คู่มือ
คู่มือ พัฒนาศักยภาพ
พัฒนาศักยภาพ
แกนน�าวัยรุ่น
แกนน�าวัยรุ่น
105
105
ส�ำนักอนำมัยกำรเจริญพันธ์ุ ส�ำนักอนำมัยกำรเจริญพันธ์ุ
กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข
http://rh.anamai.moph.go.th http://rh.anamai.moph.go.th
คู่มือ
พัฒนาศักยภาพ
แกนน�าวัยรุ่น
105
ชื่อหนังสือ คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
ISBN 978-616-11-3427-3
จัดท�าโดย ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
พิมพ์ครั้งที่ 1 กรกฎาคม 2560
จ�านวนที่พิมพ์ 1,300 เล่ม
จัดพิมพ์และเผยแพร่โดย ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย
ถนนติวานนท์ อ�าเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี
โทรศัพท์ 0 2590 4238 โทรสาร 0 2590 4163
http://rh.anamai.moph.go.th
พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ากัด
ค�ำน�ำ
�
�
�
กรมอนามัย โดยสานักอนามัยการเจริญพันธุ์ จัดทาคู่มือการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น โดยม ี
�
วัตถุประสงค์ เพ่อให้แกนนาวัยรุ่นมีเจตคติท่ด มีความรู้ท่ถูกต้อง และฝึกทักษะต่างๆ ท่จาเป็นต่อการป้องกัน
ื
�
ี
ี
ี
ี
ี
ี
ั
ั
ื
การต้งครรภ์ในวัยรุ่นและปัญหาพฤติกรรมสุขภาพอ่นๆ ท่เก่ยวข้องของวัยรุ่น รวมท้งสนับสนุนให้เกิดรูปแบบ
�
�
ื
ื
ื
ื
การทางานแบบเพ่อนช่วยเพ่อน ในการให้ความรู้ การให้คาปรึกษาเบ้องต้น และส่งต่อภาคีเครือข่าย เพ่อการดูแล
�
ช่วยเหลือวัยรุ่นได้ตามความเหมาะสม คู่มือการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น ประกอบด้วย แผนการจัดกิจกรรม
ี
�
ื
การเรียนรู้ท่ครอบคลุมสาระการเรียนรู้จานวน 3 หมวด ประกอบด้วย หมวดท 1 เร่องการส่งเสริมคุณค่าแห่งตน
่
ี
ื
ประกอบด้วยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จานวน 2 แผน คือ เร่องค่าของตนสร้างคนให้สมดุล และสวยหล่อ
�
ั
ไม่ขอเส่ยง หมวดท 2 เร่องความรอบรู้เร่องเพศและการป้องกันการต้งครรภ์ในวัยรุ่น ประกอบด้วย แผนการจัด
ื
ื
่
ี
ี
กิจกรรมการเรียนรู้ จ�านวน 3 แผน คือ เรื่องรู้จักและเท่าทัน รักเป็น...ปลอดภัย และชีวิตออกแบบได้ (ผลกระทบ
ั
่
ื
จากการต้งครรภ์ไม่พึงประสงค์) หมวดท 3 เร่องการส่งเสริมและช่วยเหลือเพ่อนวัยรุ่น ประกอบด้วย แผนการ
ี
ื
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ จ�านวน 2 แผน คือ เรื่อง พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
สิ่งส�าคัญที่วัยรุ่นควรรู้ และการให้ค�าปรึกษาเพื่อนช่วยเพื่อน
ขอขอบคุณผู้บริหารกรมอนามัย อาจารย์จากคณะพยาบาลศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์ และคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ครูและนักเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
�
การศึกษาข้นพ้นฐาน และสังกัดสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย บุคลากร
ั
�
ื
สาธารณสุขจากสังกัดส�านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรมสุขภาพจิต และกรมอนามัย ที่ได้ให้
�
ิ
้
ิ
ึ
ุ
ู
่
�
�
ู
�
ุ
ื
ั
้
ี
้
ี
ู
ื
คาแนะนา ปรบปรงเนอหา ทาให้ค่มอนมความสมบรณ์ยงขน และเผยแพร่ให้ผ้สนใจนาไปประยกต์ใช้ให้เกด
การพัฒนาต่อยอดความรู้สู่คุณค่าที่ยั่งยืน
กรมอนามัย หวังเป็นอย่างย่งว่า คู่มือการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น คงจะเป็นประโยชน์ต่อบุคลากร
ิ
�
สาธารณสุขหรือหน่วยงานท่เก่ยวข้องในการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น ส่งเสริมให้วัยรุ่นเข้าถึงการรับบริการ
ี
�
ี
และสนับสนุนให้เกิดรูปแบบกิจกรรมเพ่อนช่วยเพ่อนในการให้ความรู้ การให้คาปรึกษาเบ้องต้น และการส่งต่อ
ื
ื
�
ื
ภาคีเครือข่ายเพื่อการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นได้ตามความเหมาะสมต่อไป
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น ก
4 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
สำรบัญ
หน้า
ค�าน�า ก
สารบัญ ข
บทน�า ค
ค�าแนะน�าการใช้คู่มือ 1
โครงสร้างหลักสูตร 3
ตารางการอบรมพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 6
หมวดที่ 1 การส่งเสริมคุณค่าแห่งตน 7
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 ค่าของตน สร้างคนให้สมดุล 9
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 สวยหล่อ ไม่ขอเสี่ยง 12
หมวดที่ 2 ความรอบรู้เรื่องเพศและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น 17
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 รู้จักและเท่าทัน 19
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 รักเป็น...ปลอดภัย 22
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ชีวิตออกแบบได้ (ผลกระทบจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์) 31
หมวดที่ 3 การส่งเสริมและช่วยเหลือเพื่อนวัยรุ่น 35
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 37
สิ่งส�าคัญที่วัยรุ่นควรรู้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การให้ค�าปรึกษาเพื่อนช่วยเพื่อน 41
ภาคผนวก 47
แบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม 49
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังการอบรม 51
ตัวอย่างรูปโครงร่างวัยรุ่น ชาย หญิง 53
ตัวอย่างรูปต้นไม้เป้าหมายชีวิต 54
รายชื่อภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง 57
บรรณานุกรม 60
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น ข
6 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
บทน�ำ
กระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย โดยเฉพาะกลุ่มวัยรุ่น
ี
ั
มีการกาหนดยุทธศาสตร์การจัดบริการท่มีคุณภาพมาตรฐานครอบคลุมและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่ม ท้งในสถานบริการ
�
�
สาธารณสุข สถานศึกษาและชุมชน โดยมีมาตรการท่สาคัญคือ การจัดบริการสุขภาพที่เป็นมิตร สอดคล้อง
ี
ั
กับความต้องการและบริบทของวัยรุ่น เน้นการดูแลสุขภาพวัยรุ่นแบบองค์รวม ท้งสุขภาพกาย สุขภาพจิต พัฒนาการ
ี
้
ด้านการเรียนรู้ อารมณ์ และสังคม ท้งน กรมวิชาการของกระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย กรมควบคุมโรค
ั
และกรมสุขภาพจิต ร่วมกันจัดทายุทธศาสตร์และขับเคล่อนการดาเนินงานแบบบูรณาการตามยุทธศาสตร์
�
ื
�
่
ี
การพัฒนากลุ่มวัยรุ่น ภายใต้กรอบการบูรณาการด้านยุทธศาสตร์กลุ่มวัยรุ่น โดยเฉพาะยุทธศาสตร์ท 2
ี
การจัดบริการท่มีคุณภาพมาตรฐานครอบคลุมและเข้าถึงวัยรุ่นทุกกลุ่มในสถานบริการสาธารณสุข สถานศึกษา
และชุมชน โดยมาตรฐานบริการสุขภาพที่เป็นมิตรส�าหรับวัยรุ่นและเยาวชน (Youth Friendly Health Services :
ิ
ี
่
YFHS) ได้กาหนดให้องค์ประกอบท 2 การเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายและการสร้างความต้องการในการใช้บรการ พบว่า
�
�
ปัจจัยสู่ความสาเร็จในการเข้าถึงบริการสุขภาพท่เป็นมิตรสาหรับวัยรุ่นและเยาวชน ส่วนใหญ่คือการจัดบริการ
ี
�
เชิงรับเชิงรุกท่สอดคล้องกับความต้องการของวัยรุ่นและเยาวชน รวมท้งแกนนาวัยรุ่นเป็นจุดเช่อมต่อสาหรับ
ื
�
ั
ี
�
ั
ื
การเข้าถึงบริการของวัยรุ่น นอกจากน้นยังมีเป้าหมายเพ่อให้วัยรุ่นเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและใช้บริการสุขภาพ
ตามความเหมาะสม เพื่อสอดคล้องกับพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
ั
ุ
ี
ิ
ในมาตรา 5 ว่าด้วย “วยร่นมสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมสิทธได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รบการบริการ
ั
ี
อนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัดสวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาค
ี
ี
้
และไม่ถูกเลือกปฏิบัติและได้รับสิทธิอ่นใดท่เป็นไปเพ่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัติน อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
ื
ื
และเพียงพอ”
ดังนั้น กรมอนามัย โดยส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์ ร่วมกับภาคีเครือข่ายที่มีการด�าเนินงานของโรงพยาบาล
