รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
(Self - Assessment Report : SAR)
ปีการศกึ ษา 2563
ระดับปฐมวัย และ ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน
โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ
เลขที่ 165 ตาบลรัตนวาปี อาเภอรัตนวาปี
จังหวัดหนองคาย
สงั กดั สานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน
กระทรวงศึกษาธิการ
คานา
ด้วยกฎกระทรวง ว่าด้วยการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 ข้อ 2 “การประกันคุณภาพ
การศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหารคุณภาพ
การศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ันให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชน
ว่าสถานศึกษานั้นสามารถจัดการศึกษาได้อย่างมีคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์ของ
หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล ข้อ 3 ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา
แต่ละระดับและประเภทการศึกษาท่ีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด พร้อมท้ังจัดทา
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาท่ีมุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดาเนินการตามแผนที่
กาหนดไวจ้ ัดใหม้ ีการประเมนิ ผลและตรวจสอบคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ติดตามผลการดาเนินการเพื่อ
พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษาเป็นประจาทุกปี เพ่ือให้การดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามวรรคหน่ึงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กากับดูแลสถานศึกษามีหน้าที่ใน
การให้คาปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะนาสถานศึกษา เพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนา
อยา่ งต่อเนอื่ ง และสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.
2545 หมวดท่ี 6 มาตราท่ี 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาท่ีต้อง
ดาเนนิ การอย่างต่อเน่ือง โดยมกี ารจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อต้นสังกัด หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวข้อง และเปดิ เผยต่อ
สาธารณชนเพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับการประกันคุณภาพภายนอก
โดยสถานศึกษาจะต้องดาเนนิ การประกนั คุณภาพภายในก่อน
โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ ได้ดาเนินการประเมินตนเอง และจัดทารายงานประจาปี 2563 เพ่ือเสนอต่อ
หนว่ ยงานต้นสังกัด รายงานผลการจดั การศกึ ษาและการพฒั นาการศึกษาของโรงเรยี นในปที ่ีผา่ นมา เพอ่ื เปิดเผยต่อ
สาธารณชนต่อไป และขอขอบคุณ คณะผู้บริหาร คณะครู ผู้ปกครอง และนักเรียน ที่ให้ข้อมูลในการดาเนินการ
ประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายในเปน็ อย่างดี จนทาให้การจดั ทารายงานประจาปสี าเร็จลุล่วงในคร้ังน้ี
(นางอรวรรณ หลา้ บตุ รศร)ี
ผู้อานวยการโรงเรยี นอนุบาลอรวรรณ
สารบัญ
คานา บทสรุปของผู้บริหาร หนา้
สารบญั
สว่ นที่ 1 ตอนท่ี 1 ข้อมลู พืน้ ฐาน 1
สว่ นท่ี 2 ตอนท่ี 2 การนาเสนอผลการประเมนิ ตนเอง
1
ส่วนท่ี 3 ข้อมลู พื้นฐาน 1
3
ภาคผนวก 1. ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 3
2. ข้อมูลพน้ื ฐานแผนพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 7
3. ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจาปีของสถานศึกษา 8
4. ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นของผูเ้ รยี น 12
5. นวตั กรรม/แบบอย่างทีด่ ี (Innovation/Best Practice) 14
6. รางวลั ทสี่ ถานศกึ ษาได้รบั 15
7. ดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร 16
8. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ท่ผี ่านมา 17
9. หน่วยงานภายนอกท่ีโรงเรยี นเข้ารว่ มเปน็ สมาชกิ 17
18
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา 18
47
1. ผลการประเมินรายมาตรฐาน 50
2. สรปุ ผลการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา 52
3. จุดเดน่ 52
4. จุดควรพฒั นา 53
5. แนวทางการพัฒนา 53
6. ความตอ้ งการช่วยเหลือ 54
7. ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ถา้ มี)
1
ส่วนท่ี 1
บทสรุปของผู้บรหิ าร
ตอนที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน
โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ รหัส 43100031 ท่ีตั้งเลขท่ี 165 ตาบลรัตนวาปี อาเภอรัตนวาปี จังหวัด
หนองคาย สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน โทรศัพท์ 042-418189 e-mail:
[email protected] ได้รับอนุญาตจัดตั้ง เมื่อวันท่ี 16 พฤษภาคม 2544 เปิดสอนระดับช้ัน อนุบาล 1
ถึงระดับ ช้ันประถมศกึ ษาปีที่ 6 จานวนนักเรยี น 213 คน จานวนบคุ ลากรโรงเรียน 18 คน
ตอนท่ี 2 การนาเสนอผลการประเมินตนเอง
ระดับปฐมวัย
1) มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระดบั คุณภาพ ดเี ลิศ
2) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ
2.1 คณุ ภาพเดก็ ระดับคณุ ภาพ ดีเลิศ
2.2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ
2.3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
3) โรงเรยี นมแี ผนจะพฒั นาตนเองต่อไปอยา่ งไรให้ได้ระดับคุณภาพทดี่ ีขึน้ กวา่ เดิม 1 ระดับ
3.1 แผนพัฒนาคุณภาพเด็ก ได้แก่แผนพัฒนาการเด็กด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และด้าน
สตปิ ัญญา
3.2 แผนพัฒนาการการบริหารและการจัดการ ได้แก่ แผนพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยท่ี
ครอบคลุมพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับบริบทของท้องถ่ิน แผนการจัดครูให้เพียงพอกับชั้นเรียน
แผนการส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจัดประสบการณ์แผนการจัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือ
การเรยี นรอู้ ย่าง ปลอดภัย แผนการบริการสือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรยี นร้เู พื่อสนบั สนุนการจัด
ประสบการณ์สาหรับครู แผนพัฒนาระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
ความโดดเดน่ ของสถานศึกษา
4) นวตั กรรม/แบบอยางท่ีดี
4.1 การจดั ประสบการณการเรยี นรูแบบ 7E
5) ความโดดเดนของสถานศกึ ษา
5.1 แหลงเรียนรูท้งั ภายในและภายนอกหองเรยี นทีเ่ อ้ือตอการเรียนรู
6) โรงเรียนไดดาเนนิ งานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ
6.1 ทเ่ี นนเรยี นเพื่อรู พฒั นาทักษะเพื่อทา
6.2 พัฒนาครูในระบบ
6.3 เนนเรยี นท่บี าน ถามที่โรงเรยี น
6.4 ลดเวลาเรยี น เพิ่มเวลารู
2
6.5 เนนเรยี นผานสอ่ื ผสมผสาน ผานชองทางทห่ี ลากหลาย ไดแก On-Site เรียนที่โรงเรียน Online
เรียนออนไลนผานแพลตฟอรม On-Demand ซ่งึ สามารถเรียนไดทุกท่ี ทกุ เวลา ที่มอี นิ เทอรเนต็ และอุปกรณเชือ่ มตอ
ระดับการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
1) มาตรฐานการศึกษาระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
2) หลักฐานสนบั สนุนผลการประเมินตนเองตามระดบั คุณภาพ
2.1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ระดับคุณภาพ ดีเลิศ
2.2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั คุณภาพ ดเี ลศิ
2.3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รียนเป็นสาคัญ ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ
3) โรงเรียนมีแผนจะพัฒนาตนเองต่อไปอยา่ งไรใหไ้ ดร้ ะดับคณุ ภาพทีด่ ีขนึ้ กว่าเดมิ 1 ระดับ
3.1 แผนพัฒนาคุณภาพของผูเรียน ไดแก แผนพัฒนาผูเรียนตามศักยภาพของแตละบุคคล ท่ี
แสดงออกถึงความรู ความสามารถ ทักษะ ตามที่ระบุไวในแผนการจดั การศึกษาเฉพาะบุคคล แผนพัฒนา
คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงคตามท่ีสถานศึกษาตามศักยภาพของผูเรยี นแตละบคุ คล
3.2 แผนพฒั นากระบวนการบริหารและการจัดการ ไดแก แผนพฒั นาเปาหมายวิสยั ทัศนและพนั ธกิจ
ที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน แผนพัฒนาระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา แผนพัฒนางาน
พฒั นาวิชาการที่ เนนคณุ ภาพผเู รยี นรอบดานตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลุมเปาหมาย แผนพฒั นา
พัฒนาครูและบุคลากรใหมี ความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ แผนพัฒนาจัดสภาพแวดลอมทางกายภาพและ
สงั คมทเ่ี ออื้ ตอการจัดการเรียนรูอยางมี คุณภาพ แผนพัฒนาจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพ่ือสนบั สนุน
การบรหิ ารจดั การและการเรียนรู
3.3 แผนพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นการสอนที่เนนผูเรียนเปนสาคัญ ไดแก แผนพฒั นาการจัดการ
เรียนรูผานกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยุกตใชในชีวิตไดแผนพัฒนาการใชสื่อ
เทคโนโลยี สารสนเทศ และแหลงเรียนรูท่ีเอ้ือตอการเรียนรูแผนพัฒนาการบริหารจัดการชน้ั เรียนเชิงบวก
แผนพัฒนาตรวจสอบ และประเมนิ ผูเรยี นอยางเปนระบบ และนาผลมาพฒั นาผูเรียน แผนการแลกเปลีย่ น
เรยี นรูและใหขอมูลสะทอนกลับ เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรยี นรู
4) นวัตกรรม/แบบอยางท่ีดี
4.1 การจดั การเรียนรูแบบ 7E
5) ความโดดเดนของสถานศกึ ษา
5.1 มีแหลงเรียนรูท้ังภายในและภายนอกหองเรยี นทเี่ อื้อตอการเรียนรู
5.2 เปนโรงเรยี นคณุ ภาพ SMT ตามมาตรฐานของ สสวท.
6) โรงเรยี นไดดาเนินงานตามนโยบายกระทรวงศึกษาธกิ าร
6.1 ทเ่ี นนเรยี นเพ่ือรู พฒั นาทกั ษะเพ่ือทา
6.2 พฒั นาครูในระบบ
6.3 เนนเรียนท่ีบาน ถามท่ีโรงเรียน
6.4 ลดเวลาเรยี น เพ่มิ เวลารู
3
6.5 เนนเรียนผานสื่อผสมผสาน ผานชองทางที่หลากหลาย ไดแก On-Site เรียนท่ีโรงเรียน Online
เรียนออนไลนผานแพลตฟอรม On-Demand ซึ่งสามารถเรียนไดทุกท่ี ทกุ เวลา ทม่ี ีอินเทอรเนต็ และอปุ กรณเชือ่ มตอ
6.6 โรงเรียนที่มุงเนนคุณภาพในโรงเรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อความเปนเลิศทาง วิชาการ
และความเชีย่ วชาญทสี่ ามารถตอบโจทยทกั ษะและความรูทีเ่ พิ่มความเช่ยี วชาญในการ ปฏิบตั งิ าน
ลงนาม (ผู้อานวยการโรงเรียน)
( นางอรวรรณ หล้าบุตรศรี )
วัน 25 เดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2564
4
สว่ นท่ี 2
ข้อมลู พน้ื ฐาน
1. ข้อมลู พ้ืนฐาน
1.1 โรงเรยี นอนุบาลอรวรรณ รหัส 43100031 ทตี่ ้ังเลขท่ี 165 ตาบลรัตนวาปี อาเภอรัตนวาปี จงั หวัดหนองคาย
สั ง กั ด ส า นั ก ง า น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร ศึ ก ษ า เ อ ก ช น โ ท ร ศั พ ท์ 042-418189 e-mail: ora-
[email protected] ได้รับอนุญาตจัดต้ัง เม่ือวันท่ี 16 พฤษภาคม 2544 เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล 1
ถึงระดับ ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 จานวนนกั เรยี น 213 คน จานวนบคุ ลากรโรงเรียน 18 คน
ลักษณะผรู้ บั ใบอนญุ าต
บคุ คลธรรมดา
นติ ิบคุ คล
ห้างหนุ้ สว่ นจากัด/บริษัท
มลู นิธใิ นพทุ ธศาสนา/การกุศลของวดั
มูลนธิ ิในครสิ ต์ศาสนา
มลู นิธใิ นศาสนาอสิ ลาม
อนื่ ๆ (ระบ)ุ .................................
ประเภทโรงเรยี น
ประเภทโรงเรียนในระบบ
สามัญศึกษา
การกุศลของวดั
การศึกษาพิเศษ
การศึกษาสงเคราะห์
ในพระราชปู ถมั ภ์
สามญั ปกติ
อสิ ลามควบคู่สามญั
การจัดการเรียนการสอน
ปกติ (สามัญศึกษา)
English Program ได้รับอนญุ าตเมื่อ.........................................
5
1.2 จานวนหอ้ งเรยี น/ผ้เู รยี นจาแนกตามระดบั ท่เี ปดิ สอน
จานวนผู้เรียน จานวนผู้เรยี นทม่ี ี
ความต้องการพิเศษ
ระดับทเี่ ปดิ สอน จานวนหอ้ งเรยี น หอ้ งปกติ EP รวมจานวน
ปกติ EP ชาย หญงิ ผู้เรียน
ระดับก่อนประถมศกึ ษา
อนุบาลปีท่ี 1 ชาย หญงิ ชาย หญงิ
อนุบาลปที ี่ 2
อนุบาลปที ี่ 3 8 - 62 - - - - 8
25 - 13 12 - - - - 25
รวม 32 - 16 16 - - - - 32
ระดับประถมศกึ ษา 65 - 35 30 - - - - 65
ประถมศึกษาปที ี่ 1
ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 23 - 11 12 - - - - 23
ประถมศึกษาปที ี่ 3 28 - 20 8 - - - - 28
ประถมศึกษาปีที่ 4 39 - 22 17 - - - - 39
ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 26 - 12 14 - - - - 26
ประถมศึกษาปีที่ 6 19 - 13 6 - - - - 19
16 - 9 7 - - - - 16
รวม 151 - 87 64 - - - - 151
รวมท้ังสิน้ 216 - 122 94 - - - - 216
1.3 จานวนครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
1.3.1 สรุปจานวนครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จาแนกวุฒกิ ารศึกษาและประเภท/ตาแหนง่
ประเภท/ตาแหนง่ จานวนครูและบคุ ลากรทางการศึกษา รวม
ตา่ กวา่ ป.ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก
1. ผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
- ผู้รบั ใบอนญุ าต - 1- - 1
- ผูจ้ ดั การ
- ผู้อานวยการ - 2- - 2
- รอง/ผอู้ านวยการ - 3- - 3
รวม
- 3- - 3
2. ผู้สอนการศกึ ษาปฐมวยั - --- -
- ครูบรรจุ
- ครูตา่ งชาติ - 6- - 6
3. ผู้สอนการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ระดับประถมศึกษา
- ครูบรรจุ
- ครูต่างชาติ - -- - 6
รวม - 9- -
-
4. บุคลากรทางการศกึ ษา 1 -- - 9
- เจา้ หนา้ ที่ธรุ การ - 3- -
- บคุ ลากรทางการศึกษา 1 -- - 1
- ครูพี่เลยี้ ง - -- - 2
2 3- - 1
5.อื่นๆ (ระบ)ุ ... 2 15 - - -
รวม 4
17
รวมทงั้ สน้ิ
สรุปอตั ราสว่ น
ระดบั ปฐมวยั
จานวนผู้เรียนต่อครู 23 : 1
จานวนผูเ้ รยี นตอ่ ห้อง 23 : 1
ระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
ระดับประถมศกึ ษา
จานวนผู้เรียนตอ่ ครู 25 : 1
จานวนผู้เรียนตอ่ หอ้ ง 25 : 1
1.3.2 สรปุ จานวนครูผ้สู อน จาแนกตามระดบั และกล่มุ สาระการเรยี นรู้
กรณีที่ 1 ครสู อนหลายระดับชนั้ ใหก้ รอกขอ้ มลู ในระดับทม่ี จี านวนชว่ั โมงสอนมากทส่ี ดุ
กรณที ่ี 2 ครูท่จี บวชิ าเอกการประถมศกึ ษาถอื ว่าตรงเอกสามารถสอนไดใ้ นทกุ วิชา ในระดบั ประถมศกึ ษา
จานวนครูผสู้ อน
ระดับ/กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ปฐมวยั ประถมศึกษา
ปฐมวัย ตรงเอก ไม่ตรงเอก ตรงเอก ไมต่ รงเอก
ภาษาไทย
คณติ ศาสตร์ 21 - -
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
สงั คมศึกษา ศาสนา วัฒนธรรม --1 1
สขุ ศกึ ษาและพลศึกษา
ศลิ ปะ --1 1
การงานอาชพี
ภาษาต่างประเทศ --2 -
รวม -- - 1
--1 -
-- - 1
-- - 1
-- - 6
2 1 6 11
7
1.3.3 สรปุ จานวนครูผ้สู อนกิจกรรมพฒั นาผู้เรียน จานวนครูผสู้ อน
ประถมศกึ ษา
กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น
6
กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ 6
- เนตรนารี 6
- ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์
- กจิ กรรมชมุ นุม ชมรม
กจิ กรรมแนะแนว
กจิ กรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์
1.3.4 สรปุ จานวนครูและบุคลากรทางการลกู เสือ เนตรนารี ยุวกาชาดและผู้บาเพ็ญประโยชน์
ลูกเสือ/เนตรนารี จานวน จานวนวฒุ ทิ างลูกเสอื การจัดตง้ั กองลูกเสือ
/ยวุ กาชาด/ผบู้ าเพญ็ ประโยชน์ ผ้บู งั คับบัญชา มวี ฒุ ิ ไม่มวี ุฒิ จัดตงั้ ไม่จัดต้งั
ลูกเสือ เนตรนารี สารอง 3 3-√ -
ลูกเสือ เนตรนารี สามญั 3 3-√ -
ผู้บาเพญ็ ประโยชน์ 6 -6√ -
รวม 12 6 6
1.3.5 สรุปจานวนครูท่ที าหน้าทคี่ ดั กรอง และนักเรียนท่ีมีความต้องการจาเปน็ พิเศษ
(กรณโี รงเรียนมีนักเรยี นพิเศษเรียนร่วม)
จานวนครทู ี่ทาหนา้ ทค่ี ัดกรอง จานวนนักเรียนที่มีความ
ตอ้ งการพิเศษ
ครูทไ่ี ดร้ บั การข้นึ ทะเบียน ครูท่ีมีวฒุ ทิ างการศึกษา ท้งั หมด ขึ้น ไมข่ ึ้น
เปน็ ผ้คู ัดกรองของกระทรวงศึกษาธิการ พเิ ศษ ทะเบียน ทะเบยี น
- - - ---
1.3.6 สรุปจานวนครทู ่ีเขา้ รับการอบรมเก่ียวกับโรงเรยี นคุณธรรม
ปี พ.ศ.2562 หนว่ ยงานทเี่ ข้ารับการอบรม จานวนครทู ่เี ข้ารับ
การอบรม
1. ศนู ยด์ ารงธรรม
2. ศนู ย์ปฎบิ ตั ิธรรม (ธรรมกาย) 2
18
8
2. ข้อมูลพน้ื ฐานแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การพฒั นาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษา
ปรัชญา การดารงชวี ติ ทดี่ ี ตอ้ งต้ังอยูบ่ นพ้ืนฐานของการคดิ ที่ดีและการกระทาที่
เหมาะสม
วสิ ยั ทศั น์ โรงเรยี นอนุบาลอรวรรณ เปน็ เลิศทางคณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ มี
เทคโนโลยีโดดเด่น มคี วามคิดสร้างสรรค์ รู้จักใชก้ ระบวนการคิดวิเคราะหใ์ น
การแก้ปัญหาอย่างมีเหตุผล ผูเ้ รียนใฝเ่ รียนรูค้ ู่คุณธรรม น้อมนาเศรษฐกิจ
พอเพียง รวมทัง้ มคี วามสมั พนั ธก์ ับชมุ ชน
พันธกิจ 1.สง่ เสริมใหผ้ เู้ รียนมคี วามเป็นเลิศดา้ น คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
2. สง่ เสรมิ ให้ผ้เู รียนมคี วามใฝ่รใู้ ฝเ่ รียน
3. ปลกู ฝังให้ผูเ้ รยี นเปน็ ผมู้ ีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมทพ่ี ึงประสงค์
4.พัฒนาใหผ้ ู้เรียนมคี วามคดิ สรา้ งสรรคพ์ ร้อมทั้งใชก้ ระบวนการคดิ วิเคราะห์
การคิดเชิงตรรกะ และการคิดอยา่ งเป็นขัน้ ตอน
5.สนับสนนุ ใหผ้ ้เู รยี นนอ้ มนาปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ในการดาเนิน
ชวี ิต
6.ระดมทรัพยากรในการจดั การเรียนรู้จากผ้ปู กครอง ชมุ ชน และหนว่ ยงาน
ท่ีเกีย่ วข้อง
เปา้ หมาย 1. ผู้เรยี น คดิ ริเรมิ่ และสรา้ งสรรคน์ วตั กรรม มคี วามรู้ มีทักษะและ
คณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนในศตวรรษที่ 21 มีสุขภาวะทเี่ หมาะสมตามวัย
2. ผู้บรหิ ารสถานศึกษา มีภาวะผนู้ าทางวิชาการ มีสานึกความรับผิดชอบ
และการบรหิ ารแบบรว่ มมือ
3. ครู เป็นผูเ้ รียนรูม้ จี ติ วญิ ญาณความเป็นครู มที ักษะการจัดการเรยี นร้ทู ่ี
หลากหลายตอบสนองผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล เปน็ ผู้สร้างสรรคน์ วตั กรรม
และทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยี
ยทุ ธศาสตรห์ รือกลยุทธ์ 1. การพฒั นาหลักสูตร การเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
2. การส่งเสริมการใช้เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพอ่ื การศึกษา
3. พฒั นาระบบบรหิ ารจัดการและสง่ เสริมใหช้ มุ ชนมีสว่ นร่วมในการจัด
การศึกษา
เอกลกั ษณ์ เป็นเลิศด้านแหล่งการเรียนรู้
อตั ลักษณ์ มวี นิ ยั รับผดิ ชอบ พอเพยี ง
9
3. ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏบิ ัติการประจาปขี องสถานศึกษา
ยทุ ธศาสตร์ เป้าหมาย ผลสาเรจ็ *** ***
มาตรฐาน สอดคล้องกบั สอดคล้องกบั ตวั ชี้วดั
ตามแผนฯของ โครงการ ปริมาณ คุณภาพ ปริมาณ คุณภาพ การศกึ ษาของ ยทุ ธศาสตร์ ประเด็นการตดิ ตาม
โรงเรียน ประเมินผลของ
(ร้อยละ) (อธืบาย) (รอ้ ยละ) (อธิบาย) สถานศกึ ษา สช.
