัย
ความสำเร็จมาจากความพรอ้ มผู้เรียน ครผู ู้สอน การสรา้ งบรรยากาศท่เี อ้ือต่อการเรยี นรกู้ ิจกรรม
ทจี่ ดั เป็นสถานการณท์ ี่ใกลต้ วั หรือสถานการณท์ เ่ี กิดขน้ึ จริง นำเทคโนโลยีมาบูรณาการในการเรียน
การสอน ทำใหผ้ เู้ รียนเกดิ ความสนกุ สนาน สนใจเรยี นรู้ มีเจตคติทดี่ ตี ่อการเรยี นคณติ ศาสตร์

นวตั กรรมเป็นปจั จัยสำคัญในการพฒั นาประเทศในอนาคต จึงมคี วามจำเป็นอยา่ งย่งิ ท่ีจะต้อง
สง่ เสริมและสร้างสภาพการณ์เพอ่ื ใหท้ ุกคนมีสทิ ธแิ ละความเสมอภาคในการเรยี นรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชวี ิต
เป็นสงั คมแหง่ การเรยี นรเู้ ปน็ สังคมแห่งภูมิปญั ญา ทุกคนและทกุ ส่วนในสังคมมีความใฝ่รู้และพร้อมท่ีจะ
เรยี นรู้อย่เู สมอ การเรียนรู้ตลอดชีวติ เปน็ เร่ืองท่ีเกดิ ข้นึ และมีความต่อเนื่องเปน็ ปกติวิสยั ในชีวิตประจำวัน
ของคนทุกคน ไปจนตลอดการสน้ิ อายุขัย การเรียนรู้ยุคใหม่จงึ เกิดขึน้ ไดใ้ นทุกเวลา และทุกสถานที่
ครยู ุคใหม่จะต้องตามเท่าทนั วิทยาการ นำมาบรู ณาการความรใู้ นเน้อื หาผนวกวิธสี อนเทคโนโลยี เพื่อมาใช้
ในการออกแบบจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาการเรยี นรู้โดยยดึ ผู้เรียนเปน็ สำคญั นน้ั จะทำให้ผู้เรียน
เกิดความรูแ้ ละความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ โดยฝึกการคิดวิเคราะห์อย่างมเี หตุผล เพ่ือนำความร้แู ละ
องค์ความรู้ทีเ่ กดิ ข้นึ ไปใช้ในการพัฒนาตนเองและสงั คมได้

๕๙

๔. บทสรปุ หรือข้อความของนักเรียน เพ่ือนครู และชุมชนกลา่ วถึง

๖๐

๖๑

๖๒

๖๓

๖๔

๖๕

ขอรบั รองว่าขอ้ ความข้างต้นนเี้ ปน็ ความจริง
(ลงช่ือ) ผรู้ ับรอง
(นายเลยี ง ผางพนั ธ์)
ผู้อำนวยการโรงเรียนมกุ ดาหาร ปฏบิ ตั หิ น้าท่ี

ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร

๖๖

ภาคผนวก

- ทะเบียนประวัติ (ก.พ.7)
- สรปุ ผลการประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอน
- qr-code คลปิ สมั ภาษณ์ผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา
- ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขนั้ พืน้ ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2556 - 2563
- ขอ้ มูลการศกึ ษาต่อของนกั เรียนในทป่ี รกึ ษา
- เป็นตัวแทนสมาชิกครูโรงเรียนมุกดาหารในสหกรณ์ออมทรพั ย์
ครมู กุ ดาหาร ปี 2563 - ปัจจบุ ัน

