The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนนักบุญเปโตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนนักบุญเปโตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

หลักสูตรท้องถิ่น โรงเรียนนักบุญเปโตร ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

คำนำ

โรงเรียนนกั บุญเปโตรเป็ นหน่วยงานสังกดั ฝ่ ายการศึกษาอคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ เขตการศึกษา 5
ทาหนา้ ที่เป็ นสถานศึกษาจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในระดบั ช้นั อนุบาลถึงระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 จดั การ
เรียนรู้ให้กบั นกั เรียนโดยสอนการสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมและบูรณาการแบบสหวิทยาการ ใหเ้ กิดผล
ตามปรัชญาของโรงเรียนที่ว่า “ทิ้งสิ่งช่ัวร้าย มุ่งหมายส่ิงดี” และคติพจน์ “ประพฤติดี มีวินัย ใฝ่ ความรู้
ชูคุณธรรม”

หลักสูตรทอ้ งถ่ินถือว่าเป็ นส่วนหน่ึงของหลกั สูตรสถานศึกษา จากการวิเคราะห์ตามหลกั สูตร
แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐานพุทธศกั ราช 2551 แสดงใหเ้ ห็นถึงลกั ษณะและรูปแบบการจดั ดาเนินการได้
หลายลกั ษณะสาหรับโรงเรียนนักบุญเปโตร จดั เป็ นการเฉพาะเสริมหลกั สูตรตามสภาพของชุมชนใน
ท้องถ่ิน ท่ีเก่ียวกับวดั นักบุญเปโตร สหกรณ์เครดิตยูเนียนนักบุญเปโตร จากดั อาชีพในท้องถิ่นโรมัน
ลูกนักบุญฯ...รักษ์แม่น้าท่าจีน สักการสถาน บุญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบารุง องค์การบริหารส่วน
ตาบลท่าขา้ ม รู้เฟื่ องเรื่องเมืองนครปฐม รักษแ์ มน่ ้าท่าจีนนครปฐม และทวารวดีศรีนครปฐม

การออกแบบและพัฒนาหลักสู ตรท้องถิ่นที่สร้างข้ึนน้ี คณะผู้จัดทาได้ศึกษาแนวคิดของ
นกั การศึกษาเกี่ยวกบั กระบวนการพฒั นาหลกั สูตรทอ้ งถิ่นตามข้นั ตอนคือสารวจสภาพของทอ้ งถ่ิน ศึกษา
ขอ้ มูลพ้ืนฐานการบูรณาการแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจากเอกสารหน่วยการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเพ่ือทดลองใช้ โดยคณ ะทางานบูรณ าการเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การเรี ยนการสอนของ
กระทรวงศึกษาธิการ ประชุมกบั ผูเ้ ก่ียวขอ้ งเพ่ือออกแบบหลกั สูตรทอ้ งถ่ินฉบบั ร่างท่ีเรียกวา่ ประมวลวิชา
(Course Syllabus)นาไปตรวจสอบโดยผูเ้ ช่ียวชาญ ด้านหลกั สูตรและการสอน ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
จดั ทาแผน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การวดั และประเมินผล แหล่ง / ส่ือประกอบการจดั การเรียนรู้
ผูเ้ ชี่ยวชาญในทอ้ งถิ่น ร่างเอกสารประกอบการเรียนรู้สาหรับนักเรียน ร่างคู่มือครูและเอกสารประกอบ
หลกั สูตรที่เกี่ยวขอ้ งแลว้ นากลบั ไปตรวจ โดยผูเ้ ชี่ยวชาญอีกคร้ังปรับปรุงแกไ้ ขจดั ทาหลกั สูตรทอ้ งถ่ินฉบบั
สมบูรณ์นาหลกั สูตรไปทดลองใชป้ ระเมินผลการรวมการใชห้ ลกั สูตรและปรับปรุงพฒั นาหลกั สูตรทอ้ งถ่ิน
ตอ่ ไป

หลกั สูตรน้ีเสร็จสมบูรณ์ดว้ ยความร่วมมือของบุคคลหลายฝ่ ายท้งั ผูเ้ ช่ียวชาญ ผูป้ กครอง ศิษยเ์ ก่า
คณะครู นกั เรียนและบุคลากรทุกคนของโรงเรียนจึงขอขอบคุณในความร่วมมือของทุกฝ่ ายมา ณ โอกาสน้ี
ดว้ ย

คณะผ้อู อกแบบและพฒั นำหลกั สูตร

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

สำรบญั 1–7
8 – 12
บทนำ ควำมพอเพยี ง 8
ควำมหมำยและควำมสำคญั ของจังหวดั นครปฐม 8
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 อำเภอนครชัยศรี 9
9 – 11
- แผนที่แสดงท่ีต้งั อาเภอนครชยั ศรี จงั หวดั นครปฐม 12
- ประวตั ิความเป็นมา
- การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน 13 – 19
- สถานที่ทอ่ งเที่ยวในอาเภอนครชยั ศรี 13
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ 13
14
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 อำเภอเมืองนครปฐม 14
- แผนท่ีอาเภอเมืองนครปฐม จงั หวดั นครปฐม 15
- ประวตั ิความเป็นมา 16 – 18
- การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น 19
- สถานท่ีทอ่ งเที่ยวในอาเภอเมืองนครปฐม
- พระราชวงั สนามจนั ทร์ 20 – 24
- สถานที่สาคญั ในพระราชวงั สนามจนั ทร์ 20
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ 20
21
หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 3 อำเภอกำแพงแสน 22 – 23
- แผนท่ีอาเภอกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม 24
- ประวตั ิความเป็นมา
- การปกครองส่วนทอ้ งถิ่น
- สถานที่ท่องเท่ียว
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

สำรบัญ (ต่อ) 25 – 27
25
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 4 อำเภอดอนตูม 25
- แผนท่ีอาเภอดอนตูม จงั หวดั นครปฐม 26
- ประวตั ิความเป็นมา 27
- การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ 28 – 32
28
หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 5 อำเภอบำงเลน 29
- แผนที่อาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม 29
- คาขวญั อาเภอบางเลน 31
- สถานท่ีทอ่ งเท่ียว 32
- การปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ 33 – 40
33
หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 6 อำเภอสำมพรำน 33
- แผนท่ีอาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม 34
- ประวตั ิความเป็นมา 34 – 40
- ท่ีต้งั และอาณาเขตติดต่อ 41
- สถานท่ีทอ่ งเที่ยว
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ 42 – 48
42
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 7 อำเภอพุทธมณฑล 44
- ประวตั ิความเป็นมา 47
- สถานที่สาคญั ทางพุทธศาสนา 47
- คาขวญั อาเภอพทุ ธมณฑล 48
- แผนที่อาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม
- กิจกรรมเสริมทกั ษะ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

บทนำ ควำมพอเพยี ง

ปรัชญำเศรษฐกจิ พอเพยี ง
“เศรษฐกิจพอเพียง” (sufficiency economy) เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวทรงมี

พระราชดารัสช้ีแนะแนวทาง การดาเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา่ 25 ปี ต้งั แต่ก่อน
เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้า แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพน้ และ
สามารถดารงอยไู่ ดอ้ ยา่ งมนั่ คงและยงั่ ยนื ภายใตก้ ระแสโลกาภิวฒั น์และความเปล่ียนแปลง
หลกั พจิ ำรณำ

กรอบแนวคิด เป็ นปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดารงอยู่และปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ นโดยมี
พ้ืนฐานมาจากวิถีชีวติ ด้งั เดิมของสังคมไทย สามารถนามาประยุกตใ์ ชไ้ ดต้ ลอดเวลา และเป็ นการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพน้ จากภยั และวิกฤติ เพื่อความมนั่ คงและ
ความยงั่ ยนื ของการพฒั นา

คุณลกั ษณะ เศรษฐกิจพอเพียงสามารถนามาประยกุ ตใ์ ชก้ บั การปฏิบตั ิตนไดใ้ นทุกระดบั โดยเน้น
การปฏิบตั ิบนทางสายกลาง และการพฒั นาอยา่ งเป็นข้นั ตอน

คานิยาม ความพอเพยี งจะตอ้ งประกอบดว้ ย 3 คุณลกั ษณะพร้อมๆ กนั ดงั น้ี
1. ควำมพอประมำณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกิดไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียน

ตนเอง และผอู้ ่ืน เช่น การผลิตและการบริโภคที่อยใู่ นระดบั ที่อยใู่ นระดบั พอประมาณ
2. ควำมมีเหตุผล หมายถึง การตดั สินใจเก่ียวกบั ระดบั ของความพอเพยี งน้นั จะตอ้ งเป็นไปอยา่ งมี

เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจยั ที่เกี่ยวขอ้ งตลอดจนคานึงถึงผลท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนจากการ
กระทาน้นั ๆ อยา่ งรอบคอบ
3. กำรมีภูมิคุ้มกันท่ดี ีในตัว หมายถึง การเตรียมตวั ให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลง
ดา้ นตา่ งๆ ท่ีจะเกิดข้ึนโดยคานึงถึงความเป็ นไปไดข้ องสถานการณ์ต่างๆ ท่ีคาดวา่ จะเกิดข้ึนใน
อนาคตท้งั ใกล้ และไกล

เง่ือนไข การตดั สินใจและการดาเนินกิจกรรมตา่ งๆ ใหอ้ ยใู่ นระดบั พอเพียงน้นั ตอ้ งอาศยั
ท้งั ความรู้ และคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน กล่าวคือ
1. เง่ือนไขควำมรู้ ประกอบดว้ ย ความรอบรู้เก่ียวกบั วิชาการต่างๆ ที่เก่ียวขอ้ งอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่าน้นั มาพิจารณาให้เช่ือมโยงกนั เพ่ือประกอบการวางแผน
และความระมดั ระวงั ในข้นั ปฏิบตั ิ
2. เง่ือนไขควำมธรรม ท่ีจะตอ้ งเสริมสร้างประกอบดว้ ย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความ
ซื่อสัตยส์ ุจริต และมีความอดทน มีความพากเพยี ร ใชส้ ติปัญญาในการดาเนินชีวติ

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

แนวทางปฏิบตั ิ / ผลท่ีคาดว่าจะไดร้ ับจากการนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใ์ ช้ คือ

การพฒั นาที่สมดุลและยง่ั ยืน พร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงในทุกดา้ น ท้งั ดา้ นเศรษฐกิจ สังคมส่ิงแวดลอ้ ม

ความรู้และเทคโนโลยี

“พอเพียง คาวา่ พอ ก็พอเพียง เพียงน้ีก็พอ ทาอะไรตอ้ งพอเพียง หมายความวา่ พอประมาณไม่

สุดโต่งไม่โลภมาก พอเพียงน้ีอาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูราก็ได้ แต่วา่ ไม่ตอ้ งไปเบียดเบียนคนอื่น ตอ้ ง

ใหพ้ อประมาณตามอตั ภาพ”

มุมมองของเศรษฐกิจพอเพียงมองไดส้ องดา้ น คือ มองอยา่ งวตั ถุวสิ ัย คือ มีกิน มีใช้ มีปัจจยั ต่างๆ

ท่ีพอเพียงสมควรตามอตั ภาพ พ่ึงตนเองได้ และมองอยา่ งจิตวสิ ัย คือ รู้สึกพอเพียง และการควบคุมความ

โลภไดอ้ ยา่ งดี

เศรษฐกจิ พอเพยี ง หมายถึง พอเพยี ง 7 ประการ คือ

1. พอเพยี งสาหรับทุกคน ทุกครอบครัว

2. จิตใจพอเพยี งรักเอ้ืออาทรคนอ่ืนดว้ ย

3. สิ่งแวดลอ้ มพอเพยี ง

4. ชุมชนพอเพียง

5. ปัญญาพอเพยี ง มีการเรียนรู้ร่วมกนั ปรับตวั ได้

6. อยบู่ นพ้ืนฐานวฒั นธรรมพอเพียง

7. มีความมนั่ คงพอเพียง ปลอดภยั ไม่กงั วลระแวง

ลำดับข้นั เศรษฐกจิ พอเพยี ง

3. มง่ั มีศรีสุข

2. อยดู่ ีกินดี

1. พอมีพอกิน

“ความซื่อสัตยเ์ ป็นพ้ืนฐานของความดีท้งั ปวง”

เป้ำหมำยของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ประโยชน์สุข”

– พ่ึงตนเองได้

– มีประโยชน์

– มีความสุข ประโยชน์สุข
– มงั่ มีศรีสุข

– อยดู่ ีกินดี

– พอมีพอกิน

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ควำมพอดที ต่ี ้องสร้ำง
– ความพอดีทางจิต โอบออ้ มอารี
– ความพอดีดา้ นสงั คม มีมนุษยสัมพนั ธ์
– ความพอดีทางเศรษฐกิจ พออยพู่ อกิน
– ความพอดีทางทรัพยากร พฒั นายงั่ ยนื
– ความพอดีทางเทคโนโลยี รู้เท่าทนั ใชต้ ามความจาเป็น
– สุจริต กตญั ญู
– พ่ึงตนเอง ส่งเสริมคนดี และคนเก่ง
– รักประชาชน (ผรู้ ับบริการ)
– เอ้ือเฟ้ื อซ่ึงกนั และกนั

กำรนำเศรษฐกจิ พอเพยี งไปประยกุ ต์ใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี เป็ นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพฒั นาระบบเศรษฐกิจมหภาค

ของไทย ซ่ึงบรรจุอยูใ่ นแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ 10 (พ.ศ. 2550 – 2554) เพื่อมุ่งสู่
การพฒั นาที่สมดุลยง่ั ยืน และมีภูมิคุม้ กนั เพ่ือความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยงั่ ยืน หรือท่ี
เรียกว่า สังคมสีเขียว (Green Society) ดว้ ยหลกั การดงั กล่าว แผนพฒั นาฯ ฉบบั ที่ 10 น้ีจะไม่เน้นเร่ือง
ตวั เลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยงั คงให้ความสาคญั ต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลกั ษณ์ หรือระบบ
เศรษฐกิจท่ีมีความแตกตา่ งกนั ระหวา่ งเศรษฐกิจ ชุมชนเมืองและชนบท

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงน้ี ไดร้ ับการเชิดชูสูงสุด จากองคก์ ารสหประชาชาติ (UN) โดยนายโคฟี
อนั นนั ในฐานะเลขาธิการองค์การสหประชาชาติ ไดท้ ูลเกลา้ ฯ ถวายรางวลั The Human Development
Lifetime Achievement Award แก่พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว เมื่อ 26 พฤษภาคม 2549 และได้มี
ปาฐกถาถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงว่า เป็ นปรัชญาท่ีสามารถเริ่มได้จากการสร้างภูมิคุม้ กนั ในตนเอง
สู่หมู่บ้าน และสู่เศรษฐกิจในวงกวา้ งข้ึนในที่สุด เป็ นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานา
ประเทศ โดยที่องค์การสหประชาชาติไดส้ นบั สนุนให้ประเทศต่างๆ ท่ีเป็ นสมาชิก 166 ประเทศยดึ เป็ น
แนวทางสู่การพฒั นาประเทศแบบยงั่ ยนื
เศรษฐกจิ พอเพยี งกบั ทฤษฎใี หม่ตำมแนวพระรำชดำริ

เศรษฐกิจพอเพยี ง และแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่ เป็นแนวทางในการพฒั นาท่ีนาไปสู่
ความสามารถ ในการพ่ึงตนเอง ในระดบั ต่างๆ อยา่ งเป็ นข้นั ตอน โดยลดความเสียงเกี่ยวกบั ความผนั แปร
ของธรรมชาติ หรือการเปล่ียนแปลงจากปัจจยั ต่างๆ โดยอาศยั ความพอประมาณ และความมีเหตุผล การ
สร้างภูมิคุม้ กนั ท่ีดี มีความรู้ ความเพยี ร และความอดทน สติ และปัญญา การช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั
และความสามคั คี

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

แนวทำงกำรประยุกต์ใช้หลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
ระดบั บุคคล
1. รู้จกั “พอ” ไมเ่ บียดเบียนผอู้ ่ืน
2. พยายามพฒั นาทกั ษะ ความรู้ ความเขม็ แขง็ ของตนเอง
3. ยดึ ทางสายกลาง พอใจกบั ชีวติ ที่พอเพยี ง
ระดับชุมชน
1. รวมกลุ่มใชภ้ ูมิปัญญาของชุมชน
2. เอ้ือเฟ้ื อกนั และกนั
3. พฒั นาเครือขา่ ยความร่วมมือ
ระดับประเทศ
1. ชุมชนร่วมมือกนั
2. วางระบบเศรษฐกิจแบบพ่ึงตนเอง
3. พฒั นาเศรษฐกิจแบบค่อยเป็นค่อยไป
4. เติบโตจากขา้ งใน