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ระดับปฐมวัย 75 ดี 81.32 ดีเลิศ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ตวั ชีว้ ัด
ท่ี 1,3,4,7 ท่ี 1,3,4,5,6,9,10
ยุทธศาสตร์ที่ 1 1. โครงการยก 75 ดี 85.71 ดีเลศิ 1. การจดั การ ท่ี 1 การ - การปลกู ฝงั ความมี
การพัฒนา ผลสัมฤทธ์ิ เรยี นการสอน พัฒนา ระเบียบวนิ ยั ทศั นคติ
หลกั สตู ร การ ทางการเรยี น แบบ Active หลกั สตู ร การ ท่ีถกู ตอ้ งผา่ น
เรยี นการสอน Learning เรียนการสอน กระบวนการลกู เสอื
การวดั และ 2. พฒั นา การวดั และ เนตรนารี
ประเมินผล หลักสตู รวดั ประเมนิ ผล - การจัดการเรียนการ
และประเมิน ท่ี 3 การ สอนทสี่ ่งเสริมการคดิ
ทางการศึกษา เสรมิ สร้าง วิเคราะหด์ ว้ ยวธิ ีการ
3. พฒั นาสอื่ ประสทิ ธภิ าพ Active Learning
การเรยี นการ การจัด - การพฒั นาครูให้มี
สอน การศกึ ษาของ ความชานาญในการ
4. ส่งเสรมิ โรงเรยี น จดั การเรียนรู้
คณุ ธรรม เอกชน ภาษาอังกฤษและ
จริยธรรม ที่ 7 การ ภาษาคอมพิวเตอร์
พฒั นาระบบ (Coding)
การบรหิ าร - การจดั การเรียนรู้
จัดการสง่ เสริม ด้วย STEM Educa-
การศกึ ษา tion
เอกชน - การสง่ เสรมิ ทักษะ
การอา่ น เขยี น
ภาษาไทยเพ่อื ใช้เปน็
เคร่อื งมอื ในการเรียนรู้
ภาษาอน่ื
ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 2 2. โครงการ 75 ดี 76.92 ดี 1. พัฒนา ท่ี 4 การ - การจดั การเรียนการ
การส่งเสรมิ สง่ เสรมิ การใช้
การใช้ เทคโนโลยีดจิ ิทลั กระบวนกา สง่ เสริมการมี สอนเพือ่ ฝึกทกั ษะการ
เทคโนโลยี เพ่อื การศึกษา ส่วนรว่ มใน คดิ แบบมีเหตุผลและ
ดจิ ิทลั เพอ่ื รจัดทา การจัดและ เป็นข้นั ตอน (Coding)
การศึกษา ระบบ สนับสนนุ - การใช้ดิจทิ ัล
ฐานขอ้ มลู การศึกษา แพลตฟอรม์ เพอ่ื การ
ทาง เอกชน เรียนรหู้ รอื สร้างอาชพี
10
การศกึ ษา
ของ
สถานศกึ ษา
ให้เปน็
ปัจจบุ ัน
2. ผลติ สอื่
ให้ผู้เรยี นได้
ใช้ในการ
เรียนรู้
3. จัดหา
อปุ กรณ์ด้าน
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ให้กับผเู้ รียน
และ
เหมาะสม
กบั การ
แสวงหา
ความรูด้ ้วย
ระดบั การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 80 ดีเลศิ 85.87 ดเี ลิศ ยุทธศาสตร์ ประเดน็ ตัวชวี้ ัด
ท่ี 1,3,4,7 ท่ี 1,3,4,5,6,9,10
ยุทธศาสตร์ที่ 1 1. โครงการยก 80 ดเี ลิศ 86.09 ดเี ลศิ 1. การ ที่ 1 การ - การปลกู ฝังความมี
การพฒั นา ผลสัมฤทธิ์
หลกั สตู ร การ ทางการเรยี น จดั การเรยี น พฒั นา ระเบียบวนิ ยั ทศั นคติ
เรียนการสอน การสอน หลักสตู ร การ ทถี่ ูกตอ้ งผ่าน
การวัดและ แบบ Ac- เรยี นการสอน กระบวนการลูกเสือ
ประเมนิ ผล tive Learn- การวัดและ เนตรนารี
ing ประเมนิ ผล - การจัดการเรยี นการ
2. พฒั นา ที่ 3 การ สอนท่ีส่งเสริมการคิด
เสรมิ สรา้ ง วเิ คราะหด์ ว้ ยวธิ ีการ
หลักสตู รวัด ประสทิ ธภิ าพ Active Learning
และประเมนิ การจัด - การพัฒนาครูใหม้ ี
ทาง การศึกษาของ ความชานาญในการ
การศกึ ษา โรงเรยี น จดั การเรียนรู้
เอกชน ภาษาองั กฤษและ
ท่ี 7 การ ภาษาคอมพวิ เตอร์
พัฒนาระบบ (Coding)
11
3. พัฒนาสือ่ การบริหาร - การจัดการเรียนรู้
การเรียน จัดการสง่ เสรมิ ดว้ ย STEM Educa-
การสอน การศกึ ษา tion
4. ยกระดับ เอกชน - การสง่ เสรมิ ทกั ษะ
ผลสมั ฤทธิ์ การอา่ น เขียน
ทางการ ภาษาไทยเพอ่ื ใช้เป็น
เรยี น เครอื่ งมือในการเรียนรู้
ภาษาอนื่
5. สง่ เสรมิ
คณุ ธรรม
จรยิ ธรรม
12
ยุทธศาสตร์ที่ 2 2. โครงการ 80 ดเี ลิศ 87.42 ดีเลิศ 1. พัฒนา ท่ี 4 การ - การจดั การเรยี นการ
การส่งเสริม ส่งเสรมิ การใช้ กระบวนกา สง่ เสรมิ การมี สอนเพ่ือฝึกทกั ษะการ
การใช้ เทคโนโลยีดิจิทลั รจดั ทา ส่วนร่วมใน คิดแบบมเี หตผุ ลและ
เพอื่ การศกึ ษา ระบบ การจดั และ เป็นข้นั ตอน (Coding)
เทคโนโลยี ฐานข้อมลู สนับสนนุ - การใชด้ ิจทิ ลั
ดิจทิ ัลเพอื่ ทาง การศึกษา แพลตฟอร์มเพอ่ื การ
การศึกษา การศึกษา เอกชน เรียนรหู้ รอื สรา้ งอาชพี
ของ
สถานศกึ ษา
ใหเ้ ป็น
ปจั จุบัน
2. ผลติ สอ่ื
ใหผ้ ู้เรียนได้
ใชใ้ นการ
เรยี นรู้
3. จดั หา
อุปกรณ์ดา้ น
เทคโนโลยี
สารสนเทศ
ให้กบั ผ้เู รียน
และ
เหมาะสม
กับการ
แสวงหา
ความร้ดู ว้ ย
ยุทธศาสตร์ที่ 3 3. โครงการ 80 ดเี ลศิ 84.11 ดีเลิศ 1. พฒั นา ที่ 2 การ
พัฒนาระบบ พัฒนาระบบ ระบบ ปฏริ ูประบบ
บริหารจดั และ บรหิ ารจดั และ บรหิ ารงาน ทรพั ยากรเพอ่ื
สง่ เสริมให้ สง่ เสริมใหช้ ุมชน งบประมาณ การศึกษา
ชุมชนมสี ว่ น มสี ่วนรว่ ม /การเงนิ ให้ เอกชน
รว่ มในการจดั มี
การศึกษา ประสิทธิภา
พ
13
2. สง่ เสริม
ใหช้ ุมชนมี
สว่ นร่วม
สนบั สนนุ ใน
การจัด
การศึกษา
4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รยี น
4.1 ระดบั ปฐมวัย
ผลการพัฒนาเด็ก
จานวน ร้อยละของเด็กตามระดบั คุณภาพ
ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ
ผลพัฒนาการดา้ น เด็ก จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ
58 89.23 4 6.15 3 4.62
ทงั้ หมด 60 92.31 2 3.08 3 4.62
59 90.77 4 6.15 2 3.08
1. ดา้ นรา่ งกาย 65 55 84.62 6 9.23 4 6.15
2. ด้านอารมณ์-จิตใจ 65
3. ดา้ นสังคม 65
4. ด้านสตปิ ญั ญา 65
4.2 ระดบั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาตขิ ้ันพืน้ ฐาน (O-NET)
เปรยี บเทยี บผลการทดสอบระดบั ชาตขิ ้นั พน้ื ฐาน (O-NET) ของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที ่ี 6
วิชา จานวน จานวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี ผลการ *** *** ***
นักเรยี น นักเรียน ระดบั ทดสอบ (O-NET) ผลตา่ ง รอ้ ยละของ แปลผล
ท้งั หมด ท่เี ข้าสอบ ประเทศ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ีย พัฒนาการเทียบกบั
ปี 2563 2561 2562 2563 รอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)
คณติ ศาสตร์ 16 16 29.99 43.79 34.24 36.88 2.64 7.71 มีพฒั นาการ
วิทยาศาสตร์ 16 16 38.78 43.14 33.68 42.48 8.80 26.13 มีพัฒนาการ
ภาษาไทย 16 16 56.20 62.10 50.04 63.52 13.48 26.94 มีพฒั นาการ
ภาษาอังกฤษ 16 16 43.55 47.50 28.79 44.53 15.74 54.67 มพี ัฒนาการ
*** (4) = (3) – (2) กรณีที่มผี ลต่างคะแนนเฉลย่ี (4) ติดลบ ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ใหใ้ สเ่ ครอ่ื งหมายลบ
(2) มคี า่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตั้งแต่ 3.00 ขึน้ ไป แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลว่า “มพี ัฒนาการแต่ไม่ถงึ ร้อยละ 3”
มคี ่ารอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มีพฒั นาการ”
14
จานวนและร้อยละของนกั เรยี นทมี่ ีผลการเรียนระดับ 3 ขึ้นไป
ระดับประถมศกึ ษา
ระดับผลการเรียน
กลุ่มสาระ ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6
การเรียนรู้/
รายวชิ า จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน
นกั เรยี นท่ี นกั เรียนทีม่ ี
ภาษาไทย นักเรยี มผี ลระดบั ร้อยละ นกั เรยี นักเรีย นกั เรยี น ผลระดับ 3 รอ้ ยละ
3 ขนึ้ ไป ข้นึ ไป
จานวน นทมี่ ผี ล ร้อยละ จานวน จานวน นท่ีมผี ล ร้อยละ จานวน นที่มผี ล ร้อยละ จานวน ทมี่ ผี ล ร้อยละ จานวน
นกั เรียน ระดบั นกั เรียน นกั เรยี น ระดบั นักเรียน ระดบั 3 นกั เรียน ระดับ 3 นกั เรยี น
3 ขึน้ ไป 3 ข้ึนไป ขึ้นไป 19 ข้ึนไป
23 18 78.26 28 25 89.29 39 39 100 26 26 100 19 100 16 16 100
คณิตศาสตร์ 23 14 60.87 28 26 92.86 39 35 89.74 26 22 84.62 19 15 78.95 16 16 100
วิทยาศาสตรแ์ ละ 23 18 78.26 28 25 89.29 39 34 87.18 26 25 96.15 19 19 100 16 16 100
เทคโนโลยี
สังคมศึกษา ศาสนา 23 17 73.91 28 22 78.57 39 36 92.31 26 26 100 19 19 100 16 16 100
และวัฒนธรรม
ประวัตศิ าสตร์ 23 12 52.17 28 22 78.57 39 35 89.74 26 26 100 19 19 100 16 16 100
สุขศึกษาและ 23 23 100 28 28 100 39 39 100 26 26 100 19 19 100 16 16 100
พลศกึ ษา
ศลิ ปะ 23 23 100 28 28 100 39 37 94.87 26 26 100 19 19 100 16 16 100
การงานอาชพี 23 23 100 28 28 100 39 39 100 26 26 100 19 19 100 16 16 100
ภาษาตา่ งประเทศ 23 14 60.87 28 19 67.86 39 38 97.44 26 26 100 19 19 100 16 16 100
ผลการประเมินการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (National Test : NT)
เปรยี บเทียบผลการทดสอบสมรรถนะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สมรรถนะ จานวน จานวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***
นักเรียน นกั เรยี น ระดับ สมรรถนะ ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ทั้งหมด ท่เี ขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการเทยี บกบั
ปี 2563 2561 2562 2563 รอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)
ดา้ นภาษา 39 39 47.46 60.12 49.11 50.47 1.36 2.77 มีพัฒนาการแต่
(Literacy) ไมถ่ ึงรอ้ ยละ 3
ดา้ นคานวณ 39 39 40.47 61.55 57.73 48.25 -9.48 -16.42 ไม่มีพฒั นาการ
(Numeracy)
ดา้ นเหตผุ ล - - - -- - - - -
(reasoning)
*** (4) = (3) – (2) กรณีทีม่ ผี ลต่างคะแนนเฉลี่ย (4) ติดลบ ให้ใส่เคร่อื งหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ให้ใส่เครอื่ งหมายลบ
(2) มคี ่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตง้ั แต่ 3.00 ข้นึ ไป แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการ”
*** (6) การแปลผลพฒั นาการ มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลยี่ (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ฒั นาการแต่ไม่ถงึ รอ้ ยละ 3”
มีค่าร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ตดิ ลบ แปลผลว่า “ไม่มีพัฒนาการ”
15
ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอา่ นของผูเ้ รียน (Reading Test : RT)
เปรียบเทียบผลการทดสอบความสามารถด้านการอา่ นของนักเรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1
ความสามารถ จานวน จานวน คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลยี่ ผลการทดสอบ *** *** ***
ด้านการอา่ น นักเรียน นักเรียน ระดบั ด้านการอา่ น ผลต่าง รอ้ ยละของ แปลผล
ท้งั หมด ทเี่ ขา้ สอบ ประเทศ คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลีย่ พัฒนาการเทียบกบั
ปี 2563 2561 2562 2563 รอ้ ยละ 3
(1) (2) (3) (4) (5)
(6)
อา่ นรูเ้ ร่อื ง 23 23 71.86 86.90 75.61 65.82 -9.79 -12.95
อา่ นออกเสยี ง 23 23 74.14 75.15 88.24 61.56 -26.68 -30.24 ไม่มีพฒั นาการ
ไมม่ พี ฒั นาการ
*** (4) = (3) – (2) กรณที ่ีมีผลต่างคะแนนเฉล่ีย (4) ติดลบ ให้ใส่เครื่องหมายลบ
*** (5) = (4) x 100 ร้อยละของคะแนนเฉลยี่ (5) ใหใ้ สเ่ คร่อื งหมายลบ
(2) มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ตั้งแต่ 3.00 ข้นึ ไป แปลผลว่า “มพี ัฒนาการ”
*** (6) การแปลผลพัฒนาการ มคี า่ รอ้ ยละของคะแนนเฉลย่ี (5) 0.1 – 2.99 แปลผลวา่ “มพี ัฒนาการแตไ่ มถ่ ึงรอ้ ยละ 3”
มีคา่ ร้อยละของคะแนนเฉลย่ี (5) ติดลบ แปลผลว่า “ไม่มพี ฒั นาการ”
5. นวตั กรรม/แบบอย่างทีด่ ี (Innovation /Best Practice )
นวตั กรรม (Innovation) หมายถึง แนวคิดหรือวิธกี ารที่นามาใชใ้ นการปฏิบตั ิ เพ่ือแก้ปัญหาหรอื เพ่ือการพฒั นา ซงึ่ ทา
ให้เกิดการเปล่ียนแปลงทางความคิด กระบวนการ หรือองค์กร อย่างสิ้นเชิงหรือเห็นได้ชัด เป็นการพัฒนาต่อยอด เพ่ิมมูลค่า มี
เปา้ หมายในเชงิ บวก ซึ่งมีเกณฑ์การพจิ ารณา คอื มคี วามสร้างสรรค์ (C – Creative), มีความใหม่ในบรบิ ทนั้นๆ (N - New) มี
คุณค่ามปี ระโยชน์ (V – Value-Added) และปรบั ใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม (A - Adaptive)
แบบอย่างที่ดี (Best - Practice) หมายถึง รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขน้ึ ตอนการปฏิบัตทิ ี่ทาให้สถานศกึ ษาประสบความสาเรจ็
หรือสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมาย เป็นท่ียอมรับในวงวิชาการหรือวิชาชีพ มีหลักฐานของความสาเร็จปรากฏชัดเจน โดยมีการสรุป
รูปแบบวิธีปฏิบัติหรือขั้นตอน การปฏิบัติตลอดจนความรู้และประสบการณ์ มีร่องรอยหลักฐานเชิงประจักษ์ เผยแพร่ให้หน่วยงาน
ภายในหรอื ภายนอกสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ช่อื นวัตกรรม/แบบอยา่ งท่ดี ี มาตรฐานดา้ น ระดบั การศึกษา
1. การเรยี นการสอนแบบสบื เสาะ 7E คณุ ภาพผู้เรียน อนุบาล1 –
2. การเรยี นการสอนแบบบูรณาการ STEM คณุ ภาพผู้เรยี น ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
อนุบาล1 –
3. การเรียนการสอนแบบ Active Learning คุณภาพผู้เรียน
4. มีเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนนุ การบริหาร ประถมศกึ ษาปีที่ 6
จดั การและการจดั การเรียนรทู้ ี่เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียน กระบวนการบริหาร อนุบาล1 –
ได้มสี ่วนรว่ ม และการจดั การ
ประถมศึกษาปที ี่ 6
อนุบาล1 –
ประถมศกึ ษาปีที่ 6
5. ม่งุ เนน้ การพฒั นาใหผ้ ู้เรียนมีคณุ ภาพตาม กระบวนการบริหาร 16
มาตรฐานการเรียนรู้ตามหลกั สูตรสถานศกึ ษา และการจดั การ
6. ครมู ีจัดบรรยากาศท่ีเอือ้ ตอ่ การเรยี นรใู้ ช้สื่อและ อนบุ าล1 –
เทคโนโลยีสารสนเทศ กระบวนการจดั การเรียนการ ประถมศึกษาปีที่ 6
สอนท่เี นน้ ผูเ้ รียน
7. ครมู ีการจดั การเรียนการสอนแบบสบื เสาะ 7E เปน็ สาคัญ อนุบาล1 –
ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
8. ครมู กี ารจัดการเรยี นการสอนแบบบรู ณาการ กระบวนการจัดการเรียนการ