ท่ผ่านมาตรฐานบริการสุขภาพท่เป็นมิตรสาหรับวัยรุ่นและเยาวชนได้จัดคู่มือการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น
ี
�
ี
�
ื
ี
�
เพ่อให้บุคลากรด้านสาธารณสุขและผู้เก่ยวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาศักยภาพแกนนาวัยรุ่น โดยมุ่งหวัง
ให้วัยรุ่นได้รับข้อมูลข่าวสาร ได้รับคาปรึกษาและเข้าถึงบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ เพ่อป้องกันและแก้ไขปัญหา
ื
�
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น ค
ค�ำแนะน�ำกำรใช้คู่มือ
1. วิทยำกร
ศึกษาวัตถุประสงค์และกิจกรรมของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท�าความเข้าใจและเตรียมสื่อการสอน
ั
ื
และเอกสารประกอบการสอน ท้งน้วิทยากรสามารถปรับตัวอย่างหรือกิจกรรมให้สอดคล้องกับบริบทของพ้นท ี ่
ี
และวัตถุประสงค์ของแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
2. กลุ่มเป้ำหมำย
วัยรุ่นชายและหญิงอายุประมาณ 12 - 20 ปี จ�านวนประมาณ 30 คน ต่อรุ่น (ปรับตามความเหมาะสม)
3. ระยะเวลำฝึกอบรม
ระยะเวลา 2 วัน
4. กระบวนกำรอบรม
ก่อนการอบรม
l ท�าแบบทดสอบก่อนการอบรม (ทดสอบความรู้และทัศนคติ)
l กิจกรรมความคาดหวังก่อนการอบรม (เขียนใส่กระดาษ)
l ท�าข้อตกลงร่วมกัน
l กิจกรรมละลายพฤติกรรมและการแบ่งกลุ่ม
l ผู้เข้ารับการอบรมประมาณ 30 คน ควรแบ่งเป็น 3 กลุ่ม
ระหว่างการอบรม
l สร้างการมีส่วนร่วมและการเรียนรู้ของผู้เข้ารับการอบรมในแต่ละกิจกรรมโดยใช้กระบวนการเรียนรู้
แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
l ควรใช้บัตรเสริมพลัง โดยวิทยากรใช้กระดาษขนาดประมาณธนบัตร พิมพ์คะแนน เช่น 50 - 500 คะแนน
�
ื
(กาหนดคะแนนตามความเหมาะสม) เพ่อเป็นการเสริมพลังให้แต่ละกลุ่ม เม่อผู้เข้ารับการอบรม
ื
�
�
มีส่วนร่วมในการทากิจกรรม เช่น ตอบคาถาม ความสามัคคีในกลุ่ม ตรงต่อเวลา กล้าแสดงออก
�
ี
�
หรือสามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ตามเกณฑ์ท่วิทยากรกาหนด ก็จะได้รับคะแนนเป็นบัตรเสริมพลัง
(จ�านวนคะแนนแล้วแต่ดุลยพินิจของวิทยากร) ซึ่งวันสุดท้ายของการอบรม รวมคะแนนของแต่ละกลุ่ม
และมอบรางวัลเพื่อเป็นแรงจูงใจ
หลังการอบรม
l ท�าแบบทดสอบหลังการอบรม
l ท�าแบบประเมินความพึงพอใจ
l กิจกรรมสิ่งที่ได้รับหลังการอบรม (เขียนใส่กระดาษ)
l มอบเกียรติบัตรผู้เข้ารับการอบรม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 1
5. กำรประเมินผล
1. ความรู้ ทักษะและทัศนคติโดยการท�าแบบทดสอบ ก่อน – หลัง การอบรม
2. ประเมินผลการฝึกปฏิบัติ สังเกตพฤติกรรม การตอบค�าถาม และการมีส่วนร่วมของการท�ากิจกรรม
3. การประเมินความพึงพอใจ
2 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
โครงสร้ำงหลักสูตร
ประกอบด้วย 3 หมวด 7 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดังนี้
หมวดที่ 1 การส่งเสริมคุณค่าแห่งตน ประกอบด้วย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 ค่าของตน สร้างคนให้สมดุล
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 สวยหล่อ ไม่ขอเสี่ยง
หมวดที่ 2 ความรอบรู้เรื่องเพศและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น ประกอบด้วย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 3 รู้จักและเท่าทัน
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 4 รักเป็น...ปลอดภัย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 5 ชีวิตออกแบบได้ (ผลกระทบจากการตัั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์)
หมวดที่ 3 การส่งเสริมและช่วยเหลือเพื่อนวัยรุ่น ประกอบด้วย
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์
ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 สิ่งส�าคัญที่วัยรุ่นควรรู้
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การให้ค�าปรึกษาเพื่อนช่วยเพื่อน
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 3
ประเด็นส�ำคัญของแผนกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
แผนการจัดกิจกรรม ชื่อเรื่อง ประเด็นส�าคัญ
การเรียนรู้
หมวดที่ 1 การส่งเสริมคุณค่าแห่งตน
1 ค่าของตน สร้างคนให้สมดุล การเรียนรู้และเข้าใจในคุณค่าและความส�าคัญ
ของตนเองและผู้อื่น
2 สวยหล่อ ไม่ขอเสี่ยง ค่านิยมหรือแฟชั่นของวัยรุ่น เรื่อง
l การบริโภคอาหาร การส่งเสริมให้วัยรุ่น
เลือกกินอาหารให้ถูกหลักโภชนาการ
l การให้วัยรุ่นตระหนักถึงความเสี่ยงจากแฟชั่นนิยม
เช่น การจัดฟันแฟชั่น การสักร่างกาย การใส่บิ๊กอาย
เป็นต้น
l การรู้เท่าทันสื่อโฆษณาผลิตภัณฑ์ด้านสุขภาพ
สามารถเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสม
หมวดที่ 2 ความรอบรู้เรื่องเพศและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
3 รู้จักและเท่าทัน การเรียนรู้ในการจัดการภาวะทางอารมณ์
ความรู้สึกทางเพศ
4 รักเป็น...ปลอดภัย การเรียนรู้และตระหนักถึงความส�าคัญ
l การป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
และการตั้งครรภ์
l การมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัย
5 ชีวิตออกแบบได้ ผลกระทบจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ของวัยรุ่น
หมวดที่ 3 การส่งเสริมและช่วยเหลือเพื่อนวัยรุ่น
6 พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหา ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสิทธิของวัยรุ่น
การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น... สิ่งส�าคัญ ตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหา
ที่วัยรุ่นควรรู้ การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 และบทบาท
ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7 การให้ค�าปรึกษาเพื่อนช่วยเพื่อน l การเสริมสร้างทัศนคติที่ดีในการสื่อสาร
l การให้ค�าปรึกษาเบื้องต้นและการส่งต่อเครือข่าย
เพื่อการดูแลกลุ่มเพื่อนวัยรุ่น
4 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้แกนน�าวัยรุ่นมีความรู้ เจตคติที่ดีต่อเรื่องเพศและการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ื
ื
ื
�
2. สนับสนุนให้เกิดรูปแบบการทางานแบบเพ่อนช่วยเพ่อน การให้ความรู้ การให้คาปรึกษาเบ้องต้น
�
และการส่งต่อเครือข่ายเพื่อการดูแลช่วยเหลือวัยรุ่นได้ตามความเหมาะสม
เป้ำหมำยกำรน�ำคู่มือไปใช้
�
ื
ี
ี
เพ่อให้บุคลากรสาธารณสุข หรือบุคลากรท่เก่ยวข้องด้านการให้ความช่วยเหลือวัยรุ่น นาหลักสูตรไปใช้
ในการพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่นทั้งในและนอกระบบสถานศึกษาตามความเหมาะสม
รูปแบบแนวทำงกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้
ื
�
ี
เพ่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากท่สุด จึงได้นากระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
(Participatory Learning) มาใช้ในการฝึกอบรม โดยมีหลักการ ดังนี้
กำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
ี
การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม อาศัยหลักการเรียนรู้ท่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยมีพ้นฐานสาคัญ
�
ื
คือประการแรก การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ และประการที่สอง คือ การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบของการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ในการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
1. ประสบการณ์ (experience) ผ้สอนช่วยให้ผ้เข้ารบการอบรมนาประสบการณ์เดมของตนมาพฒนา
�
ั
ู
ั
ิ
ู
เป็นองค์ความรู้
2. การสะท้อนความคิดและถกเถียง (Reflex and Discussion) ผู้สอนช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาส
แสดงออก เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
3. เข้าใจและเกิดความคิดรวบยอด (Understanding and Conceptualization) ผู้เรียนเกิดความ
เข้าใจ และน�าไปสู่การเกิดความคิดรวบยอด อาจเกิดขึ้นโดยผู้เรียนเป็นฝ่ายริเริ่ม แล้วผู้สอนช่วยเติมแต่งให้สมบูรณ์