แนวทำงกำรปฏิบตั ติ ำมหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
– ยดึ หลกั สามพอ พออยู่ พอกิน พอใช้
– ประหยดั
– ประกอบอาชีพสุจริต
– เนน้ หาขา้ วหาปลาก่อนหาเงินหาทอง
– ทามาหากินก่อน ทามาคา้ ขาย
– ใชภ้ ูมิปัญญาพ้นื บา้ น ท่ีดิน คืนทุนสังคม
– ต้งั สติมนั่ คง ทางานอยา่ งรู้ตวั ไมป่ ระมาท
– ใชป้ ัญญาใชค้ วามรู้แท้
– รักษาสุขภาพใหแ้ ขง็ แรงท้งั กายและใจ

แนวทำงกำรประกอบอำชีพตำมหลกั เศรษฐกจิ พอเพยี ง
– ทางานอยา่ งผรู้ ู้ ใชป้ ัญญาทางานอยา่ งมืออาชีพ
– อดทนมุง่ มนั่ ยดึ ธรรมะและความถูกตอ้ ง
– อ่อนนอ้ มถ่อมตน เรียบง่าย ประหยดั
– มุง่ ประโยชนข์ องคนส่วนใหญเ่ ป็นสาคญั
– รับฟังความคิดเห็นของผอู้ ่ืน
– ต้งั ใจ ขยนั หมนั่ เพียร

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกวา้ งกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นกรอบแนวคิดที่
ช้ีบอกหลกั การ และแนวทางปฏิบตั ิของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวทางพระราชดาริเกี่ยวกบั ทฤษฎีใหม่
หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซ่ึงเป็ นแนวทางการพฒั นาการเกษตรอยา่ งเป็นข้นั ตอนน้นั เป็ นตวั อยา่ งการใชห้ ลกั
เศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบตั ิ ท่ีเป็นรูปธรรมเฉพาะในพ้นื ที่ท่ีเหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ
อาจเปรียบเทียบกบั หลกั เศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพ้ืนฐาน กบั แบบกา้ วหนา้ ไดด้ งั น้ี
ความพอเพียงในระดบั บุคคลและครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพ้ืนฐาน เทียบ
ไดก้ บั ทฤษฎีใหม่

ข้ันท่ี 1 ที่มุ่งแกป้ ัญหาของเกษตรกรท่ีอยหู่ ่างไกลแหล่งน้า ตอ้ งพ่ึงน้าฝน และประสบความเส่ียง
จากการท่ีน้าไม่พอเพียง แมก้ ระทงั่ สาหรับการปลูกขา้ วเพื่อบริโภค และมีขอ้ สมมติวา่ มีท่ีดินพอเพียงใน
การขุดบ่อเพ่ือแกป้ ัญหาในเร่ืองดงั กล่าว จากการแกป้ ัญหาความเส่ียงเร่ืองน้า จะทาให้เกษตรกรสามารถมี
ขา้ วเพื่อการบริโภคยงั ชีพในระดบั หน่ึง และใช้ท่ีดินส่วนอื่นๆ สนองความตอ้ งการพ้ืนฐานของครอบครัว
รวมท้งั ขายในส่วนท่ีเหลือเพ่ือมีรายไดท้ ่ีจะใชเ้ ป็นคา่ ใชจ้ า่ ยอ่ืนๆ ท่ีไม่สามารถผลิตเองได้ ท้งั หมดน้ีเป็นการ
สร้างภูมิคุม้ กันในตวั ให้เกิดข้ึนในระดบั ครอบครัว อย่างไรก็ตาม แมก้ ระทง่ั ในทฤษฎีใหม่ข้นั ที่ 1 ก็
จาเป็ นที่เกษตรกรจะตอ้ งได้รับความช่วยเหลือจากชุมชนราชการ มูลนิธิ และภาคเอกชน ตามความ
เหมาะสมความพอเพยี งในระดบั ชุมชน และระดบั องคก์ รเป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบกา้ วหนา้ ซ่ึงครอบคลุม
ทฤษฎีใหม่

ข้ันที่ 2 เป็ นเร่ืองของการสนบั สนุนให้เกษตรกรรวมพลงั กนั ในรูปกลุ่มหรือสหกรณ์ หรือการที่
ธุรกิจต่างๆ รวมตวั กนั ในลกั ษณะเครือข่ายวิสาหกิจ กล่าวคือ เมื่อสมาชิกในแต่ละครอบครัว หรือองคก์ ร
ต่างๆ มีความพอเพียงข้นั พ้ืนฐานเป็ นเบ้ืองตน้ แลว้ ก็จะรวมกลุ่มกนั เพ่ือร่วมมือกนั สร้างประโยชน์ให้แก่กลุ่ม
และส่วนรวมบนพ้ืนฐานของการไม่เบียดเบียนกนั การแบ่งปันช่วยเหลือซ่ึงกันและกนั ตามกาลงั และ
ความสามารถของตน ซ่ึงจะสามารถทาให้ ชุมชนโดยรวม หรือเครือข่ายวิสาหกิจน้นั ๆ เกิดความพอเพียง
ในวถิ ีปฏิบตั ิอยา่ งแทจ้ ริงความพอเพียงในระดบั ประเทศ เป็ นเศรษฐกิจพอเพียงแบบกา้ วหนา้ ซ่ึงครอบคลุม
ทฤษฎีใหม่

ข้ันท่ี 3 ซ่ึงส่งเสริมให้ชุมชน หรือเครือข่ายวิสาหกิจ สร้างความร่วมมือกับองค์กรอ่ืนๆ ใน
ประเทศ เช่น บริษทั ขนาดใหญ่ ธนาคาร สถาบนั วจิ ยั เป็นตน้

การสร้างเครือข่ายความร่วมมือในลักษณะเช่นน้ีจะเป็ นประโยชน์ในการสืบทอดภูมิปัญญา
แลกเปล่ียน ความรู้ เทคโนโลยี และบทเรียนจากการพฒั นา หรือ ร่วมมือกันพฒั นา ตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพยี งทาใหป้ ระเทศอนั เป็นสงั คมใหญ่อนั ประกอบดว้ ยชุมชน องคก์ ร และธุรกิจต่างๆ ท่ีดาเนิน
ชีวิตอย่างพอเพียงกลายเป็ นเครือข่ายชุมชนพอเพียงท่ีเชื่อมโยงกนั ดว้ ยหลกั ไม่เบียดเบียน แบ่งปัน และ
ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ไดใ้ นที่สุด

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กำรผลติ ตำมทฤษฎใี หม่สำมำรถเป็ นต้นแบบกำรคดิ ในกำรผลติ ทด่ี ไี ด้ ดงั นี้
1. การผลิตน้นั มุ่งใช้เป็ นอาหารประจาวนั ของครอบครัว เพื่อให้มีพอเพียงในการบริโภคตลอดปี
เพอ่ื ใชเ้ ป็นอาหารประจาวนั และเพื่อจาหน่าย
2. การผลิตต้องอาศัยปัจจยั ในการผลิต ซ่ึงจะต้องเตรียมให้พร้อม เช่น การเกษตรต้องมีน้า
การจดั ใหม้ ี และดูแหล่งน้า จะก่อใหเ้ กิดประโยชนท์ ้งั การผลิต และประโยชน์ใชส้ อยอ่ืนๆ
3. ปัจจยั ประกอบอ่ืนๆ ที่จะอานวยให้การผลิตดาเนินไปด้วยดี และเกิดประโยชน์เช่ือมโยง
(Linkage) ที่จะไปเสริมให้เกิดความยง่ั ยืนในการผลิต จะตอ้ งร่วมมือกนั ทุกฝ่ ายท้งั เกษตรกร
ธุรกิจ ภาครัฐ ภาคเอกชน เพื่อเชื่อมโยงเศรษฐกิจพอเพียงเขา้ กบั เศรษฐกิจการค้า และให้
ดาเนินกิจการควบคูไ่ ปดว้ ยกนั ได้

ประกำรทสี่ ำคญั ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1. พอมพี อกนิ ปลูกพืชสวนครัวไวก้ ินเองบา้ ง ปลูกไมผ้ ลไวห้ ลงั บา้ น 2 – 3 ตน้ พอที่จะมีไว้
กินเอง ในครัวเรือน เหลือจึงขายไป
2. พออยู่พอใช้ ทาให้บ้านน่าอยู่ ปราศจากสารเคมี กล่ินเหม็น ใช้แต่ของที่เป็ นธรรมชาติ
(ใช้จุลินทรีย์ ผสมน้าถูพ้ืนบา้ น จะสะอาดกว่าใช้น้ายาเคมี) รายจ่ายลดลง สุขภาพจะดีข้ึน
(ประหยดั คา่ รักษาพยาบาล)
3. พออกพอใจ เราตอ้ งรู้จกั พอ รู้จกั ประมาณตน ไมใ่ คร่อยากใคร่มีเช่นผูอ้ ่ืน เพราะเราจะหลงติด
กบั วตั ถุ ปัญญาจะไมเ่ กิด

“ เศรษฐกจิ พอเพยี ง จะสำเร็จได้ด้วย ควำมพอดขี องตน ”

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนแผงผงั มโนทศั น์สรุปความรู้ เร่ืองการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี งใน
ครอบครัว

เกณฑ์กำรประเมิน

- ความถูกตอ้ งของเน้ือหา 5 คะแนน

- ความคิดสร้างสรรค์ 3 คะแนน

- ความสะอาด,ส่งตรงเวลา 2 คะแนน

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนตอบคาถามต่อไปน้ี

1. ความพอเพยี ง หมายถึงอะไร
ตอบ.....................................................................................................................................................

2. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งคืออะไร
ตอบ.....................................................................................................................................................

3. แนวทางการดาเนินชีวติ ท่ีดีควรต้งั อยบู่ นพ้ืนฐานของสิ่งใด
ตอบ.....................................................................................................................................................

4. เหตุใดเราจึงตอ้ งสร้างระบบภูมิคุม้ กนั ในตนเอง
ตอบ.....................................................................................................................................................

5. นกั เรียนคิดวา่ บุคคลใดท่ีควรยดึ หลกั ความพอเพยี งในการดาเนินชีวิต
ตอบ.....................................................................................................................................................

6. ความพอเพียง 7 ประการ ไดแ้ ก่อะไรบา้ ง
ตอบ.....................................................................................................................................................

7. ใหน้ กั เรียนบอกแนวทางการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง ในระดบั บุคคลมา 3 ขอ้
ตอบ....................................................................................................................................................

8. แนวทางการประยกุ ตใ์ ชห้ ลกั เศรษฐกิจพอเพยี งมีกี่ระดบั อะไรบา้ ง
ตอบ.....................................................................................................................................................

9. จิตสานึกเพื่อเศรษฐกิจพอเพียง มีอะไรบา้ ง
ตอบ....................................................................................................................................................

10. ใหน้ กั เรียนบอกประโยชน์ของการประหยดั มา 5 ขอ้
ตอบ....................................................................................................................................................

เกณฑ์กำรประเมิน

- ตอบถูกตอ้ ง 9 – 10 ขอ้ = ดมี ำก - ตอบถูกตอ้ ง 7 – 8 ขอ้ = ดี

- ตอบถูกตอ้ ง 5– 6 ขอ้ = พอใช้ - ตอบถูกตอ้ ง 1– 5 ขอ้ = ต้องปรับปรุง

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

จังหวัดนครปฐม

ประวตั ิควำมเป็ นมำ

นครปฐมเป็นอู่อารยธรรมสาคญั ท่ีมีประวตั ิความเป็ นมายาวนานในแผน่ ดินสุวรรณภูมิ จาก
หลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ กล่าววา่ เมืองนครปฐมแต่เดิมน้นั ต้งั อยูร่ ิมทะเล เป็นเมืองเก่าแก่ มีความ
เจริญรุ่งเรืองมานบั ต้งั แต่สมยั สุวรรณภูมิ และเป็นราชธานีสาคญั ในสมยั ทวารวดี ในยคุ น้นั นครปฐม เป็น
แหล่งเผยแพร่ อารยธรรมจากประเทศอินเดีย ซ่ึงรวมท้งั พุทธศาสนา นครปฐมจึงเป็ นศูนยก์ ลางของความ
เจริญมีชนชาติต่าง ๆ อพยพเขา้ มาต้งั ถิ่นฐานอยเู่ ป็ นจานวนมากตอ่ มาไดเ้ กิดความแหง้ แลง้ ข้ึนในเมือง
นครปฐม เพราะกระแสน้าที่ไหลผา่ นตวั เมืองเปลี่ยนเส้นทางประชาชนจึงอพยพไปต้งั หลกั แหล่งอยรู่ ิมน้า
และสร้างเมืองใหมข่ ้ึนช่ือ “นครชยั ศรี” หรือ “ศรีวชิ ยั ” นครปฐมจึงกลายเป็นเมืองร้างมาเป็นเวลาหลาย
ร้อยปี จนกระทง่ั พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยขู่ ณะท่ียงั ทรงผนวชอยไู่ ดธ้ ุดงคไ์ ปพบพระปฐมเจดียแ์ ละ
ทรงเห็นวา่ เป็ นเจดียอ์ งคใ์ หญ่

ไม่มีท่ีไหนเทียบเท่าคร้ังเม่ือพระองคไ์ ดท้ รงครองราชย์ จึงโปรดฯ ใหก้ ่อเจดียแ์ บบลงั กาครอบ
เจดียเ์ ดิมไวท้ รง ปฏิสงั ขรณ์ส่ิงตา่ งๆในบริเวณองคพ์ ระปฐมเจดียใ์ หม้ ีสภาพดีและโปรดฯใหข้ ดุ คลองเจดีย์
บูชาเพอื่ ใหก้ าร คมนาคมสะดวกข้ึน และต่อมาในสมยั รัชกาลที่ 5 ไดเ้ ริ่มก่อสร้างทางรถไฟสายใตไ้ ปยงั เมือง
นครปฐมแต่ตอนน้นั เมืองนครปฐมยงั เป็นป่ ารกอยู่ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั จึงโปรดเกลา้ ฯ
ใหย้ า้ ยเมืองจากตาบลทา่ นา อาเภอนครชยั ศรี มาต้งั ท่ีบริเวณพระปฐมเจดียเ์ หมือนเช่นคร้ังสมยั โบราณ
ตอ่ มาในรัชสมยั ของพระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไดโ้ ปรดฯ ใหส้ ร้างพระราชวงั สนามจนั ทร์เป็ นที่
เสด็จปรพระราชฐานและโปรดฯ ใหต้ ดั ถนนเพมิ่ ข้ึนอีกหลายสายรวม ท้งั สร้างสะพานใหญข่ า้ งคลองเจดีย์
บูชาและไดโ้ ปรดให้ เปลี่ยนช่ือจากเมือง “นครชยั ศรี” เป็ น“นครปฐม” สืบต่อมาจนตราบเท่าทุกวนั น้ี

1

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

สัญลกั ษณ์จงั หวดั

ตราประจาจงั หวดั นครปฐม รูปเจดียอ์ งคใ์ หญ่และมีมงกุฎติดอยทู่ ่ีพระปฐมเจดีย์
เจดียอ์ งคใ์ หญ่ หมายถึง องคพ์ ระปฐมเจดียท์ ่ีพระโสณะและพระอุตระไดส้ ร้างข้ึน
มงกฎุ หมายถึง พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ผทู้ รงอุปถมั ภส์ ร้างองค์
พระปฐม-เจดียต์ ่อเติม ใหส้ ูงใหญส่ ง่างามตามที่ปรากฏอยใู่ นปัจจุบนั

จงั หวดั นครปฐม ใชอ้ กั ษรยอ่ วา่ “นฐ”

คาขวญั ของจงั หวดั นครปฐม “ส้มโอหวาน ขา้ วสารขาว ลูกสาวงาม ขา้ มหลามหวานมนั
สนามจนั ทร์งามลน้ พทุ ธมณฑลคู่ธานี พระปฐมเจดียเ์ สียดฟ้า”

ธงประจาจงั หวดั นครปฐม

ตน้ ไมป้ ระจาจงั หวดั ชื่อพรรณไม้ จนั Diospyrosdecandralour

กำรปกครองส่วนภูมภิ ำค แบง่ ออกเป็น 7 อาเภอ ประกอบดว้ ย 106 ตาบล และ 930 หมูบ่ า้ น
2

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

1. อาเภอเมืองนครปฐม
2. อาเภอกาแพงแสน
3. อาเภอนครชยั ศรี
4. อาเภอดอนตูม
5. อาเภอบางเลน
6. อาเภอสามพราน
7. อาเภอพทุ ธมณฑล