สอนทเ่ี นน้ ผู้เรียน อนบุ าล1 –
เปน็ สาคญั ประถมศึกษาปที ี่ 6
กระบวนการจัดการเรียนการ อนบุ าล1 –
สอนทเ่ี น้นผู้เรียน ประถมศกึ ษาปที ี่ 6
เปน็ สาคัญ
6. รางวัลทส่ี ถานศกึ ษาได้รบั ประเภทรางวลั ระดับ หน่วยงาน หมายเหตุ
6.1 ปกี ารศึกษาปจั จุบัน ท่มี อบรางวัล
รองชนะเลศิ อันดบั เขตพน้ื ท/่ี จังหวัด
ชื่อรางวัล 1 ระดบั เหรียญทอง ภาค/ประเทศ สานกั งานศกึ ษาธิการ
นานาชาติ จังหวดั หนองคาย
1. การแขง่ ขันคิดเลขเรว็
ชว่ งชนั้ ป.1-ป.3 รองชนะเลิศอันดับ เขตพ้ืนที/่ จังหวัด สานักงานศกึ ษาธกิ าร
1 ระดบั เหรยี ญทอง ภาค/ประเทศ จังหวัดหนองคาย
2. การแขง่ ขันอจั ฉริยภาพทาง นานาชาติ
คณิตศาสตร์ ชว่ งช้ัน ป.1-ป.3 สานักงานศกึ ษาธิการ
รองชนะเลิศอันดับ เขตพน้ื ท/ี่ จงั หวัด จังหวัดหนองคาย
3. การแข่งขันสรา้ งการต์ ูนดว้ ย 1 ระดับเหรียญทอง ภาค/ประเทศ
โปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟฟิก นานาชาติ สานักงานศึกษาธิการ
ชว่ งชน้ั ป.1-ป.3 จงั หวัดหนองคาย
4. การแขง่ ขนั ประดิษฐข์ องใชจ้ าก ชนะเลศิ ระดบั เขตพ้นื ท/่ี จงั หวดั
วัสดุธรรมชาติในทอ้ งถิ่น ช่วงชัน้ ป.4- เหรยี ญทอง ภาค/ประเทศ สานกั งานศึกษาธิการ
ป.6 นานาชาติ จังหวัดหนองคาย
5. การผูกเงอื่ น เดนิ ทรงตัวและโยน
บอล ชว่ งชัน้ ป.1-ป.3 รองชนะเลศิ อนั ดับ เขตพืน้ ที/่ จงั หวัด
2 ระดับเหรยี ญทอง ภาค/ประเทศ
นานาชาติ
6.2 ปีการศกึ ษาทผี่ ่านมา (ย้อนหลงั ไมเ่ กนิ 3 ป)ี 17
ช่ือรางวลั ปี พ.ศ..... หน่วยงาน หมายเหตุ
ท่ไี ดร้ ับรางวลั ทม่ี อบรางวัล -
-
1. โรงเรียนรางวัลพระราชทาน - - -
- -
2. นักเรยี นรางวัลพระราชทาน - - -
-
3. โรงเรยี นมาตรฐานสูส่ ากล (มาตรฐาน สช.) - -
4. โรงเรียนคุณธรรม (ระดับ สช. ระดบั กระทรวง) -
5. โรงเรียนเศรษฐกิจพอเพียง -
7. การดาเนนิ งานตามนโยบายและจุดเนน้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร มี ไมม่ ี
√
นโยบายและจุดเน้น √
1. จดั การศึกษาทุกระดับ ทุกประเภท โดยใชห้ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ รวมทั้งแนวทาง
การจดั การเรียนรเู้ ชิงรุกและการวดั ประเมนิ ผลเพื่อพฒั นาผเู้ รยี น ทีส่ อดคล้องกับ √
มาตรฐานการศึกษาแห่งชาติ
2. สง่ เสรมิ การพฒั นากรอบหลกั สูตรระดบั ท้องถิ่นและหลกั สตู รสถานศกึ ษาตามความ √
ต้องการจาเป็นของกลุ่มเป้าหมายและแตกตา่ งหลากหลายตามบรบิ ทของพนื้ ท่ี √
3. พัฒนาผู้เรียนใหม้ ที ักษะการคดิ วิเคราะห์ สามารถแกไ้ ขสถานการณ์เฉพาะหนา้ ได้
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยจดั การเรียนรเู้ ชงิ รกุ (Active Learning) จากประสบการณ์ √
จริงหรอื จากสถานการณ์จาลองผ่านการลงมือปฏบิ ัติ ตลอดจนจัดการเรียนการสอนใน
เชงิ แสดงความคดิ เห็นเพื่อเปดิ โลกทัศนม์ ุมมองร่วมกนั ของผูเ้ รยี นและครใู หม้ ากขนึ้ √
4. พฒั นาผูเ้ รียนให้มคี วามรอบรแู้ ละทักษะชีวติ เพ่ือเปน็ เคร่ืองมือในการดารงชวี ติ และ √
สร้างอาชพี อาทิ การใชเ้ ทคโนโลยีดิจิทลั สุขภาวะและทัศนคตทิ ด่ี ีต่อการดูแลสุขภาพ
5. พัฒนาครใู ห้มีทกั ษะ ความรู้ และความชานาญในการใชเ้ ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั
ปัญญาประดิษฐ์ และภาษาอังกฤษ รวมทั้งการจัดการเรียนการสอนเพ่ือฝึกทักษะการ
คิดวิเคราะห์อย่างเปน็ ระบบและมเี หตผุ ลเป็นขัน้ ตอน
6. ส่งเสริมใหใ้ ชภ้ าษาทอ้ งถนิ่ รว่ มกับภาษาไทยเป็นสื่อจัดการเรียนการสอนในพื้นที่ทใ่ี ช้
ภาษาอย่างหลากหลาย เพื่อวางรากฐานใหผ้ เู้ รยี นมีพฒั นาการด้านการคิดวเิ คราะห์
รวมท้ังมีทักษะการสื่อสารและใชภ้ าษาทีส่ ามในการต่อยอดการเรียนร้ไู ด้อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ
7. ปลูกฝังผเู้ รียนให้มีหลกั คิดทถ่ี กู ต้องดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความ
พอเพียง วินยั สุจรติ จติ อาสา โดยกระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด
8. พฒั นาแพลตฟอร์มดิจิทัลเพ่อื การเรยี นรู้ และใชด้ จิ ิทลั เปน็ เครอื่ งมือการเรียนรู้
18
9. เสริมสร้างการรบั รู้ ความเข้าใจ ความตระหนัก และส่งเสรมิ คุณลกั ษณะและ √
พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อม √
10. ส่งเสรมิ การพัฒนาสิ่งประดิษฐแ์ ละนวตั กรรมที่เปน็ มติ รกบั สิ่งแวดล้อม ให้สามารถ √
เป็นอาชพี และสรา้ งรายได้ √
11. สนบั สนนุ กจิ กรรมการป้องกนั และปราบปรามการทุจริตและประพฤตมิ ชิ อบ
12. พฒั นาครูทุกระดับใหม้ ีทักษะ ความรทู้ ี่จาเป็น เพอื่ ทาหนา้ ทว่ี ทิ ยากรมืออาชีพ √
(Train The Trainer) และขยายผลการพฒั นาผ่านศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคคลเพอ่ื
ความเปน็ เลศิ (Human Capital Excellence Center: HCEC)
13. ใหผ้ เู้ รียน ครู ผบู้ รหิ ารทางการศึกษามีแผนพัฒนารายบุคคลผ่านแผนพัฒนา
รายบคุ คลสู่ความเป็นเลิศ (Excellence Individual Development Plan :EIDP)
8. ผลการประเมินคณุ ภาพภายนอกของ สมศ. ทผี่ ่านมา
รอบการประเมิน ระดับคุณภาพผลการประเมิน
รอบท่ี 2 (พ.ศ. 2549 – 2553) ระดับปฐมวัย ระดับการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
รอบท่ี 3 (พ.ศ. 2554 – 2558)
รอบที่ 4 (พ.ศ. 2559 – 2563) --
--
ดา้ นท่ี 1 ดีมาก ดา้ นท่ี 1 ดีมาก
ด้านที่ 2 ดีมาก ด้านท่ี 2 ดีมาก
ด้านท่ี 3 ดีมาก ดา้ นที่ 3 ดมี าก
9. หน่วยงานภายนอกทโี่ รงเรียนเขา้ ร่วมเป็นสมาชิก
สมาคมคณะกรรมการประสานและสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน
สมาคมสหพันธ์โรงเรียนเอกชนแห่งประเทศไทย
สมาคมครูสถานศึกษาเอกชนแหง่ ประเทศไทย
สมาคมประถมศกึ ษาเอกชนแห่งประเทศไทย
สมาคมอนุบาลศึกษาแห่งประเทศไทย ในพระราชปู ถมั ภฯ์
สมาคมสภาการศึกษาคาทอลิกแหง่ ประเทศไทย
สมาคมครูโรงเรียนเอกชนคาทอลกิ แห่งประเทศไทย
สมาคมโรงเรียนสอนภาษาจีน
สมาคมโรงเรียนนานาชาตแิ ห่งประเทศไทย
19
สว่ นที่ 3
ผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
1. ผลการประเมนิ รายมาตรฐาน
ระดับปฐมวยั
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก การปฏบิ ตั งิ าน จานวนเด็ก (คน) *** ผลการ
ไม่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมิน
ประเด็นพจิ ารณา ทงั้ หมด ผ่านเกณฑ์ท่ี
ปฏิบตั ิ ปฏิบตั ิ (รอ้ ยละ) กาหนด (ร้อยละ) คุณภาพทไ่ี ด้
1 มพี ฒั นาการด้านร่างกาย แข็งแรง
มีสขุ นิสยั ท่ดี ี และดแู ลความ 80 65 57 87.69 ดเี ลศิ
ปลอดภยั ของตนเองได้
65 - 60 92.31
1.1 รอ้ ยละของเดก็ มีน้าหนกั สว่ นสูงตาม 65 - 55 84.62
เกณฑ์มาตรฐาน 65 - 53 81.54
1.2 รอ้ ยละของเด็กเคลื่อนไหวรา่ งกาย
คลอ่ งแคลว่ ทรงตัวไดด้ ี ใชม้ อื และตา 65 - 61 93.85
ประสานสัมพันธ์ไดด้ ี
1.3 ร้อยละของเด็กดูแลรักษาสุขภาพ 80 65 56 86.15 ดเี ลิศ
อนามัยสว่ นตนและปฏบิ ัตจิ นเปน็ นสิ ยั
1.4 รอ้ ยละของเด็กปฏบิ ตั ติ นตามข้อตกลง 65 - 59 90.77
เกีย่ วกบั ความปลอดภยั หลกี เลีย่ งสภาวะ 65 - 54 83.08
ท่ีเสย่ี งตอ่ โรค สิ่งเสพติด และระวงั ภัยจาก 89.23
บคุ คล สง่ิ แวดลอ้ ม และสถานการณ์ท่เี สย่ี ง - 58 84.62
อันตราย 65 86.15
55 81.54
2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ 65 - 56
ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ 65 - 53
ได้
65 -
2.1 ร้อยละของเดก็ รา่ เรงิ แจ่มใส
แสดงอารมณ์ ความรู้สกึ ได้เหมาะสม
2.2 รอ้ ยละของเด็กร้จู ักยบั ย้งั ช่งั ใจ
อดทนในการรอคอย
2.3 รอ้ ยละของเด็กยอมรับและพอใจใน
ความสามารถ และผลงานของตนเองและ
ผู้อน่ื
2.4 ร้อยละของเดก็ มีจติ สานกึ และค่านยิ ม
ทีด่ ี
2.5 รอ้ ยละของเด็กมคี วามม่ันใจ กลา้ พดู
กล้าแสดงออก
2.6 รอ้ ยละของเดก็ ช่วยเหลอื แบ่งปัน
20
การปฏบิ ัตงิ าน จานวนเดก็ (คน) *** ผลการ
ผลการประเมิน ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา เป้าหมาย ท้ังหมด ผ่านเกณฑท์ ี่
ปฏิบตั ิ ไม่ (รอ้ ยละ) กาหนด (รอ้ ยละ) คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ 83.08
80.00
2.7 รอ้ ยละของเด็กเคารพสทิ ธิ รู้หนา้ ท่ี 65 - 54 92.31
รับผดิ ชอบ อดทนอดกลั้น 87.69 ดเี ลศิ
80.00
2.8 รอ้ ยละของเด็กซอ่ื สัตย์สุจรติ มคี ณุ ธรรม 65 - 52 86.15
จริยธรรม ตามที่สถานศกึ ษากาหนด 60 92.31
95.38
2.9 รอ้ ยละของเดก็ มคี วามสุขกบั ศลิ ปะ 65 -
ดนตรี และการเคลื่อนไหว 84.62
3 มพี ัฒนาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลอื 80 65 57 89.23
ตนเองและเป็นสมาชิกทดี่ ขี องสงั คม
83.08 ดเี ลิศ
3.1 รอ้ ยละของเด็กชว่ ยเหลือตนเอง 65 - 52
ในการปฏบิ ัตกิ ิจวตั รประจาวนั มวี นิ ยั 56 81.54
60 80.00
ในตนเอง 76.92
62
3.2 รอ้ ยละของเดก็ ประหยดั และพอเพยี ง 65 - 78.46
3.3 ร้อยละของเด็กมสี ่วนรว่ มดแู ลรกั ษา 65 -
สง่ิ แวดลอ้ มในและนอกห้องเรยี น
3.4 รอ้ ยละของเดก็ มีมารยาทตามวัฒนธรรม
ไทย เชน่ การไหว้ การยม้ิ ทกั ทาย และ 65 -
มสี ัมมาคารวะกบั ผใู้ หญ่ ฯลฯ
3.5 รอ้ ยละของเด็กยอมรับหรอื เคารพ
ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เชน่ ความคิด 65 - 55
พฤติกรรม พืน้ ฐานครอบครัว เชอื้ ชาติ
ศาสนา วัฒนธรรม เปน็ ต้น
3.6 ร้อยละของเด็กเล่นและทางานร่วมกับ
ผู้อ่ืนได้ แกไ้ ขขอ้ ขดั แย้งโดยปราศจาก 65 - 58
การใชค้ วามรนุ แรง 65 54
53
4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ัญญา สื่อสาร 52
50
ได้ มที ักษะการคิดพน้ื ฐาน และ 80
แสวงหาความรูไ้ ด้
4.1 ร้อยละของเด็กสนทนาโต้ตอบและ 65 -
เลา่ เร่อื งให้ผอู้ น่ื เข้าใจ
4.2 รอ้ ยละของเด็กตงั้ คาถามในสง่ิ ที่
ตนเองสนใจหรือสงสยั และพยายามคน้ หา 65 -
คาตอบ
4.3 ร้อยละของเดก็ อ่านนทิ านและเลา่ เรอื่ ง 65 -
ท่ีตนเองอา่ นได้เหมาะสมกับวยั
4.4 รอ้ ยละของเดก็ มีความสามารถในการ
คดิ รวบยอด การคดิ เชงิ เหตผุ ลทาง 65 - 51
คณติ ศาสตรแ์ ละวทิ ยาศาสตร์ การคิด
แกป้ ัญหาและสามารถตดั สินใจในเร่อื ง
ง่าย ๆ ได้
21
การปฏบิ ตั งิ าน จานวนเดก็ (คน) *** ผลการ
ไม่ เป้าหมาย ผลการประเมิน ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ท้งั หมด ผ่านเกณฑ์ท่ี
ปฏบิ ตั ิ ปฏิบตั ิ (ร้อยละ) กาหนด (รอ้ ยละ) คณุ ภาพท่ไี ด้
4.5 รอ้ ยละของเด็กสร้างสรรคผ์ ลงานตาม 65 - 60 92.31
ความคดิ และจนิ ตนาการ เช่น งานศิลปะ
การเคล่อื นไหวท่าทาง การเล่นอสิ ระ ฯลฯ 65 - 58 89.23
4.6 ร้อยละของเดก็ ใชส้ ือ่ เทคโนโลยี เชน่
แว่นขยาย แม่เหลก็ กล้องดิจิตอล ฯลฯ เป็น ผลรวมผลการประเมินทุกประเดน็ พจิ ารณา 86.15 ดีเลิศ
เครอื่ งมอื ในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ จานวนประเด็นพจิ ารณา
ได้
= 100 x จานวนเด็กผา่ นเกณฑ์ทโี่ รงเรยี นกาหนด
สรปุ ผลการประเมิน = จานวนเดก็ ท้ังหมด
หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสีขาว = กาลังพฒั นา
วิธีคานวณ = ปานกลาง
= ดี
*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = ดเี ลิศ
= ยอดเย่ียม
แปลผลการประเมนิ คณุ ภาพท่ีได้
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99
ร้อยละ 50.00 – 59.99
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99
รอ้ ยละ 90.00 – 100
จดุ เนน้ และกระบวนการพัฒนาทส่ี ่งผลต่อระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 1
โรงเรียนอนบุ าลอรวรรณได้ดาเนนิ การพัฒนาให้เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น โดยใช้กระบวนการพัฒนาและมี
ผลการดาเนินงาน ของรายละเอียดมาตรฐานท่ี 1 ดงั น้ี
ข้อ 1. มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นสิ ยั ทด่ี ี และดแู ลความปลอดภัยของตนเองได้
1.1 เด็กมีน้าหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน ครูได้ดาเนินการชั่งน้าหนัก วัดส่วนสูงของเด็กทุกเดือน จัด
อาหารกลางวันใหเ้ ด็กได้รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่ ปลูกฝงั ให้เดก็ รบั ประทานอาหารทม่ี ีประโยชน์ มฝี า่ ยโภชนาการ
ของโรงเรียนดูแลอาหารสาหรับเด็กเป็นประจาอย่างสม่าเสมอ ส่งเสริมการออกกาลังกายตอนเช้า โดยจัดโครงการ
อาหารกลางวัน โครงการอาหารเสริมนม ให้ดื่มนมเป็นประจาทุกวัน ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 60 คน ร้อยละ
92.31 มนี า้ หนักสว่ นสงู เป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน
1.2 เดก็ เคล่ือนไหวรา่ งกายคลอ่ งแคล่ว ทรงตัวไดด้ ี ใช้มือและตาประสานสมั พันธไ์ ด้ดี จดั กจิ กรรมส่งเสรมิ ให้เด็ก
มที ักษะการเคลอื่ นไหวตามวยั โดยจดั กิจกรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะทุกวนั ออกกาลังกาย เลน่ กลางแจ้ง ให้เด็กไดเ้ ล่น
เครือ่ งเลน่ สนาม เลน่ เครอื่ งเล่นในร่ม จัดกิจกรรมทดสอบสมรรถภาพทางกายโดยทดสอบสมรรถภาพทางกายเด็กภาค
22
เรียนละ 1 คร้ัง เพื่อให้เด็กมีทักษะการเคลื่อนไหวทุกส่วนของร่างกาย จัดกิจกรรมแอโรบิคยามเช้ากิจกรรมทดสอบ
สมรรถภาพทางกายผลการดาเนนิ งาน ส่งผลให้เดก็ 55 คน รอ้ ยละ 84.62 เคล่อื นไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัว
ได้ดี
1.3 เด็กดูแลรักษาสุขภาพอนามัยส่วนตนและปฏิบัติจนเป็นนิสัย ฝึกให้เด็กรู้จักการดูแลสุขภาพอนามัยของ
ตนเอง โดยจัดกิจกรรมตรวจสุขภาพประจาวันกิจกรรมตรวจสุขภาพประจาปี ได้รับความร่วมมือจากโรงพยาบาล
ส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบล ใหก้ ารดูแลสุขภาพปากและฟนั ของเด็ก โดยการตรวจฟนั และให้ความรู้เด็กในการรักษาสุขภาพ
ปากและฟัน การแปรงฟันที่ถูกวิธี เร่ืองวิธีการล้างมืออย่างถูกวิธี 7 ข้ันตอน การใช้ห้องน้า ห้องส้วมที่ถูกวิธี และการ