หรือในทางกลับกัน ผู้สอนเป็นผู้น�าทางและผู้เรียนเป็นผู้สานต่อ จนความคิดนั้นสมบูรณ์เป็นความคิดรวบยอด
4. การทดลองหรือประยุกต์แนวคิด (Experiment/Application) ผู้เรียนนาการเรียนรู้ท่เกิดข้นใหม่
�
ึ
ี
ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ต่างๆ จนเกิดเป็นแนวทางการปฏิบัติของผู้เรียนเอง
ข้อเสนอแนะ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ควรจัดกิจกรรมตามล�าดับแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ท 1 – 7 หรือสามารถเลือกปรับแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และเวลาได้ตามความเหมาะสม
่
ี
ของกลุ่มเป้าหมายและบริบทของพื้นที่ ทั้งในและนอกระบบสถานศึกษา
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 5
14.30-16.00 น. แผนที่ 4 รักเป็น... ปลอดภัย
13.30-14.30 น. แผนที่ 3 รู้จักและเท่าทัน 12.30-15.30 น. แผนที่ 7 - เทคนิคการให้ค�าปรึกษาเพื่อนช่วยเพื่อน - พิธีมอบเกียรติบัตรและปิดการอบรม
ตำรำงกำรอบรมพัฒนำศักยภำพแกนน�ำวัยรุ่น
12.00-13.30 น. แผนที่ 2 สวยหล่อ ไม่ขอเสี่ยง - ทดสอบหลังการอบรม
11.00-12.00 น. พักรับประทาน อาหารกลางวัน 12.00-12.30 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์
10.00-11.00 น. แผนที่ 1 ค่าของตน สร้างคนให้สมดุล 11.00-12.00 น. พักรับประทาน อาหารกลางวัน
09.00-10.00 น. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์/ ละลายพฤติกรรม 10.00-11.00 น. แผนที่ 6 พ.ร.บ.การป้องกัน และแก้ไขปัญหา การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 สิ่งส�าคัญที่วัยรุ่นควรรู้
08.45-09.00 น. พิธีเปิด การประชุม 09.00-10.00 น. แผนที่ 5 ชีวิตออกแบบได้
08.00-08.45 น. - ลงทะเบียน รับเอกสาร - ทดสอบก่อน การอบรม 08.30-09.00 น. กิจกรรม กลุ่มสัมพันธ์
วัน/เวลา 1 2
6 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
หมวดที่ 1
เรื่อง
กำรส่งเสริมคุณค่ำแห่งตน
แผนกำรจัดกิจกรรม ค่ำของตน
เรื่อง
กำรเรียนรู้ที่ 1
สร้ำงคนให้สมดุล
1. สำระส�ำคัญ
�
การเรียนรู้และเข้าใจในคุณค่าและความสาคัญของตนเองและผู้อ่น ย่อมส่งผลให้การอยู่ร่วมกันในสังคม
ื
เต็มไปด้วยความสุข การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) เป็นปัจจัยพ้นฐานของการใช้ศักยภาพตนเองในการ
ื
�
ี
ี
ดาเนินชีวิต คนท่มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองจะมีแรงจูงใจในการปรับตัว ปรับเปล่ยนพฤติกรรม เช่น การเรียนด ี
การคงไว้ซึ่งการกระท�าดี มีพฤติกรรมทางเพศที่เหมาะสม
2. วัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
เพื่อให้วัยรุ่นตระหนักถึงคุณค่าและเห็นความส�าคัญของตนเองและบุคคลที่อยู่รอบๆ ตัว
3. รูปแบบกิจกรรม
1. การวิเคราะห์จากวีดิทัศน์ (เรื่อง เอกชัย วรรณแก้ว) (หลักสูตรเตรียมให้)
2. กิจกรรมกลุ่ม
3. การวิเคราะห์ตนเอง
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. กระดาษรูปโครงร่างวัยรุ่นชาย-หญิง
2. กระดาษฟลิปชาร์ท
3. ปากกาเคมี
ื
4. วีดิทัศน์เร่อง เอกชัย วรรณแก้ว ผู้เขียนชีวิตด้วยปลายเท้า ม 2 แบบ โดยเลือกตามความเหมาะสม
ี
(เวลา 5 นาที)
5. แนวคิดที่ผู้เรียนควรได้
ิ
การรู้จักคุณค่าของตนเอง (ความดีของตนเอง) โดยเร่มจากการมองตัวของเราว่ามีศักยภาพและคุณค่า
อย่างไร คนอื่นมองเรา และคุณค่าตนเองต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชนและสังคม เมื่อเราเข้าใจตนเองได้ดี จะช่วยให้
เข้าใจและยอมรับตนเองและผู้อื่นได้มากขึ้น และส่งผลให้เข้าใจธรรมชาติของเพื่อนวัยรุ่นได้ดียิ่งขึ้น
6. เวลำ
1 ชั่วโมง
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 9
7. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
7.1 กิจกรรมเชื่อมโยงน�าเข้าสู่บทเรียน
7.2 กิจกรรมกลุ่มฝึกการวิเคราะห์จากวีดิทัศน์
1. ชมวีดิทัศน์เรื่อง เอกชัย วรรณแก้ว ผู้เขียนชีวิตด้วยปลายเท้า (เวลา 5 นาที)
2. วิทยากรสุ่มถามผู้เข้ารับการอบรม ชมวีดิทัศน์แล้วรู้สึกอย่างไร
3. วิทยากรแจกกระดาษฟลิปชาร์ท ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองประเด็นคุณค่า (ความดี)
ที่เอกชัย วรรณแก้ว มีต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม มีอะไรบ้าง
4. ให้ตัวแทนกลุ่มน�าเสนอผลการวิเคราะห์ของกลุ่ม
7.3 กิจกรรมการวิเคราะห์ตนเอง
ี
่
1. แจกกระดาษรูปโครงร่างวัยรุ่นชาย-หญิง (ใบงานท 1) ตามเพศ ให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคน
จ�านวน 1 แผ่น
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคน เขียนชื่อ-สกุล ไว้บริเวณกระดาษด้านบน (ใบงานที่ 1)
3. ให้ผู้เข้ารับการอบรม เขียนกิจกรรมการวิเคราะห์ตนเอง ดังนี้
ส่วนสมอง : เขียนข้อดีของตนเองมีอะไรบ้าง
�
ี
ส่วนแขน : เขียนส่งท่เคยทาแล้วมีภาคภูมิใจหรือประทับใจมีอะไรบ้าง ท้งต่อตนเอง ครอบครัว
ั
ิ
ชุมชนและสังคม
ส่วนหัวใจ : เขียนสิ่งที่เพื่อน/คนอื่น เคยบอกหรือชื่นชมตัวเรา
4. ขอตัวแทนแต่ละกลุ่มมาน�าเสนอ ผลการวิเคราะห์ตนเองกลุ่มละ 1-2 คน
7.4 วิทยากรบรรยายเชื่อมโยงว่า การที่ผู้เข้ารับการอบรมบางคนมองไม่เห็นข้อดีของตนเอง หรือมองเห็น
ี
ั
ึ
ข้อดีของตนเองบ้าง ซ่งเป็นธรรมชาติของคนท่มักมองข้ามข้อดีของตนเอง พร้อมท้งจูงใจ
ี
ี
และเสริมแรงให้ผู้เข้ารับการอบรมได้รับรู้ส่งท่เป็นจริงท่มองเห็นและสัมผัสได้ ให้เกิดความภาคภูมิใจ
ิ
มีความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง
7.5 วิทยากรถามค�าถามชวนคิดและสรุปเพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียนต่อไป
ค�าถามชวนคิด : เราจะมีวิธีการสร้างคุณค่าให้ตนเองได้อย่างไร
(โดยการถาม ตอบ ในห้องประชุมใหญ่ ประมาณ 4-5 คน)
แนวทางการตอบส�าหรับวิทยากร เรื่องวิธีการสร้างคุณค่าให้ตนเอง
1. หาจุดเด่นของตนเอง (เรื่องที่ชอบ เรื่องที่ถนัด เรื่องที่เพื่อนๆ ยอมรับให้เราท�าบ่อยๆ) อาจเขียน
ให้ได้ประมาณ 5 - 10 ข้อ ให้เลือกข้อที่เราท�าแล้ว มีความสุขและสนุก ไม่ท้อถอยแม้ยามมีอุปสรรค
2. เขียนเป้าหมาย เช่น ภายใน 6 เดือน จะท�าเรื่องอะไรบ้าง และวางแผนการท�าให้บรรลุเป้าหมาย
ฝึกฝนทุกวัน ด้วยการก�าหนดเป็นกติกาส�าหรับตนเอง ต้องเขียนให้ชัดเจน แล้วเล่าให้เพื่อน หรือบุคคลที่เรา
ไว้ใจที่สามารถเตือนเราได้ เพื่อจะได้ช่วยกระตุ้นให้เรามองเป้าหมาย โดยการพัฒนาศักยภาพตนเอง
10 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
8. สรุปแนวทำงส�ำหรับวิทยำกร
การเห็นคุณค่าในตนเอง (Self-esteem) เป็นความรู้สึกยอมรับตนเองมองตนเองในทางบวก หรือการให้
ี
้
ี
ื
ั
�
ึ
ภาพพจน์ต่อตนเองว่าเป็นบุคคลท่มีคุณค่า การรับรู้น นามาซ่งความรู้สึกเช่อม่นและเป็นสุขทางใจ การส่งเสริม
ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง จะสามารถทาให้วัยรุ่นประสบความสาเร็จในด้านการศึกษา การมีพฤติกรรมท่ถูกต้อง
�
�
ี
เหมาะสม มีวิถีชีวิตท่สมดุล เอาตัวรอดจากความเส่ยงในชีวิตวัยรุ่นได้ ซ่งความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของแต่ละคน
ี
ี
ึ
ึ
อาจจะมีไม่เท่ากัน ข้นอยู่กับว่าแต่ละคนจะยอมรับตนเอง พอใจตนเอง และม่นใจในความสามารถของตนเอง
ั
�
มากน้อยเพียงใด ซ่งบางคนอาจจะมีฐานะทางครอบครัวไม่ด พ่อแม่แยกทางกัน แต่ถ้าเด็กวัยรุ่นเหล่านั้นไม่ตอกยา
้
ี
ึ
ตนเองด้วยปมด้อยเหล่านั้น แล้วพยายามหาทางพัฒนาตนเองให้ดีขึ้น สามารถที่จะอยู่ในสังคมได้อย่างภาคภูมิใจ
การเชื่อมโยงสู่แผนต่อไป
ื
ั
ปัจจุบันส่อออนไลน์เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวัน อาจจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ท้งร่างกาย
�
และจิตใจ ดังน้น วัยรุ่นทุกคนจาเป็นต้องรู้เท่าทันส่อกระแสแฟช่นนิยม เพ่อป้องกันตนเองให้ปลอดภัย
ื
ื
�
ั
ั
จากสื่อต่างๆ ที่ไม่เหมาะสม
9. กำรประเมินผล
1. การน�าเสนอการวิเคราะห์ของกลุ่ม
2. จากกิจกรรมการวิเคราะห์ตนเอง
3. การมีส่วนร่วมและการแสดงความคิดเห็น
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 11
แผนกำรจัดกิจกรรม สวยหล่อ
เรื่อง
กำรเรียนรู้ที่ 2
ไม่ขอเสี่ยง
1. สำระส�ำคัญ
ู
ี
ั
ั
่
็
วยรุ่นเป็นวัยทเช่อมต่อระหว่างวัยเดกและวัยผู้ใหญ่ ต้องการการยอมรบจากกลุ่ม และอยากดด โดดเด่น
ี
ื