สภำพทวั่ ไปของจังหวดั

ทต่ี ้งั และอำณำเขต
จงั หวดั นครปฐม เป็นจงั หวดั หน่ึงในภาคกลางดา้ นตะวนั ตก ต้งั อยบู่ ริเวณลุ่มแมน่ ้าท่าจีน

ซ่ึงเป็นพ้ืนที่บริเวณที่ราบลุ่มภาคกลาง โดยอยรู่ ะหวา่ งเส้นรุ้งท่ี 13 องศา 45 ลิปดา 10 ฟิ ลิปดา เส้นแวง
ท่ี 100 องศา 4 ลิปดา 28 ฟิ ลิปดา มีพ้ืนที่ 2,168.327 ตารางกิโลเมตร หรือ 1,355,204 ไร่ เท่ากบั ร้อยละ
0.42 ของประเทศ และมีพ้ืนท่ีเป็ นอนั ดบั ที่ 62 ของประเทศ อยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครไปตามเส้นทาง
ถนน เพชรเกษม 56 กิโลเมตร หรือตามเส้นทางถนนบรมราชชนนี (ถนนปิ่ นเกล้า – นครชัยศรี )
51 กิโลเมตร และตามเส้นทางรถไฟ 62 กิโลเมตร และมีอาณาเขตติดตอ่ ดงั น้ี

ทิศเหนือ ติดตอ่ กบั อ. สองพน่ี อ้ ง จ. สุพรรณบุรี
ทิศใต้ ติดต่อกบั อ. กระทุม่ แบน อ. บา้ นแพว้ จ. สมุทรสาคร และ อ. บางแพ

จ. ราชบุรี
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั อ. ไทรนอ้ ย อ. บางใหญ่ อ. บางกรวย จ. นนทบุรี และเขตตล่ิงชนั

เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร อ. บางไทร จ. พระนครศรีอยธุ ยา
ทิศตะวนั ตก ติดตอ่ กบั อ. บา้ นโป่ ง อ. โพธาราม จ. ราชบุรี และ อ. ท่ามะกา อ. พนมทวน

จ. กาญจนบุรี

สภำพภูมปิ ระเทศ
สภาพภูมิประเทศของจงั หวดั นครปฐม โดยทวั่ ไปมีลกั ษณะเป็ นท่ีราบ ถึงค่อนขา้ งราบเรียบ

ไม่มีภูเขาและป่ าไม้ รับดบั ความแตกตา่ งของความสูงของพ้ืนที่อยูร่ ะหวา่ ง 2-10 เมตร เหนือระดบั น้าทะเล

3

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ปานกลาง สภาพพ้ืนที่โดยทวั่ ไปลาดจากทิศเหนือสู่ทิศใต้ และตะวนั ตกสู่ตะวนั ออก มีแม่น้าท่าจีนไหลผา่ น
จากทิศเหนือ ลงสู่ทิศใต้ พ้ืนท่ีทางตอนเหนือ และทางตะวนั ออกเฉียงเหนือส่วนใหญ่เป็นที่ดอน

ส่วนพ้ืนที่ทางตอนกลางของจงั หวดั เป็ นท่ีราบลุ่ม มีท่ีดอนกระจายเป็ นแห่ง ๆ และมีแหล่ง
น้ากระจาย สาหรับพ้ืนที่ดา้ นตะวนั ออก และดา้ นใตเ้ ป็ นท่ีราบลุ่มริมฝ่ังแม่น้าท่าจีน มีคลองธรรมชาติและ
คลองซอยที่ขดุ ข้ึนเพ่อื การเกษตรและคมนาคมอยมู่ าก พ้ืนที่สูงจากระดบั น้าทะเล 2-4 เมตร

ของดปี ระจำจังหวดั นครปฐม

ขา้ วหลามถือเป็นส่ิงบ่งบอกความเป็น "นครปฐม" ไดเ้ ป็ นอยา่ งดี เอกลกั ษณ์ของขา้ วหลามนครปฐมอยู่
ท่ีความอร่อย หวานมนั ขา้ วเหนียวเข้ียวงู เม็ดเล็กอ่อนนุ่มในตวั ไม่แฉะจนเกินไปกล่ินของกระบอกไมไ้ ผ่
ใบตองปิ ดจุก และถ่านไมจ้ ากการเผา เพิ่มความหอม ชวนรับประทานยงิ่ ข้ึน เคล็ดลบั การชิมอยทู่ ี่ ตอ้ งชิมจาก
กน้ กระบอก จะไดร้ ู้วา่ ขา้ วหลามน้นั ๆ รสชาติทว่ั ถึงท้งั กระบอกหรือไม่ นอกจากสูตรด้งั เดิม เช่น ขา้ วหลาม
ขา้ วเหนียวดา, ขา้ วหลามข้าวเหนียวขาว, ขา้ วหลามสังขยาดา, ขา้ วหลามสังขยาขาวและขา้ วหลามบ๊ะจ่าง
แล้ว ยงั มีการวิจยั และพฒั นาขา้ วหลามสูตรใหม่ เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของผูบ้ ริโภค ด้วยขา้ วหลาม
ใหม่ 4 สูตร ไดแ้ ก่ ขา้ วหลามกระเพรากุง้ , ขา้ วหลามหนา้ กงุ้ , ขา้ วหลามอญั ชญั และขา้ วหลามเบญจพรรณ

4

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ส้มโอนครปฐม ซ่ึงเป็ นส้มโอท่ีมีรสหวานอร่อย มีชื่อเสียงเป็ นที่รู้จกั ของผูบ้ ริโภคท้งั ในประเทศ
และตลาดต่างประเทศมานาน ส้มโอ ปลูกกันแพร่ หลายในหลายอาเภอ แต่เป็ นที่นิ ยมมากคือ
ส้มโอนครชยั ศรีที่มีอยู่ 5 สายพนั ธุ์ ไดแ้ ก่
1. ส้มโอพนั ธุ์ทองดี รสชาติดีหวานนาอมเปร้ียวเล็กน้อยไม่มีรสขมและรสซ่า เน้ือสีขาวอมชมพูฉ่า รูปทรง
กลมแป้น เปลือกผิวบาง มีต่อมน้ามนั เล็ก ชาวจีนนิยม เพราะสีเน้ือคลา้ ยสีทบั ทิม ไหวเ้ จา้ กเ็ ป็ นมงคลบริโภค
กอ็ ร่อยติดใจ
2. ส้มโอพนั ธุ์ขาวน้าผ้ึง รสชาติหวานอมเปร้ียว เน้ือสีขาวอมเหลืองเล็กน้อยคลา้ ยน้าผ้ึง รูปทรงกลมนูน
เปลือกผิวบาง มีต่อมน้ามันใหญ่ เน้ือแน่นน้าหนักดี ไม่มีรสขมและรสซ่า แก่จดั เน้ือแห้งถูกคอคนไทย
ตา่ งชาติก็นิยม
3. ส้มโอพนั ธุ์ขาวพวง รสชาติเปร้ียวนา ลักษณะลูกหัวจุกจะยาว(คลา้ ยลูกน้าเตา้ ) ส่งออกดีชาวจีนชอบ
เหมือนผลน้าเตา้ ไหวเ้ จา้ เป็นมงคลแก่ครอบครัว บริโภคกไ็ ดว้ ติ ามิน
4. ส้มโอพนั ธุ์ขาวแป้น รสชาติหวานอมเปร้ียว ลกั ษณะผลคลา้ ยพนั ธุ์ทองดี เน้ือสีขาว
5. ส้มโอพนั ธุ์ขาวหอม รสเปร้ียวนา ลกั ษณะผลใหญ่ เปลือกบาง น้าหนกั ดี

5

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กลุ่มมะพร้าวน้าหอม 92 หมู่ 8 ตาบลบางช้าง อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ในแต่ละปี จะมีการจดั
งานประกวด - จัดแสดงและจาหน่ายผลิตภัณฑ์ต่างๆ ที่สร้างสรรค์จากมะพร้าว ของฝาก ผลิตภัณฑ์
ดา้ นหตั ถกรรมจากภูมิปัญญาชาวบา้ น ณ บริเวณวดั ไร่ขิง อาเภอสามพราน จงั หวดั นครปฐม ของทุกปี

เคร่ืองป้ันดินเผา "พงษศ์ รีนคร ศิลาดล" ซ่ึงเป็ นอุตสาหกรรมครอบครัวก่ึงอุตสาหกรรมขนาดเล็กของ
พงษ์ลกั ษณ์ สุวรรณมาลี ท่ีหมู่ 4 ต.สัมปทวน อ.นครชยั ศรี จ.นครปฐม จะไดร้ ับผลกระทบจากผลพวงของ
ภาวะเศรษฐกิจโลกที่กาลงั อยูใ่ นช่วงชะลอตวั ถึงขนาดยอดส่งออกตกฮวบกวา่ 50% แต่ลูกคา้ คนไทยดว้ ยกนั
ยงั มีเต็ม 100% ทาให้เขามีกาลงั ที่จะดาเนินกิจการให้เดินหน้าเพื่อพฒั นาผลิตภณั ฑ์ต่อไป ล่าสุดเขามีการ
ปรับปรุงสูตรเน้ือดินเคร่ืองป้ันดินเผาใหมใ่ ห้มีน้าหนกั เบาลงถึง 40% และช่วยลดตน้ ทุนการผลิตไดอ้ ีกระดบั
หน่ึง โดยท่ียงั คงเอกลกั ษณ์และคุณภาพเหมือนเดิม

6
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ
แผนทแี่ สดงอำเภอในจังหวดั นครปฐม

ใหน้ กั เรียนเขียนช่ืออาเภอตามหมายเลขท่ีกาหนด พร้อมระบายสีแสดงขอบเขตของแต่ละอาเภอใหถ้ ูกตอ้ ง

หมายเลข 1 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 2 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 3 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 4 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 5 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 6 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................
หมายเลข 7 อาเภอ................................................................................ระบายสี...................................

7

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1
อำเภอน7ครชัยศรี

แผนทแี่ สดงทต่ี ้ังอำเภอนครชัยศรี

นครชยั ศรี เป็ นอาเภอหน่ึงในจงั หวดั นครปฐม เป็ นเมืองท่ีมีประวตั ิศาสตร์เก่าแก่ มีเรื่องราวบนั ทึกไว้
ต้งั แต่สมยั สุโขทยั เป็ นราชธานี นอกจากน้ียงั มีการคน้ พบโบราณวตั ถุจานวนหน่ึงในบริเวณอาเภอนครชยั ศรี
ปัจจุบันนครชัยศรีนับเป็ นแหล่งท่องเที่ยวท่ีสาคญั แห่งหน่ึงของจงั หวดั นครปฐม และอยู่ไม่ไกลจาก
กรุงเทพมหานคร
อาเภอนครชยั ศรีมีอาณาเขตติดตอ่ กบั อาเภอตา่ ง ๆ เรียงตามเขม็ นาฬิกา ดงั น้ีท่ีต้งั และอาณาเขต

ทิศเหนือ ติดต่อกบั อาเภอดอนตูมและอาเภอบางเลน
ทิศตะวนั ออก ติดตอ่ กบั อาเภอพทุ ธมณฑลและอาเภอสามพราน
ทิศใต้ ติดต่อกบั อาเภอสามพราน
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอเมืองนครปฐม

ประวตั ิควำมเป็ นมำ

ในสมยั กรุงศรีอยุธยาเป็ นราชธานี พ้ืนที่อาเภอนครชัยศรีเคยเป็ นท่ีต้งั เมืองนครชัยศรี ในรัชสมยั
สมเด็จพระเจา้ จกั รพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) โปรดให้สร้างเมืองใหม่ แขวงเมืองราชบุรีจึงถูกแบ่งพ้ืนที่บาง
ส่วนรวมกบั พ้ืนท่ีบางส่วนของแขวงเมืองสุพรรณบุรี ต้งั เป็ นเมืองนครชยั ศรี เพื่อรองรับพลเมืองไทยที่หนี
สงครามระหวา่ งไทยกบั พม่าที่เริ่มมาต้งั แต่รัชสมยั สมเด็จพระชยั ราชาธิราช (พ.ศ. 2077-2089) ไปอยตู่ ามป่ า
เขา ให้กลบั เขา้ มาเป็ นกาลงั ของพระนครยามมีศึก โดยมีตวั เมืองอยูใ่ ตป้ ากคลองบางแกว้ (ห่างจากตวั อาเภอ
ปัจจุบนั ประมาณ 2 กิโลเมตร) เดิมน้นั สังกดั กรมมหาดไทย ภายหลงั ไดโ้ อนไปสงั กดั กรมท่า

คร้ันเม่ือมีการปรับปรุงการปกครองใหม่ เมื่อ พ.ศ. 2437 ในรัชกาลที่ 5 มีการจดั ต้งั
กระทรวงมหาดไทยข้ึน และจดั รูปการปกครองเป็นมณฑลเทศาภิบาล เมืองนครชยั ศรีไดโ้ อนไปสังกดั

8

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กำรปกครองส่ วนท้องถ่นิ

กระทรวงมหาดไทย และต้งั มณฑลข้ึนโดยรวมเมืองนครชัยศรี สมุทรสาคร และสุพรรณบุรีไวใ้ น
มณฑลเดียวกนั เรียกวา่ มณฑลนครชยั ศรี มีที่ต้งั อยู่ ณ เมืองนครชยั ศรี คร้ันในสมยั รัชกาลท่ี 6 ไดย้ บุ มณฑล
นครชยั ศรีลง เมืองนครชยั ศรีเดิมถูกเปลี่ยนเป็นอาเภอนครชยั ศรี ข้ึนอยกู่ บั จงั หวดั นครปฐม

อาเภอนครชยั ศรีแบ่งเขตการปกครองออกเป็ น 24 ตาบล 108 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่

1. นครชยั ศรี (Nakhon Chai Si) 3 หมูบ่ า้ น 13. แหลมบวั (LaemBua) 8 หมู่บา้ น
14. ศรีมหาโพธ์ิ (Si Maha Pho) 5 หมูบ่ า้ น
2. บางกระเบา (Bang Krabao) 3 หมู่บา้ น 15. สัมปทวน (Sampathuan) 6 หมูบ่ า้ น
16. วดั สาโรง (WatSamrong) 4 หมู่บา้ น
3. วดั แค (WatKhae) 4 หมู่บา้ น 17. ดอนแฝก (Don Faek) 4 หมูบ่ า้ น
18. หว้ ยพลู (HuaiPhlu) 5 หมูบ่ า้ น
4. ทา่ ตาหนกั (ThaTamnak) 4 หมู่บา้ น 19. วดั ละมุด (WatLamut) 5 หมูบ่ า้ น
20. บางพระ (Bang Phra) 4 หมู่บา้ น
5. บางแกว้ (Bang Kaeo) 4 หมูบ่ า้ น 21. บางแกว้ ฟ้า (Bang KaeoFa) 5 หมู่บา้ น
22. ลานตากฟ้า (LanTakFa) 5 หมู่บา้ น
6. ท่ากระชบั (ThaKrachap) 4 หมูบ่ า้ น 23. งิ้วราย (NgioRai) 4 หมูบ่ า้ น
24. ไทยาวาส (Thaiyawat) 4 หมู่บา้ น
7. ขนุ แกว้ (KhunKaeo) 4 หมู่บา้ น

8. ท่าพระยา (Tha Phraya) 5 หมูบ่ า้ น

9. พะเนียด (Phaniat) 4 หมูบ่ า้ น

10. บางระกา (Bang Rakam) 4 หมู่บา้ น

11. โคกพระเจดีย์ (KhokPhraChedi) 5 หมู่บา้ น

12. ศีรษะทอง (Sisa Thong) 5 หมูบ่ า้ น

สถำนทที่ ่องเทย่ี วในอำเภอนครชัยศรี

ตลำดท่ำนำ ต้งั อยูใ่ นตาบลนครชยั ศรี อาเภอนครชยั ศรี จงั หวดั นครปฐม เป็ นตลาดโบราณเล็ก ๆ
อายุมากกว่า 100 ปี อยู่ติดกบั ริมแม่น้านครชัยศรี เป็ นแหล่งซ้ือของกินโบราณอร่อย ๆ มากมาย รวมท้งั
พืชผกั -ผลไมท้ อ้ งถ่ิน อาทิ ส้มโอ, มะพร้าว, องุ่น, กระทอ้ น, แกว้ มงั กร ฯลฯ อีกทงั ยงั มีอาคารเรือนแถวไม้
เก่าแก่สุดชิคใหไ้ ดเ้ ดินถ่ายรูปกนั แบบเพลิน ๆ อีกดว้ ย