รณรงค์การล้างมือการรักษาสุขภาพฟัน การรักษาสุขอนามัยผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 53 คน ร้อยละ 81.54
ดแู ลรกั ษาสขุ ภาพอนามยั ส่วนตนและปฏบิ ัตจิ นเป็นนิสยั
1.4 เดก็ ปฏบิ ตั ิตนตามข้อตกลงเกยี่ วกบั ความปลอดภยั หลีกเล่ยี งสภาวะทเ่ี ส่ียงตอ่ โรค สิ่งเสพตดิ และระวังภัย
จากบุคคล สิ่งแวดล้อม และสถานการณ์ท่ีเสี่ยงอันตราย โรงเรียนมีนโยบายเรื่องการรักษาความปลอดภัยและการ
ป้องกันโรคระบาดในเด็ก โดยครูติดข้อตกลงในห้องเรียน ให้เด็กท่องและปฏิบัติ เด็กสามารถปฏิบัติตามข้อตกลงของ
เก่ียวกับความปลอดภัยในห้องเรียนได้ เช่น ไม่ปีนโต๊ะ ไม่ว่ิงในห้องเรียน ไม่เล่นของแหลมมีคมกาหนดกฎระเบียบใน
การเดิน การใช้อุปกรณ์ต่าง ให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ และจัดโครงการส่งเสริมความปลอดภัย
กิจกรรมรณรงค์ต่อต้านสิ่งเสพติดผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 61 คน ร้อยละ 93.85 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง
เก่ียวกับความปลอดภัยหลีกเลี่ยงสภาวะที่เส่ียงต่อโรคส่ิงเสพติดและระวังภัยจากบุคคลส่ิงแวดล้อมและสถานการณ์ท่ี
เส่ยี งอนั ตราย
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 1 ข้อ 1. ส่งผลให้มีเด็ก 57 คน ร้อยละ 88.08 มีพัฒนาการด้าน
รา่ งกาย แข็งแรง มสี ขุ นสิ ยั ท่ดี ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ มคี ุณภาพระดบั ดเี ลศิ
ขอ้ 2. มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้
2.1 เด็กร่าเริงแจ่มใส แสดงอารมณ์ ความร้สู กึ ไดเ้ หมาะสม จัดกจิ กรรมสง่ เสรมิ ให้เด็กมคี วามร่าเรงิ แจม่ ใส จาก
กิจกรรมเคล่ือนไหวและจังหวะทุกวัน ร้องเพลง เต้นเข้าจังหวะ จัดกิจกรรมสร้างสรรค์ให้เด็กทาศิลปะทุกวัน ผลการ
ดาเนินงาน สง่ ผลใหเ้ ด็ก 59 คน รอ้ ยละ 90.77 มีความรา่ เรงิ แจ่มใส
2.2 เด็กรู้จักยับย้ังชั่งใจ อดทนในการรอคอย ฝึกให้เด็กมีวินัยในตนเองรู้จักการอดทนรอคอยการอดทนรอ
คอยในการทากิจกรรมเช่น เข้าแถวรอรับยาสีฟัน รอรับกระดาษ รอรับนม และทางานจนเสร็จ ผลการดาเนินงาน
ส่งผลใหเ้ ด็ก 54 คน รอ้ ยละ 83.08 แสดงอารมณค์ วามร้สู ึกไดเ้ หมาะสมร้จู กั ยับยง้ั ชง่ั และมวี ินยั ในตนเอง
2.3 เด็กยอมรับและพอใจในความสามารถ และผลงานของตนเองและผู้อ่ืน ฝึกให้เด็กยอมรับและพอใจใน
ความสามารถและผลงานของตนเองและผูอ้ นื่ ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เดก็ 58 คน ร้อยละ 89.23 มีการยอมรับและ
พอใจในความสามารถของตนเองและผู้อื่น
23
2.4 เดก็ มจี ติ สานึกและค่านยิ มทด่ี ี ปลกู ฝงั ใหเ้ ดก็ มีจิตสานกึ ในการปฏิบัตติ นตามกฎระเบยี บของโรงเรียน ตรง
ตอ่ เวลา มาเรียนทนั เวลา กิจกรรมเดก็ ดรี ับผดิ ชอบงาน กิจกรรมเด็กดีมีวนิ ัยใช้แล้วเก็บ ให้เด็กปฏบิ ัติตาม กฎ ระเบยี บ
ของโรงเรียน ผลการดาเนนิ งาน ส่งผลให้เดก็ 55 คน ร้อยละ 84.62 มีจิตสานกึ และค่านิยมที่ดี
2.5 เด็กมีความมั่นใจ กล้าพูด กล้าแสดงออก ส่งเสริมให้เด็กมีความม่ันใจ กล้าพูด และกล้าโดยจัดกิจกรรม
สง่ เสรมิ การกลา้ แสดงออกกิจกรรมประกวดวาดภาพระบายสี ชื่นชมและมคี วามสุขกับศิลปะ ดนตรี การเคลอ่ื นไหวผล
การดาเนินงาน ส่งผลให้เดก็ 56 คน ร้อยละ 86.15 มคี วามมน่ั ใจ กล้าพูด และกล้าแสดงออก
2.6 เด็กช่วยเหลือแบ่งปัน ปลูกฝังให้เด็กมีน้าใจช่วยเหลือแบ่งปัน โดยฝึกให้แบ่งปันของเล่น ขนม สิ่งของ
ต่างๆ ใหเ้ พื่อน ผลการดาเนินงาน สง่ ผลให้เดก็ 53 คน ร้อยละ 81.54 รจู้ ักการชว่ ยเหลอื แบง่ ปนั
2.7 เด็กเคารพสิทธิ รู้หน้าที่รับผิดชอบ อดทนอดกลั้น ส่งเสริมให้ปฎิบัติตนตามวัฒนธรรมและประเพณีไทย
และมีจิตสานึกและค่านิยมที่ดีตามท่ีโรงเรียนกาหนด โดยครูฝึกมารยาทการไหว้ การทาความเคารพผู้ใหญ่ การกล่าว
คาขอบคุณ การเดินผ่านผู้ใหญ่ การนั่งต่อหนา้ ผใู้ หญ่กิจกรรมวันไหว้ครูกิจกรรมวนั แม่แห่งชาติ กจิ กรรมวันพอ่ แห่งชาติ
และกจิ กรรมถวายพระพรวันเฉลิมพระชนมพ์ รรษารัชกาลท่ี 10 ผลการดาเนนิ งาน ส่งผลใหเ้ ด็ก 57 คน ร้อยละ 81.43
ปฎบิ ัติตนตามวฒั นธรรมและประเพณไี ทย และมจี ิตสานกึ และคา่ นยิ มทีด่ ตี ามทโ่ี รงเรียนกาหนด
2.8 เด็กซื่อสัตย์สุจริต มีคุณธรรม จริยธรรม ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ปลูกฝังให้เด็กมีความซ่ือสัตย์สุจริต มี
ความเชื่อมนั่ ในตนเอง ความกล้าหาญ ความรบั ผิดชอบต่อหน้าที่ และประพฤติตนถูกตอ้ งตามศลี ธรรมอนั ดีงาม ผลการ
ดาเนินงาน สง่ ผลให้เด็ก 52 คน ร้อยละ 80.00 มคี วามซ่อื สัตยส์ จุ ริต มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามทีส่ ถานศึกษากาหนด
2.9 เด็กมีความสุขกับศิลปะดนตรี และการเคล่ือนไหว จัดกิจกรรมดนตรีที่เหมาะกับเด็ก ได้แก่ กิจกรรมท่ีทา
ร่วมกันเป็นกลุ่ม เช่น การร้องเพลง เล่นเกมประกอบเพลง เด็กได้เคลื่อนไหว ร้องเพลง รักการออกกาลังกาย และอยู่
ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 60 คน ร้อยละ 92.31 เด็กมีความสุขกับศิลปะดนตรี
และการเคลอ่ื นไหว
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 1 ข้อ 2. ส่งผลให้มีเด็ก 56 คน ร้อยละ 85.64 มีพัฒนาการด้าน
อารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ มีคุณภาพระดบั ดีเลิศ
ข้อ 3. มพี ัฒนาการดา้ นสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกทีด่ ขี อง
3.1 เด็กช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจาวัน มีวินัยในตนเอง ฝึกให้เด็กช่วยเหลือตนเองในการ
ปฏบิ ตั ิกิจวัตรประจาวันได้ โดยครปู ลูกฝงั ให้เด็กช่วยเหลือตนเองในการรับประทานอาหาร เกบ็ ถาดอาหาร ดูแลในการ
ขับถ่าย เข้าห้องน้า แต่งตัว ใส่รองเท้า ปูและเก็บท่ีนอน ส่งการบ้าน ล้างมือ ล้างหน้า แปรงฟันด้วยตนเอง ผลการ
ดาเนินงาน สง่ ผลให้เด็ก 52 คน ร้อยละ 80.00 ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบตั ิกิจวัตรประจาวันได้
3.2 เด็กประหยัดและพอเพียง ฝึกให้เด็กรู้จักการประหยัดและพอเพียง โดยมีโครงการออมเงิน การออมเงิน
เป็นกิจกรรมที่สร้างวินัยให้กับเด็ก ๆ ช่วยให้เด็กรู้จักประหยัดอดออม และรู้จักการรอคอย เพราะกว่าที่เด็ก ๆ จะได้
ส่ิงของน้ัน ๆ มาจะต้องใช้เวลาในการออมเงิน และการออมยังเป็นหน่ึงในปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงด้วย ผลการ
ดาเนินงาน สง่ ผลใหเ้ ดก็ 56 คน รอ้ ยละ 86.15 รูจ้ กั การประหยัดและพอเพียง
24
3.3 เด็กมีส่วนร่วมดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในและนอกห้องเรียน ปลูกฝังให้เด็กรู้จักอนุรักษณ์ธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ ม ให้เดก็ มสี ว่ นร่วมดแู ลรักษาสิ่งแวดลอ้ มในและนอกหอ้ งเรียน โดยมีการแบง่ เขตรับผิดชอบดแู ล รดน้าตน้ ไม้
ภายในโรงเรียน ผลการดาเนินงาน สง่ ผลให้เดก็ 60 คน รอ้ ยละ 92.31 มสี ว่ นรว่ มในการดูแลรักษาส่งิ แวดล้อม
3.4 เด็กมีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เช่น การไหว้ การย้ิม ทักทาย และมีสัมมาคารวะกับผู้ใหญ่ ปลูกฝังให้
เด็กมีความภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมไทย มีสัมมาคารวะและมีมารยาทท่ีงดงามแบบไทย ปฏิบัติตัวให้
เหมาะสมเมื่อพบเจอผใู้ หญ่ รูจ้ กั การไหว้ การย้ิม และทกั ทาย จากการดาเนินงาน สง่ ผลใหเ้ ดก็ 62 คน ร้อยละ 95.38
มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
3.5 เด็กยอมรบั หรือเคารพความแตกต่างระหว่างบุคคล เชน่ ความคดิ พฤติกรรม พื้นฐานครอบครัว เชื้อชาติ
ศาสนา วัฒนธรรม ฝกึ ให้เดก็ เรยี นร้ทู จี่ ะยอมรบั และเขา้ ใจความแตกตา่ งทหี่ ลากหลาย ทางเชื้อชาติ วัฒนธรรม ศาสนา
ความเช่ือ ให้เกียรติและให้คุณค่ากับความคิดความเชื่อประเพณี วัฒนธรรมท่ีแตกต่าง เด็กจะสามารถทางานและใช้
ชีวิตร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างราบร่ืน ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 55 คน ร้อยละ 84.62 มีการยอมรับหรือเคารพความ
แตกต่างระหวา่ งบุคคล
3.6 เด็กเล่นและทางานร่วมกับผู้อ่ืนได้ แก้ไขข้อขัดแย้งโดยปราศจากการใช้ความรุนแรง ฝึกให้เด็กมี
ความรู้สึกท่ีดีต่อผู้อ่ืน และมีความสามัคคีขณะทากิจกรรม มีมารยาทด้านการปฏิบัติตนขณะทากิจกรรมร่วมกันเป็น
กลมุ่ โดยปราศจากการใช้ความรนุ แรง ได้รบั ประสบการณ์เรยี นรู้เหมาะสมและเอ้ือต่อการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ผล
การดาเนินงาน สง่ ผลใหเ้ ดก็ 58 คน รอ้ ยละ 89.23 สามารถทางานรว่ มกับผูอ้ ืน่ ได้
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 1 ขอ้ 3. ส่งผลให้มเี ดก็ 57 คน ร้อยละ 87.95 มีพัฒนาการดา้ นสังคม
ช่วยเหลอื ตนเองและเป็นสมาชกิ ทดี่ ีของสังคม มคี ุณภาพระดับดีเลศิ
ข้อ 4. มีพัฒนาการด้านสติปัญญา สื่อสารได้ มีทกั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรู้ได้
4.1 เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผู้อื่นเข้าใจ ส่งเสริมให้เด็กสนทนาโต้ตอบและเล่าเร่ืองให้ผู้อ่ืนเข้าใจ
เป็นประโยคอย่างต่อเน่ืองได้ จัดกิจกรรมเสริมประสบการณ์เร่ืองราวเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัวเด็ก โดยจัดให้มีมุม
หนังสือในห้องเรียน ส่งเสริมให้อ่านนิทานจากมุมหนังสือในห้องเรียน เข้าห้องสมุด และเล่าเร่ืองที่ตนเองอ่านได้
เหมาะสมกับวยั ผลการดาเนินงาน สง่ ผลให้เด็ก 53 คน รอ้ ยละ 81.54 สนทนาโต้ตอบและเล่าเรอื่ งใหผ้ ู้อื่นเข้าใจได้
4.2 เด็กต้ังคาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรือสงสัย และพยายามค้นหาคาตอบ ฝึกให้เด็กมีทักษะการใช้
คาถามให้มีประสิทธิภาพ ฝึกคิดหาคาตอบ หาเหตุผล หาความรู้ได้ด้วยตนเอง มีความคิดสร้างสรรค์ และสนใจต่อส่ือ
และสิ่งต่าง ๆ ทอี่ ยรู่ อบ ๆ ตวั จากแหล่งเรยี นรู้ภายในและภายนอกโรงเรยี น จัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบบูรณาการ ผล
การดาเนนิ งาน ส่งผลใหเ้ ดก็ 52 คน รอ้ ยละ 80.00 ต้ังคาถามในสิ่งท่ีตนเองสนใจหรือสงสยั และพยายามค้นหาคาตอบ
ได้
25
4.3 เดก็ อ่านนทิ านและเลา่ เรื่องท่ีตนเองอ่านได้เหมาะสมกับวยั สง่ เสริมให้เด็กอ่านนิทานจากมุมหนงั สือใน
หอ้ งเรียน และเลา่ เรื่องท่ีตนเองอ่านไดเ้ หมาะสมกับวัย นิทานจะชว่ ยพัฒนาการฟงั และการพูด ใหค้ วามรู้ ความ
สนกุ สนาน และจินตนาการแกเ่ ด็ก ผลการดาเนนิ งาน สง่ ผลใหเ้ ด็ก 50 คน รอ้ ยละ 76.92 อา่ นนิทานและเล่าเร่ืองท่ี
ตนเองอ่านไดเ้ หมาะสมกบั วยั
4.4 เด็กมีความสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิด
แก้ปัญหาและสามารถตัดสินใจในเร่ืองง่าย ๆ ได้ โดยการจัดกิจกรรมแบบบูรณาการ ฝึกให้ใช้กระบวนการทาง
คณติ ศาสตร์และวิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้โดยมีการแก้ปญั หาการให้เหตผุ ล การสื่อสารเชอื่ มโยงความรู้ต่างๆ
ได้เหมาะสมกบั วยั เช่น การเปรียบเทียบ การเรยี นรู้จานวน ตัวเลข เรยี นรรู้ ูปทรงตา่ งๆ เรียนรูเ้ ร่ือง มติ สิ ัมพนั ธ์ ผลการ
ดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 51 คน ร้อยละ 78.46 สามารถคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ การคิด
แกป้ ญั หาและสามารถตดั สนิ ใจในเรื่องง่าย ๆ ได้
4.5 เดก็ สรา้ งสรรค์ผลงานตามความคิดและจินตนาการ เช่น งานศิลปะ การเคลอื่ นไหวท่าทาง การเล่นอิสระ
ส่งเสริมให้เด็กได้สร้างผลงานด้วยตนเอง ถ่ายทอดความคิดตามจินตนาการผ่านการเคล่ือนไหวโดยการจัดกิจกรรม
เคล่ือนไหวและจังหวะ ให้เด็กได้เคล่ือนไหวร่างกายตามจินตนาการท่ีอิสระ และสร้างสรรค์ผลงานศิลปะท่ีมีความ
แปลกใหมแ่ ละหลากหลายเหมาะสมกับวัย โดยการจดั กจิ กรรมสร้างสรรค์ มกี ารจดั กิจกรรมประกวดวาดภาพระบายสี
ในวันแม่ จัดให้เด็กได้ทางานศิลปะที่หลากหลาย เช่น ป้ันดินนามันตามจินตนาการ วาดภาพตามจินตนาการ จัด
กิจกรรมเล่นตามมุม เด็กเล่นต่อบล็อกตามจินตนาการ ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้เด็ก 60 คน ร้อยละ 92.31
สร้างสรรค์ผลงานตามความคดิ และจินตนาการเชน่ งานศลิ ปะการเคลอื่ นไหวท่าทางการเลน่ อสิ ระ
4.6 เด็กใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก กล้องดิจิตอล เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้แล ะแสวงหา
ความรู้ได้ ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้จากสื่อท่ีหลากหลายส่ือของจริง ให้เด็กใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น แว่นขยาย แม่เหล็ก
กล้องดิจิตอล ในการทากิจกรรมการทดลองการสารวจสัตว์และพืชในโรงเรียน ทาให้เด็กรู้จักคิดวิเคราะห์และตั้ง
คาถามตอ่ สง่ิ ตา่ ง ๆ ทาให้เกดิ พฤติกรรมท่ีเหมาะสมสามารถใชส้ ่ือเทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ ผลการดาเนนิ งาน ส่งผล
ให้เดก็ 58 คน รอ้ ยละ 89.23 ใช้สอ่ื เทคโนโลยเี ปน็ เครื่องมอื ในการเรยี นรู้และแสวงหาความรไู้ ด้
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 1 ขอ้ 4. สง่ ผลให้มเี ดก็ 54 คน ร้อยละ 83.08 มพี ัฒนาการด้าน
สติปัญญา สอ่ื สารได้ มีทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ มคี ุณภาพระดบั ดีเลิศ
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพเดก็ มคี ุณภาพระดบั ดีเลิศ
26
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
ประเดน็ พิจารณา การปฏิบัติงาน *** ผลการประเมนิ
ผลสาเรจ็ (ข้อ) คุณภาพทไี่ ด้
1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพฒั นาการทั้งสด่ี า้ น สอดคลอ้ งกับบริบทของ ปฏิบตั ิ ไม่ปฏบิ ัติ ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ขอ้ ยอดเย่ียม