๖๗

๖๘

๖๙

๗๐

๗๑

สรุปผลการประเมนิ ความพึงพอใจตอ่ การจัดการเรียนการสอน
นางสาวนริศรา แสนสุข

ปีการศกึ ษา 2563
ข้อมูลท่วั ไป

รายการประเมนิ

หัวข้อการประเมิน ระดบั คุณภาพ
ค่าเฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบน แปลผล
1. การนำเข้าสบู่ ทเรียน
1.1) ครเู ข้าสอนตรงเวลา มาตรฐาน
1.2) ครแู จ้งจุดประสงค์ในการเรยี นให้ทราบทกุ ครั้ง
1.3) ครมู ีกิจกรรมเรา้ ความสนใจเสมอเม่ือเข้าสอน 4.70 0.52 ดีมาก
2. การดำเนินการสอน
2.1) ครูมลี ำดับการสอนทเ่ี ขา้ ใจงา่ ย 4.61 0.67 ดีมาก
2.2) เอกสารประกอบการเรยี นนา่ สนใจและสอดคล้องกบั เนือ้ หา
2.3) ครูใช้สือ่ อปุ กรณ์การสอนเหมาะสมกบั เนื้อหาและ 4.09 1.09 ดี
ช่วยให้เกดิ การเรียนรู้
2.4) ครูมวี ิธีการสอนทีห่ ลากหลาย 4.61 0.62 ดีมาก
2.5) ครูใหน้ ักเรียนมสี ว่ นร่วมในการเรียนการสอน 4.74 0.47 ดมี าก
2.6) ครแู นะนำแหลง่ เรียนรู้ใหน้ กั เรยี นค้นคว้าศึกษาเพมิ่ เตมิ 4.78 0.48 ดีมาก
2.7) ครมู คี วามสามารถในการอธบิ ายและการถา่ ยทอดความรู้
2.8) ครสู อดแทรกคณุ ธรรม จรยิ ธรรมอย่างสม่ำเสมอ 4.45 0.80 ดี
2.9) ครูมีความตั้งใจในการสอน
2.10) ประสทิ ธิภาพการสอนของครูโดยรวม 4.49 0.76 ดี

4.48 0.78 ดี

4.67 0.59 ดีมาก

4.26 0.96 ดี

4.86 0.43 ดมี าก

4.71 0.55 ดมี าก

๗๒

ระดบั คุณภาพ

หัวข้อการประเมนิ คา่ เฉล่ีย สว่ นเบีย่ งเบน แปลผล

มาตรฐาน

3. การสรปุ การสอน

3.1 ครูสอนครบตามเน้ือหา และจุดประสงค์การเรยี นร/ู้ ผล 4.86 0.39 ดีมาก

การเรียนรู้

3.2 ครูมีการสรปุ ประเดน็ ความรู้ในแตล่ ะเรอื่ งอย่างชัดเจน 4.80 0.44 ดีมาก

4. การประเมนิ ผลการเรียนการสอน

4.1) ครูวัดและประเมนิ ผลตรงตามจดุ ประสงค/์ ผลการเรยี นรู้ 4.80 0.44 ดมี าก

4.2) ครใู ช้วธิ กี ารประเมนิ ท่หี ลากหลาย 4.58 0.67 ดีมาก

4.3) ครูใหน้ ักเรียนมสี ่วนร่วมในการประเมิน 4.58 0.79 ดมี าก

5. บรรยากาศและสภาพแวดลอ้ มในช้นั เรียนทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้

5.1) บรรยากาศในการเรยี นการสอนมชี ีวติ ชีวา 4.49 0.76 ดี

5.2) ครูเปิดโอกาสให้นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ ในการเรียน 4.77 0.57 ดมี าก

5.3) ครูจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนได้นา่ สนใจ 4.39 0.83 ดี

6. การควบคุมชนั้ เรยี น

6.1) ครูสามารถควบคมุ ชน้ั เรียนได้ 4.75 0.53 ดมี าก

6.2) ครูแกป้ ญั หาในชนั้ เรียนได้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4.77 0.49 ดมี าก