กว่าคนอื่นๆ จึงนิยมตามกระแสแฟชั่น หลงใหลและเลียนแบบในตัวบุคคลที่ตนเองชอบ ไม่ว่าจะเป็นเสื้อผ้า หน้าผม
ี
ึ
ื
�
เทคโนโลย และวิถีชีวิต ซ่งปัจจุบันส่อสมัยใหม่ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อคนทุกเพศทุกวัย ทาให้เกิดการบริโภคนิยม
ั
�
ี
ตามกระแส ดังน้นวัยรุ่นมักจะแสวงหาข้อมูลจากเพ่อนหรือจากส่อออนไลน์ต่างๆ ทาให้มีโอกาสท่จะถูกหลอกลวง
ื
ื
ให้บริโภคสินค้าและบริการที่ไม่ได้มาตรฐาน อาจท�าให้เกิดผลเสียต่อสุขภาพหรือถึงแก่ชีวิตได้
2. วัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
1. เพื่อรู้เท่าทันสื่อออนไลน์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระแสแฟชั่นนิยมวัยรุ่น
2. สามารถตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการที่เหมาะสม
3. เพื่อให้มีความรู้ด้านการบริโภคอาหารที่เหมาะสม
3. รูปแบบกิจกรรม
การคิดวิเคราะห์จากกิจกรรมกลุ่ม
4. สื่ออุปกรณ์
1. กระดาษฟลิปชาร์ท
2. สีเมจิก
3. สีชอล์ค
4. ปากกาเคมี
5. บัตรภาพอาหาร (สามารถใช้ภาพอาหารตามภูมิภาคได้ตามความเหมาะสม)
6. วีดิทัศน์เรื่องความเสี่ยงจากแฟชั่นวัยรุ่น (เวลา 5 นาที) (หลักสูตรเตรียมให้)
7. ตัวอย่างสื่อโฆษณา
12 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
5. แนวคิดที่ผู้เรียนควรได้
ั
ี
ี
1. วัยรุ่นมีความรู้ความเข้าใจและรู้เท่าทันแฟช่นนิยม การเลือกบริโภคอาหารท่ถูกต้อง และความเส่ยง
จากผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร รวมทั้งแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
ี
�
ั
2. วัยรุ่นสามารถตัดสินใจเลือกบริโภคสินค้าและบริการที่เหมาะสม ท้งในส่วนท่จาเป็น (Need)
ต่อการใช้ชีวิต และส่วนที่ตอบสนองต่อความต้องการ (Want) ของตนเอง
6. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
6.1 กิจกรรมเชื่อมโยงน�าเข้าสู่บทเรียน
ั
ี
1. ชมวีดิทัศน์เก่ยวกับผลกระทบของแฟช่นนิยม เช่น คลิปข่าว/ภาพข่าว เก่ยวกับผลิตภัณฑ์
ี
เร่งผิวขาว การจัดฟันแฟชั่น ผลิตภัณฑ์ลดน�้าหนัก เป็นต้น (ปรับตามความเหมาะสมของพื้นที่)
2. วิทยากรสุ่มถามผู้เข้ารับการอบรม ชมวีดิทัศน์แล้วรู้สึกอย่างไร
6.2 การคิดวิเคราะห์จากกิจกรรมกลุ่ม
1. แจกกระดาษฟลิปชาร์ท สีเมจิก สีชอล์ค กลุ่มละ 1 ชุด
2. ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองเขียนสิ่งที่อยากได้ (สินค้าหรือบริการ) ที่ก�าลังเป็นที่นิยมในวัยรุ่น
ื
3. เลือกคนท่ตัวเล็กในกลุ่ม 1 คน นอนทาบบนกระดาษฟลิปชาร์ท ช่วยกันวาดรูปโครงร่างเพ่อน
ี
บนกระดาษ
ั
4. ให้แต่ละกลุ่มวาดรูปวัยรุ่น โดยเขียนส่งท่ทุกคนอยากได้ในภาพ แต่งสีสันให้สวยงาม พร้อมท้ง
ี
ิ
ตั้งชื่อผลงาน
5. ส่งตัวแทนกลุ่มเพื่อน�าเสนอผลงาน
�
่
�
ี
ิ
ั
6. วิทยากรสรุปว่าส่งท่ต้องการหรือใช้จ่ายน้นแบ่งเป็นส่งท “จาเป็น” ต่อการดารงชีวิต หรือส่งท ี ่
ิ
ิ
ี
ี
่
ื
่
ี
“ต้องการ” ตามกระแสแฟชน เป็นความต้องการทเกนความจาเป็น และทางเลอกทเหมาะสม
ั
�
ิ
่
คืออะไร
6.3 กิจกรรมการเรียนรู้ กิจกรรมละ 20 นาที (รวม 40 นาที)
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 13
กิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ 1
รู้เท่ำทันสื่อและแฟชั่น
�
ื
1. วิทยากร ใช้คาถามชวนคิด เคยซ้อสินค้าและบริการเก่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
ี
ตามค�าชวนเชื่อในโฆษณาหรือไม่ โดยมาเรียนรู้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้
2. ชมวีดิทัศน์ โฆษณาผลิตภัณฑ์ชวนเชื่อ
3. วิทยากรชวนพูดคุยในประเด็น
1. ชมวีดิทัศน์แล้วรู้สึกอย่างไร
2. ข้อดี ข้อเสีย ของโฆษณานี้คืออะไร
3. ควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ตามโฆษณาหรือไม่
4. วิทยากรอธิบายเพิ่มเติมหลักการพิจารณาสื่อโฆษณาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ
5. ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองในประเด็น แฟชั่นที่เป็นที่นิยมของวัยรุ่นปัจจุบัน (เช่น การจัดฟัน
แฟชั่น การใส่บิ๊กอาย ผลิตภัณฑ์เสริมความงาม หรือประเด็นอื่นๆ ตามบริบทของพื้นที่)
6. วิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย จากแฟชั่นที่เป็นที่นิยมตามที่กลุ่มได้ระดมสมอง
7. อาสาสมัครน�าเสนอ
8. วิทยากร สรุปและอธิบายให้เห็นว่าแฟชั่นสมัยนิยมมีทั้งข้อดีข้อเสีย และหลักในการเลือกใช้
ผลิตภัณฑ์ หากวัยรุ่นเลือกท่จะใช้ ควรใช้บริการกับผู้เช่ยวชาญหรือสถานบริการ
ี
ี
ที่ได้มาตรฐาน
สรุปการเชื่อมโยงกับแผนต่อไป
ี
วิทยากรควรช้ให้เห็นว่า ทุกคนมีความสวยงามตามธรรมชาติและสดใสตามวัยอยู่แล้ว ท้งน ี ้
ั
�
การดูแลสุขภาพของตนเองให้สวยและหล่อตามวัย ต้องเลือกกินอาหารท่มีประโยชน์และออกกาลังกาย
ี
อย่างสม�่าเสมอ
14 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
กิจกรรมกำรเรียนรู้ที่ 2
กินเป็น กินถูก
1. วิทยากรบรรยายการเลือกกินอาหารตามสัญญาณไฟจราจรและการกินอาหารถูกหลัก
โภชนาการ
�
2. วิทยากรอธิบายกระบวนการ การทากิจกรรมจ่ายตลาดเมนูอาหาร ให้แต่ละกลุ่มเลือก
เมนูอาหารจากบัตรภาพอาหาร โดยให้จ�าแนกหมวดหมู่ตามสัญญาณไฟจราจร โดย
n สีแดง : กลุ่มอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน และน�้าตาลระดับสูง อย่ากินบ่อย นานๆ ครั้ง
อาหาร เช่น อาหารที่ทอด ปรุงด้วยกะทิเข้มข้น ไส้กรอก หมูยอ ลูกชิ้น ขนมอบ
เค้ก อาหารอุดมด้วยแป้ง เบเกอร์รี่ แฮมเบอร์เกอร์ พิซซ่า ข้าวขาหมู ผัด
ไทย หอยทอด หมูสามชั้น กุ้ง-ไก่-หมูชุบแป้งทอด
ผลไม้ เช่น ทุเรียน
เครื่องดื่ม เช่น น�้าอัดลม น�้าหวาน ชานมไข่มุกเป็นต้น
ี
ุ
่
ี
ิ
ุ
ั
้
ั
ั
�
n สีเหลือง : กล่มอาหารทมพลงงาน ไขมน และนาตาลปานกลาง กนได้ แต่ไม่ทกวน
(1 - 2 ครั้งต่อสัปดาห์)
ุ
่
ี
ี
่
ิ
ั
ั
ั
อาหาร เช่น อาหารทปรงด้วยกะทไม่เข้มข้น อาหารผัดทไม่มันจด ผดผก
ก๋วยเตี๋ยวราดหน้า พะโล้ กระเพราหมู มัน-เผือกต้ม ถั่วต้ม
่
ิ
้
ุ
�
ุ
ี
่
ี
ี
ุ
ผลไม้ เช่น ผลไม้ทมรสหวาน เงาะ ละมด อง่นแดง ลาไย ลนจ มะม่วงสก
น้อยหน่า กล้วยหอม กล้วยไข่ มะขามหวาน เชอร์รี่ เป็นต้น
เครื่องดื่ม เช่น กาแฟร้อน กาแฟเย็น
n สีเขียว : กลุ่มอาหารที่มีพลังงาน ไขมัน และน�้าตาลต�่า กินได้ทุกวัน
อาหาร เช่น อาหารประเภท ต้ม นึ่ง ย่าง ผัดน�้ามันน้อย เนื้อสัตว์ไขมันต�่า เนื้อปลา
ื
เน้อไก่ ไข่ไก่ โยเกิร์ต อาหารประเภทยา สลัดผักนาใส ผักต่างๆ นมถ่ว
้
�
ั
�
เหลืองหวานน้อย อาหารพวกข้าวแป้งไม่ขัดสี ข้าวซ้อมมือ ธัญพืช
ผลไม้ เช่น ผลไม้ประเภทผลไม้ไม่หวานจัด ฝรั่ง แตงโม ส้ม องุ่นเขียว มะละกอ
ดิบ แอปเปิ้ล
เครื่องดื่ม เช่น น�้าเปล่า นมรสจืด
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 15
ขั้นตอนการด�าเนินกิจกรรม
1. ให้ผู้เข้ารับการอบรมเลือกบัตรภาพอาหารที่ตนเองชอบกิน จ�านวน 3 ภาพ
2. ให้ทุกคนน�าบัตรภาพอาหารที่เลือกไปติดตามหมวดสัญญาณไฟจราจร
3. ตัวแทนแต่ละหมวดสัญญาณไฟจราจรน�าเสนอเมนูอาหารที่ติดไว้
4. วิทยากรสรุปกิจกรรมและเชื่อมโยงกับการเลือกกินอาหาร
สรุป
การส่งเสริมให้วัยรุ่นมีโภชนาการดี เป็นการสร้างรากฐานส�าคัญของการมีสุขภาพและคุณภาพ
ี
ี
ี
่
ิ
ี
ี
่
ั
ื
่
ุ
ั
ั
�
ุ
ู
ชวตทดต่อไปในวยทางานและวยสงอาย เนองจากช่วงวยร่น เป็นระยะทร่างกายมการเจรญเติบโต
ิ
อย่างเต็มที่ รวมถึง มีการเปลี่ยนแปลงขนาดโครงสร้าง จึงควรส่งเสริมให้ได้รับอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ
ื
และเหมาะสมกับ ความต้องการ เน่องจากอาหารเป็นปัจจัยสาคัญต่อสติปัญญาและสุขภาพ
�
การกินอาหารครบ 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มข้าว-แป้ง กลุ่มผัก กลุ่มผลไม้ กลุ่มเนื้อสัตว์ และกลุ่มนม โดยมี
ความหลากหลายของอาหารในกลุ่มเดียวกันและปริมาณเหมาะสม กินอาหารไม่หวานจัด ไม่เค็มจัด
และไม่มีไขมันสูง ร่วมกับการออกก�าลังกาย ระดับปานกลางขึ้นไป วันละ 30 นาที อย่างน้อยสัปดาห์ละ 5 วัน
ั
ั
�
่
ู
�
และการนอนหลบอย่างเพยงพอ วนละ 8 ชวโมง จะทาให้รปร่างสมส่วน ประสทธภาพในการทางาน
ิ
ั
ี
ิ
ของสมองดี ท�ากิจกรรมต่างๆ ได้ดี มีภูมิต้านโรค และมีการเจริญเติบโตเต็มศักยภาพ เป็นการพัฒนาคน
ตามช่วงวัยให้มีสุขภาพดี และท�าให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