ท้องถนิ่
1.1 มหี ลักสตู รสถานศึกษาทยี่ ืดหยุ่น และสอดคลอ้ งกับหลักสตู ร √- ปฏบิ ัติได้ 5 ขอ้ ยอดเยย่ี ม
การศกึ ษาปฐมวัย √- ปฏิบัตไิ ด้ 5 ขอ้ ยอดเยี่ยม
1.2 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ่เี ตรยี มความพร้อมและไม่เรง่ รดั √-
วิชาการ √ ปฏบิ ตั ิได้ 5 ข้อ ยอดเย่ยี ม
1.3 ออกแบบการจัดประสบการณท์ ่เี นน้ การเรยี นรู้ผา่ นการเล่น และ
การลงมือปฏบิ ัติ (Active learning) -
1.4 ออกแบบการจดั ประสบการณท์ ่ีตอบสนองความตอ้ งการและ
ความแตกต่างของเดก็ ปกตแิ ละกลุม่ เป้าหมายเฉพาะทส่ี อดคลอ้ งกับ √-
วิถชี ีวติ ของครอบครวั ชุมชนและท้องถนิ่
1.5 มีการประเมนิ ตรวจสอบ และปรับปรุง / พัฒนาหลกั สูตรอย่าง √-
ตอ่ เน่ือง √-
√-
2 จัดครูใหเ้ พียงพอกบั ช้นั เรียน √-
√-
2.1 จัดครูครบชัน้ เรยี น
√-
2.2 จดั ครูใหม้ คี วามเหมาะสมกบั ภารกจิ การจดั ประสบการณ์ √-
√-
2.3 จดั ครูไม่จบการศึกษาปฐมวยั แต่ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวยั √-
√-
2.4 จัดครจู บการศึกษาปฐมวัย
√-
2.5 จดั ครจู บการศึกษาปฐมวยั และผ่านการอบรมการศึกษาปฐมวัย √-
√-
3 ส่งเสรมิ ให้ครูมคี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
√-
3.1 มกี ารพฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามรคู้ วามสามารถในการ
วิเคราะหแ์ ละออกแบบหลกั สูตรสถานศึกษา
3.2 สง่ เสริมครใู ห้มีทกั ษะในการจัดประสบการณ์และการประเมนิ
พฒั นาการเด็ก
3.3 ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์สาคญั ในการออกแบบการจัดกจิ กรรม
จดั กิจกรรม สังเกตและประเมนิ พฒั นาการเดก็ เป็นรายบคุ คล
3.4 สง่ เสรมิ ใหค้ รมู ีปฏสิ มั พันธ์ทด่ี กี ับเดก็ และครอบครวั
3.5 สง่ เสรมิ ใหค้ รพู ัฒนาการจัดประสบการณ์โดยใชช้ ุมชนแหง่ การ
เรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC)
4 จัดสภาพแวดล้อมและสอ่ื เพ่ือการเรยี นรอู้ ย่างปลอดภยั
และเพียงพอ
4.1 จดั สภาพแวดลอ้ มภายในหอ้ งเรียนที่คานึงถงึ ความปลอดภัย
4.2 จัดสภาพแวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรยี นทีค่ านงึ ถงึ ความปลอดภัย
4.3 ส่งเสริมใหเ้ กิดการเรยี นรทู้ เ่ี ปน็ รายบุคคลและกลุม่ เลน่ แบบ
รว่ มมอื รว่ มใจ
4.4 จดั ให้มีมมุ ประสบการณ์หลากหลาย มีส่อื การเรยี นรู้ ทปี่ ลอดภยั
และเพยี งพอ เชน่ ของเลน่ หนงั สือนิทาน สือ่ จากธรรมชาติ สอ่ื
สาหรับเด็กมดุ ลอด ปนี ปา่ ย ส่อื เทคโนโลยีการสบื เสาะหาความรู้
ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั ิงาน *** 27
ผลสาเรจ็ (ขอ้ )
ปฏบิ ตั ิ ไมป่ ฏบิ ตั ิ ปฏิบัตไิ ด้ 5 ข้อ ผลการประเมนิ
คณุ ภาพทไี่ ด้
4.5 จัดหอ้ งประกอบที่เออ้ื ต่อการจดั ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก √ - ปฏบิ ัตไิ ด้ 5 ข้อ
ดีเลิศ
5 ให้บรกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่ือการเรียนรเู้ พื่อ 5.00
ยอดเยี่ยม
สนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
ยอดเย่ยี ม
5.1 อานวยความสะดวกและให้บริการสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ √ -
อปุ กรณแ์ ละสอ่ื การเรยี นรู้ √ -
5.2 พัฒนาครใู หม้ ีความรู้ความสามารถในการผลติ และใช้สอ่ื ในการ
จดั ประสบการณ์
5.3 มีการนเิ ทศติดตามการใช้ส่ือในการจดั ประสบการณ์ √-
5.4 มีการนาผลการนิเทศติดตามการใชส้ อื่ มาใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการ √ -
พัฒนา
5.5 ส่งเสรมิ สนับสนนุ การเผยแพรก่ ารพฒั นาส่อื และนวัตกรรมเพ่อื √ -
การจัดประสบการณ์
6 มีระบบบริหารคณุ ภาพทีเ่ ปดิ โอกาสให้ผู้เกยี่ วขอ้ งทุกฝ่ายมี
ส่วนรว่ ม
6.1 กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษาท่ีสอดคลอ้ งกับ √-
มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัยและอัตลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา
6.2 จดั ทาแผนพฒั นาการศกึ ษาทส่ี อดรบั กับมาตรฐานทส่ี ถานศกึ ษา √ -
กาหนดและดาเนินการตามแผน √ -
6.3 มีการประเมินผลและตรวจสอบคณุ ภาพภายในสถานศึกษา
6.4 มีการตดิ ตามผลการดาเนนิ งาน และจัดทารายงานผล √-
การประเมินตนเองประจาปี และรายงานผลการประเมินตนเอง
ใหห้ น่วยงานตน้ สงั กดั
6.5 นาผลการประเมินไปปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา √ -
โดยผู้ปกครองและผูเ้ กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม
สรปุ ผลการประเมนิ = ผลรวมผลสาเรจ็ ทุกประเด็นพิจารณา
จานวนประเด็นพจิ ารณา
หมายเหตุ กรอกข้อมลู เฉพาะแถบสขี าว
*** ผลสาเรจ็ = จานวนข้อทป่ี ฏิบตั ิในแตล่ ะประเดน็ พจิ ารณา
แปลผลการประเมินคณุ ภาพท่ีได้ ค่าเฉล่ียผลการประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ 1 ขอ้ ได้ระดบั คุณภาพ กาลังพัฒนา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กาลงั พัฒนา
ปฏิบตั ิ 2 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏบิ ตั ิ 3 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดบั คณุ ภาพ ดี
ปฏบิ ตั ิ 4 ข้อ ไดร้ ะดับคณุ ภาพ ดเี ลิศ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
ปฏิบตั ิ 5 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ยอดเยี่ยม 4.50 – 5.00 ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยยี่ ม
จดุ เนน้ และกระบวนการพัฒนาทส่ี ง่ ผลตอ่ ระดับคณุ ภาพของมาตรฐานที่ 2
28
โรงเรยี นอนุบาลอรวรรณ ไดม้ ีกระบวนการบริหารจัดและจดั การ และมผี ลการดาเนนิ งาน ดังน้ี
ข้อ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้งส่ดี ้าน สอดคล้องกบั บริบทของทอ้ งถ่ิน
โรงเรียนจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสามปี มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่าง
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน แผนได้รับความเห็นชอบจากคณะ
กรรมการบริหารโรงเรียน กระบวนการจัดทาแผนทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดทา ได้แก่ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และ
คณะกรรมการบริหารโรงเรียน จัดโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา กิจกรรมจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาสามปี กจิ กรรมจดั ทาแผนปฏิบัติการประจาปี
ผลการดาเนินงาน โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาลและของตน้ สงั กัด รวมท้งั ทนั ต่อการเปล่ยี นแปลงของสงั คม ระดบั คุณภาพระดับยอดเย่ียม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 2 ข้อ 1. มีหลักสูตรครอบคลุมพัฒนาการท้ังสี่ด้าน สอดคล้องกับ
บริบทของทอ้ งถนิ่ มีคุณภาพระดับยอดเยีย่ ม
ข้อ 2. จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชั้นเรยี น
โรงเรียนบริหารจัดครูให้ครบชั้นเรียน ให้มีความเหมาะสมกับภารกิจการจัดประสบการณ์ ครูจบการศึกษา
ปฐมวยั และผา่ นการอบรมการศึกษาปฐมวัย และครูทไ่ี ม่จบการศึกษาปฐมวัยแต่ผ่านการอบรมการศกึ ษาปฐมวัย
ผลการดาเนนิ งาน โรงเรยี นอนุบาลอรวรรณ มกี ารจัดครูให้เพียงพอกับช้ันเรยี น ระดับคณุ ภาพระดบั ยอดเยยี่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 2 ขอ้ 2. จัดครใู หเ้ พียงพอกับชั้นเรยี น มีคุณภาพระดบั ยอดเยยี่ ม
ข้อ 3. ส่งเสริมใหค้ รูมคี วามเช่ียวชาญดา้ นการจดั ประสบการณ์
ผู้บริหารมีการพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์และออกแบบหลักสูต ร
สถานศึกษา ส่งเสริมครูให้มีทักษะในการจัดประสบการณ์และการประเมินพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมครูใช้ประสบการณ์
สาคัญในการออกแบบการจัดกิจกรรม จัดกิจกรรม สังเกตและประเมินพัฒนาการเด็กเป็นรายบุคคล ส่งเสริมให้ครู
พัฒนาการจดั ประสบการณโ์ ดยใชช้ มุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC)
ผลการดาเนินงาน ส่งเสริมให้ครมู คี วามเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ มีคณุ ภาพระดับยอดเย่ยี ม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 2 ข้อ 3. ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ มี
คณุ ภาพระดบั ยอดเย่ยี ม
ขอ้ 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรยี นรูอ้ ย่างปลอดภัยและเพียงพอ
โรงเรียนจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ให้บริการสื่อ
เทคโนโลยีสารสนเทศและส่ือการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ จัดให้มีมุมประสบการณ์หลากหลาย มีส่ือ
การเรียนรู้ ที่ปลอดภัยและเพียงพอ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน สื่อจากธรรมชาติ สื่อสาหรับเด็กมุดลอด ปีนป่าย สื่อ
เทคโนโลยีการสืบเสาะหาความรู้ ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้ที่เป็นรายบุคคลและกลุ่ม เล่นแบบร่วมมือร่วมใจ จัด
29
สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนที่คานึงถึงความปลอดภยั จัดห้องประกอบท่ีเอื้อต่อการจัดประสบการณ์
และพัฒนาเดก็
ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้อย่างปลอดภัย
และเพยี งพอ มีคุณภาพระดบั ยอดเยยี่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 2 ข้อ 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้อย่างปลอดภัยและ
เพียงพอ มีคุณภาพระดบั ยอดเยีย่ ม
ข้อ 5. ให้บริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู้ พื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์
โรงเรยี นจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มีระบบบริหาร
คณุ ภาพท่เี ปดิ โอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม อานวยความสะดวกและให้บริการส่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ วัสดุ
อุปกรณ์และส่อื การเรียนรู้ พัฒนาครูให้มีความรู้ความสามารถในการผลิตและใชส้ ื่อในการจัดประสบการณ์ มีการนเิ ทศ
ติดตามการใช้ส่ือในการจัดประสบการณ์ มีการนาผลการนิเทศติดตามการใช้สื่อมาใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา ส่งเสรมิ
สนับสนนุ การเผยแพรก่ ารพัฒนาสอื่ และนวัตกรรมเพ่ือการจดั ประสบการณ์
ผลการดาเนินงาน โรงเรียนมีการจัดบริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์ มคี ณุ ภาพระดับยอดเยยี่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 2 ข้อ 5. ใหบ้ ริการสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสื่อการเรยี นรู้เพ่ือสนับสนุน
การจดั ประสบการณ์ มีคุณภาพระดับยอดเย่ียม
ข้อ 6. มรี ะบบบริหารคุณภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ เู้ กีย่ วข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม
โรงเรียนมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยและอัต
ลักษณ์ของสถานศึกษา จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาที่สอดรับกับมาตรฐานท่ีสถานศึกษากาหนดและดาเนินการตาม
แผน มกี ารประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพภายในสถานศึกษา มีการติดตามผลการดาเนินงาน และจดั ทารายงานผล
การประเมินตนเองประจาปี และรายงานผลการประเมินตนเองให้หน่วยงานต้นสังกัด นาผลการประเมินไปปรับปรุง
และพฒั นาคุณภาพสถานศึกษา โดยผ้ปู กครองและผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม
ผลการดาเนินงาน โรงเรียนมีระบบบริหารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีคุณภาพ
ระดับยอดเย่ียม
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานท่ี 2 ข้อ 6. มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพที่เปดิ โอกาสให้ผเู้ กีย่ วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นร่วม
มคี ณุ ภาพระดบั ยอดเย่ียม
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มคี ุณภาพระดับยอดเยีย่ ม
30
มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สาคญั
การปฏบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จานวนครู (คน) *** ผลการ
(รอ้ ยละ) ผลการประเมิน ประเมนิ
ประเด็นพจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม่ บรรจุ ผา่ นเกณฑ์ คุณภาพท่ไี ด้
ปฏิบตั ิ ที่กาหนด (รอ้ ยละ)
1 จดั ประสบการณท์ ี่สง่ เสริมให้เด็กมี ยอดเยยี่ ม
90 33 100
พัฒนาการทุกด้าน อย่างสมดุลเตม็ 3- 100 ยอดเย่ียม
ศกั ยภาพ 3- 3 100
1.1 มกี ารวิเคราะหข์ อ้ มูลเด็กเป็นรายบคุ คล 3 ยอดเยย่ี ม
100
1.2 จดั ทาแผนและใช้แผนการจัดประสบการณ์ 3- 3
จากการวเิ คราะหม์ าตรฐานคุณลกั ษณะท่ีพงึ 100
ประสงคใ์ นหลักสูตรสถานศกึ ษา 80 33 100
1.3 จัดกจิ กรรมทสี่ ง่ เสริมพัฒนาการเดก็ ครบ 3- 3
ทกุ ดา้ น ทง้ั ดา้ นร่างกาย ดา้ นอารมณจ์ ิตใจ 100
ด้านสังคม และดา้ นสตปิ ัญญา โดย ไมม่ ุ่งเน้น 3- 3
การพัฒนาดา้ นใดดา้ นหนง่ึ เพียงด้านเดยี ว 100
3- 3
2 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณ์ 80 33 100
ตรง เล่นและปฏบิ ตั ิอย่างมคี วามสขุ
3- 3 100
2.1 จดั ประสบการณ์ท่ีเช่อื มโยงกบั 3- 3 100
ประสบการณเ์ ดิม 3- 3 100
2.2 ให้เดก็ มีโอกาสเลือกทากิจกรรมอยา่ ง
อิสระ ตามความตอ้ งการความสนใจ 3- 3 100
ความสามารถ ตอบสนองตอ่ วิธกี ารเรียนรูข้ อง
เดก็ เปน็ รายบุคคล หลากหลายรูปแบบจาก
แหล่งเรยี นร้ทู ่หี ลากหลาย
2.3 เด็กไดเ้ ลือกเล่น เรยี นรู้ลงมอื กระทา และ
สร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง
3 จัดบรรยากาศทีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ ื่อ