7. บุคลิกภาพของครู

7.1) ครเู ป็นแบบอยา่ งทด่ี ีสำหรบั นกั เรยี น 4.87 0.38 ดมี าก

7.2) ครมู ีความนา่ เช่ือถอื และศรทั ธา 4.88 0.40 ดีมาก

โดยรวม 4.64 0.64 ดีมาก

การแปลความหมาย คา่ เฉล่ีย 4.51- 5.00 อยู่ในระดบั ดีมาก คา่ เฉลย่ี 3.51- 4.50 อย่ใู นระดบั ดี

คา่ เฉล่ยี 2.51- 3.50 อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉล่ีย 1.51- 2.50 อยใู่ นระดบั พอใช้

คา่ เฉล่ยี 0.00- 1.50 อยู่ในระดบั ปรับปรงุ

จากตารางแสดงผลการประเมินคณุ ภาพการสอน พบว่า โดยรวมนกั เรียนมคี วามคิดเหน็
ตอ่ การจัดการเรยี นการสอนของครู มีความเหมาะสมอยใู่ นระดับดีมาก ขอ้ ท่มี ีคา่ เฉลี่ยสูงสุด คอื

ครูมีความน่าเชื่อถือและศรัทธา ( ̅ = 4.88) รองลงมาคอื ครูเปน็ แบบอยา่ งทีด่ สี ำหรบั นกั เรียน

( ̅ = 4.87) และครูมคี วามต้ังใจในการสอน ครสู อนครบตามเนอ้ื หา และจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ /

ผลการเรยี นรู้ ( ̅ = 4.86) ตามลำดับ และเมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ น พบว่า
ดา้ นการนำเข้าสู่บทเรียน นักเรียนมคี วามเหน็ วา่ ครูเข้าสอนตรงเวลา ครูมแี จง้ จุดประสงค์

ในการเรยี นใหท้ ราบทกุ ครง้ั อยู่ในระดบั ดีมาก

๗๓

ดา้ นการดำเนนิ การสอน นกั เรยี นมคี วามเหน็ ว่า ครูมลี ำดับการสอนทเ่ี ข้าใจง่าย เอกสาร
ประกอบการเรยี นน่าสนใจและสอดคลอ้ งกับเน้อื หา ครใู ชส้ ื่อ อปุ กรณก์ ารสอนเหมาะสมกับเนือ้ หา
และชว่ ยใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ ครูมีความสามารถในการอธิบายและการถ่ายทอดความรู้ ครูมีความตง้ั ใจ
ในการสอนและประสิทธิภาพการสอนของครูโดยรวม อย่ใู นระดบั ดมี าก

ดา้ นการสรปุ การสอน นกั เรียนมีความเหน็ วา่ ครสู อนครบตามเนอื้ หา และจุดประสงค์
การเรียนรู/้ ผลการเรยี นรู้ ครูมกี ารสรุปประเด็นความรใู้ นแต่ละเรอื่ งอย่างชัดเจน อยู่ในระดบั ดีมาก

ดา้ นประเมนิ ผลการเรียนการสอน นกั เรยี นมคี วามเห็นวา่ ครูวัดและประเมนิ ผลตรงตาม
จดุ ประสงค์/ผลการเรียนรู้ ครูใช้วธิ ีการประเมนิ ทห่ี ลากหลาย ครูใหน้ ักเรียนมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ
อยู่ในระดับดมี าก

ด้านบรรยากาศและสภาพแวดล้อมในชั้นเรียนที่เอื้อต่อการเรยี น นักเรยี นมีความเหน็ วา่
ครูเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นแสดงความคิดเหน็ ในการเรยี น อยู่ในระดับดมี าก

ดา้ นการควบคมุ ชั้นเรยี น นักเรยี นมคี วามเห็นว่า ครสู ามารถควบคมุ ชัน้ เรียนได้ และครู
แกป้ ัญหาในชั้นเรยี นได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ อยู่ในระดบั ดีมาก