การส่งเสริมวัยรุ่นสุขภาพดีสูงสมส่วน โดยพฤติกรรมพึงประสงค์ของวัยรุ่นใน 1 วัน ต้องกินนม
วันละ 200 มิลลิลิตร ไข่วันละ 1 ฟอง
สรุปการเชื่อมโยงกับแผนต่อไป
ื
่
ู
ู
ึ
ิ
ั
่
่
ื
แฟชนนยมการตกแต่ง เพอความงามให้ตนเองและดงดดความสนใจจากเพศตรงข้ามและผ้อน
ดังน้นวัยรุ่นจึงควรมีการเรียนรู้เร่องการจัดการอารมณ์ของตนเอง การรู้เท่าทันอารมณ์ ความรู้สึก
ื
ั
ความรักใคร่ เพื่อรู้จักการหาทางออกที่เหมาะสม
9. กำรประเมินผล
1. ประเมินความรู้ ทัศนคติ จากแบบทดสอบก่อน-หลัง การอบรม
2. การมีส่วนร่วมของการท�ากิจกรรมและการแสดงความคิดเห็น
16 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
หมวดที่ 2
เรื่อง ควำมรอบรู้เรื่องเพศ
และกำรป้องกันกำรตั้งครรภ์
ในวัยรุ่น
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 17
แผนกำรจัดกิจกรรม
เรื่อง รู้จักและเท่ำทัน
กำรเรียนรู้ที่ 3
1. สำระส�ำคัญ
ี
ึ
อารมณ์เพศหรือความรู้สึกทางเพศ เป็นปฏิกิริยาตามธรรมชาติอย่างหน่งของมนุษย์ท่เกิดจากฮอร์โมน
�
ในร่างกายของเรา เม่อถูกกระตุ้นหรือปลุกเร้าความรู้สึก จะทาให้เกิดความต่นตัวทางเพศ หรือการเปล่ยนแปลง
ี
ื
ื
ทางร่างกาย หัวใจเต้นเร็วขึ้น กล้ามเนื้อตื่นตัว โดยเฉพาะบริเวณอวัยวะเพศ และที่หน้าอก บางคนอาจจะรู้สึกวาบหวิว
ั
หรืออธิบายไม่ถูก เป็นอารมณ์และความรู้สึกเฉพาะบุคคล ปฏิกิริยาการตอบสนองจึงแตกต่างกันออกไป ดังน้น
ิ
การจัดการกับอารมณ์เพศจึงแตกต่างกันด้วย การรู้จักวิธีการจัดการกับอารมณ์เพศ จึงเป็นส่งสาคัญท่จะช่วยให้วัยรุ่น
ี
�
ิ
ั
ั
สามารถเลือกตอบสนองต่อส่งเร้าหรือตัวกระตุ้นน้นได้อย่างถกต้องเหมาะสม ช่วยป้องกนการมีเพศสมพนธ์
ู
ั
ั
ที่ไม่ปลอดภัยได้อีกทางหนึ่ง
2. วัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
ู
ั
เพอให้ผ้เข้ารบการอบรมร้เท่าทนและสามารถจัดการกับอารมณ์ทางเพศของตนเองได้อย่างเหมาะสม
ู
ื
่
ั
และปลอดภัย
3. รูปแบบกิจกรรม
1. การเรียนรู้จากวีดิทัศน์ (หลักสูตรเตรียมให้)
2. การเรียนรู้จากบัตรค�า
3. กิจกรรมกลุ่ม
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. วีดิทัศน์ เรื่องฮอร์โมน (เวลา 3 นาที)
2. บัตรค�า 4 หมวด (แบ่งหมวดละ 1 สี) เท่ากับจ�านวนกลุ่มของผู้เข้ารับการอบรม
3. บัตรค�าเปล่า (ส�าหรับแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม)
4. กระดาษฟลิปชาร์ท
5. ปากกาเมจิก
6. กระดาษกาว
5. เวลำ
45 – 60 นาที
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 19
6. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
6.1 กิจกรรมเชื่อมโยงน�าเข้าสู่บทเรียน
1. ชมวีดิทัศน์ เรื่องฮอร์โมน หรืออื่นๆ ตามความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
2. วิทยากรถามผู้เข้ารับการอบรมว่า เมื่อชมวีดิทัศน์แล้วมีความรู้สึกอย่างไร
6.2 วิทยากรอธิบายความหมายของ
1. สิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น
2. ปฏิกิริยาหรือความรู้สึก
3. การจัดการกับอารมณ์
4. ผลที่ตามมา
6.3 วิทยากรอธิบายกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้
1. วิทยากรเปิดบัตรค�า สิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น ครั้งละ 1 ค�า โดยอาจจะเลือกใช้ 2-3 ค�าขึ้นอยู่กับเวลา
(หรืออาจประยุกต์โดยแจกบัตรสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้นให้กับแต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 2 ค�าไม่ซ�้ากัน เพื่อให้เกิดความหลากหลาย
ในการแสดงความคิดเห็น)
ิ
2. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่ม เขียนความรู้สึกต่อส่งเร้าหรือตัวกระตุ้น ปฏิกิริยา
หรือความรู้สึก การจัดการกับอารมณ์และผลที่ตามมา ลงในบัตรค�าเปล่า โดยสามารถดูตัวอย่าง จากบัตรค�าที่เตรียม
ึ
�
ั
ู
ื
่
ี
ี
ึ
ิ
ี
่
ั
�
ิ
�
ไว้ เมอเขยนความร้สกในบตรคาเรยบร้อยแล้ว ให้นาบตรคาไปตดในตารางบนกระดาษฟลปชาร์ท ซงเตรยมไว้
3 คอลัมภ์ คือ ปฏิกิริยาหรือความรู้สึก การจัดการกับอารมณ์ ผลที่ตามมา
3. ด�าเนินการตามกระบวนการข้างต้นจนครบทุกสิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น หรือตามความเหมาะสม
4. แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนนาเสนอ สรุปแนวโน้มและรูปแบบของปฏิกิริยาหรือความรู้สึก การจัดการ
�
กับอารมณ์ และผลที่ตามมา ของการจัดการกับอารมณ์ของเพื่อนในกลุ่ม
ิ
6.5 วิทยากรสรุปเร่องอารมณ์เพศ ส่งเร้า หรือส่งกระตุ้นให้เกิดอารมณ์เพศ ปฏิกิริยาหรือความรู้สึก
ิ
ื
ื
ึ
ท่เกิดข้นมีอะไรบ้าง มีวิธีจัดการกับอารมณ์อย่างไร ปรับทัศนคติเชิงบวกในเร่องเพศ เช่น การช่วยตนเอง
ี
ื
อย่างถูกต้อง ไม่ใช่เร่องน่าอาย ไม่ใช่เร่องของโรคจิต แต่ผลเสียต่อร่างกาย ก็จะทาให้อ่อนเพลียหากบ่อยเกินไป
�
ื
ื
และอธิบายถึงวิธีการจัดการอารมณ์อ่นๆ ควรหลีกเล่ยงกับสถานการณ์เส่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ ถ้าหากหลีกเล่ยง
ี
ี
ี
ไม่ได้ควรมีเพศสัมพันธ์แบบปลอดภัย (safe sex) เช่น การใช้ถุงยางอนามัย มีเพศสัมพันธ์แบบไม่สอดใส่ เป็นต้น
ื
ี
�
ื
ี
ิ
นอกจากน้ยังมีส่งเร้าหรือตัวกระตุ้นอ่นๆ ท่ทาให้เกิดอารมณ์ทางเพศ เช่น สารเสพติดและเคร่องด่มแอลกอฮอล์
ื
เป็นต้น
7. สรุป
ิ
อารมณ์ความรู้สึกต่อส่งเร้าหรือตัวกระตุ้นทางเพศเป็นเร่องธรรมชาต ซ่งปัจจุบันมีความหลากหลาย
ื
ิ
ึ
�
ทางเพศ ชาย หญิง และเพศทางเลือก ประเด็นสาคัญ คือ วัยรุ่นต้องรู้เท่าทันความรู้สึกของตนเอง การจัดการ
ั
ิ
ี
ู
กบอารมณ์มอย่หลายรปแบบ มทงเชงบวกและเชงลบ วยร่นจะต้องร้เท่าทนและตดสนใจด้วยตนเองได้อย่างเหมาะสม
ั
ั
้
ิ
ิ
ี
ั
ั
ู
ุ
ู
และปลอดภัย และรับผิดชอบต่อผลที่ตามมา
20 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
8. กำรประเมินผล
1. ประเมินความรู้ ประเมินในแบบทดสอบก่อน-หลัง เข้ารับการอบรม
2. ประเมินการมีส่วนร่วมในการท�ากิจกรรม
ตัวอย่างบัตรค�า
ปฏิกิริยาหรือ การจัดการกับ
สิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น ผลที่ตามมา
ความรู้สึก อารมณ์
ดูหนังเอ็กซ์ อวัยวะเพศแข็งตัว ช่วยตนเอง รู้สึกดี, โล่ง
สิ่งเร้าหรือตัวกระตุ้น
ดูหนังเอ็กซ์/คลิปโป๊ เห็นคนสวยและเซ็กซี่มาก
เห็นสาวแต่งตัววับแวม เห็นหนุ่มหน้าตาดี หล่อล�่า
ปฏิกิริยาหรือความรู้สึก
หดหู่ รู้สึก ผิด อาย
ใจสั่น ชอบ
ขนลุก วูบวาบ อยากดู
อยากสัมผัสลูบคล�า อวัยวะเพศแข็งตัว
กลัวๆ กล้าๆ แต่อยาก
การจัดการกับอารมณ์
มีเพศสัมพันธ์แบบไม่สอดใส่ อาบน�้า
ช่วยตนเอง ท�าสมาธิ
มีเพศสัมพันธ์กับแฟนไม่มีการป้องกัน เตือนตนเองไม่ให้ลุ่มหลง
มีเพศสัมพันธ์กับแฟนใช้ถุงยางอนามัย ตั้งใจว่าครั้งเดียวแล้วไม่ท�าอีก
ผลที่ตามมา
รู้สึกดีๆ โล่ง กลัว กระสุนหมด
กลัวคนอื่นรู้ รู้สึกผิด
ติดใจ อยากท�าอีก สับสนทั้งชอบ และรู้สึกไม่ดี
ท้อง มีความสุข สนุก
ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์/ HIV มีปัญหากับคู่รัก
หมายเหตุ วิทยากรสามารถเลือก หรือปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 21
แผนกำรจัดกิจกรรม
เรื่อง รักเป็น...ปลอดภัย
กำรเรียนรู้ที่ 4
1. สำระส�ำคัญ
ปัจจุบันการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นส่วนใหญ่เกิดข้นกับแฟน คนรักและเพ่อน ซ่งการไว้ใจ เช่อใจคู่รัก
ึ
ื
ื
ึ
�
ั
ทาให้มีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกัน และอาจทาให้เกิดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ รวมถึงการต้งครรภ์
�
ในวัยรุ่นได้ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น วิธีดีที่สุดคือการไม่มีเพศสัมพันธ์ ถ้าหากมีความรักต้องรู้จักยับยั้ง ชั่งใจ
ี
ี
ื
ี
และหลีกเล่ยงสถานการณ์เส่ยง เพ่อป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร และควรจะศึกษาความรู้เก่ยวกับ
การป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้องเหมาะสม
2. วัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
1. เพื่อให้มีความตระหนักต่อความเสี่ยงเรื่องการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
2. มีความรู้เกี่ยวกับการคุมก�าเนิด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
3. มีทักษะ คิด วิเคราะห์ ตัดสินใจ เลือกใช้วิธีการคุมก�าเนิดและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