และเทคโนโลยที เี่ หมาะสมกับวัย
3.1 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมใน
หอ้ งเรยี นไดส้ ะอาด ปลอดภยั และอากาศถา่ ยเท
สะดวก
3.2 จัดให้มพี ื้นท่ีแสดงผลงานเดก็ พ้นื ท่ีสาหรบั
มุมประสบการณแ์ ละการจัดกจิ กรรม
3.3 จัดใหเ้ ดก็ มสี ว่ นรว่ มในการจดั ภาพแวดล้อม
ในห้องเรียน เช่น ปา้ ยนิเทศ การดแู ลต้นไม้
เปน็ ตน้
3.4 ใชส้ อื่ และเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับช่วงอายุ
ระยะความสนใจ และวถิ กี ารเรยี นรู้ของเด็ก เชน่
กล้องดิจิตอล คอมพวิ เตอร์ สาหรับการเรยี นรู้
กล่มุ ยอ่ ย สื่อของเล่นทก่ี ระตนุ้ ให้คดิ และหา
คาตอบ เป็นตน้
31
ประเดน็ พิจารณา การปฏบิ ตั งิ าน เปา้ หมาย จานวนครู (คน) *** ผลการ
(รอ้ ยละ) ผา่ นเกณฑ์ ผลการประเมนิ ประเมนิ
ปฏิบตั ิ ไม่ คุณภาพทไี่ ด้
ปฏิบตั ิ บรรจุ ท่กี าหนด (รอ้ ยละ)
ยอดเยย่ี ม
4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริง 80 3 3 100
และนาผลการประเมินพฒั นาการเดก็ ไป ยอดเย่ยี ม
ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละ 3- 3 100
พฒั นาเดก็ 100
3- 3 100
4.1 ประเมินพฒั นาการเด็กจากกจิ กรรมและ 100
กิจวัตรประจาวนั ดว้ ยเคร่ืองมอื และวธิ กี ารที่ 3- 3 100
หลากหลาย
4.2 วิเคราะหผ์ ลการประเมนิ พัฒนาการเดก็ 3- 3
โดยผู้ปกครองและผ้เู กยี่ วขอ้ งมีสว่ นรว่ ม
4.3 นาผลการประเมนิ ท่ไี ด้ไปพฒั นาคุณภาพ ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพิจารณา
เดก็ อยา่ งเปน็ ระบบและตอ่ เนอ่ื ง จานวนประเด็นพจิ ารณา
4.4 นาผลการประเมนิ แลกเปลยี่ นเรียนรโู้ ดยใช้
กระบวนการชุมชนแห่งการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ
สรปุ ผลการประเมนิ =
หมายเหตุ กรอกขอ้ มูลเฉพาะแถบสขี าว
วธิ คี านวณ
*** ผลการประเมิน (ร้อยละ) = 100 x จานวนครูผา่ นเกณฑ์ทโี่ รงเรียนกาหนด
จานวนครูทง้ั หมด
แปลผลการประเมนิ คุณภาพท่ไี ด้
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = กาลงั พัฒนา
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ปานกลาง
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดี
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ดเี ลิศ
ร้อยละ 90.00 – 100 = ยอดเยีย่ ม
จุดเน้นและกระบวนการพฒั นาทีส่ ง่ ผลตอ่ ระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 3
การจัดประสบการณท์ เี่ นน้ เด็กเปน็ สาคัญ มีกระบวนการพัฒนาและมีผลการดาเนินงาน ดงั น้ี
ขอ้ 1. จดั ประสบการณท์ สี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ
ครูวิเคราะห์ข้อมูลเด็กเป็นรายบุคคลจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ตามอยุของเด็ก จากการวิเคราะห์
มาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ในหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้กิจกรรมหลัก 6 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมเคล่ือนไหว
32
และจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสรี และกิจกรรมเกม
การศึกษา ทีส่ ง่ เสรมิ พฒั นาการเดก็ ครบทุกดา้ นไดแ้ กท่ ง้ั ด้านรา่ งกายด้านอารมณจ์ ติ ใจดา้ นสงั คมและดา้ นสติปัญญา
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 3 ข้อ 1. ครู ร้อยละ 100 จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมี
พัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุลเต็มศกั ยภาพ มีคณุ ภาพระดับยอดเยีย่ ม
ขอ้ 2. สรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้รับประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข
ครูให้เด็กได้รับประสบการณ์ตรงจากการเล่นและปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ อย่างมีความสุขเช่นเล่นตามมุม เล่น
เคร่ืองสนาม การเลน่ กีฬา การทดลอง การทาโครงงาน ทศั นศึกษา เป็นตน้ มีการติดตามตรวจสอบการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนเป็นประจา โดยจัดโครงการนิเทศการสอน กิจกรรมนิเทศการสอน กิจกรรมนิเทศการจัดห้องเรียน
พบว่าครูจัดประสบการณ์ท่ีเช่ือมโยงกับประสบการณ์เดิมของเด็กได้ ให้เด็กมีโอกาสเลือกทากิจกรรมอย่างอิสระตา ม
ความต้องการความสนใจความสามารถตอบสนองต่อวิธีการเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคลหลากหลายรูปแบบครูให้เดก็
ได้เลือกเล่นเรียนรู้ลงมือกระทาและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเช่น การทาศิลปะ การ
เลือกเล่นตามมุม การเรยี นรู้จากแหลง่ เรยี นรภู้ ายในโรงเรียน
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 3 ข้อ 2. ครู ร้อยละ 100 สร้างโอกาสให้เด็กได้รัประสบการณ์ตรง
เล่นและปฏบิ ัตอิ ยา่ งมีความสุข มคี ุณภาพระดับยอดเยยี่ ม
ขอ้ 3. จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรใู้ ชส้ อื่ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับวัย
ครใู ช้สื่อและเทคโนโลยีทเี่ หมาะสมกบั ชว่ งอายุ ระยะความสนใจ และวถิ ีการเรยี นร้ขู องเด็ก เชน่ กล้องดจิ ติ อล
คอมพิวเตอร์ สาหรับการเรียนรู้กลุ่มย่อย สื่อของเล่นท่ีกระตุ้นให้คิดและหาคาตอบ ครูทุกคนจัดห้องเรียนให้สะอาด
อากาศถ่ายเทปลอดภัยมีพื้นท่ีหน้าห้องสาหรับแสดงผลงานเด็กพ้ืนที่สาหรับมุมประสบการณ์และการจัดกิจกรรม ให้
เด็กมีส่วนร่วมในการจัดสภาพแวดล้อมในห้องเรียน โดยนาภาพท่ีเด็กชอบ มาร่วมจัดป้ายนิเทศการตกแต่งมุมต่างๆ
และมีการจัดห้องได้สวยงาม นา่ อยู่ จัดบรรยากาศอบอุ่นคลา้ ยกบั บา้ น
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 3 ข้อ 3. จัดบรรยากาศท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสมกับวัย ครู รอ้ ยละ 100 มคี ุณภาพระดบั ยอดเยีย่ ม
ข้อ 4. ประเมนิ พัฒนาการเดก็ ตามสภาพจริงและนาผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไปปรบั ปรงุ การจัดประสบการณ์
และพัฒนาเด็ก
มีโครงการส่งเสริมการประเมินพัฒนาเด็กตามสภาพจริงอิงพัฒนาการเด็ก กิจกรรมจัดทาเคร่ืองมือประเมิน
พัฒนาการเด็กครูทุกคนประเมินพัฒนาการเด็กจากกิจกรรมและกิจวัตรประจาวันด้วยเครื่องมือและวิธีการที่
หลากหลายตามสภาพจริงไม่ใช้แบบทดสอบโดยการสังเกต สัมภาษณ์ ตรวจสอบผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์
จินตนาการที่ครอบคลุมพัฒนาการเด็กท้ัง 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคม และด้าน
สติปัญญา โดยใช้แบบประเมินพัฒนาการท้ัง 4 ด้าน บันทึกในสมุดประเมินคุณลักษณะที่พึงประสงค์และบันทึกลงใน
สมดุ ประจาตวั นกั เรยี น ประเมินภาคเรยี นละ 2 คร้ัง และสรปุ ผลการประเมินภาคเรียนละ 1 คร้ัง ประเมนิ คณุ ลักษณะ
ที่พึงประสงค์ ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ครบทุกมาตรฐานและตัวช้ีวัด มีการสรุปผลการ
ประเมิน เพื่อนาไปใช้เป็นข้อมูลสารสนเทศในการประเมินตนเอง เพื่อจัดทา SAR ต่อไป ครูมีการสรุปผลพัฒนาการ
33
ของเด็กทุกครั้งท่ีประเมิน และทุกภาคเรียน และสื่อสารกับผู้ปกครองเก่ียวกับความก้าวหน้าและแนวทางการส่งเสริม
พัฒนาเด็กโดยรายงานพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน จุดเด่น และจุดท่ีควรพัฒนา และแนวทางในการพัฒนาเด็ก รายงานภาค
เรียนละ 2 ครั้ง และให้ผู้ปกครองร่วมประเมินพฤติกรรมของลูกเมื่ออยู่ท่ีบ้าน เดือนละ 1 ครั้ง ครูนาผลการประเมิน
ของผู้ปกครองมาใชใ้ นการพัฒนาเด็กในด้านทคี่ วรเสรมิ
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งานมาตรฐานที่ 3 ข้อ 4. ครู ร้อยละ 100 จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรียนรใู้ ชส้ ่ือและ
เทคโนโลยีท่เี หมาะสมกับวยั มีคณุ ภาพระดับยอดเยยี่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เปน็ สาคญั มคี ุณภาพระดบั ยอดเยี่ยม
34
ระดบั การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
มาตรฐานท่ี 1 คุณภาพของผู้เรยี น
การปฏบิ ัตงิ าน จานวนผเู้ รียน (คน) *** ผลการ
ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการ ประเมิน
ประเดน็ พิจารณา เป้าหมาย ทงั้ หมด ผา่ นเกณฑ์ ประเมิน คณุ ภาพที่ได้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) ท่กี าหนด (รอ้ ยละ) ดีเลศิ
ผลสัมฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน 89.40
1 มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น 151 - 80 151 135 90.73 ดเี ลิศ
151 - 137
การสื่อสาร และการคดิ คานวณ 151 - 80 90.07 ดี
1.1 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการอา่ นใน 151 - 136
แต่ละระดบั ชน้ั ตามเกณฑ์ทสี่ ถานศึกษา 75 89.40
กาหนด 151 - 135
1.2 รอ้ ยละของผู้เรียนมีทกั ษะในการเขยี นใน 151 - 87.42
แตล่ ะระดบั ชั้นตามเกณฑ์ทสี่ ถานศกึ ษา 151 - 132
กาหนด 151 - 87.42
1.3 ร้อยละของผเู้ รยี นมที ักษะในการสื่อสาร 151 132
ในแต่ละระดบั ช้นั ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศกึ ษา 86.75
กาหนด 131
1.4 ร้อยละของผู้เรียนมีทักษะในการคดิ 88.08
คานวณในแตล่ ะดับชน้ั ตามเกณฑท์ ี่ 133 87.42
สถานศกึ ษากาหนด 132 79.47
2 มีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่าง 151 120 80.79
มีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความ 122
คดิ เหน็ และแกป้ ญั หา
2.1 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี วามสามารถในการ
คิดจาแนกแยกแยะ ใคร่ครวญ ไตรต่ รอง
อย่างรอบคอบโดยใชเ้ หตผุ ลประกอบการ
ตดั สนิ ใจ
2.2 ร้อยละของผู้เรียนมกี ารอภิปราย
แลกเปลยี่ นความคดิ เหน็
2.3 รอ้ ยละของผเู้ รยี นมีการแก้ปญั หาอยา่ งมี
เหตผุ ล
3 มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
3.1 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการ
รวบรวมความรไู้ ด้ทงั้ ตัวเองและการทางาน
เป็นทมี
35
การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผู้เรียน (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ทง้ั หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) ที่กาหนด (ร้อยละ)
3.2 รอ้ ยละของผเู้ รยี นสามารถเช่ือมโยงองค์
ความรู้และประสบการณม์ าใช้ในการ 151 - 118 78.15
สร้างสรรคส์ งิ่ ใหม่ ๆ อาจเป็นแนวความคดิ
โครงการ โครงงาน ช้ินงาน ผลผลติ
4 มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 85 151 137 90.73 ยอดเย่ยี ม
138 91.39
สารสนเทศ และการสื่อสาร
135 89.40
4.1 ร้อยละของผ้เู รียนมีความสามารถในการใช้ 151 -
เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 85 151 139 96.03 ยอดเยย่ี ม
145 96.03
4.2 ร้อยละของผู้เรียนมีความสามารถในการนา 143 94.70
130 86.09
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สารเพอ่ื พัฒนา 151 -
ตนเองและสงั คมในดา้ นการเรยี นรู้ การส่ือสาร การ 80 151 132 87.42 ดเี ลศิ
133 88.08
ทางานอยา่ งสร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม 131 86.75
5 มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นตามหลักสูตร
สถานศึกษา
5.1 รอ้ ยละของผูเ้ รียนบรรลกุ ารเรียนรตู้ ามหลกั สตู ร 151 -
สถานศกึ ษา
5.2 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นมคี วามกา้ วหน้าในการเรยี นรู้ 151 -
ตามหลักสูตรสถานศกึ ษาจากพน้ื ฐานเดมิ
5.3 ร้อยละของผู้เรียนมคี วามกา้ วหน้าในผลการ 151 -
ทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอน่ื ๆ
6 มีความรู้ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ด่ี ีตอ่ งาน
อาชพี
6.1 รอ้ ยละของผู้เรียนมีความรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ 151 -
เจตคตทิ ี่ดใี นการศึกษาตอ่
6.2 รอ้ ยละของผูเ้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและ 151 -
เจตคตทิ ี่ดีในการจัดการ การทางานหรืองานอาชพี
คุณลักษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
1 การมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทดี่ ตี ามท่ี 151 - 80 151 134 88.74 ดเี ลิศ
สถานศกึ ษากาหนด 151 - 135 89.40
132 87.42
1.1 ร้อยละของผเู้ รียนมพี ฤติกรรมเปน็ ผทู้ ี่มีคุณธรรม
จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา
1.2 รอ้ ยละของผเู้ รียนมคี ่านิยมและจิตสานกึ ตามท่ี
สถานศึกษากาหนด โดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและ
วฒั นธรรมอนั ดขี องสังคม
36
การปฏบิ ตั งิ าน จานวนผู้เรยี น (คน) *** ผลการ
ผลการ ประเมนิ
ประเดน็ พิจารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ เปา้ หมาย ทัง้ หมด ผ่านเกณฑ์ ประเมนิ คุณภาพทไ่ี ด้
ปฏบิ ตั ิ (รอ้ ยละ) ทีก่ าหนด (รอ้ ยละ)
ดเี ลศิ
2 ความภูมิใจในทอ้ งถ่นิ และความเปน็ ไทย 80 151 133 88.08
86.09 ดีเลิศ
2.1 ร้อยละของผเู้ รยี นมคี วามภูมิใจในทอ้ งถิ่น เห็น 151 - 130
คณุ ค่าของความเปน็ ไทย 90.07 ดเี ลิศ
2.2 ร้อยละของผู้เรียนมีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์ 151 - 136 88.74 ดีเลิศ
วัฒนธรรมและประเพณีไทยรวมท้งั ภูมปิ ญั ญาไทย
88.74
3 การยอมรับท่ีจะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่าง 80 151 134
และหลากหลาย 89.40
- รอ้ ยละของผู้เรียนยอมรับและอยู่รว่ มกันบนความ 151 - 134 88.74
แตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในด้านเพศ วยั เชือ้ ชาติ
89.40
ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี
88.54
4 สุขภาวะทางรา่ งกายและจติ สังคม 80 151 135