พิพิธภัณฑ์ หุ่นขี้ผึ้งไทย ต้ังอยู่ถนนป่ิ นเกล้านครชัยศรี กิโลเมตรที่ 13 ตาบลขุนแก้วเป็ น
ประติมากรรมแห่งชีวิตท่ีสะทอ้ นศาสตร์ และศิลป์ อยา่ งมีชีวติ ชีวา นบั แต่ผวิ เน้ือของหุ่น ซ่ึงไดร้ ับการหล่อ
จากไฟเบอร์กลาส หรือใยแกว้ ซ่ึงดูเหมือนของจริง ผลงานที่สาคญั เช่น ชุดพระอริยสงฆ์ ชุดพระบรมรูป
พระมหากษตั ริยร์ าชวงศจ์ กั รี

9

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

พิพิธภัณฑ์วิถีชำวนำไทยพิพิธภัณฑ์วิถีชำวนำไทย ต้งั อยู่ท่ีบา้ นลานแหลม หมู่ 4 ตาบลวดั ละมุด
โดยได้รวบรวมเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ของชาวนาไทยจดั แสดง และบริเวณบ้านยงั เป็ นสถานที่ฝึ กการทา
หตั ถกรรมผกั ตบชวา

อุทยำนปลำวัดห้วยพลู ต้งั อยู่ที่หมู่ที่ 1 ตาบลห้วยพลู อาเภอนครชยั ศรี บริเวณหน้าวดั ห้วย เป็ น
แหล่งรวมของปลาที่อาศยั อยใู่ นแม่น้าธรรมชาติ ไดแ้ ก่ ปลาสวาย ปลาเทโพ ปลาตะเพียน ปลาหางแดงซ่ึง
มีอยู่ตามแม่น้าท่าจีน และมีเรือนแพไวส้ าหรับนกั ท่องเท่ียวไดช้ มดว้ ย พร้อมท้งั มีอาหารปลาไวจ้ าหน่าย
บริการสวนศิลป มีเซียม ยิบอินซอบ ต้งั อยูท่ ่ีเลขท่ี 38 / 9 ถนนพุทธมณฑลสาย 7 เป็ นท่ีรวมประติมากรรม
ของคุณมีเซียมมาไวท้ ี่สวนน้ีเป็ นจานวนมาก เพ่ือประโยชน์ในการคน้ ควา้ แก่นักเรียน นักศึกษา และ
ผูส้ นใจ การจัดสร้างสวนนิทรรศการชั่วคราวในรูปหอศิลป และ สวนศิลปกลางแจ้ง เพื่อให้มีการ
สนบั สนุนศิลปิ น ซ่ึงตอ้ งการเผยแพร่งานศิลปิ นของตนออกสู่สายตาประชาชน นอกจากน้ียงั มีห้องหนงั สือ
ซ่ึงรวบรวมวารสาร และเอกสารดา้ นศิลปตา่ ง ๆ ของคุณมีเซียม เพ่อื ใชป้ ระโยชนใ์ นการศึกษาคน้ ควา้ อีกดว้ ย

ตลำดนำ้ วดั กลำงคูเวยี ง ต้งั อยทู่ ี่ตาบลสมั ปทวน มีจาหน่ายอาหาร ผลไมน้ านาชนิดและแพปลา
ท้ังยังมีบ ริ การล่องเรื อชมทิ วทัศน์ แม่น้ าน ครชัยศรี ชมวิถี ชี วิตชุ มชน และเท่ี ยวชมวัดต่าง ๆ
พิพิธภณั ฑ์ศิลปะนกฮูก ต้งั อยู่ที่ตาบลไทยาวาส เป็ นพิพิธภณั ฑ์รวมงานศิลปะ งานออกแบบ ที่ได้แรง
บนั ดาลใจจากนกฮูกหรือนกเค้าแมวจากหลากหลายสถานที่ท้ังในเมืองไทย และจากหลาย ๆ ประเทศ
นกั ท่องเที่ยวจะไดเ้ พลินเพลินไปกบั อาคารรูปทรงนกฮูกสุดเจ๋ง และขา้ วของเคร่ืองใชม้ ากมายหลากหลาย
ชนิดที่มีหน้าตาคลา้ ยกบั นกฮูกสุดน่ารัก แบ่งเป็ นโซนต่าง ๆ อยา่ งชดั เจน มีการเปิ ดเวิร์กช็อปทาผลิตภณั ฑ์
ตา่ ง ๆ อยตู่ ลอด

เจษฎำ เทคนิค มิวเซียม ต้ังอยู่ที่ 100 หมู่ 2 ตาบลงิ้วราย เป็ นพิพิธภัณฑ์ที่รวบรวมรถรุ่นเก่า
สุดคลาสสิกมากมายของคุณเจษฎา เดชสกุลฤทธ์ิ ซ่ึงสะสมมาต้งั แต่วยั เยาว์ ท่ีน่ีจดั แสดงยานพาหนะโบราณ
ท้งั ทางบก ทางน้า และทางอากาศ ใครท่ีชอบเร่ืองราวของยานพาหนะบอกเลยวา่ ไม่ควรพลาด เจษฎา เทคนิค
มิวเซียม เปิ ดใหเ้ ขา้ ชมวนั องั คาร-อาทิตย์ ต้งั แตเ่ วลา 09.00-17.00 น. (ปิ ดวนั จนั ทร์)

วู้ดแลนด์ เมืองไม้แฟนตำซี ต้งั อยู่ที่ 15/1 หมู่ 4 ตาบลดอนแฝก จดั สร้างโดยครอบครัวทิวไผ่งาม
เป็ นพิพิธภณั ฑ์ท่ีจดั แสดงผลงานไมแ้ กะสลกั มากมาย ซ่ึงลว้ นแต่เป็ นผลงานที่สวยงามทรงคุณค่า หาชมได้
ยาก แบ่งเป็นโซนต่าง ๆ อาทิ นิทานเมืองไม,้ หมู่บา้ นไทย, รีสอร์ทไม้ เป็ นตน้ โดยรอบ ๆ ของพิพิธภณั ฑจ์ ะ
เป็นสวนสีเขียวสุดร่มรื่น มีบริเวณติดกบั แม่น้าท่าจีน บรรยากาศชิลมาก ๆ ท่ีน่ีเปิ ดใหเ้ ขา้ ชมทุกวนั ต้งั แตเ่ วลา
09.30-17.00 น. บตั รเขา้ ชมสาหรับผูใ้ หญ่คนไทย ราคา 300 บาท เด็ก 100 บาท ชาวต่างชาติผูใ้ หญ่ 650 บาท
เดก็ 300 บาท

10

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

วดั บำงพระ ต้งั อยทู่ ่ีหมู่ 3 ตาบลบางแกว้ ฟ้า เป็ นอีกหน่ึงวดั สาคญั ของจงั หวดั นครปฐม สันนิษฐาน
วา่ สร้างในสมยั กรุงศรีอยุธยาประมาณ พ.ศ. 2220 ภายหลงั หลวงพ่อเปิ่ น ฐิตคุโณ ได้พฒั นาจนเป็ นวดั ท่ีมี
ความเจริญ ชาวบา้ นต่างพากนั เคารพศรัทธา เรียกไดว้ า่ เป็ นที่ยดึ เหนี่ยวจิตใจของชาวบา้ นเลยทีเดียว ปัจจุบนั
ภายในวดั มีสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิใหไ้ ปกราบไหวข้ อพรมากมาย อาทิ พระบรมสารีริกธาตุ (จากประเทศศรีลงั กา), รอย
พระพุทธบาทจาลอง หลวงพ่อโต (พระประธานในอุโบสถหลงั ใหม่), รูปหล่อสิทธิมงคล (พระประธานใน
อุโบสถหลงั เก่า), รูปหล่อเหมือนหลวงป่ ูหิ่ม หลวงป่ ูทองอยู่ หลวงป่ ูเปลี่ยน, สังขารพระอุดมประชานาถ
(หลวงพอ่ เป่ิ น ฐิตคุโณ) เป็นตน้

วัดกลำงบำงแก้ว ต้ังอยู่ปากคลองบางแก้ว ตาบลนครชัยศรี เป็ นวดั โบราณริมแม่น้ าท่าจีน
สันนิษฐานวา่ สร้างข้ึนต้งั แต่สมยั กรุงศรีอยธุ ยา มีการคน้ พบวตั ถุโบราณมากมายภายในวดั อาทิ พระพุทธรูป
หินทรายแดง, ใบเสมา, คัมภีร์ใบลาน, สมุดข่อย เป็ นต้น ปัจจุบันมีสิ่งที่น่าสนใจ อาทิ หอไตร ซ่ึงมี
สถาปัตยกรรมแบบไทยท่ีวจิ ิตรงดงาม, พิพธิ ภณั ฑ์พระพทุ ธวถิ ีนายก, พระอุโบสถ ที่มีภาพจิตรกรรมฝาพนงั
อนั สวยงาม เป็นตน้ ในส่วนของพิพิธภณั ฑเ์ ปิ ดให้เขา้ ชมทุกวนั พฤหสั บดี-อาทิตย์ ต้งั แต่เวลา 09.00-16.00 น.
ดูรายละเอียดเพมิ่ เติมไดท้ ่ี watkbk.com

วดั ศีรษะทอง ต้งั อยูท่ ี่ตาบลศีรษะทอง เป็นที่รู้จกั กนั ดีวา่ เป็นสถานที่ไหวพ้ ระราหูยอดนิยม มีการจดั
งานเป็ นประจาทุกปี จะพิธียกช่อฟ้าศาลาการเปรียญ เททองหล่อพระประจาปี เกิด เททองหล่อพระราหู
องคใ์ หญ่ พร้อมเขา้ พิธีสวดนพเคราะห์ใหญ่ ที่ตอ้ งผา่ นพิธีการมหาทกั ษา (ตรวจดวงชะตา) และบูชาดวงเกิด
ดว้ ย ซ่ึงนกั ท่องเที่ยวสามารถที่จะเดินทางมาเคารพกราบไหวก้ นั ไดต้ ลอดท้งั ปี

11

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนบนั ทึกเร่ืองราวของอาเภอนครชยั ศรีท่ีไดศ้ ึกษาคน้ ควา้

1. ประวตั ินครชัยศรี โดยย่อ
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

2. สถำนทสี่ ำคญั /สถำนทนี่ ่ำสนใจ
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

3. ควำมประทบั ใจ/ควำมภำคภูมใิ จของนักเรียนทมี่ ตี ่ออำเภอนครชัยศรี
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................

4. รัชกำลใดได้ทรงเปลย่ี นชื่อเมืองนครชัยศรี เป็ นเมืองนครปฐม

ก. รัชกาลท่ี 3 ข. รัชกาลที่ 4

ค. รัชที่กาล 5 ง. รชั กาลที่ 6

5. สถำนทที่ ่องเทยี่ วทสี่ ำคญั ของอำเภอนครชัยศรีคือสถำนทใี่ ด
ก. พิพิธภณั ฑห์ ุ่นข้ีผ้งึ ไทย ข. เมืองโบราณ
ค. องคพ์ ระปฐมเจดีย์ ง. หมู่บา้ นควาย
12

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2
อำเภอเมืองนครปฐม

แผนทแ่ี สดงทตี่ ้ังอำเภอเมืองนครปฐม
ประวตั คิ วำมเป็ นมำ

ไดร้ ับการยกฐานะเป็ นอาเภอเมือง พ.ศ. 2439 (ร.ศ.114) แต่เดิมเรียกว่า "อาเภอพระปฐมเจดีย์ " ข้ึนอยูก่ บั
เมืองนครชยั ศรีในขณะน้นั ต่อมาในสมยั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รัชกาลที่ 6 ไดท้ รงโปรด
ฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาติใหเ้ ปลี่ยนช่ือ อาเภอพระปฐมเจดียเ์ ป็น " อาเภอเมืองนครปฐม "
ต้งั แต่ พ.ศ. 2456 เป็นตน้ มา

ทตี่ ้ังและอำณำเขต

อาเภอเมืองนครปฐมต้ังอยู่ทางทิศตะวนั ตกของจังหวดั มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครอง
ขา้ งเคียงเรียงตามเขม็ นาฬิกา มีพ้ืนท่ี 417.44 ตร.กม.

ทศิ เหนือ ติดต่อกบั อาเภอกาแพงแสนและอาเภอดอนตูม
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอนครชยั ศรี
ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอสามพราน และอาเภอบางแพ (จงั หวดั ราชบุรี)
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอโพธารามและอาเภอบา้ นโป่ ง (จงั หวดั ราชบุรี)

13

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กำรปกครองส่ วนท้องถ่นิ

อาเภอเมืองนครปฐมแบง่ เขตการปกครองออกเป็น 25 ตาบล 217 หมูบ่ า้ น ไดแ้ ก่

1. พระปฐมเจดีย์ (PhraPathomChedi) 14. สามควายเผอื ก (Sam KhwaiPhueak) 6 หมู่บา้ น

2. บางแขม (Bang Khaem) 10 หมูบ่ า้ น 15. ทุง่ นอ้ ย (ThungNoi) 7 หมูบ่ า้ น

3. พระประโทน (PhraPrathon) 9 หมูบ่ า้ น 16. หนองดินแดง (Nong Din Daeng) 8 หมู่บา้ น

4. ธรรมศาลา (Thammasala) 7 หมูบ่ า้ น 17. วงั เยน็ (Wang Yen) 6 หมู่บา้ น

5. ตากอ้ ง (Ta Kong) 10 หมู่บา้ น 18. โพรงมะเด่ือ (PhrongMaduea) 17 หมู่บา้ น

6. มาบแค (Map Khae) 11 หมูบ่ า้ น 19. ลาพยา (Lam Phaya) 9 หมูบ่ า้ น

7. สนามจนั ทร์ (Sanam Chan) 6 หมูบ่ า้ น 20. สระกะเทียม (Sa Kathiam) 14 หมูบ่ า้ น

8. ดอนยายหอม (Don YaiHom) 9 หมูบ่ า้ น 21. สวนป่ าน (Suan Pan) 6 หมูบ่ า้ น

9. ถนนขาด (ThanonKhat) 6 หมูบ่ า้ น 22. หว้ ยจรเข้ (HuaiChorakhe) 7 หมู่บา้ น

10. บ่อพลบั (Bo Phlap) 8 หมูบ่ า้ น 23. ทพั หลวง (ThapLuang) 14 หมู่บา้ น

11. นครปฐม (NakhonPathom) 10 หมู่บา้ น 24. หนองงูเหลือม (NongNgulueam) 11 หมู่บา้ น

12. วงั ตะกู (Wang Taku) 8 หมูบ่ า้ น 25. บา้ นยาง (Ban Yang) 11 หมูบ่ า้ น

13. หนองปากโลง (Nong Pak Long) 10 หมู่บา้ น

สถำนทที่ ่องเทยี่ วในอำเภอเมือง
พระปฐนมคเจรปดียฐ์มศาสนสถานสาคญั ของประเทศไทย และไดช้ ื่อวา่ เป็ นพระมหาเจดียท์ ่ีใหญ่ที่สุดของ

ประเทศไทย นอกจากน้ีภายในวดั ยงั มีสิ่งศกั ด์ิสิทธ์ิท่ีเป็ นท่ีเคารพสักการะของประชาชนดว้ ย คือ พระร่วงโร
จนฤทธ์ิ ซ่ึงแต่โบราณเป็ นพระพุทธรูปที่เมืองศรีสัชนาลยั (จงั หวดั สุโขทยั ) และไดร้ ับการโปรดเกลา้ ฯจาก
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัวให้สถาปนาข้ึนมาบริบูรณ์เต็มพระองค์ และจดั การพระราชพิธี
เททองหล่อข้ึนพระร่วงโรจนฤทธ์ิ มีขนาดความสูงวดั จากพระบาทถึงพระเกศ 7.42 เมตร หรือราว 12 ศอก
4 นิ้ว พระร่วงโรจนฤทธ์ิ เป็ นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะ แบบสุโขทยั ประทบั ยืนอยู่บนฐานโลหะ
ทองเหลืองลายบวั ควา่ บวั หงาย ทาวงพระพกั ตร์ตามยาว พระหนุเส้ียมนิ้วพระหตั ถ์และ พระบาทไม่เสมอกนั
หอ้ ยพระหตั ถ์ซา้ ยลงขา้ งพระวรกาย แบฝ่ าพระหตั ถ์ขวายกต้งั ข้ึน ยนื่ ออกไปขา้ งหนา้ ระดบั พระอุระ ห่มจีวร
บางคลุม แนบติดพระวรกายองคพ์ ระทาดว้ ยโลหะทองเหลืองหนกั 100 หาบพระร่วงโรจนฤทธ์ิข้ึนชื่อเรื่อง
ความงดงามและศกั ด์ิสิทธ์ิจึงมีผมู้ าเยย่ี มชมสกั การะจานวนมาก