3. รูปแบบกิจกรรม
1. การเรียนรู้จากกิจกรรมไข่สวรรค์
2. การบรรยาย
3. กิจกรรมฐานการเรียนรู้ (walk rally)
ฐานเรียนรู้ : แบ่งเป็น 3 ฐานๆ ละ 20 นาที รวมสรุปกิจกรรม แล้วส่งสัญญาณสลับฐานการเรียนรู้
ฐานที่ 1 ฐานหมวกกันน็อค สาธิตการวัดขนาดอวัยวะเพศชาย การใช้ถุงยางอนามัยผู้ชาย
ฐานที่ 2 ฐานมุมปลอดภัย 1 ยาเม็ดคุมก�าเนิด และยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
ฐานที่ 3 ฐานมุมปลอดภัย 2 ยาฉีดคุมก�าเนิด ยาฝังคุมก�าเนิด ห่วงอนามัย
ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด วงแหวนคุมก�าเนิด
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. กล่องบรรจุไข่พลาสติกจ�านวน 1 ใบ
2. ไข่พลาสติก 6 ส (สามารถใช้วัสดุอ่นแทนได้ตามความเหมาะสม) สีละ 5 ฟอง รวมเป็น 30 ฟอง
ี
ื
ภายในไข่แต่ละฟองโดยแต่ละใบจะมีฉลาก เขียนชื่อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
22 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
3. โมเดลอวัยวะเพศชาย
4. ถุงยางอนามัยผู้ชาย/ถุงอนามัยสตรี
5. สายวัดขนาดอวัยวะเพศชาย
6. สารหล่อลื่น
7. ยาเม็ดคุมก�าเนิดชนิด 21/28 เม็ด
8. ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
9. ยาฉีดคุมก�าเนิด
10. ยาฝังคุมก�าเนิด
11. ห่วงอนามัย
12. วงแหวนคุมก�าเนิด / หรือรูปภาพประกอบ
13. แผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด/ หรือรูปภาพประกอบ
14. สารหล่อลื่นที่ไม่เหมาะสม เช่น วาสลีน โลชั่น เป็นต้น
15. กระดาษทิชชู่
5. เวลำ
1 ชั่วโมง 30 นาที
6. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
6.1 น�าเข้าสู่บทเรียนโดยกิจกรรมไข่สวรรค์ (เวลา 15 นาที)
6.2 อธิบายกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้
1. ผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมดนั่งเป็นรูปตัวยูหรือวงกลม
2. วิทยากรเปิดเพลงส�าหรับกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
ี
ื
3. วิทยากรใช้การเวียนกล่องท่บรรจุไข่พลาสติก เม่อกล่องมาถึงผู้เข้ารับการอบรมคนไหน
ก็ให้หยิบไข่พลาสติก คนละ 1 ฟองโดยไม่ให้เลือก และห้ามเปิดจนกว่าจะได้รับค�าสั่งจากวิทยากร
4. วิทยากรกระตุ้นให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนต้องแลกไข่กับเพื่อนและเปิดอ่านข้อความด้านใน
5. วิทยากรสุ่มถามความรู้สึกของผู้เข้ารับการอบรม
6. วิทยากรสรุปให้เห็นถึงความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์
ไข่พลาสติกสีที่ 1 หมายถึง คุณตั้งครรภ์หรือคุณก�าลังจะเป็นพ่อคน (ตามเพศ)
ไข่พลาสติกสีที่ 2 หมายถึง คุณติดเชื้อซิฟิลิส
ไข่พลาสติกสีที่ 3 หมายถึง คุณติดโรคหนองในแท้และหนองในเทียม
ไข่พลาสติกสีที่ 4 หมายถึง คุณติดโรคเริม
ไข่พลาสติกสีที่ 5 หมายถึง คุณติดเชื้อเอชไอวี
ไข่พลาสติกสีที่ 6 หมายถึง คุณเป็นมะเร็งปากมดลูก
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 23
6.3 วิทยากรสรุปว่าการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย จะมีความเสี่ยงทั้งจากการตั้งครรภ์ การติดโรคติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ (3 ช่องทาง ได้แก่ ทางเพศสัมพันธ์ ทางเลือด และแม่สู่ลูก) ดังนั้น การแลกไข่พลาสติก
่
็
ี
ี
ื
ู
ึ
ั
ื
สสันสวยงามทมองเหนแต่ความสวยงามภายนอกเปรียบเสมอนกบการเลอกค่ ถงแม้ว่ามองแต่ร่างกายภายนอก
ทั่วไปจะดูดี น่าไว้ใจ ก็ไม่สามารถบอกได้ว่าบุคคลนั้นไม่มีเชื้อเอชไอวีและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งการมีเพศสัมพันธ์
ที่ไม่มีการป้องกันอาจเสี่ยงต่อการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ที่ไม่พึงประสงค์ได้ แม้มีเพศสัมพันธ์
ั
�
ื
ี
เพียงคร้งเดียว รวมถึงการมีเพศสัมพันธ์เม่ออายุน้อย และการเปล่ยนคู่นอนบ่อยๆ อาจนาไปสู่การเป็นมะเร็งปาก
มดลูกได้ในอนาคต ป้องกันได้โดยการใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้งเมื่อมีเพศสัมพันธ์
6.4 วิทยากรแบ่งกลุ่มเป็น 3 กลุ่ม โดยใช้กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
6.5 แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมเข้าฐาน โดยมีผู้จับเวลาและให้สัญญาณเมื่อครบก�าหนดเปลี่ยนฐาน
ฐานละ 20 นาที โดยแบ่งฐาน ดังนี้
ฐานที่ 1 ฐานหมวกกันน็อค สาธิตการวัดขนาดอวัยวะเพศชาย การใช้ถุงยางอนามัยผู้ชาย
ฐานที่ 2 ฐานมุมปลอดภัย 1 ยาเม็ดคุมก�าเนิด และยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
ฐานที่ 3 ฐานมุมปลอดภัย 2 ยาฉีดคุมก�าเนิด ยาฝังคุมก�าเนิด ห่วงอนามัย
ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด วงแหวนคุมก�าเนิด
6.6 สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากฐาน
7. สรุป
ั
วัยรุ่นทุกคนมีความเส่ยงต่อการต้งครรภ์ ติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ หากเป็นการมีเพศสัมพันธ์
ี
โดยไม่ได้ป้องกัน
ปัญหาการตั้งครรภ์วัยรุ่นในประเทศไทย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การด�าเนินงานรณรงค์สร้างทัศนคติ
ี
ื
ึ
เชิงบวกเร่องการมีเพศสัมพันธ์ท่ปลอดภัย ซ่งเป็นการมีเพศสัมพันธ์โดยมีการป้องกันการต้งครรภ์และป้องกันโรค
ั
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จึงเป็นสิ่งส�าคัญและสมควรให้วัยรุ่นได้ตระหนักถึงปัญหาและผลกระทบ ที่อาจจะตามมาจาก
การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยโดยการเลือกใช้วิธีคุมก�าเนิดที่เหมาะสมกับวัยรุ่น
วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์และป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์มีหลากหลายวิธี ขึ้นกับบริบทและทักษะ
ของวัยรุ่นที่จะเลือกใช้ ได้แก่ ถุงยางอนามัย ซึ่งวัยรุ่นต้องทราบขนาดของอวัยวะเพศก่อน เพื่อเลือกซื้อขนาดที่เหมาะสม
และการมีเพศสัมพันธ์ควรเลือกสารหล่อลื่นชนิดน�้าเท่านั้น เพื่อลดการเสียดสี นอกจากนั้นยังมีวิธีการป้องกัน ได้แก่
�
�
�
�
ยาเม็ดคุมกาเนิด 21/28 เม็ด ยาเม็ดคุมกาเนิดฉุกเฉิน ยาฉีดคุมกาเนิด ยาฝังคุมกาเนิด ยาห่วงอนามัย
วงแหวนคุมก�าเนิด แผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด
ข้อเสนอแนะ วิทยากรควรกระตุ้นให้ผู้เข้ารับการอบรมตระหนักถึงประโยชน์จากการใช้
ถุงยางอนามัย อย่างถูกต้องทุกครั้ง เมื่อมีเพศสัมพันธ์ และพยายามเน้นการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ทุกช่องทาง โดยเฉพาะ 3 ทาง ได้แก่ ทางปาก ทางอวัยวะสืบพันธุ์ และทางทวารหนัก
ข้อเสนอแนะส�าหรับผู้ด�าเนินกิจกรรม
1 . สามารถจัดกิจกรรมนี้เป็นฐานร่วมกับกิจกรรมหัวข้ออื่นๆ ได้
2. การแบ่งกลุ่ม ควรแบ่งสมาชิกกลุ่มละประมาณ 9-10 คน จะเกิดการเรียนรู้อย่างทั่วถึง
3. ช่วงสรุปเป็นช่วงที่จะได้ทบทวน และประเมินความเข้าใจของผู้เข้ารับการอบรม
24 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
8. กำรประเมินผล
1. ประเมินความรู้จากการถาม-ตอบ
2. ประเมินทักษะจากการสาธิตการใส่ถุงยางอนามัยได้อย่างถูกต้อง
3. ประเมินการมีส่วนร่วมในการท�ากิจกรรม
ฐำนกิจกรรมกำรเรียนรู้
ฐำน 1 : หมวกกันน็อค
สื่อ/อุปกรณ์
1. โมเดลอวัยวะเพศชาย
2. ถุงยางอนามัยผู้ชาย
3. สายวัดขนาดอวัยวะเพศชาย
4. สารหล่อลื่นที่เหมาะสม เช่น K-Y Jelly
5. สารหล่อลื่นที่ไม่เหมาะสม เช่น วาสลีน โลชั่น เป็นต้น
6. กระดาษทิชชู่
7. ถุงอนามัยสตรี
ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
�
1. วิทยากรนาเข้าสู่กิจกรรม โดยชวนพูดคุยเร่องถุงยางอนามัย เช่น เคยเห็น เคยสัมผัส
ื
ี
ื
ื
ื
เคยซ้อ เคยใช้ ทราบขนาดของถุงยาง ฯลฯ หาซ้อได้ท่ไหน เคยได้ยินเร่องราวของ
ถุงยางอนามัยหรือไม่ ได้ยินอย่างไร คิดอย่างไร เพ่อจะได้ทราบทัศนคติของผู้เข้ารับ
ื
การอบรมเกี่ยวกับถุงยางอนามัย และปรับให้มีทัศนคติที่ดีต่อถุงยางอนามัย
ุ
ี
ิ
ั
�
2. เตรยมถงยางอนามยหลากหลายชนด จานวนเท่ากบผ้เข้ารบการอบรม และเตรยม
ู
ั
ี
ั
โมเดลอวัยวะเพศชาย
3. สาธิตวิธีการวัดขนาดอวัยวะเพศชาย โดยใช้โมเดลอวัยวะเพศชายและสายวัดขนาด
และให้ผู้เข้ารับการอบรมจับคู่ฝึกวัดขนาดอวัยวะเพศชาย
4. วิทยากรเชิญชวนผู้เข้ารับการอบรมทุกคน เลือกถุงยางอนามัยคนละ 1 ชิ้น และวิทยากร