4.1 รอ้ ยละของผู้เรยี นมีการรักษาสุขภาพกาย 151 - 134
สขุ ภาพจิต อารมณแ์ ละสงั คม และแสดงออกอยา่ ง
เหมาะสมในแตล่ ะช่วงวยั
4.2 รอ้ ยละของผูเ้ รยี นสามารถอยรู่ ว่ มกบั คนอื่นอยา่ ง 151 - 135
มีความสขุ เขา้ ใจผอู้ ่นื ไม่มคี วามขัดแย้งกับผูอ้ ืน่
สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเดน็ พจิ ารณา
จานวนประเดน็ พิจารณา
วธิ ีคานวณ 100 x จานวนผู้เรียนผ่านเกณฑท์ ่โี รงเรยี นกาหนด
*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = จานวนผเู้ รียนทง้ั หมด
แปลผลการประเมินคณุ ภาพที่ได้ = กาลงั พฒั นา
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
รอ้ ยละ 50.00 – 59.99 = ดี
รอ้ ยละ 60.00 – 74.99 = ดเี ลศิ
ร้อยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเยี่ยม
ร้อยละ 90.00 – 100
37
จดุ เน้นและกระบวนการพฒั นาท่สี ่งผลตอ่ ระดับคุณภาพของมาตรฐานท่ี 1
โรงเรียนอนุบาลอรวรรณได้ดาเนินการพฒั นาใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพ โดยใช้กระบวนการพัฒนาและมีผลการ
ดาเนนิ งาน ของรายละเอยี ดมาตรฐานท่ี 1 ดังนี้
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
โรงเรียนได้ดาเนินการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการที่สูงขึ้น ให้มีความรู้ความก้าวหน้าทางการ
เรียนตามหลักสูตรของสถานศึกษา และมีความพร้อมในการศึกษาต่อ โดยจัดโครงการส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถอ่าน
ออกและอา่ นคลอ่ งตามมาตรฐานการอ่านในแตล่ ะระดับชน้ั
ผลการดาเนินงาน
1) ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณ จานวน 135 คน จากจานวน
นักเรียนทง้ั หมด 151 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 89.40 ระดบั คุณภาพดีเลิศ
2) ผู้เรียนมคี วามสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ียนความคดิ เห็นและ
แกป้ ญั หา จานวน 132 คน จากจานวนนักเรยี นทั้งหมด 151 คน คดิ เป็นร้อยละ 87.42 ระดบั คุณภาพดเี ลศิ
3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม จานวน 120 คน จากจานวนนกั เรียนท้ังหมด 151 คน คิดเปน็ ร้อยละ
79.47 ระดบั คณุ ภาพดี
4) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร จานวน 137 คน จากจานวนนกั เรยี นทง้ั หมด
151 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 90.40 ระดบั คุณภาพยอดเยี่ยม
5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สตู รสถานศึกษา จานวน 139 คน จากจานวนนกั เรยี นทง้ั หมด 151 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 92.27 ระดบั คณุ ภาพยอดเยีย่ ม
6) มคี วามรู้ทกั ษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดตี อ่ งานอาชีพ จานวน 132 คน จากจานวนนักเรียนทงั้ หมด 151 คน คิด
เปน็ รอ้ ยละ 87.42 ระดับคณุ ภาพดีเลศิ
สง่ ผลให้ผเู้ รยี น ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างวชิ าการของท้งั 8 กลุ่มสาระการเรียนรทู้ ีส่ งู ข้ึนกว่าปี
การศึกษา 2562
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผูเ้ รียน มีคุณภาพระดับดเี ลศิ
1.2 คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคข์ องผู้เรียน
โรงเรียน ได้มีการดาเนินงานเพ่ือพัฒนาให้นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้นักเรียนมีความประพฤติ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม จิตสังคมและจิตสานึกตามท่ีสถานศึกษากาหนดปรากฏชัดเจน โดยไม่ขัดกับกฎหมายและ
วัฒนธรรมอันดีของสังคม ส่งเสริมให้นักเรียนมีส่วนร่วม รักภาคภูมิใจในท้องถิ่นประเพณีวัฒนธรรมและวิถีความเป็น
ไทย แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสมในชวี ิตประจาวัน อย่รู ว่ มกบั บคุ คลอื่นยอมรับฟังเหตุผลความคดิ เห็นของผู้อ่ืน
38
ผลการดาเนินงาน
1) ผูเ้ รียนมคี ณุ ลกั ษณะและคา่ นิยมที่ดตี ามทีส่ ถานศึกษากาหนด
จานวน 134 คน จากจานวนนกั เรยี นทั้งหมด 151 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 88.41 ระดับคณุ ภาพระดบั ดเี ลศิ
2) ความภมู ใิ จในท้องถิ่นและความเปน็ ไทย
จานวน 133 คน จากจานวนนกั เรียนทง้ั หมด 151 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 88.08 ระดบั คณุ ภาพระดับยอดเยี่ยม
3) การยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
จานวน 134 คน จากจานวนนักเรียนทั้งหมด 151 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 88.74 ระดบั คณุ ภาพระดับดีเลิศ
4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม
จานวน 135 คน จากจานวนนักเรียนทง้ั หมด 151 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 89.07 ระดับคณุ ภาพระดบั ดีเลิศ
สง่ ผลให้ผ้เู รยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 - 6 จานวน 151 คน มคี ณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงค์
สรปุ ผลจาการดาเนินงาน ข้อ 1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผู้เรยี น มีคณุ ภาพระดบั ดเี ลศิ
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งาน มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น มคี ณุ ภาพระดับดเี ลศิ
มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 39
การปฏบิ ัตงิ าน *** ผลการประเมิน
ผลสาเรจ็ (ขอ้ ) คุณภาพทไ่ี ด้
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏบิ ตั ิ ไม่ ปฏิบตั ิได้ 5 ข้อ ยอดเยย่ี ม
ปฏิบตั ิ
1 มเี ปา้ หมายวสิ ยั ทัศน์และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากาหนด ปฏิบัติได้ 5 ขอ้ ยอดเยี่ยม
ชดั เจน -
ปฏบิ ัติได้ 5 ข้อ ยอดเย่ยี ม
1.1 กาหนดเปา้ หมายท่ีสอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศกึ ษา -
ความต้องการของชุมชน ทอ้ งถน่ิ วตั ถุประสงค์ของแผนการ -
ศกึ ษาชาติ นโยบายของรัฐบาลและต้นสงั กัด -
1.2 กาหนดวสิ ยั ทัศน์ และพนั ธกจิ ทสี่ อดคล้อง เชือ่ มโยง -
กับเป้าหมาย แผนยทุ ธศาสตรช์ าติ แผนการศึกษาแหง่ ชาติ
นโยบายของรฐั บาลและตน้ สงั กัด -
1.3 กาหนดเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพันธกจิ ทันตอ่ -
การเปล่ยี นแปลงของสังคม -
1.4 นาเป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ ผ่านความเหน็ ชอบ -
จากคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น -
1.5 นาเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ของโรงเรยี นเผยแพร่
ตอ่ สาธารณชน -
2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา -
2.1 มีการวางแผนพฒั นาคณุ ภาพการจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ -
ระบบ -
2.2 มกี ารนาแผนไปปฏบิ ตั ิ ตดิ ตามตรวจสอบประเมนิ ผลและ -
ปรบั ปรุงพฒั นางานอยา่ งตอ่ เนือ่ ง
2.3 มกี ารบรหิ ารอตั รากาลัง ทรพั ยากรทางการศกึ ษาจดั ระบบ
ดแู ลช่วยเหลอื นกั เรยี น และระบบการนเิ ทศภายใน
2.4 สถานศึกษามีการนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาสถานศกึ ษา
2.5 สถานศึกษาใหบ้ คุ ลากรและผู้ทีเก่ยี วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม
ในการวางแผน ปรับปรุง พฒั นา และรว่ มรบั ผิดชอบต่อผลการ
จัดการศึกษา
3 ดาเนนิ งานพัฒนาวิชาการทเ่ี นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ น
ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย
3.1 บรหิ ารจดั การเกีย่ วกบั งานวิชาการ ในดา้ นการพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา
3.2 บริหารจดั การเก่ยี วกบั งานวชิ าการ ในด้านการพฒั นา
หลกั สตู รตามความตอ้ งการของผเู้ รียน ท่สี อดคลอ้ งกบั บริบท
ของสถานศึกษา ชมุ ชน และท้องถิน่
3.3 บริหารจดั การเกี่ยวกับกิจกรรมเสรมิ หลกั สตู รทเี่ น้น
คณุ ภาพผ้เู รยี นรอบดา้ นเชอื่ มโยงวถิ ชี วี ิตจริง
3.4 กาหนดหลกั สตู รสถานศกึ ษาครอบคลุมการจดั การเรยี น
การสอนทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
3.5 สถานศกึ ษามกี ารปรบั ปรุง และพฒั นาหลักสตู รใหท้ นั ตอ่
การเปลีย่ นแปลงของสงั คม
การปฏบิ ัติงาน *** 40
ผลสาเรจ็ (ขอ้ )
ประเดน็ พจิ ารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ปฏิบตั ิได้ 5 ข้อ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ คณุ ภาพทไ่ี ด้
4 พัฒนาครแู ละบคุ ลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ปฏิบัตไิ ด้ 5 ขอ้ ยอดเยย่ี ม
-
4.1 สง่ เสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ใหม้ ีความ - ปฏบิ ตั ไิ ด้ 5 ขอ้ ยอดเย่ียม
เชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ -
4.2 จดั ให้มีชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี ยอดเย่ยี ม
-
4.3 นาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเข้ามาใช้ในการพัฒนา
งานและการเรียนรู้ของผ้เู รยี น -
4.4 มีการตรวจสอบ ทบทวน การปฏบิ ัติงานของครู
บุคลากร ที่มีผลตอ่ การเรียนรู้ของผ้เู รียน -
4.5 ถอดบทเรยี นเพอ่ื สร้างนวัตกรรมหรือวธิ กี ารท่เี ป็น -
แบบอยา่ งทดี่ ีทสี่ ง่ ผลต่อการเรียนรขู้ องผเู้ รยี น -
-
5 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ตอ่ การ -
จัดการเรยี นร้อู ยา่ งมคี ณุ ภาพ
-
5.1 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพภายในห้องเรยี น ทีเ่ อือ้ -
ตอ่ การเรยี นรู้ และคานึงถงึ ความปลอดภยั -
5.2 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพภายนอกห้องเรียน ท่ี -
เอือ้ ต่อการเรียนรู้ และคานงึ ถึงความปลอดภยั
5.3 จดั สภาพแวดล้อมทีส่ ง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ -
เป็นรายบุคคล และเป็นกล่มุ
5.4 จดั สภาพแวดลอ้ มทางสังคม ทเี่ ออ้ื ต่อการจดั การ
เรยี นรู้ และมคี วามปลอดภยั
5.5 จัดให้ผเู้ รยี นได้ใช้ประโยชนจ์ ากการจัดสภาพแวดลอ้ ม
ตามศกั ยภาพของผูเ้ รียน
6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อสนับสนุน
การบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้
6.1 ไดศ้ ึกษาความต้องการเทคโนโลยสี ารสนเทศ
ท่เี หมาะสมกบั สภาพของสถานศกึ ษา
6.2 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื บรหิ ารจดั การและ
การจดั การเรยี นร้ทู ีเ่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
6.3 พฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื บรหิ ารจดั การ
และการจดั การเรียนรทู้ ่เี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
6.4 ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ ใช้ในการบริการ
จดั การและการจดั การเรียนรู้ท่เี หมาะสมกบั สภาพของ
สถานศึกษา
6.5 ติดตามผลการใช้บรกิ ารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ของสถานศึกษาเพ่อื ใช้ในการบริการจัดการและการจัดการ
เรยี นร้ทู เ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา
การปฏิบตั งิ าน *** 41
ผลสาเรจ็ (ข้อ)
ประเดน็ พิจารณา ปฏิบตั ิ ไม่ ผลการประเมิน
ปฏบิ ตั ิ 5.00 คุณภาพทีไ่ ด้
สรุปผลการประเมิน = ผลรวมผลสาเรจ็ ทุกประเด็นพจิ ารณา ยอดเยย่ี ม
จานวนประเดน็ พิจารณา
หมายเหตุ กรอกข้อมูลเฉพาะแถบสีขาว
*** ผลสาเรจ็ = จานวนข้อทป่ี ฏบิ ตั ใิ นแต่ละประเด็นพิจารณา
แปลผลการประเมินคณุ ภาพท่ีได้ คา่ เฉลยี่ ผลการประเมินคณุ ภาพทีไ่ ด้
ปฏบิ ัติ 1 ข้อ ได้ระดับคณุ ภาพ กาลงั พฒั นา 1.00 – 1.49 ระดบั คณุ ภาพ กาลังพฒั นา
ปฏบิ ัติ 2 ข้อ ได้ระดับคุณภาพ ปานกลาง 1.50 –2.49 ระดับคณุ ภาพ ปานกลาง
ปฏิบัติ 3 ข้อ ได้ระดบั คุณภาพ ดี 2.50 – 3.49 ระดับคณุ ภาพ ดี
ปฏิบัติ 4 ข้อ ได้ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ 3.50 – 4.49 ระดบั คณุ ภาพ ดเี ลศิ
ปฏิบตั ิ 5 ข้อ ได้ระดบั คณุ ภาพ ยอดเยีย่ ม 4.50 – 5.00 ระดับคณุ ภาพ ยอดเยย่ี ม
จุดเน้นและกระบวนการพฒั นาท่สี ่งผลต่อระดับคณุ ภาพของมาตรฐานท่ี 2
โรงเรียนอนบุ าลอรวรรณ ไดม้ ีกระบวนการบริหารการจัดการและมผี ลการดาเนินงาน ดังนี้
1 มเี ป้าหมาย วสิ ยั ทศั น์ และพนั ธกจิ ที่สถานศกึ ษากาหนดชัดเจน
สถานศึกษาจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาสามปี มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจไว้อย่าง
ชัดเจน สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชนท้องถ่ิน แผนได้รับความเห็นชอบจากคณะ
กรรมการบริหารโรงเรียน กระบวนการจัดทาแผนทุกฝ่ายมีส่วนร่วมในการจัดทา ได้แก่ ผู้บริหาร ครู บุคลากร และ
คณะกรรมการบริหารโรงเรียน จัดโครงการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา กิจกรรมจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาสามปี กจิ กรรมจดั ทาแผนปฏิบตั กิ ารประจาปี
ผลการดาเนินงาน โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ มีการกาหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน
สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของ ชุมชน ท้องถ่ิน วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ
นโยบายของรัฐบาลและของต้นสังกัด รวมทั้งทนั ต่อการเปลีย่ นแปลงของสังคม ระดับคณุ ภาพระดบั ยอดเยี่ยม
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งาน ขอ้ 1. มเี ป้าหมาย วสิ ยั ทัศน์ และพันธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากาหนดชัดเจน มคี ุณภาพระดับ
ยอดเยยี่ ม
42
2. มีระบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา
สถานศึกษาบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ โดยจัดโครงสร้างการบริหารงานเป็น 4
ฝ่าย ได้แก่ ฝ่ายวิชาการ ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายงบประมาณ และฝ่ายบริหารงานท่ัวไป มีการติดตามตรวจสอบประเมินผล
และปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเน่ือง โดยการรายงานผลการดาเนินโครงการกิจกรรม มีการวางแผนการบริหาร
อัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนท่ีเป็นระบบ โดยจัดโครงการปรับปรุงภูมิทัศน์
ของโรงเรียนให้เอ้ือต่อการเรียนการสอน โครงการปรับปรุงและพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศ โครงการพัฒนาระบบ
ประกนั คุณภาพภายใน โครงการงานโภชนาการอาหารกลางวันและงานโภชนาการอาหารเสริม (นม) มีระบบการนิเทศ
ภายใน และนาข้อมูลมาใช้ในการพัฒนาครู บุคลากรและผู้ท่ีเกี่ยวข้องทุกฝ่ายอย่างเป็นระบบ ส่งเสริมให้ผู้ท่ีเก่ียวข้อง
ทุกฝ่ายที่มีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษา โดยจัดกิจกรรม
ประเมนิ คุณภาพภายในโดยสถานศกึ ษา กิจกรรมประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง
ผลการดาเนินงาน ส่งผลให้ โรงเรียนอนุบาลอรวรรณ มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับ
คณุ ภาพระดับยอดเย่ยี ม
สรุปผลจาการดาเนินงาน ขอ้ 2. มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา มคี ณุ ภาพระดับยอดเยยี่ ม
3. ดาเนนิ งานพฒั นาวิชาการที่เน้นคณุ ภาพผู้เรยี นรอบดา้ นตามหลกั สูตรสถานศึกษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ท้ังด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริม หลักสูตรท่ีเน้น
คุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย และครอบคลุมทุก กลุ่มเป้าหมาย
หมายรวมถงึ การจัดการเรียนการสอนของกลมุ่ ทีเ่ รียนแบบควบรวมหรือกลุ่มทเ่ี รยี นร่วมด้วย โดยจัดสภาพแวดลอ้ มทาง
กายภาพและสังคมที่ดีและกระตุ้นให้ผู้เรียนใฝ่เรียนรู้ท่ัวถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย มีการพัฒนางานวิชาการด้านงานพัฒนา
หลกั สูตรสถานศึกษา
ผลการดาเนินงาน สง่ ผลให้ ครูใช้ประสบการณ์ในการออกแบบการจดั กจิ กรรม มคี ณุ ภาพระดบั ยอดเยีย่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 3. ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร
สถานศกึ ษาและทกุ กลุม่ เป้าหมาย มคี ณุ ภาพระดบั ยอดเย่ยี ม
4. พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพ
สถานศึกษาส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้เช่ียวชาญทางวิชาชพี และจัดให้มีชุมชนการเรียนรทู้ าง
วิชาการ มาใชใ้ นการพฒั นางานและการเรียนรู้ของผูเ้ รียน มกี ารวางแผนการดาเนนิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการ
ศึกษาให้มีความรู้ ความก้าวหน้า คณะครูและบุคลากรจัดทาแผนพัฒนาตนเองรายบุคคล เพ่ือเป็นข้อมูลในการพัฒนา
ตนเองให้ตรงกับความสนใจและความต้องการของตนเอง แล้วนาข้อมูลที่ได้มาจัดทาเป็นสารสนเทศเกี่ยวกับความ
ต้องการในการพัฒนาตนเองให้เช่ียวชาญของบุคลากร นาความรู้ที่ได้รับจากการเข้ารับการพัฒนาตนเองไปใช้พัฒนา
กระบวนการจัดการเรยี นรู้ทีส่ ง่ ผลตอ่ คุณภาพของผ้เู รยี นใหม้ ปี ระสิทธิภาพ
ผลการดาเนนิ งาน ส่งผลให้ ครูและบุคลากรให้มีการพัฒนาและมีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชีพ มีคุณภาพระดบั
ยอดเย่ยี ม
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 4. จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพ่ือการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และเพียงพอ มี
คณุ ภาพระดบั ยอดเยี่ยม
43
5. จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นร้อู ย่างมคี ณุ ภาพ
สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพท้ังภายในและภายนอกห้องเรียน และสภาพแวดล้อม ทางสังคมท่ี
เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ และมีความปลอดภัย การจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
และสอื่ การเรียนรู้เพ่ือสนับสนนุ การจดั ประสบการณ์
ผลการดาเนินงาน สง่ ผลให้ โรงเรยี นอนบุ าลอรวรรณ อานวยความสะดวก และให้บรกิ ารส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศวัสดุ
และอปุ กรณ์ เพื่อสนบั สนุนการจดั ประสบการณ์และพฒั นาครู มีคณุ ภาพระดับยอดเยีย่ ม
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 5. ให้บริการส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพื่อสนับสนุนการจัด
ประสบการณ์ มคี ณุ ภาพระดับยอดเย่ียม
6. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการและการจดั การเรยี นรู้
สถานศึกษาจัดระบบการจัดหาการพัฒนาและการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ในการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝา่ ย
มสี ่วนรว่ ม
ผลการดาเนินงาน มรี ะบบบรหิ ารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกีย่ วข้องทุกฝ่ายมีสว่ นรว่ ม มีคุณภาพระดับยอดเยี่ยม
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 6. มีระบบบริหารคุณภาพท่ีเปิดโอกาสให้ผู้เก่ียวข้องทุกฝ่ายมีส่วนร่วม มีคุณภาพ
ระดับยอดเย่ียม
สรปุ ผลจาการดาเนินงานมาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ มคี ณุ ภาพระดบั ยอดเยีย่ ม
44
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เนน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สาคญั
การปฏบิ ัตงิ าน เปา้ หมาย จานวนครู (คน) *** ผลการประเมนิ
ปฏิบตั ิ ไม่ (ร้อยละ) ผลการ คณุ ภาพท่ีได้
ประเดน็ พจิ ารณา บรรจุ ผา่ นเกณฑท์ ่ี ประเมิน(รอ้ ย
ปฏิบตั ิ กาหนด ละ) ดีเลิศ
1 จัดการเรยี นรู้ผ่านกระบวนการคิดและ
ปฏิบัติจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ 80 6 5 83.33 ยอดเย่ียม
ในชวี ิตได้ ดเี ลิศ
6- 5 83.33
1.1 จัดกิจกรรมการเรียนรตู้ ามมาตรฐานการ
เรยี นรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษาที่ 6- 6 100
เนน้ ให้ผู้เรยี นได้เรยี นรู้ โดยผ่านกระบวนการ 5
คดิ และปฏิบตั ิจรงิ 6 83.33
1.2 มแี ผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่สามารถนาไป 5
จดั กิจกรรมได้จรงิ - 6 83.33
1.3 มีรูปแบบการจดั การเรียนรูเ้ ฉพาะ 6
สาหรบั ผู้ทีม่ ีความจาเป็น และตอ้ งการความ 6 100
ชว่ ยเหลอื พเิ ศษ 6 100
1.4 ฝึกทักษะให้ผู้เรยี นได้แสดงออก แสดง - 6 100
ความคิดเหน็ สรปุ องค์ความรู้ และนาเสนอ 6 100
ผลงาน 6- 100
1.5 สามารถจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้ผเู้ รียน 5 83.33
สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ 80 -
6-
2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่
เรียนร้ทู เี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้ 6-
6-
1.1 ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศในการ
จัดการเรยี นรู้ 80 -
1.2 ใชแ้ หล่งเรยี นรู้ และภมู ิปัญญาท้องถน่ิ ใน
การจัดการเรียนรู้
1.3 สรา้ งโอกาสให้ผู้เรยี นได้แสวงหาความรู้
ดว้ ยตนเองจากสอ่ื ทห่ี ลากหลาย
3 มกี ารบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก
3.1 ผสู้ อนมีการบริหารจัดการชั้นเรยี น 6- 5 83.33
โดยเน้นการมีปฏสิ มั พนั ธ์เชิงบวก 6- 5 83.33
3.2 ผู้สอนมกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียน
ใหเ้ ด็กรกั ครู ครรู กั เด็ก และเดก็ รักเด็ก
เด็กรักทจี่ ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกัน
อยา่ งมคี วามสขุ
45
ประเด็นพิจารณา การปฏบิ ัตงิ าน เป้าหมาย จานวนครู (คน) *** ผลการประเมนิ
ปฏบิ ตั ิ ไม่ (รอ้ ยละ) ผลการ คณุ ภาพทีไ่ ด้
4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็น บรรจุ ผ่านเกณฑท์ ี่ ประเมิน(ร้อย
ระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน ปฏบิ ตั ิ กาหนด ละ) ดีเลิศ
4.1 มีการตรวจสอบและประเมนิ คณุ ภาพการ 80 - 5 83.33 ดีเลิศ
จัดการเรียนรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 83.33
4.2 มีขนั้ ตอนโดยใชเ้ คร่อื งมอื และวธิ ีการวัดและ 6- 5 83.33 ดีเลิศ
ประเมนิ ผลท่ีเหมาะสมกบั เปา้ หมายในการ 6- 5
จัดการเรียนรู้ 83.33
4.3 เปิดโอกาสใหผ้ ู้เรยี นและผมู้ สี ว่ นเก่ียวขอ้ งมี 6- 5 100
สว่ นร่วมในการวัดและประเมนิ ผล 6- 6
4.4 ใหข้ อ้ มูลยอ้ นกลบั แก่ผู้เรียนเพือ่ นาไปใชใ้ น 83.33
การพฒั นาการเรียนรู้ 80 - 5
83.33
5 มกี ารแลกเปลยี่ นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู 6- 5 83.33
สะทอ้ นกลบั เพ่ือพัฒนาปรับปรงุ การ
จัดการเรียนรู้ 6- 5 86.67
5.1 และผู้มีส่วนเกี่ยวขอ้ งรว่ มกันแลกเปลี่ยน ผลรวมผลการประเมนิ ทุกประเด็นพิจารณา
ความร้แู ละประสบการณ์ในการจดั การเรียนรู้ จานวนประเดน็ พิจารณา
5.2 นาขอ้ มลู ปอ้ นกลบั ไปใช้ในการปรับปรงุ และ
พัฒนาการจัดการเรยี นร้ขู องตนเอง
สรปุ ผลการประเมนิ =
วิธีคานวณ 100 x จานวนครผู า่ นเกณฑ์ที่โรงเรยี นกาหนด
*** ผลการประเมิน (รอ้ ยละ) = จานวนครูทัง้ หมด
แปลผลการประเมนิ คุณภาพท่ีได้ = กาลงั พัฒนา
รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 = ปานกลาง
ร้อยละ 50.00 – 59.99 = ดี
ร้อยละ 60.00 – 74.99 = ดเี ลิศ
รอ้ ยละ 75.00 – 89.99 = ยอดเยีย่ ม
รอ้ ยละ 90.00 – 100
46
จดุ เนน้ และกระบวนการพฒั นาทสี่ ง่ ผลต่อระดบั คุณภาพของมาตรฐานที่ 3
การจดั ประสบการณ์ท่เี น้นเด็กเป็นสาคัญ มกี ระบวนการพฒั นาและมีผลการดาเนนิ งาน
1. จดั การเรียนรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้
จัดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชวี้ ดั ของหลักสูตรสถานศึกษาทีเ่ นน้ ให้ผู้เรียน ไดเ้ รียนรู้ผา่ น
กระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริง มีแผนการจดั การเรียนรทู้ ่ีสามารถนาไปจัดกิจกรรมได้จริง มรี ูปแบบ การจดั การเรียนรู้
เฉพาะสาหรับผู้ท่ีมีความจาเป็นและมีความต้องการช่วยเหลือพิเศษ ผู้เรียนได้รับการฝึกทักษะ แสดงออก แสดงความ
คิดเห็น สรปุ องค์ความรู้ นาเสนอผลงานและสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้
ผลการดาเนินงาน ครู ร้อยละ 83.33 มีการจัดประสบการณ์ที่ส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดลุ
เตม็ ศักยภาพ
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 1. จัดการเรียนเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนาไป
ประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ได้ มีคณุ ภาพระดบั ยอดเยยี่ ม
2. ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ทเ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้
มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมท้ังภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ โดย
สรา้ งโอกาสให้ผ้เู รียนไดแ้ สวงหาความรู้ด้วยตนเองจากส่ือท่ีหลากหลาย สรา้ งโอกาสให้เดก็ ได้รบั ประสบการณต์ รง เล่น
และปฏบิ ัติอยา่ งมีความสขุ
ผลการดาเนินงาน ครู รอ้ ยละ 100 สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 2. ใช้ส่ือเทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ มีคุณภาพ
ระดับยอดเยี่ยม
3. มีการบรหิ ารจดั การช้ันเรยี นเชิงบวก
ครผู ู้สอนมกี ารบรหิ ารจัดการชน้ั เรยี น โดยเน้นการมปี ฏิสมั พันธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รักครู ครรู ักเด็ก และเดก็ รักเด็ก
เด็กรกั ท่ีจะเรียนรู้ สามารถเรยี นรรู้ ว่ มกนั อย่างมีความสขุ
ผลการดาเนนิ งาน ครู ร้อยละ 83.33 จดั บรรยากาศท่ีเออื้ ตอ่ การเรียนรูใ้ ชส้ อ่ื และเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมกบั วัย
สรปุ ผลจาการดาเนนิ งาน ข้อ 3. มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก มคี ณุ ภาพระดับดเี ลิศ
4. ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น
มีการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใช้เครื่องมือ และวิธีการ
วัดและประเมินผลท่ีเหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียนเพื่อ นาไปใช้
พัฒนาการเรียนรู้
ผลการดาเนินงาน ครู รอ้ ยละ 83.33 ตรวจสอบและประเมินผู้เรยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผูเ้ รียน
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 4. ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน มี
คณุ ภาพระดบั ดเี ลิศ
47
5. มกี ารแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และใชข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพ่อื พฒั นาและปรับปรงุ การจดั การเรียนรู้
ครูและผมู้ ีส่วนเก่ียวข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์รวมท้ังให้ข้อมลู ป้อนกลับ เพือ่ นาไปใช้ใน
การปรบั ปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ผลการดาเนินงาน ครู ร้อยละ 83.33 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และใช้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ
ปรับปรงุ การจดั การเรยี นรู้
สรุปผลจาการดาเนินงาน ข้อ 5. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และใช้ข้อมูลสะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและปรับปรุงการ
จดั การเรยี นรู้ มีคุณภาพระดบั ดีเลศิ
สรุปผลจาการดาเนินงานมาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีคุณภาพ
ระดับดีเลศิ