14

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

วดั พระปฐมเจดยี ์รำชวรมหำวหิ ำร

พระรำชวงั สนำมจันทร์

เป็ นพระราชวงั ท่ีพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โปรดเกลา้ ฯให้สร้างข้ึนบนบริเวณที่คาดวา่ เป็ น
พระราชวงั เก่าของกษตั ริยส์ มยั โบราณท่ีเรียกว่า เนินปราสาท เพ่ือเป็ นสถานที่ประทบั คร้ังมานมสั การองค์
พระปฐมเจดียแ์ ละเม่ือบา้ นเมืองถึงยามวกิ ฤตพระราชวงั สนามจนั ทร์มีเน้ือท่ีประมาณ 888 ไร่ 3 งาน 4 ตาราง
วาหลงั จากพระองค์เสด็จสวรรคต พระราชวงั สนามจนั ทร์ก็ถูกใชเ้ ป็ นท่ีทาการของส่วนราชการต่าง ๆ ของ
จงั หวดั นครปฐม รวมท้งั เป็ นวิทยาเขตหน่ึงของมหาวิทยาลยั ศิลปากรในปัจจุบนั พระราชวงั สนามจนั ทร์อยู่
ภายใตก้ ารดูแลของสานกั พระราชวงั พระราชวงั สนามจนั ทร์ยงั มีสระน้าที่อยู่ดา้ นหน้าคือ ” สระน้าจนั ทร์”
หรือ สระบวั ซ่ึงเป็ นที่มาของช่ือพระราชวงั สนามจนั ทร์ในบริเวณพระราชวงั สนามจนั ทร์ มีพระท่ีน่ัง
พระตาหนกั ตา่ ง ๆ ท่ีโปรดใหส้ ร้างข้ึนซ่ึงมีความสวยงามและไดร้ ับการดูแลรักษาอยา่ งดีเช่น พระตาหนกั มารี
ราชรัตนบลั ลงั ก์ พระตาหนกั ทบั แกว้ พระตาหนกั ทบั ขวญั ฯลฯ

รูปป้ัน ย่ำเหล
15

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

สถำนทสี่ ำคญั ในพระรำชวงั สนำมจันทร์

พระทนี่ ั่งพมิ ำนปฐม

พระท่ีนัง่ พิมานปฐม เป็ นพระท่ีน่ังองคแ์ รกท่ีสร้างข้ึนเม่ือราวปี พ.ศ. 2450 เป็ นอาคารก่ออิฐถือปูน
2 ช้นั แบบตะวนั ตก แต่ดดั แปลงให้เหมาะกบั เมืองร้อน ช่องระบายลมและระเบียงลูกกรงโดยรอบฉลุฉลกั
เป็ นลวดลายตามแบบไทยอย่างประณีตงดงาม พระท่ีนั่งช้ันบนประกอบด้วยห้องต่าง ๆ ซ่ึงยงั มีป้ายชื่อ
ปรากฏอยู่จวบจนปัจจุบนั คือห้องบรรทม ห้องสรง ห้องบรรณาคม ห้องภูษา ห้องเสวย และห้องพระเจา้
ซ่ึงเป็ นหอพระ มีพระพุทธรูปปางปฐมเทศนาอยูอ่ งคห์ น่ึง และยงั มีภาพเขียนจิตรกรรมฝาผนังฝี มือ พระยา
อนุศาสน์จิตรกร (จนั ทร์ จิตรกร) ซ่ึงงดงามน่าชมมาก

พระที่นงั่ องคน์ ้ีใชเ้ ป็ นที่ประทบั (โดยเฉพาะก่อนเสดจ็ ฯ ข้ึนเถลิงถวลั ราชยส์ มบตั ิ จนถึงปี พ.ศ. 2458)
ท่ีทรงพระอกั ษร ท่ีเสด็จออกขุนนาง ที่รับรองพระราชอาคนั ตุกะ และออกให้ราษฎรเขา้ เฝ้าฯ มากกวา่ พระที่
นัง่ และพระตาหนกั องค์อื่น ๆ ในปัจจุบนั บนพระท่ีนงั่ ไดจ้ ดั นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั

พระทนี่ ั่งอภิรมย์ฤดี
พระที่น่ังอภิรมย์ฤดี ต้ังอยู่ด้านใต้ของพระท่ีน่ังพิมานปฐม เป็ นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ช้ัน

แบบตะวนั ตก ประดบั ลวดลายไมฉ้ ลุเหมือนกบั พระท่ีนง่ั พิมานปฐมโดยมีทางเชื่อมกบั พระท่ีนง่ั พิมานปฐม
ใช้เป็ นท่ีประทบั เจา้ นายฝ่ ายในในสมยั น้ัน ปัจจุบนั พระท่ีน่ังอภิรมยฤ์ ดีช้นั บนจดั แสดงห้องพระบรรทม
หอ้ งทรงงาน เพ่อื ใหเ้ ขา้ กบั บรรยากาศในสมยั ก่อน ในปัจจุบนั บนพระที่นง่ั ไดจ้ ดั นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ
พระนางเจา้ สุวทั นา พระวรราชเทวี

พระทน่ี ่ังวชั รีรมยำ
เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ช้นั สร้างข้ึนเม่ือปี พ.ศ. 2460 พระที่นงั่ องคน์ ้ีมีลกั ษณะสถาปัตยกรรมเป็ น

แบบไทยแทว้ ิจิตรงดงามตระการตา หลงั คามุงดว้ ยกระเบ้ืองเคลือบเป็ นหลงั คา 2 ช้ันเหมือนกบั หลงั คาใน
พระบรมมหาราชวงั มีช่อฟ้า ใบระกา หางหงส์ นาคสะดุ้ง คนั ทวย มีมุขเด็จด้านทิศใต้ หน้าบนั มุขเด็ด
แกะสลกั เป็ นเข็มวชิราวุธอยภู่ ายใตว้ งรัศมีมีกรอบลอ้ มรอบ พร้อมดว้ ยลายกนกลงรักปิ ดทอง หนา้ พระท่ีนง่ั มี
ชานชาลาทอดยาวออกมาจรดกบั พระท่ีนงั่ พิมานปฐมดว้ ย พระทวารของบญั ชรท้งั 2 ช้นั ของพระที่นงั่ องคน์ ้ี
มีลกั ษณะคลา้ ยกบั เรือนแกว้ เป็ นบนั แถลงเสียบไวด้ ว้ ยยอดวชิราวุธภายในมีเลข 6 อยใู่ นลายพิจิตรเลขาเป็ น
มหามงกฎุ มีลายกนกลงรักปิ ดทองลอ้ มรอบบนพ้นื ท่ีประดบั ตกแตง่ ไปดว้ ยกระจกสีน้าเงิน พ้ืนเพดานช้นั บน
ของพระท่ีนงั่ องคน์ ้ีทาดว้ ยสีแดงสดเขม้ มีดอกดวงประดบั ประดาละเอียดอ่อนทาดว้ ยไมแ้ กะสลกั ปิ ดทอง

16

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ส่วนช้ันล่างนอกจากจะทาสีแดงและปิ ดทองแลว้ น้ันช้ันล่างมีความแตกต่างกนั ตรงที่ลายฉลุน้ันเป็ นดาว
ประดบั พระท่ีนง่ั องคน์ ้ี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทรงใชเ้ ป็ นท่ีประทบั เป็ นคร้ังคราวโดยมาก
จะใชเ้ ป็ นห้องทรงพระอกั ษรในปี พ.ศ. 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั เสด็จไปทรงซ้อมรบ
เสือป่ าท่ีอาเภอบา้ นโป่ ง อาเภอโพธารามจงั หวดั ราชบุรี และพระองคเ์ สด็จกลบั มาประทบั ณ พระท่ีนง่ั องคน์ ้ี
เป็ นเวลา 1 คืนก่อนจะเสด็จไปประทบั ณ พระราชวงั นนั ทอุทยาน 1 เดือนและกลบั มาท่ีพระราชวงั สนาม
จนั ทร์เป็นเวลา 1 สปั ดาห์ก่อนกลบั พระบรมมหาราชวงั

พระทน่ี ั่งสำมัคคมี ุขมำตย์
เป็ นพระที่นั่งท่ีมีส่วนเช่ือมต่อกับใกล้เคียงคือพระท่ีน่ังวชั รีรมยา หน้าบันพระที่น่ังสามัคคี

มุขมาตย์อยู่ทางทิศเหนือเป็ นรูปหลักท้าวอมรินทราธิราชประทานพรประทับอยู่ในปราสาทสามยอด
พระหตั ถข์ วาทรงวชิระ พระหตั ถซ์ า้ ยทรงประทานพร แวดลอ้ มดว้ ยบริวารซ่ึงประกอบดว้ ยเทวดาและมนุษย์
5 หมู่ ทอ้ งพระโรงยกพ้ืนสูงจากพ้ืนดินประมาณ 1 เมตรมีอฒั จนั ทร์ 2 ขา้ งต่อกบั พระที่นง่ั วชั รีรมยา มีพระ
ทวารเปิ ดถึงกนั 2 ขา้ ง ซุ้มพระทวารท้งั 2 และซุ้มพระบญั ชรใกล้ ๆ พระทวารท้งั 2 ขา้ งแกะสลกั เป็นรูปกีรติ
มุขลงรักปิ ดทองภายในพระท่ีนง่ั โดยรอบ มีเสานางจรัลแบ่งเขตทอ้ งพระโรงกบั เฉลียงส่วนท่ีเป็ นเฉลียงลด
ต่าลงมา 20 เซนติเมตร เสานางจรัลมีลกั ษณะเป็นเสาทรง 8 เหลี่ยมเช่นเดียวกบั พระท่ีนงั่ วชั รีรมยา ทาเป็นลาย
กลีบบวั จงกลโดยรอบเสาตลอดท้งั ตน้ เพดานพระท่ีนง่ั มีลกั ษณะเช่นเดียวกบั เพดานช้นั ล่างพระท่ีนง่ั วชั รีรม
ยา เพดานสีแดงเขม้ ปิ ดทองฉลุเป็นลายดาวประดบั มีโคมขวดหอ้ ยอยา่ งงดงาม
พระท่ีนงั่ ปาฏิหาริยท์ ศั ไนย

เป็ นพระที่น่ังโถงทรงไทย

สร้างข้ึนเมื่อ พ.ศ. 2457 หลงั จากพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั ทอดพระเนตรปาฏิหาริย์
แห่งพระปฐมเจดีย์เม่ือคร้ังเสด็จไปประทับ ณ พระราชวงั สนามจนั ทร์ หลังจากน้ัน พระบาทสมเด็จ
พระปกเกลา้ เจา้ อยูห่ ัว โปรดเกลา้ ฯ ให้กระทรวงวงั ยา้ ยพระท่ีน่ังปาฏิหาริยท์ ศั ไนยมาประดิษฐานบนชาลา
ดา้ นหนา้ พระที่นง่ั พุทไธสวรรย์ พิพิธภณั ฑสถานแห่งชาติ พระนคร เม่ือปี พ.ศ. 2470 และกรมศิลปากรได้
อญั เชิญพระที่นงั่ ปาฏิหาริยท์ ศั ไนยไปประดิษฐานยงั สนามหญา้ ดา้ นทิศเหนือของพระท่ีนง่ั อิศราวนิ ิจฉยั

ย่ำเหล

เป็ นสุนัขพนั ทาง เพศผู้ ขนปุย หางเป็ นพวง สีขาว มีแตม้ ดา หูตก เกิดในเรือนจาจงั หวดั นครปฐม
เดิมเป็ นสุนขั ของหลวงไชยราษฎร์รักษา (โพ เคหะนนั ทน์) ตาแหน่งพะทามะรงหรือผูค้ วบคุมนกั โทษ เมื่อ
คร้ังพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ยงั ดารงพระยศเป็นพระบรมโอรสาธิราชฯ ไดเ้ สดจ็ ฯ ไปตรวจ

17

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

เรือนจาจงั หวดั นครปฐม และทอดพระเนตรเห็นสุนขั ตวั น้ี และตรัสชมวา่ และไดต้ รัสวา่ เป็ นสุนขั ท่ีสวยงาม
น่ารัก น่าเอน็ ดู อาจเป็นไปไดว้ า่ ในคร้ังแรกท่ีพระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงไดพ้ บยา่ เหลเป็ น
วนั แรกน้นั ยา่ เหลคงไดใ้ กลช้ ิดพระยุคลบาท และจดจาพระองคไ์ ดต้ ้งั แต่วนั น้นั และเหตุการณ์ที่น่าประหลาด
ใจก็เกิดข้ึนในวนั หน่ึงท่ีมีการชุมนุมซอ้ มรบกนั อยูใ่ นพระราชวงั สนามจนั ทร์เมืองนครปฐมท่ามกลางกองเสือ
ป่ าจานวนมากมายท่ีมาร่วมชุมนุมซ้อมรบกนั อยู่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หัวทรงประทบั เป็ น
ประธานในการซ้อมรบคร้ังน้ี ในขณะท่ีพระองค์กาลงั เสด็จพระราชดาเนินตรวจพลกองเสือป่ าอยู่น้ันก็
ปรากฏวา่ มีสุนขั ตวั หน่ึง มีสีขาวดาด่าง ว่ิงฝ่ าผูค้ นและพลเสือป่ าตรงไปยงั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้
เจา้ อยหู่ วั แลว้ คลอเคลียอยูท่ ่ีพระบาท ไม่วา่ ทหารรักษาพระองคจ์ ะพากนั ไล่อยา่ งไรสุนขั ตวั น้นั ก็ไม่ยอมไป
ทาให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หัว โปรดสุนัขตวั น้ี จึงทรงนามาเล้ียงและต้งั ชื่อว่า "ย่าเหล"
ตงั แต่วนั น้นั เป็นตน้ มา
ถนนคนเดินทวำรวดศี รีนครปฐม

ต้งั อยูบ่ นถนนริมคลองหนา้ วดั พระงาม ตาบลนครปฐม อาเภอเมืองนครปฐม เปิ ดให้บริการทุกวนั
เสาร์-อาทิตย์ มีพ่อคา้ แม่คา้ มากกวา่ 100 ร้านคา้ นาสินคา้ มาจาหน่ายมากมาย ท้งั อาหาร ขนมหวาน เส้ือผา้
แฟชนั่ เครื่องประดบั รองเทา้ ตน้ ไม้ ของท่ีระลึก ฯลฯ รวมเป็ นระยะทางยาวประมาณ 2 กิโลเมตร ท่ามกลาง
บรรยากาศเรือนหอ้ งแถวไมส้ ุดคลาสสิก

18

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ
คำชี้แจง นกั เรียนอ่านเร่ือง ยา่ เหล แลว้ ใหน้ กั เรียนบอกขอ้ คิดหรือคุณธรรมท่ีไดจ้ ากเรื่อง