ถามผู้เข้ารับการอบรมแต่ละคนว่า “มีเหตุผลอะไร จึงเลือกถุงยางอนามัยชนิดนั้น”
5. วิทยากรสรุปประเด็นเรื่อง ถุงอนามัยสตรีและถุงยางอนามัย การเลือกซื้อถุงยางอนามัยว่า
ควรเลือกซื้อโดยดูที่วันหมดอายุ ขนาด ตรวจการบรรจุ ซองไม่ฉีกขาด โดยเน้นเรื่อง
ี
ขนาดท่ต้องเหมาะสมกับผู้ซ้อ เพราะถ้าขนาดไม่เหมาะสม จะทาให้ถุงยางอนามัยหลุด
ื
�
หรือแตกได้
6. ขออาสาสมัคร จานวน 2 คน เพ่อสาธิตวิธีการใส่ถุงยางอนามัย ให้คนแรกถือโมเดล
�
ื
คนท่สอง ฝึกปฏิบัติการใส่ถุงยางอนามัย วิทยากรถามความคิดเห็นของกลุ่มว่าถูกต้อง
ี
หรือควรปรับปรุงอย่างไร
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 25
ี
ุ
ั
7. วิทยากรสรุปข้นตอนการใส่ถงยางอนามัยท่ถูกต้องและสาธิต หลังจากนั้นให้ผู้เข้ารับ
การอบรมจับคู่ฝึกวิธีการใช้ถุงยางอนามัย
8. วิทยากรสาธิตและให้ผู้เข้ารับการอบรมทดลองใช้สารหล่อล่นท่เหมาะสมและไม่เหมาะสม
ื
ี
กับถุงยางอนามัย
ื
9. วิทยากรชวนคุย เร่องประโยชน์ของถุงยางอนามัย ปัญหาและอุปสรรคในการใช้ถุงยาง
อนามัย โดยให้ผู้เข้ารับการอบรมอภิปรายและช่วยกันหาทางแก้ไขร่วมกัน
และบอกสถานที่จ�าหน่ายและแจกถุงยางอนามัย
10. วิทยากรสรุปสิ่งที่ควรจ�าในการใช้ถุงยางอนามัย
�
ี
วัยรุ่นควรมีเพศสัมพันธ์ท่ปลอดภัยและรับผิดชอบ โดยการเลือกใช้วิธีคุมกาเนิด
ี
ท่เหมาะสมกับวัยรุ่น และควรปรับทัศนคติในการพกถุงยางอนามัยให้เป็นเรื่องปกต ิ
�
ในชีวิตประจาวัน เน่องจากการพกถุงยางอนามัย เป็นการแสดงถึงการป้องกันตนเอง
ื
ั
ื
ั
และความรับผิดชอบท้งต่อตนเองและคนรักการใช้ถุงยางอนามัยเพ่อป้องกันการต้งครรภ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และเอดส์ได้
ควรเก็บถุงยางอนามัยไว้ใกล้มือ สะดวกในการหยิบใช้ทุกคร้งและไม่ควรเก็บ
ั
ถุงยางอนามัยไว้ในกระเป๋าสตางค์ กระเป๋ากางเกง ใต้เบาะรถจักรยานยนต์ เป็นต้น
ี
ี
เพราะจะเกิดการเสียดส เกิดความร้อนและแรงกดทับ ซ่งปัจจัยเหล่าน้ทาให้ถุงยางอนามัย
�
ึ
เสื่อมคุณภาพควรเก็บไว้ในที่เย็นและแห้ง กรณีถ้าจะให้ผลดีมากที่สุด ควรสวมถุงยางอนามัย
ก่อนท่อวัยวะเพศชายจะสัมผัสกับอวัยวะเพศของคู่ร่วมเพศและสวมถุงยางอนามัย
ี
ขณะที่อวัยวะเพศชายแข็งตัวเต็มที่
ฐำน 2 : มุมปลอดภัย 1
สื่อ/อุปกรณ์
1. ยาเม็ดคุมก�าเนิด ชนิด 21 เม็ด
2. ยาเม็ดคุมก�าเนิด ชนิด 28 เม็ด
3. ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
1. วิทยากรน�าเข้าสู่กิจกรรม โดยชวนพูดคุยเรื่อง เนื้อหา ความหมาย ชนิด และประโยชน์
ของการคุมก�าเนิด ได้แก่ ยาเม็ดคุมก�าเนิดชนิด 21 เม็ด ยาเม็ดคุมก�าเนิดชนิด 28 เม็ด
ื
ี
และยาเม็ดคุมกาเนิดฉุกเฉิน เคยเห็น เคยสัมผัส เคยซ้อ เคยใช้ ฯลฯ หาซ้อได้ท่ไหน
�
ื
ิ
ื
่
ั
็
ู
ร้จกการใช้ยาเมดคมกาเนด หรอไม่ อย่างไร คดอย่างไร เพอจะได้ทราบทศนคต ิ
ั
�
ิ
ื
ุ
�
ุ
ี
ิ
ั
ี
ของผ้เข้ารบการอบรมเก่ยวกับ ยาเมดคมกาเนิดและปรบให้มีทัศนคตท่ดีต่อยาเม็ดคมกาเนิด
ู
�
ั
็
ุ
และยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
2. เตรียมตัวอย่างยาคุมก�าเนิด ชนิด 21/28 เม็ด ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน จ�านวนตามความ
เหมาะสม
26 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
3. วิทยากรน�ายาเม็ดคุมก�าเนิด และยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉินมาวางรวมกัน แล้วให้ผู้เข้ารับการอบรม
ทุกคนในกลุ่มหยิบยาเม็ดคุมก�าเนิดชนิด 21 เม็ด จ�านวน 1 แผง ชนิด 28 เม็ดจ�านวน
1 แผง แล้วให้ทุกคนช่วยกันน�าเสนอในประเด็นต่อไปนี้
1. วิธีกินยาเม็ดคุมก�าเนิด ชนิด 21 เม็ด และ 28 เม็ด
2. วิธีกินยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
3. กรณีลืมกินยา 1 เม็ด จะท�าอย่างไร
4. กรณีลืมกินยา 2 เม็ด จะท�าอย่างไร
4. วิทยากรสรุปประเด็น วิธีการใช้ยาเม็ดคุมก�าเนิดทั้งยาเม็ดคุมก�าเนิด ชนิด 21 เม็ด และ
28 เม็ดและยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน รวมถึงกรณีลืมกินยา
ยาเม็ดคุมก�าเนิด แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ยาเม็ดคุมก�าเนิด ชนิด 21 เม็ด แผงแรก ใหเริ่มกินยาเม็ดแรก ภายในวันที่ 5 ของรอบเดือน
ในเดือนนั้น และวันต่อมาใหกินยาเรียงไปตามลูกศรวันละ 1 เม็ดจนหมดแผง เมื่อหมดแผงแรกใหหยุดกิน
ยา 7 วัน แลวจึงเริ่มกินแผงใหม่ ไม่ว่าประจ�าเดือนจะมาหรือไม่ก็ตาม
่
ยาเม็ดคุมกาเนิด ชนิด 28 เม็ด แผงแรก ให้เร่มกินยาเม็ดแรก ภายในวันท 5 ของรอบเดือน
ิ
ี
�
ในเดือนนั้น และวันต่อมาให้กินยาเรียงไปตามลูกศรวันละ 1 เม็ด จนหมดแผงแล้วเริ่มแผงใหม่ต่อไปได้เลย
โดยไม่ต้องหยุดยาหรือค�านึงถึงประจ�าเดือน
กรณีลืมกินยา
1. ลืมกินยา 1 เม็ด ให้รีบกินยาเม็ดที่ลืมทันทีที่นึกได้ และกินยาเม็ดต่อไปตามเวลาปกติ
2. ลืมกินยา 2 เม็ด ให้กินยาเพ่มวันละ 1 เม็ด หลังอาหารเช้า 2 วัน และกินยาเม็ดต่อไป
ิ
จนหมดแผง หากมีการร่วมเพศต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
3. กรณีลืมกินยา 3 เม็ด ให้หยุดยา และรอประจ�าเดือนมา แล้วจึงเริ่มกินแผงใหม่ ในระหว่างนี้
หากมีการร่วมเพศต้องใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน
ั
ี
�
เป็นยาเม็ดคุมกาเนิดท่ใช้ป้องกันการต้งครรภ์หลังจากการมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน
�
ื
ึ
ั
การตั้งครรภ์เป็นยาท่ผลิตข้นเพ่อการคุมกาเนิดฉุกเฉินโดยเฉพาะ หาซ้อได้ง่ายตามร้านขายยาท่วไป
ื
ี
ในท้องตลาด ยา 1 แผง จะมีจ�านวนเม็ดยา 2 เม็ด เหมาะส�าหรับสตรีที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการป้องกัน
การตั้งครรภ์ สตรีถูกข่มขืน หรือใช้เสริมกับวิธีคุมก�าเนิดปกติแต่เกิดปัญหา เช่น ถุงยางอนามัยฉีกขาด
วิธีกิน
ให้กินยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉิน 2 เม็ดทันทีที่สะดวกหรือเร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ แต่ต้องไม่เกิน
3 วัน หรือภายใน 72 ชั่วโมง หลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกันการตั้งครรภ์หรือกินครั้งแรก 1 เม็ดทันที
่
ี
ี
ี
ี
ที่สะดวกหรือเร็วท่สุดท่จะเป็นไปได้ และ 12 ชั่วโมงต่อมา กินคร้งท 2 อีก 1 เม็ด ควรกินให้เร็วท่สุด
ั
เนื่องจากประสิทธิภาพการคุมก�าเนิดจะลดลงตามระยะเวลา
ข้อควรระวัง ส�าหรับสตรีที่มีอาการอาเจียนเกิดขึ้น ภายใน 2 ชั่วโมงหลังกินยา ควรกินยาซ�้า
อีก 1 ชุด จึงจะป้องกันการตั้งครรภ์ได้
ไม่ควรใช้เป็นการคุมก�าเนิดปกติ ใน 1 เดือน กินยาได้ไม่เกิน 4 เม็ด
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 27
ฐำน 3 : มุมปลอดภัย 2
สื่อ/อุปกรณ์
1. ยาฉีดคุมก�าเนิด
2. ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด
3. ยาฝังคุมก�าเนิด
4. วงแหวนคุมก�าเนิด / หรือรูปภาพประกอบ
5. ห่วงอนามัย / หรือรูปภาพประกอบ
6. วิธีการคุมก�าเนิดที่ไม่แนะน�าให้ใช้ ได้แก่ การนับหน้า 7 หลัง 7 และการหลั่งภายนอก
ขั้นตอนการจัดกิจกรรม
ื
ื
1. วิทยากรนาเข้าสู่กิจกรรม โดยชวนพูดคุยเร่อง เน้อหา ความหมาย ชนิด และประโยชน์ของ
�
�
�
�
การคุมกาเนิดชนิดต่างๆ เน้นการคุมกาเนิดสาหรับวัยรุ่น เช่น ยาฉีดคุมกาเนิด
�
�
�
ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมกาเนิด ยาฝังคุมกาเนิด วงแหวนคุมกาเนิด ห่วงอนามัย เคยเห็น
�
เคยสัมผัส เคยซื้อ เคยใช้ ฯลฯ หาซื้อได้ที่ไหน รู้จักการใช้ยาฉีดคุมก�าเนิด ยาแผ่นแปะ
ผิวหนังคุมก�าเนิด ยาฝังคุมก�าเนิด วงแหวนคุมก�าเนิด ห่วงอนามัย
2. เตรียมตัวอย่าง ยาฉีดคุมก�าเนิด ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมก�าเนิด ยาฝังคุมก�าเนิด วงแหวน
คุมก�าเนิด ห่วงอนามัย จ�านวนตามความเหมาะสม
3. วิทยากรนาตัวอย่างยาฉีดคุมกาเนิด ยาแผ่นแปะผิวหนังคุมกาเนิด ยาฝังคุมกาเนิด
�
�
�
�
วงแหวนคุมก�าเนิด หรือรูปภาพประกอบ ห่วงอนามัยหรือรูปภาพประกอบ
4. วิทยากรสรุปประโยชน์ของการคุมกาเนิดชนิดต่างๆ เน้นการคุมกาเนิดท่เหมาะสม
�
�
ี
ส�าหรับวัยรุ่น และวิธีการคุมก�าเนิดที่ไม่แนะน�าให้ใช้
ยาฉีดคุมก�าเนิด
ั
ี
�
ี
เป็นวิธีคุมกาเนิดแบบช่วคราวท่เหมาะสาหรับผู้หญิงท่มีลูกแล้วหรืออยู่ในระยะหลังคลอด
�
ี
�
�
และเล้ยงลูกด้วยนมแม่ หรือผู้ท่ไม่สามารถกินยาเม็ดคุมกาเนิดได้ ยาฉีดคุมกาเนิดแต่ละเข็ม สามารถป้องกน