ดา้ นบุคลิกภาพของครู นักเรยี นมีความเหน็ วา่ ครูเป็นแบบอยา่ งท่ีดสี ำหรบั นักเรยี น
ครมู คี วามน่าเช่ือถือและศรัทธา อยูใ่ นระดับดีมาก

ขอ้ คดิ เห็นและเสนอแนะเพิม่ เติม
- ครูสอนดีครับ ครเู น้นอธบิ ำยในเนอื้ หำคณิตศำสตรท์ ีผ่ มไม่เขำ้ ใจได้ชัดเจน
- หนูไมช่ อบวชิ ำคณิต ตั้งแตห่ นูเรยี นกับครู ทำให้เข้ำใจและชอบคณิตศำสตร์ ครูเป็นแบบอยำ่ งให้
หนูอยำกเรยี นต่อเป็นครูสอนคณติ ศำสตร์ ขอบคุณค่ะ
- หนูจะต้งั ใจทำ PAT1 ใหไ้ ด้คะแนนดี ๆ นะคะ ขอบคุณค่ะคุณครู
- ตอนเรยี นในห้อง หนูเขำ้ ใจมำก ๆ เลยคะ่ พยำยำมตำมใหท้ ันครทู กุ บรรทัด พอเขำ้ ใจ
เรื่องที่เรียนในห้องแล้ว ทำให้จำไปได้ตลอด ไมใ่ ช่จำได้แคใ่ นหอ้ งพอจบคำบก็ลืม ครูสอนดมี ำก
ขนำดจุดเลก็ ๆ ทเี่ ด็ก ม.6 ควรรู้ แต่พวกหนไู ม่รู้ ครกู ย็ งั ทบทวนให้ ครตู ้องใจเยน็ ขนำดไหน
บำงอย่ำงท่ีครสู อนแลว้ ไม่เขำ้ ใจ ครูกส็ อนจนเขำ้ ใจ ซง่ึ หนูชอบตรงนี้มำก ทำให้หนอู ยำกเรียนต่อ
ไมใ่ ชไ่ มเ่ ขำ้ ใจก็ปลอ่ ยผ่ำน เพรำะจะทำให้หนไู มอ่ ยำกเรยี นข้อต่อไป ขอให้คณุ ครสู อนนักเรียน
แบบนตี้ ลอดไปค่ะ
- คุณครูใจดีมำก ๆ เลยคะ่ อธบิ ำยเน้อื หำคณติ ศำสตร์ใหเ้ ขำ้ ใจงำ่ ย และมเี ทคนิคทห่ี ลำกหลำย
- หนูอยำกเปน็ ครคู ่ะ เพรำะมีครเู ป็นแบบอยำ่ ง
- สอนเขำ้ ใจมำกครบั

๗๔

ปกี ารศกึ ษา 2562

รายการประเมิน ค่าเฉลยี่ ส่วนเบย่ี งเบน แปลผล

มาตรฐาน ดมี าก
ดมี าก
1. ครูแจง้ จดุ ประสงค์การเรียนรอู้ ยา่ งชดั เจน 4.58 0.60 ดีมาก
ดีมาก
2. ครกู ิจกรรมการเรียนรทู้ ส่ี อดคลอ้ งตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ 4.52 0.66 ดีมาก

3. เนือ้ หาท่ีสอนทนั สมัยเสมอ 4.55 0.70 ดี
ดี
4. ครใู ชส้ อื่ ประกอบการสอน 4.61 0.65
ดี
5. ครูใช้สอ่ื ICT ในการจดั การเรียนการสอน 4.67 0.47 ดี
ดี
6. ครูใช้คำถามถามนกั เรียนบ่อย ๆ 4.12 0.86 ดี
ดีมาก
7. ครปู ระยกุ ต์และสอดแทรกสาระทส่ี อนเข้ากับเหตกุ ารณ์ 3.85 0.92 ดี
ดี
ปจั จุบัน/สภาพแวดล้อม ดี