19
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 3
อำเภอกำแพงแสน

ประวตั ิควำมเป็ นมำ

ในอดีตอาเภอกาแพงแสนเป็ น เมืองกาแพงแสน (มีอายรุ าวพุทธศตวรรษที่ 11-16) ซ่ึงเป็นเพยี งเมืองเล็ก ๆ
สันนิษฐานว่าน่าจะมีฐานะเป็ นเมืองบริวารของเมืองนครไชยศรีมากกว่าจะเป็ นเมืองที่ต้งั อยู่อย่างอิสระ
ตาแหน่งกลางเมืองเก่าอยูท่ ี่ประมาณเส้นรุ้งที่ 13 องศา 39 ลิปดา 20 พิลิปดาเหนือ และเส้นแวง 99 องศา 57
ลิปดา 57 พิลิปดาตะวนั ออก เป็ นเมืองโบราณสมยั ทวารวดีท่ีมีขนาดเล็กและต้งั อยไู่ ม่ไกลจากเมืองนครไชย
ศรี คือมีระยะห่างกนั ประมาณ 24 กิโลเมตร ต้งั อยูก่ ่ึงกลางระหวา่ งเมืองใหญ่ 2 เมือง คือเมืองอู่ทองและเมือง
นครไชยศรี ปัจจุบนั บริเวณเมืองเก่ากาแพงแสนเป็ นพ้ืนท่ีของกรมป่ าไม้ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซ่ึงใช้
เป็ นค่ายลูกเสือ ต้งั อยู่ท่ีหมู่ท่ี 5 ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม อาเภอกาแพงแสนได้
ต้ังข้ึนคร้ังแรกเมื่อปี พ.ศ. 2449 ท่ีวดั ห้วยพระ ตาบลห้วยพระ อาเภอดอนตูม โดยใช้ชื่อว่า อาเภอ
กาแพงแสน ต้งั ตามช่ือเมืองโบราณ ต่อมาได้ปี พ.ศ. 2453 เม่ือประสพภัยแล้งไม่สะดวกในการสัญจร
เพราะในอดีตใชเ้ รือเป็ นหลกั จึงไดย้ า้ ยที่ต้งั อาเภอใหม่จากวดั ห้วยพระไปที่ชายทุ่งสามแกว้ ห่างจากท่ีต้งั เดิม
ไปทางทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือประมาณ 1 กิโลเมตร และได้เปล่ียนช่ืออาเภอจาก กาแพงแสน มาเป็ น
"อาเภอนาจอานวย" หรือชาวบา้ นเรียกตามชื่อหมู่บา้ นวา่ อาเภอสามแกว้ ต้งั อยจู่ นถึงปี พ.ศ. 2460 ไดย้ า้ ยที่วา่
การ อาเภอนาถอานวย จากที่ต้งั ชายทุ่งสามแกว้ มาต้งั ที่วา่ การอาเภอใหม่ริมคลองท่าสาร-บางปลา บริเวณ
บา้ นยาง ติดถนนมาลยั แมน (ถนนนครปฐม-สุพรรณบุรี) หมู่ท่ี 13 ตาบลทุ่งกระพงั โหม ห่างจากที่ต้งั เดิมไป
ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 14 กิโลเมตร และส่ วนที่ต้ังของ (อาเภอนาถอานวย) หรื อ
อาเภอ สามแกว้ ปัจจุบนั น้ีเป็ นท่ีต้งั ของ โรงเรียนบา้ นสามแกว้ (นาถอานวยวทิ ย)์ และเม่ือปี พ.ศ. 2532 ไดย้ า้ ย
ที่วา่ การอาแภอกาแพงแสนไปสร้างที่วา่ การอาเภอหลงั ใหม่ ณ ท่ีดินที่ราษฎรไดบ้ ริจาคใหร้ ิมถนนมาลยั แมน
ห่างจากที่ต้งั เดิมไปทางทิศตะวนั ตกเฉียงใตป้ ระมาณ 2 กิโลเมตร

20

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ตรงขา้ มโรงเรียนกาแพงแสนวิทยา ส่วนท่ีต้งั เดิมได้ใช้เป็ นสานักงานเทศบาลตาบลกาแพงแสนส่วนน้ี
ต้งั แต่ พ.ศ. 2499 ถึงปัจจุบนั วนั ท่ี 28 ธันวาคม 2499 จดั ต้งั สุขาภิบาลกาแพงแสน ในพ้ืนท่ีบางส่วนของ
ตาบลทุ่งกระพังวันท่ี 9 กันยายน 2502 โอนพ้ืนท่ีตาบลสระสี่ มุม ตาบลกระตีบ และบางส่ วนของ
ตาบลดอนข่อย (หมูท่ ี่ 1-4 , 6-10 ในขณะน้นั ) จากอาเภอบางเลน มาข้ึนกบั อาเภอกาแพงแสน

ทต่ี ้งั และอำณำเขต
อาเภอกาแพงแสนต้งั อยทู่ างทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือของจงั หวดั มีอาณาเขตติดต่อกบั เขตการปกครอง
ขา้ งเคียง เรียงตามเขม็ นาฬิกา ดงั น้ี

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอสองพ่นี อ้ ง (จงั หวดั สุพรรณบุรี)

ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอบางเลนและอาเภอดอนตูม

ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอเมืองนครปฐม และอาเภอบา้ นโป่ ง (จงั หวดั ราชบุรี)

ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอทา่ มะกา (จงั หวดั กาญจนบุรี)

กำรปกครองส่ วนท้องถ่ิน

อำเภอกำแพงแสนแบ่งเขตกำรปกครองออกเป็ น 15 ตำบล 204 หมู่บ้ำน ได้แก่

1. ทุง่ กระพงั โหม (ThungKraphanghom) 7 หมู่บา้ น 9. สระพฒั นา (Sa Phatthana) 14 หมูบ่ า้ น

2. กระตีบ (Kratip) 8 หมู่บา้ น 10. หว้ ยหมอนทอง (Huai Mon Thong) 12 หมู่บา้ น

3. ทุ่งลูกนก (ThungLukNok) 23 หมูบ่ า้ น 11. หว้ ยม่วง (HuaiMuang) 12 หมูบ่ า้ น

4. หว้ ยขวาง (HuaiKhwang) 21 หมูบ่ า้ น 12. กาแพงแสน (KamphaengSaen) 12 หมู่บา้ น

5. ทุง่ ขวาง (ThungKhwang) 10 หมู่บา้ น 13. รางพิกลุ (Rang Phikun) 9 หมูบ่ า้ น

6. สระส่ีมุม (Sa Si Mum) 24 หมูบ่ า้ น 14. หนองกระทุม่ (NongKrathum) 11 หมูบ่ า้ น

7. ทุง่ บวั (ThungBua) 11 หมูบ่ า้ น 15. วงั น้าเขียว (Wang Nam Khiao) 14 หมู่บา้ น

8. ดอนข่อย (Don Khoi) 16 หมู่บา้ น

21
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

สถำนทท่ี ่องเทยี่ ว

อุทยำนแมลงเฉลมิ พระเกียรติ
อุทยานแมลงเฉลิมพระเกียรติ เป็ นโดมแมลงขนาดใหญ่ท่ีสุดในประเทศไทย อยใู่ นความดูแลของ

ศูนย์วิจยั และพฒั นากีฏวิทยาอุตสาหกรรม สถาบันวิจัยและพฒั นาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ฯ
ดาเนินงานดา้ นการวจิ ยั คน้ ควา้ และพฒั นางานดา้ นกีฏวทิ ยา นกั ท่องเที่ยวจะไดศ้ ึกษาเรียนรู้เก่ียวกบั แมลงและ
ผีเส้ือนานาพนั ธุ์โซนแรก ไดแ้ ก่ อาคารรูปโดม มีพ้ืนท่ีมากกวา่ 1000 ตารางเมตร สูง 15 เมตร โดยโซนโดม
แมลงเป็ นการจาลองสภาพอากาศ และจดั แสดงระบบนิเวศวิทยา ท่ีเหมาะสาหรับวงจรชีวิตของแมลงและ
ผีเส้ือ รวมไปถึงการวิจยั พฤติกรรมแมลง นอกจากน้ี ยงั รวบรวมพนั ธุ์ผีเส้ือและแมลงหายากใกลส้ ูญพนั ธุ์
เช่น จิ้งหรีด จกั จนั่ ตกั๊ แตน ดว้ ง

โซนที่ 2 ไดแ้ ก่ โซนพิพิธภณั ฑแ์ มลง มีการจดั แสดงแมลงสตฟั ฟ์ พนั ธุ์หายาก และพนั ธุ์ผเี ส้ือ จากทวั่
ทุกมุมโลก ให้กบั นักท่องเที่ยวไดศ้ ึกษาเรียนรู้ นอกจากน้ี ยงั มีกิจกรรมเซ็ทแมลงและผีเส้ือใส่กรอบรูป
ให้กบั เยาวชน และนกั ท่องเท่ียวท่ีสนใจดว้ ยเป็ นอุทยานแมลง เป็ นแหล่งศึกษาหาความรู้เกี่ยวกบั แมลง ชีวติ
ความเป็ นอยู่ของแมลง พนั ธุ์ไม้ พนั ธุ์พืช ระบบนิเวศท่ีเป็ นแหล่งอาศยั อาหารของแมลง ตลอดจนการ
เพาะเล้ียงแมลงท่ีหายาก และใกลส้ ูญพนั ธุ์ แถมยงั เป็ นแหล่งทอ่ งเท่ียวพกั ผอ่ นหยอ่ นใจ และช่ืนชมธรรมชาติ
ภายในมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสนอีกดว้ ย เหมาะสาหรับนกั เรียน นิสิต นกั ศึกษา และ
ประชาชนผูส้ นใจ สามารถไปเยี่ยมชมศึกษาดูชีวิตของแมลงอย่างครบวงจรได้ที่ อุทยานแมลงเฉลิม
พระเกียรติฯ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม

อทุ ยำนแมลงเฉลมิ พระเกยี รติ
22

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

มหำวทิ ยำลยั เกษตรศำสตร์ กำแพงแสน
ดอกชมพูพนั ธุ์ทิพย์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน จงั หวดั นครปฐม ถือเป็ นหน่ึงใน

เส้นทางชมดอกไมย้ อดนิยมสาหรับนักท่องเที่ยว ที่เฝ้ารอชมความสวยงามยามเม่ือดอกชมพูพนั ธุ์ทิพย์
ผลิบานสาหรับตน้ ชมพพู นั ธุ์ทิพยท์ ่ีมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ไดป้ ลูกข้ึนมากวา่ 30 ปี
มีจานวนมากกวา่ 200 ตน้ โดยเฉพาะที่บริเวณริมถนนวฒั นาเสถียรสวสั ด์ิ (ถนนโรงเรียนสาธิต) ที่จะปลูก
เป็ นแนวยาวเมื่อยามออกดอกบานเต็มท่ีแล้ว จะมีสีชมพูสดใสแล้วยงั เกิดเป็ นลกั ษณะของ อุโมงค์ชมพู
พนั ธ์ุทพิ ย์ หรือ ถนนชมพพู นั ธ์ุทพิ ย์ ท่ีสวยงามน่าประทบั ใจอีกดว้ ย

ชมพพู นั ธ์ุทพิ ย์

23
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ
คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขียนชื่ออาเภอท่ีอยใู่ กลเ้ คียงกบั อาเภอกาแพงแสนใหถ้ ูกตอ้ ง
.......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................

อำเภอ กำแพงแสน

24
ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 4
อำเภอดอนตมู

ประวตั คิ วำมเป็ นมำ

เดิมข้ึนกับอาเภอกาแพงแสน ต่อมาได้รับการแยกออกมาเป็ นกิ่งอาเภอดอนตูม และต้ังเป็ น
อาเภอดอนตูมในปัจจุบนั คาวา่ "ดอน" มาจากทาเลท่ีต้งั มีพ้ืนท่ีอยูใ่ นท่ีสูงไม่เคยมีประวตั ิถูกน้าท่วมใหญ่เลย
ซ่ึงอดีตเรียกบริเวณน้ีว่า "เมืองตูม" สันนิษฐานว่าเป็ นช่ือเมืองเก่าแก่ในสมยั โบราณ ต่อมาทางราชการจึง
จดั ต้งั อาเภอชื่อแรก คือ อาเภอสามแกว้ ต่อมาเปลี่ยนเป็ นอาเภอกาแพงแสน ทาให้ในสมยั น้นั อาเภอดอนตูม
ข้ึนกบั อาเภอกาแพงแสน

ทตี่ ้ังและอำณำเขต

อาเภอดอนตูมต้งั อยทู่ างตอนกลาง ค่อนไปทางเหนือของจงั หวดั มีอาณาเขตติดตอ่ กบั อาเภอต่าง ๆ
เรียงตามเขม็ นาฬิกา มีพ้นื ที่ 171.354 ตร.กม.

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอบางเลน
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอบางเลน
ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอนครชยั ศรีและอาเภอเมืองนครปฐม
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอกาแพงแสน

25

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กำรปกครองส่ วนท้องถิ่น (Ban Luang) 5 หมูบ่ า้ น
อาเภอดอนตูมแบง่ เขตการปกครองออกเป็ น 8 ตาบล 69 หมู่บา้ น ไดแ้ ก่ (Don Ruak) 5 หมู่บา้ น
1. สามง่าม (Sam Ngam) 12 หมู่บา้ น 5. บา้ นหลวง (HuaiDuan) 7 หมูบ่ า้ น
2. หว้ ยพระ (HuaiPhra) 9 หมูบ่ า้ น 6. ดอนรวก (Lam LukBua) 6 หมูบ่ า้ น
3. ลาเหย (Lam Hoei) 15 หมูบ่ า้ น 7. หว้ ยดว้ น
4. ดอนพุทรา (Don Phutsa) 10 หมูบ่ า้ น 8. ลาลูกบวั

26

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ

คำชี้แจง จงเติมชื่อตาบลของอาเภอดอนตูม และโยงเส้นใหส้ มั พนั ธ์กบั จานวนของหมู่บา้ นใหถ้ ูกตอ้ ง

1……………………………………………………. 9 หมู่บา้ น

2……………………………………………………. 7 หมู่บา้ น

3……………………………………………………. 6 หมู่บา้ น

4……………………………………………………. 5 หมู่บา้ น

5……………………………………………………. 10 หมู่บา้ น

6…………………………………………………… 12 หมู่บา้ น

7……………………………………………………. 15 หมู่บา้ น

8……………………………………………………. 15 หมู่บา้ น

27

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี5
อำเภอบำงเลน

ประวตั ิควำมเป็ นมำ

อาเภอบางเลนต้งั ข้ึนเป็ นอาเภอเม่ือ พ.ศ. 2439 แต่ด้งั เดิมน้นั ไม่ไดต้ ้งั อยบู่ ริเวณท่ีวา่ การอาเภอปัจจุบนั
ท่ีวา่ การอาเภอเดิมต้งั อยู่ที่บา้ นบางไผน่ ารถ ใกลบ้ ริเวณวดั บางไผน่ ารถ ตาบลบางไทรป่ า ริมฝ่ังตะวนั ออก
ของแมน่ ้าท่าจีน ใชช้ ่ือวา่ อาเภอบางไผน่ ารถ ต่อมาไดย้ า้ ยที่วา่ การอาเภอไปต้งั อยูใ่ นเขตตาบลบางปลา ริมฝั่ง
ตะวนั ตกของแม่น้าท่าจีน ใชช้ ื่อวา่ อาเภอบางปลา ภายหลงั อาเภอบางปลาแบ่งการปกครองเป็ น 2 ตาบล คือ
ตาบลบางปลาและตาบลบางเลน

ในปี พ.ศ. 2479 ไดย้ า้ ยที่ต้งั อาเภอมาท่ีตาบลบางเลน (อยบู่ ริเวณตลาดเก่าในปัจจุบนั ) ปี พ.ศ. 2482 จึง
เปลี่ยนช่ืออาเภอบางปลาเป็ น อาเภอบางเลนคร้ันถึง พ.ศ. 2521 หลวงพ่อกิติวุฒโทแห่งจิตตภาวนั วิทยาลยั ซื่ง
เป็ นชาวบางเลน ไดม้ อบที่ดินมรดกของท่านไห้ทางราชการและไดบ้ ริจาคเงินก่อสร้างท่ีวา่ การอาเภอ จึงได้
ยา้ ยท่ีวา่ การอาเภอจากริมฝั่งตะวนั ตกของแม่น้าท่าจีน มาต้งั อยรู่ ิมถนนพลดาริห์ ในทอ้ งที่หมู่ท่ี 8 ตาบลบาง
เลน จนกระทง่ั ปัจจุบนั โดยมีนายยทุ ธนา โพธิวหิ ค ดารงตาแหน่งนายอาเภอบางเลนคนปัจจุบนั

ทตี่ ้ังและอำณำเขต

อาเภอบางเลนเป็ นอาเภอท่ีอยไู่ กลจากท่ีต้งั จงั หวดั มากที่สุด โดยต้งั อยูท่ างทิศตะวนั ออกเฉียงเหนือ
ของจงั หวดั มีอาณาเขตติดต่อกบั เขตการปกครองขา้ งเคียง เรียงตามเขม็ นาฬิกา มีพ้นื ท่ี 588.836 ตร.กม.ดงั น้ี

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอสองพ่ีนอ้ ง (จงั หวดั สุพรรณบุรี) และอาเภอลาดบวั หลวง
(จงั หวพั ระนครศรีอยธุ ยา)

ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั อาเภอลาดบวั หลวง (จงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา) และอาเภอไทรนอ้ ย
(จงั หวดั นนทบุรี)
28

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอพทุ ธมณฑลและอาเภอนครชยั ศรี
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอดอนตูมและอาเภอกาแพงแสน

28

แผนทเ่ี ขตอำเภอบำงเลน

คำขวญั ประจำอำเภอ แหล่งขา้ วอุดมดี มากมีเป็ดปลา วฒั นธรรมล้าคา่ งามตาทา่ จีน
สถำนทที่ ่องเทย่ี ว
ตลำดบำงหลวง

ร.ศ. 122 ห่างจากตวั อาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม ไปประมาณ 10 กวา่ กิโลเมตร เป็ นตลาดเก่าแก่
ท่ีมี อายมุ ากกวา่ 100 ปี ท่ีอนุรักษค์ วามด้งั เดิมไวอ้ ยา่ งสมบูรณ์แบบ ลกั ษณะจะเป็ นบา้ นเก่าเหล่าเต็งไมท้ ่ีมีมา
ต้งั แต่ ร.ศ.122 ที่ปัจจุบนั แมว้ ่าจะมี ความเจริญ เขา้ มาสู่ตลาดและชุมชนบา้ ง แต่ที่นี่ก็ยงั คงไวซ้ ่ึงบรรยากาศ
โบราณ ตลาดบางหลวง ร.ศ. 122 ได้รับสมญานามว่า “ดินแดนแห่งขนมหวานอาหารอร่อย” เนื่องจาก
มีอาหารทอ้ งถิ่นที่เป็นเอกลกั ษณ์ของ ชาวบางหลวง รสชาติอร่อยอาทิ ชุนเปี๊ ยะทอดแผน่ แป้งปอเป๊ี ยะที่ทาเอง
สดใหม่ทุกๆ วนั ก๋วยจบ๊ั น้าใส หมูตม้ ฉีกใส่ “คาเซา” สูตรเฉพาะร้านขา้ วเกรียบปากหม้อแป้งเหนียวนุ่ม
ไส้ 5 อยา่ ง ประกอบดว้ ย ไส้หวาน หน่อไม้ กุยช่าย ผกั กระเฉด ถวั่ ฝักยาวและยงั มี เป็ ดพะโลเ้ น้ือนุ่มรสดีสูตร
จากเมืองจีนขนมจีบแป้งเหนียวนุ่ม มีไส้หน่อไมผ้ กั กยุ ช่ายกุง้ แหง้ และกาแฟโบราณ มรดกตกทอดกวา่ ร้อยปี
รสชาติกลมกล่อมหอมละมุนส่วนขนมไทย ประกอบด้วย ขนมช้ัน ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง
เมด็ ขนุนใหมส่ ดเสมอ รสนุ่มอร่อย และยงั มีก๋วยเต๋ียวหมูตุ๋น

29

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ตลำดนำ้ วดั ลำพญำ
เป็ นตลาดที่ต้งั อยรู่ ิมฝั่งแม่น้านครชยั ศรี(แม่น้าท่าจีน)อยูไ่ ม่ไกลจากกรุงเทพมากนกั ใชเ้ วลาเดินทาง

ประมาณ 30-40 นาทีก็ถึงแลว้ เป็ นสถานท่ีท่องเที่ยวที่เหมาะสาหรับผทู้ ่ีนิยมช่ืนชมกบั บรรยากาศธรรมชาติ
ริมน้า รวมท้งั ปลานานาชนิดนบั แสนตวั แหวกวา่ ยรอนกั ท่องเที่ยวดินทางมาสัมผสั ตลอดเส้นทางเมื่อท่าน
เดินทางเขา้ สู่เขตอาเภอบางเลน ท่านจะไดเ้ ห็นวิถีชีวิตความเป็ นอยูข่ องชาวบา้ นในยา่ นน้ีไดเ้ ป็ นอยา่ งดี จาก
สองฝั่งถนนเป็ นทุ่งนา ไร่ สวนที่เรียงรายสลบั กนั ไป บ่งบอกถึงวถิ ีชีวติ ความเป็นอยูข่ องชาวบา้ นในบริเวณน้ี
ซ่ึงส่วนใหญ่มีอาชีพทาการเกษตรปลูกพืชผกั ผลไม้ เม่ือเดินทางถึงตลาดน้าวดั ลาพญาความประทบั ใจต้งั แต่
กา้ วแรกท่ีสัมผสั ไดน้ อกจากบรรยากาศของตน้ ไมน้ ้อยใหญ่ที่ใหค้ วามร่มเยน็ แลว้ ยงั มีรอยยมิ้ ของผคู้ นท่ีเดิน
ผ่านไปมาและบรรยากาศการค้าขายท่ีคึกคักเป็ นกันเองของแม่ค้าจานวนมากที่ต้งั อยู่บริเวณริมเขื่อน
ชายแม่น้าและในแพทางเดินตลอดริมแมน่ ้าหนา้ วดั ลาพญา
ตลำดสำมก๊กพระยำ

ต้งั อยู่ทางทิศใต้ของตลาดน้าลาพญา เป็ นส่วนหน่ึงของการท่องเที่ยวในชุมชนลาพญา เดิมเป็ น
ชุมชนจีนโบราณควบคู่กบั ชุมชนชาวมอญที่อพยพมาจากสามโคกเพื่อมาทาการเกษตร เม่ือเดินเขา้ มาภายใน
จะสัมผสั กลิ่นอายความเป็ นชุมชนเก่าแบบท้องถ่ิน ตวั อาคารบ้านเรือนทาจากไม้ ภายในตลาดยงั คงเป็ น
ชุมชนสาหรับชาวบา้ น มีท้งั ร้านตดั เส้ือ ร้านตดั ผม ร้านทาทอง ท่ียงั คงรักษาความเก่าแก่ไวท้ ุกกระเบียดนิ้ว
นอกจากน้ียงั มีสถานที่ท่องเท่ียวน่าสนใจอื่น ๆ เช่น "บา้ นภณั ฑารักษ"์ พิพิธภณั ฑท์ ่ีรวบรวมของเล่นและของ
ใชใ้ นอดีต ไวใ้ หเ้ ราไดร้ าลึกความหลงั เพลิน ๆ "บา้ นไมโั บราณกุลนที" บา้ นไมส้ ักไทยท่ีคงความเก่าแก่และ
คลาสสิก และเปิ ดให้นกั ท่องเที่ยวเขา้ พกั ไดอ้ ีกดว้ ย และ "ศาลเจา้ แม่ทบั ทิม" ศาลเก่าแก่คู่ตลาดเก่าก๊กพระยา
ที่ไม่วา่ ใครตา่ งเขา้ มากราบไหวเ้ พื่อความเป็นสิริมงคลในชีวติ กนั ไมข่ าดสาย

ก๊กพระยาเป็ นชุมชนจีนโบราณ เดิมเป็ นตลาดท่าเทียบเรือของชาวบา้ นไปจนถึงเจา้ พระยาท่ีสัญจรมา
หลากหลายเส้นทาง ถือเป็ นตลาดชุมชนที่สาคญั แห่งหน่ึงของลุ่มแม่น้านครชัยศรี อดีตมีสินคา้ จาหน่าย
มากมาย ท้งั ร้านทาทอง ร้านตดั เยบ็ เส้ือผา้ ร้านเสริมสวย ร้านโชวห่วย
ตลำดนำ้ ท่งุ บัวแดง

ตลาดน้าทุ่งบวั แดง ณ บางเลน ต้งั อยูท่ ่ีอาเภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม ท่ีมาของตลาดน้าทุ่งบวั แดง
แห่งน้ีเกิดจากอดีตไกด์ หรือมคั คุเทศก์ ท่ีฝันอยากจะเห็นทุ่งบวั แดงบานใกลๆ้ กรุงเทพฯ เพื่อนกั ท่องเที่ยวไม่
ตอ้ งไปไกลถึงจงั หวดั อุบลราชธานี ในการน้ีไดเ้ นรมิตบ่อเล้ียงปลาท้งั หมด 44 ไร่ของพอ่ ตามาปรับใหม่เป็ น
พ้นื ที่ปลูกบวั แดง เปิ ดใหน้ กั ท่องเที่ยวกรุงเทพฯ ไดม้ าชมทุ่งบวั แดงไดท้ ุกวนั โดยไม่ตอ้ งเดินทางไปไกล และ
ที่สาคญั บวั ของทุ่งบวั แดง ณ บางเลน แห่งน้ีมาเวลาไหนก็จะเห็นบวั บานไดต้ ลอดท้งั วนั ธุรกิจน้ีตอ้ งการจะ
สร้างทุง่ บวั แดงที่สามารถใหค้ นกรุงเทพฯ มาเที่ยวไดท้ ุกวนั

30

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

เขตกำรปกครองส่ วนท้องถน่ิ 9. ดอนตูม (Don Tum) 9 หมูบ่ า้ น
1. บางเลน (Bang Len) 12 หมู่บา้ น
2. บางปลา (Bang Pla) 13 หมู่บา้ น 10. นิลเพชร (Ninlaphet) 10 หมูบ่ า้ น
3. บางหลวง (Bang Luang) 21 หมู่บา้ น
4. บางภาษี (Bang Phasi) 13 หมู่บา้ น 11. บวั ปากท่า (Bua Pak Tha) 10 หมูบ่ า้ น
5. บางระกา (Bang Rakam) 15 หมู่บา้ น
6. บางไทรป่ า (Bang Sai Pa) 10 หมู่บา้ น 12. คลองนกกระทุง (KhlongNokKrathung) 11 หมู่บา้ น
7. หินมูล (HinMun) 11 หมู่บา้ น
8. ไทรงาม (SaiNgam) 11 หมู่บา้ น 13. นราภิรมย์ (Naraphirom) 11 หมู่บา้ น

14. ลาพญา (Lam Phaya) 11 หมู่บา้ น

15. ไผห่ ูชา้ ง (Phai Hu Chang) 7 หมูบ่ า้ น

31

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

กจิ กรรมเสริมทกั ษะ

คำชี้แจง ใหน้ กั เรียนอา่ นเร่ืองเก่ียวกบั อาเภอบางเลน แลว้ ตอบคาถามต่อไปน้ี
1. คาขวญั ของอาเภอบางเลนมีวา่ อยา่ งไร
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

2. ช่ือเดิมของอาเภอบางเลนคือ.........................................................................................................................

3. อาเภอบางเลนต้งั อยทู่ างทิศ...............................................ของจงั หวดั นครปฐมและมีอาณาเขตติดต่อดงั น้ี
ทิศเหนือ ต่อกบั ................................................................
ทิศตะวนั ออก ติดต่อกบั .....................................................
ทิศใต้ ติดตอ่ กบั .................................................................
ทิศตะวนั ตก ติดต่อกบั .......................................................

4. ผลผลิตทางการเกษตรท่ีสาคญั ไดแ้ ก่
...............................................................................................................................................................

5. ใหเ้ ขียนบรรยายเก่ียวกบั สถานที่สาคญั ของอาเภอบางเลนท่ีนกั เรียนที่สนใจมา 1 สถานท่ีพร้อมท้งั บอก
เหตุผลประกอบ
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................

32

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี 6
อำเภอสำมพรำน

ประวตั ิควำมเป็ นมำ

มีตานานเล่าต่อกนั มาวา่ เดิมทอ้ งที่เหล่าน้ีเป็ นป่ ารกชฏั เป็ นที่อยู่อาศยั ของสัตวป์ ่ านานาชนิด รวมท้งั
เป็ นที่ชุมนุมของชา้ งโขลงใหญ่ดว้ ย ช้างโขลงน้ีชอบลงมาหากินและเหยยี บย่าจนเส้นทางกลายเป็ นทางน้า
และลาคลอง จนในที่สุดชาวบา้ นในสมยั น้นั ไดเ้ รียกกนั วา่ "คลองบางชา้ ง" และในบริเวณน้นั ก็ไดก้ ลายเป็ น
ชื่อเรียกตาบลมาจนถึงปัจจุบนั น้ี คือ "ตาบลบางช้าง" สาหรับโขลงช้างที่หากินในบริเวณเขตบางช้างน้ัน
หวั หนา้ โขลงชา้ งเกิดตกมนั ดุร้ายมาก และไดส้ ร้างความเสียหายโดยออกอาละวาดทาลายพชื ผลของชาวบา้ น
จนชาวบา้ นทนไมไ่ หว ไดร้ ่วมมือกนั ปราบเจา้ ชา้ งตกมนั เชือกน้นั แตท่ วา่ ชา้ งตกมนั เชือกน้ีมีกาลงั เหลือหลาย
ชาวบา้ นไม่สามารถปราบไดถ้ ึงแมจ้ ะพยายามสักเพียงใด

ในขณะน้ันได้มีนายพรานสามคนเดินทางมายงั คลองปากลดั (ปัจจุบนั เรียกว่า "วดั ท่าขา้ ม") ซ่ึงอยู่
ไม่ไกลจากเขตตาบลบางชา้ งมากนกั นายพรานสามคนไดเ้ ดินทางลดั คลองท่านาไปยงั บริเวณท่ีโขลงชา้ งน้นั
อาศยั อยู่ นายพรานท้งั สามเปรียบเสมือนอศั วนิ มา้ ขาวของชาวบา้ นคลองบางชา้ ง ไดท้ าการปราบช้างตกมนั
เชือกน้ันโดยใช้ความเชี่ยวชาญและความสามัคคี จนในที่สุ ดก็สามารถปราบช้างตกมันได้สาเร็จ
ชาวบ้านจึงได้เรียกบริเวณท่ีนายพรานท้งั สามปราบช้างได้สาเร็จว่า "สามพราน" ซ่ึงในปัจจุบนั เรียกว่า
"ตาบลสามพราน"

ในอดีตอาเภอสามพรานน้ันมีช่ือเรี ยกว่า อาเภอตลาดใหม่ ต้ังข้ึนในปี พ.ศ. 2439 รัชสมัย
พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั โดยสร้างข้ึนในที่ดินของพระยาสุนทรบุรีศรีพชิ ยั สงครามรามภกั ดี
สุริยะพาหะ (อ้ี กรรณสูต) ซ่ึงพ้ืนที่บริเวณน้นั เรียกวา่ ตลาดใหม่

ในปี พ.ศ. 2458 ได้ยา้ ยที่ทาการไปสร้างใหม่ในตาบลสามพราน เนื่องจากที่ทาการเดิมคบั แคบ
ใหบ้ ริการประชาชนไดไ้ มส่ ะดวก พร้อมกบั เปล่ียนชื่อเป็น อาเภอสามพราน ตามช่ือสถานท่ีต้งั ท่ีวา่ การอาเภอ

33

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ซ่ึงอยูภ่ ายใตก้ ารปกครองของมณฑลนครชยั ศรี ต่อมาปี พ.ศ. 2474 ทางราชการยุบมณฑลนครชยั ศรี
ลงอาเภอสามพรานจึงข้ึนอยู่กบั เมืองราชบุรีอยู่ระยะหน่ึง จนกระทง่ั ปี พ.ศ. 2476 ไดย้ ุบมณฑลท้งั หมดทวั่
ราชอาณาจกั ร อาเภอสามพรานจึงไดข้ ้ึนอยู่กบั จงั หวดั นครปฐม ตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบการบริหาร
ราชการของราชอาณาจกั รไทย พ.ศ. 2476

ทต่ี ้งั และอำณำเขต

อาเภอสามพรานต้งั อยทู่ างทิศใตส้ ุดของจงั หวดั มีอาณาเขตติดตอ่ กบั เขตการปกครองขา้ งเคียงเรียง
ตามเขม็ นาฬิกา ดงั น้ี

ทศิ เหนือ ติดตอ่ กบั อาเภอนครชยั ศรีและอาเภอพุทธมณฑล
ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั เขตทววี ฒั นา และ เขตหนองแขม (กรุงเทพมหานคร)
ทศิ ใต้ ติดต่อกบั อาเภอกระทุ่มแบนและอาเภอบา้ นแพว้ (จงั หวดั สมุทรสาคร)
ทศิ ตะวนั ตก ติดต่อกบั อาเภอบางแพ (จงั หวดั ราชบุรี) และอาเภอเมืองนครปฐม

กำรปกครองส่ วนท้องถิน่ 6 หมู่บา้ น 9. ท่าตลาด (ThaTalat) 10 หมู่บา้ น
1. ท่าขา้ ม (Tha Kham) 6 หมู่บา้ น 10. กระทุม่ ลม้ (KrathumLom) 9 หมูบ่ า้ น
2. ทรงคนอง (Song Khanong) 6 หมู่บา้ น 11. คลองใหม่ (Khlong Mai) 7 หมูบ่ า้ น
3. หอมเกร็ด (HomKret) 8 หมูบ่ า้ น 12. ตลาดจินดา (TalatChinda) 11 หมู่บา้ น
4. บางกระทึก (Bang Krathuek) 7 หมู่บา้ น 13. คลองจินดา (KhlongChinda) 14 หมู่บา้ น
5. บางเตย (Bang Toei) 9 หมูบ่ า้ น 14. ยายชา (Yai Cha) 6 หมูบ่ า้ น
6. สามพราน (Sam Phran) 11 หมูบ่ า้ น 15. บา้ นใหม่ (Ban Mai) 5 หมูบ่ า้ น
7. บางชา้ ง (Bang Chang) 14 หมู่บา้ น 16. ออ้ มใหญ่ (Om Yai) 8 หมู่บา้ น
8. ไร่ขิง (RaiKhing)

สถำนทที่ ่องเทย่ี ว

สวนสามพราน หรือ “โรสกาเดน้ ริเวอร์ไซด์” เป็ นแหล่งพกั ผ่อนและสถานที่ท่องเที่ยว ภายในจดั แต่งเป็ น