8. ครสู ่งเสริมให้นักเรยี นคิดรเิ ร่มิ และรู้จกั วิพากษว์ ิจารณ์ 4.06 1.02 ดีมาก
ดี
9. ครยู อมรบั ความคดิ เห็นของนกั เรียนท่ีต่างไปจากครู 4.30 0.94
ดมี าก
10. ครูให้นักเรยี นทำงานร่วมกนั ทง้ั กลุ่มและรายบุคคล 3.85 1.09 ดีมาก
ดีมาก
11. ครใู ห้นกั เรยี นแสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นรตู้ า่ ง ๆ 4.00 1.04
ดี
12. ครใู ห้โอกาสนกั เรยี นซกั ถามปญั หา 4.52 0.92

13. ครคู อยกระตุน้ ให้นกั เรยี นต่นื ตวั ในการเรียนเสมอ 4.28 0.90

14. ครูใหค้ วามสนใจนักเรยี นขณะสอนท่วั ถึงทกุ คน 4.18 0.94

15. ครูให้ความช่วยเหลอื หรืออำนวยความสะดวกแก่ 4.42 0.70

นักเรียนในการเรียน

16. นกั เรียนทราบเกณฑ์การวัดและประเมินผลล่วงหน้า 4.52 0.61

17. นกั เรียนมสี ว่ นรว่ มในการวัดและประเมินผล 4.39 0.85

18. ครปู ระเมนิ ผลการเรียนอยา่ งยุตธิ รรม 4.58 0.60

19. ครูมีความต้ังใจในการสอน 4.67 0.52

20. บคุ ลกิ ภาพ การแต่งกายและการพูดจาของครู 4.72 0.51

เหมาะสม

โดยรวม 4.37 0.78

การแปลความหมาย ค่าเฉลย่ี 4.51- 5.00 อยใู่ นระดับดีมาก ค่าเฉลย่ี 3.51- 4.50 อย่ใู นระดบั ดี
ค่าเฉลี่ย 2.51- 3.50 อยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉล่ยี 1.51- 2.50 อยใู่ นระดับพอใช้
ค่าเฉลี่ย 0.00- 1.50 อยูใ่ นระดบั ปรับปรงุ

๗๕

จากตารางแสดงผลการประเมินคุณภาพการสอน พบวา่ โดยรวมนกั เรียนมีความคดิ เหน็
ตอ่ การจดั การเรยี นการสอนของครู มีความเหมาะสมอยู่ในระดับดี ขอ้ ท่ีมีคา่ เฉลย่ี สูงสดุ ครมู ีบุคลกิ ภาพ
การแต่งกายและการพูดจาของครูเหมาะสม ( ̅ = 4.72) รองลงมาคือ ครมู ีความตง้ั ใจในการสอน
และครูใชส้ ือ่ ICT ในการจัดการเรยี นการสอน ( ̅ = 4.67) และครูใช้สือ่ ประกอบการสอน
( ̅ = 4.61) ตามลำดับ

ขอ้ คิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะ
- คุณครูเป็นคนท่สี อนวชิ าคณิตศาสตร์ท่ดี มี าก ๆ เลยค่ะ สอนกระชับเหมาะสมกับเด็ก ม.ปลาย

อธิบายเข้าใจง่าย สอนวิธที ำละเอียด เก็บคะแนนตามความจรงิ ตรงตอ่ เวลา ชอบมาก ๆ เลยค่ะ
- ครูสอนรู้เรื่อง ชอบแนวการสอนของครเู พราะสอนเข้าใจงา่ ย
- ขอบคุณครูทส่ี อนเทคนคิ ใชส้ ูตรลดั หรือการตดั ทอนวิธีทำเพื่อความรวดเร็วและเพิ่มความเข้าใจ

ของนักเรยี นให้งา่ ยขน้ึ

Qr – code คลิปวีดโี อสัมภาษณ์ผูบ้ รหิ าร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา

1. นางดวงมณี เพชรสุวรรณรังษี ผชู้ ่วยรองผอู้ ำนวยการกลุ่มบริหารงานวชิ าการ

2. นางรัตนา สคุ ำภา หัวหน้ากลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

3. นางสาวลภสั รดา เสยี งล้ำ ครูชำนาญการพิเศษ

4. นางวภิ าวี อนิ ลี ครชู ำนาญการ

https://drive.google.com/drive/folders/1zEBxSpCSMhjr1-QryT5pLrIDFw7DEv-l?usp=sharing

๗๖

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2563

๗๗

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2562

๗๘

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2561

๗๙

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2560

๘๐

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2559

๘๑

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2558

๘๒

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2557

๘๓

ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขั้นพ้นื ฐาน (O-Net)
ปกี ารศกึ ษา 2556

๘๔

ข้อมูลการศึกษาตอ่ ของนักเรียนในทป่ี รกึ ษา

ปีการศึกษา 2563

๘๕

ข้อมลู การศกึ ษาต่อระดับอดุ มศกึ ษา
นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/3 ปีการศึกษา 2563

๘๖

๘๗

ปกี ารศกึ ษา 2562

๘๘

ข้อมูลการศึกษาตอ่
มธั ยมศึกษาปที ่ี 6/2 ปกี ารศึกษา 2562

ช่ือ : นายประทีป สุขร่ี ชื่อ : นางสาวฉตั รลดา กมิ ะโน
คณะ : วทิ ยาลัยการเมืองการปกครอง คณะ : คณะวิทยาศาสตร์
สาขา : การเมืองการปกครอง สาขา : สาขาเทคโนโลยสี ารสนเทศ
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

ชอื่ : นางสาวจิรฐั ิพร บุญสง่ ชอื่ : นางสาวญาณภัทร สอดโคกสูง
คณะ : คณะการบญั ชีและการจัดการ คณะ : คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
สาขา : สาขาการจดั การ
มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม ผงั เมอื งและนฤมิตศิลป์
สาขา : สาขานฤมิตศิลป์ (Creative art : CA)
มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม

๘๙

ชือ่ : นางสาวเนตรนภศิ ร์ ศรีเมือง
คณะ : คณะนิติศาสตร์
สาขา : สาขาวิชานติ ิศาสตร์
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั รามคำแหง

ชอ่ื : นางสาวณฐั ธิดา พิกลุ
คณะ : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขา : สาขาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั มหาสารคาม

ชื่อ : นางสาวนวพร บัวชน ชอ่ื : นางสาวรัตติญา รตั นฐานู
คณะ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ : คณวิศวกรรมศาสตร์
สาขา : สาขาอากาศยาน สาขา : สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั บูรพา
(Aeronautical Engineering)
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี

สรุ นารี

๙๐

ช่ือ : นางสาวสริ กิ ันยา กันเที่ยง ชอ่ื : นายหฤษฎ์ ทองเฟื่อง
คณะ : คณะบรหิ ารธรุ กิจและการบัญชี คณะ : คณะวิศวกรรมศาสตร์
สาขา : สาขาการจัดการธุรกิจบริการ สาขา : สาขาวศิ วกรรมอุตสาหการ
มหาวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยขอนแก่น
และการจัดงาน
มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่

ช่อื : นางสาวสุชาดา รตั นวงค์ ชื่อ : นางสาวปฏพิ ร กลางประพนั ธ์
คณะ : คณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะ : คณะเทคโนโลยสี ารสนเทศ
สาขา : สาขาวศิ วกรรมโลจิสตกิ ส์ (School of information technology)
มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทร- สาขา : สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์
(Computer science)
วโิ รฒ มหาวิทยาลัย : มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกลา้ ธนบรุ ี (KMUTT)

๙๑

ปกี ารศกึ ษา 2561

๙๒
นักเรียนในทป่ี รึกษาปีการศึกษา 2561

๙๓

๙๔

๙๕


Click to View FlipBook Version