สวนดอกไมน้ านาชนิด หมู่บา้ นไทยและบางส่วนเป็ นโรงแรม ท่ีพกั และสนามกอล์ฟ โดยในปัจจุบนั สวน

สามพรานได้มีการปรับแนวคิด โดยมุ่งม่ันสืบสาน ศิลปวฒั นธรรมอันดีงามของไทย และดูแลรักษา

ธรรมชาติท่ีร่มรื่นริมสายน้า พร้อมท้งั สร้างสรรคก์ ิจกรรมเพื่อการพกั ผอ่ น ท่ีหลาก หลายให้ผูม้ าพกั ผอ่ นได้

เรียนรู้ตวั เอง จากธรรมชาติและวิถีชีวิตท่ีงดงามของไทย อาทิเช่น การเรียนรู้วิธีทาผลิตภณั ฑ์สมุนไพร

ธรรมชาติ 34

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

การรับประทานอาหารเพ่ือสุขภาพ การดูแลและฟ้ื นฟูสุขภาพในสปา ฯลฯ นอกจากน้ีสวนสามพรานยงั ร่วม
เป็ นส่ วนหน่ึง ของชุมชน และเติบโตไปพร้อมกันผ่านกิจกรรมการให้ความรู้สู่ ชุมชน และเปิ ด
“ตลาดเกษตรกรปลอดสารพิษ” หรือ ตลาดสุขใจ ให้เกษตรกรและชุมชนนาสินค้าเกษตรปลอดสารพิษ และ
ผลิตภณั ฑ์ชุมชนมาจาหน่ายโดยไม่คิดค่าใชจ้ ่ายใดๆ ซ่ึงนกั ท่องเที่ยว สามารถใชเ้ วลาในวนั หยุดเพ่ือพกั ผอ่ น
หยอ่ นใจ เรียนรู้วถิ ีชีวติ ธรรมชาติในแบบไทย

มีกิจกรรมวถิ ีไทย 12 อยา่ ง เช่นดนตรี ราไทย ร้อยพวงมาลยั แกะสลกั ผลไม้ เคร่ืองป้ันดินเผา ป้องกนั ตวั
ทอผา้ ไหม ถกั สาน วาดร่ม ฯลฯ ศิลปวฒั นธรรมไทยผ่านประสบการณ์ตรงดว้ ยการลงมือ สานใบมะพร้าว
เป็ นรูปสัตวต์ ่างๆ แกะสลกั ผกั ผลไมแ้ ละ ร้อยมาลยั กลว้ ยไม้ วาดร่ม ฝึ กงานหัตถศิลป์ ป้ันดินดว้ ยเครื่องมือ
โบราณ สนุกกบั การรากระทบไม้ บรรเลงเคร่ืองดนตรีไทย เรียนรู้นาฏศิลป์ ไทย ลงมือทาขนมกลว้ ยปิ้ งดว้ ย
ตวั เอง และอีกหลากหลายกิจกรรม เปิ ดบริการทุกวนั ต้งั แต่เวลา 10.00-12.00 น. คา่ ใชจ้ า่ ยคนละ 200 บาท
การแสดงศิลปวฒั นธรรม

ช่ืนชมประเพณีและศิลปวฒั นธรรมไทยอนั ทรงคุณคา่ อาทิเช่น ระบาทวารวดี มหกรรมกลอง ศิลปะการ
ตอ่ สู้ ราไทย 4 ภาค รากระทบไม้ โดยนกั แสดงมืออาชีพท่ีร่วมสืบสานวฒั นธรรมไทยจากรุ่นสู่รุ่นมานานกวา่
40 ปี ผา่ นสายตาผชู้ มท้งั ชาวไทย และต่างชาติมาแลว้ กวา่ 18 ลา้ นคน พร้อมการแสดงชา้ งน่ารักแสนรู้ เปิ ด
แสดงทุกวนั ต้งั แตเ่ วลา การแสดงศิลปวฒั นธรรมไทย รอบแรก 13.30 น. รอบสอง 14.45 น. การแสดงชา้ ง
รอบแรก 14.30 น. รอบสอง 15.30 น

สวนสำมพรำน
ตลำดสุขใจ
ตลาดสุขใจ เป็นตลาดทางเลือกใหม่สาหรับผรู้ ักและใส่ใจในสุขภาพและส่ิงแวดลอ้ ม เป็นตลาดนดั สีเขียว
ตลาดขนาดยอ่ มๆ ต้งั อยูบ่ นพ้ืนที่ดา้ นหนา้ ของสวนสามพรานริเวอร์ไซด์ จ.นครปฐม ตลาดน้ีเป็ นศูนยก์ ลาง
การคา้ อาหารและผลผลิตการเกษตรที่ปลอดภยั รองรับผลผลิตทางการเกษตรท้งั พืชผกั ปลอดภยั ผกั ปลอด
สารพษิ และผกั เกษตรอินทรียจ์ ากกลุ่มเกษตรกร
ตลาดสุขใจเปิ ดจาหน่ายสินคา้ ทุกวนั เสาร์และอาทิตยต์ ้งั แต่เวลาประมาณ 10.00 น. - 17.00 น. สินค้าท่ีมี
จาหน่ายประกอบดว้ ยผลผลิตทางการเกษตรนานาชนิด อาทิ ผกั สด ผลไม้ ตามฤดูกาล น้าฟักขา้ ว ขา้ ว

35

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

อินทรีย์ เห็ดสด ส้มโอ น้านมขา้ วโพด น้าลูกสารอง มะเฟื อง ไขเ่ ป็ด-ไขไ่ ก่ รวมถึงอาหารจากเกษตรอินทรียท์ ี่
ถูกนามาประยุกต์ให้มีความแปลกใหม่ เก๋ไก๋ และทานง่ายข้ึน ล้วนอร่อยถูกปาก มากประโยชน์ โดยผู้
จาหน่ายจะมีท้งั กลุ่มเกษตรกร ชาวบา้ น และเจา้ ของสวนเป็ นผเู้ ขา้ มาจาหน่ายเอง ซ่ึงทุกร้านท่ีเขา้ มาจาหน่าย
น้นั จะตอ้ งมีมาตรฐานความปลอดภยั และไม่มีสารพิษเจือปน ซ่ึงทางตลาดมีกระบวนการตรวจสอบ ณ จุด
ขายเดือนละ 2 คร้ัง จึงทาให้ผูบ้ ริโภคเช่ือมนั่ และมนั่ ใจไดว้ า่ สินคา้ ท่ีจาหน่ายท่ีตลาดสุขใจน้นั ปลอดภยั ได้
อยา่ ง 100% รวมถึงเป็ นกลไกการเรียนรู้และเชื่อมโยงขอ้ มูลข่าวสารระหวา่ งผผู้ ลิตและผูบ้ ริโภคทาให้ตลาด

แห่งน้ีเหมาะสาหรับผบู้ ริโภคท่ีตอ้ งการเนน้ เร่ืองความสะอาด และดีต่อสุขภาพเป็นอยา่ งมา

ตลำดสุขใจ

วดั ไร่ขงิ

วดั ไร่ขิง หรือ วดั มงคลจินดาราม ต้งั อยูท่ ่ี ต. ไรขิง อ.สามพราน จ.นครปฐม แมจ้ ะต้งั ช่ือใหม่แต่ชาวบา้ น
และคนไทยส่วนใหญ่ก็ยงั คงติดปากว่าที่นี่คือวดั ไร่ขิง ตามชื่อของพ้ืนที่ชุมชนในบริเวณน้ี ในอดีตพ้ืนท่ี
บริเวณน้ีเป็ นที่อยูอ่ าศยั ของชุมชนชาวจีน มีความนิยมในการปลูกขิงกนั เป็ นจานวนมากทาให้บริเวณน้ีถูก
เรียกกนั วา่ ไร่ขิง วดั ไร่ขิงไม่มีหลกั ฐานท่ีปรากฏข้ึนมาแน่ชดั วา่ สร้างข้ึนมาต้งั แต่สมยั ไหน แต่จากการบอก
เล่าก็เชื่อกนั วา่ น่าจะสร้างมาต้งั แต่ปี พ.ศ. 2394 เม่ือนกั ท่องเท่ียวทุกคนมาถึงก็จะเล้ียวรถเขา้ มาจอดยงั พ้ืนท่ี
ลานจอดรถดา้ นหนา้ ที่มีความกวา้ งใหญ่ จากน้นั ก็จะมาไหวพ้ ระขอพรกบั พระพุทธรูปหลวงพ่อโตวดั ไร่ขิง
ที่ถือวา่ เป็ นพระที่ชาวบา้ นในละแวกดงั กล่าวให้ความเคารพนบั ถือเป็ นอยา่ งมาก ประดิษฐานอยูภ่ ายในพระ
อุโบสถ ตามตานานมีการบอกกล่าวกนั วา่ เป็ นพระพุทธรูปที่ลอยมากบั น้าก่อนจะอญั เชิญข้ึนมาไวบ้ นศาลา
ปูน ตวั องค์พระพุทธรูปเป็ นเน้ือทองสัมฤทธ์ิปางมารวิชัย พุทธลกั ษณะมีความงดงามมากดว้ ยพุทธศิลป์
3 สมยั ประกอบไปดว้ ย

1. พระรูปผ่งึ ผายแบบเชียงแสน
2. พระหตั ถเ์ รียวงามแบบสุโขทยั
3. พระพกั ตร์งดงามตามแบบรัตนโกสินทร์

36

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ซ่ึงประดิษฐานอยู่บนฐานชุกชี 5 ช้ัน สันนิษฐานว่าน่าจะเป็ นฝี มือของช่างไทยสมยั ล้านนาและด่านช้าง
พระอุโบสถแห่งน้ีเป็ นศิลปะสมยั รัตนโกสินทร์ตอนตน้ รอบพระอุโบสถจะมีพระวิหารประจาทิศต่างๆ
4 ทิศ มีศาลาจตั ุรมุขต้งั อยดู่ า้ นหนา้ กบั ดา้ นหลงั รูปแบบศาลาทรงไทย 4 มุข มีมณฑปกลางสระน้า เป็ นพ้ืนท่ี
ประดิษฐานของพระพทุ ธบาทจาลอง
อาณาเขตถูกแบ่งเป็ น 2 ส่วน ส่วนหน่ึงเป็ นพ้ืนที่ของโรงเรียนและโรงพยาบาล พิพิธภณั ฑ์เก่าจดั แสดงไว้
ใหไ้ ดช้ มกนั อีกส่วนจะเป็ นบริเวณวดั และฝ่ังริมน้าที่สามารถใหอ้ าหารปลาสวายได้ หากเดินทางมาช่วงวนั
ศุกร์หรือเช้าวนั อาทิตยจ์ ะมีตลาดนดั ท่ีเต็มไปดว้ ยอาหาร ผลไม้ ให้เดินเลือกชิมเลือกซ้ือกนั อยา่ งจุใจ ถือวา่
เป็ นวดั อีกแห่งในจงั หวดั นครปฐมท่ีได้รับความนิยมและโด่งดงั มากๆ ในช่วงเทศกาลหรือวนั สาคญั ทาง
ศาสนาจะมีผคู้ นมากราบไหวจ้ านวนมาก

วดั ไร่ขิง
ลำนแสดงช้ำงและจระเข้สำมพรำน

ต้งั อยรู่ ิมถนนเพชรเกษม กม.30 อ.สามพราน จ.นครปฐม เป็นแหล่ง ทอ่ งเท่ียวพกั ผอ่ นคุณภาพ มีการแสดง
ระดบั สากลไดแ้ ก่ การแสดงชา้ งประกอบเสียง การจบั จระเขโ้ ชวด์ ว้ ยมือเปล่า และการแสดงมายากล เหมาะ
สาหรับสมาชิกในครอบครัว และนักท่องเที่ยวทุกเพศทุกวยั เป็ นแหล่งการเรียนรู้ เชิงบูรณาการสาหรับ
นกั เรียน และเป็ นสถานที่จดั กิจกรรมสร้างสรรคส์ าหรับหน่วยงานต่าง ๆดว้ ยระบบ Surround Sound System
ทาใหอ้ รรถรสในการชมการแสดงชา้ งสนุกสนานและเพลิดเพลินมากยง่ิ ข้ึน อ่ิมเอมกบั ความน่ารักแสนรู้ของ
ช้างโขลงใหญ่กว่า 30 เชือกในลีลาโยกยา้ ยส่ายสะโพก ร่วมลุ้นและเชียร์ลูกเตะ free kick จากช้างน้อย
ดาวซัลโวฝี เทา้ จดั ยอ้ นอดีตสู่การทาสงครามยุทธหัตถีท่ีย่ิงใหญ่ของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และฉาก
อื่น ๆ กวา่ 10 ชุด รวมถึงวถิ ีชีวติ ของคนและชา้ งท่ีผกู พนั กนั มายาวนาน

37

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1

ลานแสดงช้างและฟาร์มจระเข้สามพราน ต้งั อยู่บนถนนเพชรเกษม กิโลเมตรท่ี 30 อาเภอสามพราน
จงั หวดั นครปฐม มีเน้ือท่ีกวา่ 130 ไร่ ภายในแบง่ เป็นส่วนต่างๆ ดงั น้ี

ฟำร์มเพำะเลยี้ งจระเข้
บ่อจระเขท้ ุกบอ่ จะมีการปูพ้ืนบ่อดว้ ยซีเมนตก์ ่อนที่จะกลบดินทบั ท้งั น้ีเพอื่ ป้องกนั จระเขข้ ดุ ดิน และ

หลุดออกนอกบ่อ
1. บ่อเพาะเล้ียงจระเขน้ ้าจืด น้าเคม็ และพนั ธุ์ผสม ซ่ึงสามารถอยรู่ วมกนั ไดโ้ ดยแบง่ ตามช่วงอายุ
2. บ่ออนุบาล ใชเ้ ล้ียงจระเขแ้ รกเกิด
3. บ่อพอ่ พนั ธุ์-แม่พนั ธุ์ ใชเ้ ล้ียงจระเขต้ ้งั แต่อายุ 8-20 ปี
4. บอ่ จระเขต้ วั ใหญ่ โดยอายสุ ูงสุดอยทู่ ี่ประมาณ 70 ปี โดยบ่อน้ีน้าลึกประมาณ 6 เมตร
5. บอ่ จระเขพ้ ิการ
6. บ่อเพาะพนั ธุ์ตะโขง

พืน้ ทใี่ นกำรแสดง
1. บอ่ ทาการแสดงจบั จระเขด้ ว้ ยมือเปล่า จะทาในบ่อน้าต้ืน และมีอฒั จรรยส์ าหรับใหน้ กั ท่องเท่ียวไดช้ ม

2 ช้นั
2. ลานแสดงชา้ ง ใชท้ าการแสดงชา้ งประกอบเสียง และการแสดงมายากล

กำรแสดงช้ำงประกอบเสียง
ชมวถิ ีชีวติ ของคนไทยกบั ชา้ ง สัตวส์ ่ีเทา้ เล้ียงลูกดว้ ยนมท่ีใหญ่ที่สุดในโลก ผา่ นนกั แสดงชาวส่วย ซ่ึงมี
บรรพบุรุษ มาจากเมืองอตั ปื อแสนแป ผสู้ ืบทอดการเล้ียงชา้ งมาหลายชว่ั อายคุ น และชา้ งนกั แสดงกวา่
27 ชีวติ พบความน่ารักของเจา้ ชา้ งนอ้ ยนกั เตน้ เทา้ ไฟ ดาวซลั โว สาธิตการช่วยงานดา้ นป่ าไม้ และการแสดง
ตา่ งๆ อีกกวา่ 10 ชุด พร้อม ต่ืนตากบั การแสดงทาสงครามยทุ ธหตั ถีที่ยงิ่ ใหญ่ ระหวา่ งสมเด็จพระนเรศวร
มหาราชกบั พระมหาอุปราชา ดว้ ยระบบเสียงสมบูรณ์แบบแห่งแรกและแห่งเดียวในประเทศไทย

กำรแสดงจับจระเข้ด้วยมือเปล่ำ
ชมจระเข้ สัตวเ์ ล้ือยคลานท่ีใหญ่ที่สุดในโลกนบั หมื่นตวั ผสู้ ืบทอดสายพนั ธุ์มาต้งั แตย่ คุ ไดโนเสาร์ ต่ืนเตน้
เร้าใจกบั การแสดงจบั จระเขโ้ ชวด์ ว้ ยมือเปล่า จากหมอจระเขผ้ สู้ ืบสานตานานไกรทอง สาธิตวธิ ีการฝากเงิน
ในปาก เจา้ เข้ียวคม และการหยอดหวั ใส่ปากจระเข้

38

ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1


Click to View FlipBook Version