ั
ี
การตั้งครรภ์ได้นาน 3 เดือน ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยคือ อาจมีประจ�าเดือนน้อยลง หรือออกกะปริดกะปรอย
หรือไม่มีประจ�าเดือนมาเลย
ยาแผ่นแปะคุมก�าเนิด แผ่นแปะคุมก�าเนิด เป็นแผ่นยาบางๆ ลักษณะคล้ายแผ่นยาปิดผิวหนัง
ทั่วไป มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ผิวเรียบ มีสีเบจหรือสีเนื้อ โดยใน 1 กล่อง มีแผ่นยา 3 แผ่น
วิธีใช้
ั
่
ื
ื
ั
ิ
่
ุ
�
ิ
่
l เรมแปะแผ่นยาคมกาเนดในวนแรกทประจาเดอนมาโดยแปะแผ่นยาต่อเนอง 1 สปดาห์
�
ี
และใช้ต่อเนื่องกัน 3 แผ่น เท่ากับ 21 วัน
l ถ้าเริ่มแปะหลังจากมีประจ�าเดือนวันแรกไปแล้ว 7 วัน ควรใช้การคุมก�าเนิดอย่างอื่นร่วมด้วย
l เริ่มยาแผ่นใหม่ จะแปะตรงกับวันเดิมในแต่ละสัปดาห์ เรียกว่า “วันเปลี่ยนแผ่นยา”
28 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
ี
่
l สัปดาห์ท 4 เว้นการแปะ 7 วัน ไม่ว่ารอบเดือนจะมาหรือไม่มา ก็ให้แปะแผ่นแรกของ
รอบใหม่ทันที
ต�าแหน่งที่แปะแผ่นยา
ควรแปะแผ่นยาบนผิวหนังที่แห้งสนิท เช่น สะโพก แผ่นหลังช่วงบน หน้าท้อง
ข้อควรหลีกเลี่ยง
บริเวณเต้านม จุดที่มีแผล หรือเป็นโรคผิวหนัง
ข้อควรระวัง
l เพื่อป้องกันการรบกวนประสิทธิภาพกาวบนแผ่นแปะ หลังอาบน�้าเช็ดตัวให้แห้ง
l ไม่ควรใช้เครื่องส�าอาง ครีม โลชั่น แป้งฝุ่น หรือเครื่องประทินผิวใดๆ บนบริเวณผิวหนัง
ที่จะแปะแผ่นยา
l ไม่ควรให้ขอบยาอย่พอดีกบขอบชุดช้นใน เน่องจากขอบชุดช้นในอาจดึงรงแผ่นยา
ั
้
ั
ู
ั
ั
ื
ให้หลุดได้ระหว่างแปะไม่ควรแกะออกแล้วแปะใหม่ เพราะการแปะใหม่จะไม่แน่นพอ
อาจหลุดได้ง่าย
ยาฝังคุมก�าเนิด
เป็นวิธีคุมก�าเนิดแบบกึ่งถาวร สามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้นาน ถึง 5 ปี (ชนิด 2 หลอด) 3 ปี
�
(1 หลอด) ควรรับการฝังยาคุมกาเนิดภายใน 5 วันแรกของการมีประจาเดือน หรือภายหลังแท้งไม่เกิน
�
ึ
1 สัปดาห์ หลังคลอด 4 - 6 สัปดาห์ หรือการฝังยาแล้วจะมีอาการข้างเคียงเกิดข้น คือมีเลือดออก
กะปริดกะปรอยหรือประจ�าเดือนไม่สม�่าเสมอ
วิธีการฝังยา ก่อนฝังยา แพทย์หรือพยาบาลที่ผ่านการอบรมจะท�าการตรวจร่างกาย
ถ้าไม่มีข้อห้ามใดๆ จะฝังยาหลอดขนาดเล็กบริเวณต้นแขนด้านในเหนือข้อศอก โดยฉีดยาชา
ก่อนฝังยา หลังจากการฝังยาสามารถท�างานได้ตามปกติ
ห่วงอนามัย
l เป็นวิธีการคุมก�าเนิดแบบกึ่งถาวร ซึ่งสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้นาน 3-5 ปี ขึ้นอยู่กับ
ี
ี
�
ชนิดของห่วงอนามัยท่ใส่ ระยะเวลาท่เหมาะสมในการใส่ห่วงอนามัย ขณะท่มีประจาเดือน
ี
หรือหลังประจาเดือนหยุดใหม่ๆ เป็นช่วงภายใน 12 วันแรกของรอบเดือน สามารถใส่ได้
�
่
ั
ั
ทันทีภายใน 48 ชวโมงหลงคลอด ถ้าไม่สามารถใส่ได้ภายใน 48 ชวโมง ให้รออย่างน้อย
ั
่
4 สัปดาห์หลังคลอด การใส่ห่วงอนามัยหลังแท้ง ให้ใส่หลังแท้งทันทีหรือภายใน 2 สัปดาห์
�
ึ
�
หลังแท้ง โดยอาจจะมีอาการข้างเคียง เช่น เลือดประจาเดือนมากข้น จานวนวันของการ
มีประจ�าเดือนจะนานขึ้น มีเลือดออกกะปริดกะปรอย เป็นต้น
วงแหวนคุมก�าเนิด
ึ
วงแหวนคุมกาเนิดมีลักษณะเป็นห่วงพลาสติกขนาดเล็กอ่อนนุ่มและยืดหยุ่น ซ่งในห่วงจะม ี
�
ฮอร์โมนผสมอยู่คล้ายกับยาเม็ดคุมกาเนิด เม่อสอดเข้าไปในช่องคลอด ฮอร์โมนจะถูกดูดซึมเข้าไป
ื
�
ในร่างกายเพื่อยับยั้งการตั้งครรภ์ ซึ่งสามารถท�าได้ด้วยตนเองที่บ้าน
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 29
ข้อดีของวงแหวนคุมก�าเนิด
1. ช่วยลดอาการข้างเคียง เช่น คลื่นไส้ อาเจียน และไม่มีผลต่อน�้าหนักตัว
2. ประจ�าเดือนมาสม�่าเสมอ
3. มีประสิทธิภาพในการป้องกันการตั้งครรภ์ได้ดี
4. สามารถใส่ได้ด้วยตนเอง โดยสอดเข้าไปในช่องคลอดคล้ายกับการเหน็บยาในช่องคลอด
วิธีใช้วงแหวนคุมก�าเนิด
ิ
่
�
ิ
ี
1. เร่มสอดใส่ในวันท 1-5 หลังประจาเดือนมา โดยการล้างมือให้สะอาด ใช้น้วช้และ
ี
นิ้วหัวแม่มือบีบวงแหวนเข้าหากันแล้วใช้นิ้วดันสอดเข้าไปในช่องคลอดให้สุดนิ้ว
2. ทิ้งวงแหวนไว้ในช่องคลอดเป็นเวลา 3 สัปดาห์
ิ
�
ื
3. เม่อครบกาหนด 3 สัปดาห์ ให้ใช้น้วมือสอดเข้าไปในช่องคลอด เก่ยวรอบๆ วงแหวน
ี
ิ
ึ
�
และดึงออกมาท้ง เว้นช่วงท่ไม่ต้องใส่วงแหวนไว้ 7 วัน ซ่งระหว่างน้ประจาเดือนจะมา
ี
ี
ตามปกติ
4. หลังจากถอดออกไป 7 วัน ให้สอดวงแหวนอันใหม่และทิ้งไว้ 3 สัปดาห์ เหมือนเดิม
วิธีที่ไม่แนะน�าให้ใช้ในการคุมก�าเนิด
1. การนับระยะปลอดภัย (หน้า 7 หลัง 7)
การนับระยะปลอดภัย เป็นวิธีการคุมก�าเนิดโดยวิธีธรรมชาติอย่างหนึ่ง คือ “หน้า 7 หลัง 7”
หรือ “ก่อน 7 หลัง 7” (เจ็ดวันก่อนมีประจ�าเดือน และเจ็ดวันหลังจากมีประจ�าเดือน คือช่วงที่ปลอดภัย
วิธีนี้จะใช้ได้ผลเฉพาะรายที่มีรอบเดือนมาสม�่าเสมอเท่านั้น กรณีรอบเดือนมาไม่สม�่าเสมอ วิธีนี้จะมีโอกาส
ผิดพลาดได้มากจึงไม่แนะน�าให้ใช้วิธีนี้
การนับหน้าเจ็ด จะนับล่วงหน้า 7 วันก่อนวันท่คาดว่าประจาเดือนจะมา และหลังเจ็ดวัน
ี
�
นับตั้งแต่วันแรกที่ประจ�าเดือนมาไป 7 วัน ตัวอย่างเช่น มีประจ�าเดือนวันที่ 7-11 มกราคม ระยะปลอดภัย
ช่วงหน้าเจ็ด คือระหว่างวันที่ 1-7 มกราคม ส่วนช่วงหลังเจ็ด คือระหว่างวันที่ 7-13 มกราคม หากรอบเดือน
มาไม่ตรงเวลา หรือไม่สม�่าเสมอ วิธีนี้จะมีโอกาสพลาดสูง และวิธีนี้ไม่ป้องกันการติดเชื้อโรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์และเอดส์ จึงไม่แนะน�าให้ใช้วิธีนี้
2. การหลั่งภายนอก
�
้
ี
ั
ั
หล่งนาอสุจิภายนอกช่องคลอด หรือท่คนท่วไปมักเรียกว่า “หล่งข้างนอก” หรือ
ั
“หล่งภายนอก” (Coitus interruptus, Rejected sexual intercourse, Withdrawal, Pull-out
ั
ั
ึ
ี
ื
ี
method) เป็นวิธีท่ช่วยลดโอกาสการต้งครรภ์อย่างหน่งท่เม่อร่วมเพศไปในระยะแรกจะเป็นไปอย่างปกต ิ
(ฝ่ายชายจะไม่ได้สวมถุงยางอนามัย) จนกระทั่งฝ่ายชายรู้สึกใกล้จะหลั่งน�้าอสุจิ ฝ่ายชายจะถอนอวัยวะเพศ
�
ออกจากช่องคลอดก่อนท่จะถึงจุดสุดยอด และหล่งนาอสุจิออกมาภายนอกช่องคลอดของฝ่ายหญิงแทน
้
ั
ี
โดยไม่ให้น�้าอสุจิเปื้อนบริเวณ ปากช่องคลอด เพราะอาจจะท�าให้เชื้ออสุจิเข้าไปในช่องคลอดได้ โดยคิดไป
ั
ี
ึ
เองว่าจะไม่ทาให้อสุจิเข้าไปผสมกับไข่ของฝ่ายหญิงได้และไม่เกิดการต้งครรภ์ ซ่งน่นเป็นความเข้าใจท่ผิด
ั
�
ี
ื
ื
้
�
ื
�
เพราะในระหว่างท่กาลังมีเพศสัมพันธ์ อาจจะมีเช้ออสุจิออกมากับนาเมือกบ้างแล้วบางส่วน หรอเม่อใกล้ถึง
้
ั
�
จุดสุดยอดแล้ว แต่ฝ่ายชายถอนอวัยวะเพศไม่ทันจนหล่งนาอสุจิเข้าไปภายในช่องคลอดหรือบริเวณ
ื
ี
้
ั
ี
ปากช่องคลอดเหล่าน เช้ออสุจิก็สามารถผ่านเข้าไปในช่องคลอดได้ จึงมีโอกาสเส่ยงต่อการต้งครรภ์สูง
เป็นวิธีที่ไม่แนะน�าให้ใช้
30 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
ชีวิตออกแบบได้
แผนกำรจัดกิจกรรม
เรื่อง (ผลกระทบจำก
กำรเรียนรู้ที่ 5
กำรตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์)
1. สำระส�ำคัญ
ี
วัยรุ่นท่ก้าวเข้าสู่วัยเจริญพันธุ์ มีการเปล่ยนแปลงทางร่างกาย อารมณ์ สังคม ด้านร่างกาย มีระดับ
ี
ฮอร์โมนเพศที่เพิ่มขึ้น วัยรุ่นหญิงเริ่มมีประจ�าเดือน วัยรุ่นชายเริ่มมีการฝันเปียก ซึ่งแสดงถึงความพร้อมทางร่างกาย
ึ
ึ
ในการสืบพันธุ์ ปัจจุบันการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นเกิดข้นกับแฟน คนรักและเพ่อนในวัยใกล้เคียงกัน ซ่งการไว้ใจ
ื
เช่อใจคู่ ไม่มีทักษะในการเจรจาต่อรอง และทักษะปฏิเสธ ทาให้มีเพศสัมพันธ์แบบไม่ป้องกันและอาจทาให้
�
ื
�
ื
ั
ติดเช้อเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมท้งอาจเกิดการต้งครรภ์ได้ โดยเฉพาะการต้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
ั
ั
ส่งผลกระทบต่อตัววัยรุ่นเอง ครอบครัว และสังคมในอนาคต
2. จุดประสงค์กำรเรียนรู้
เพื่อให้วัยรุ่นตระหนักถึงผลกระทบจากการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
3. รูปแบบกิจกรรม
1. เรียนรู้จากวีดิทัศน์
2. การสวมชุดจ�าลองการตั้งครรภ์
3. กิจกรรมกลุ่ม
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. วีดิทัศน์วัยรุ่นตั้งครรภ์เรื่องปุยฝ้าย (เวลา 3 นาที) (หลักสูตรเตรียมให้)
หรือวีดิทัศน์อื่นๆ ตามความเหมาะสม
2. ชุดจ�าลองการตั้งครรภ์
3. กระดาษฟลิปชาร์ท
4. ปากกาเคมี
5. ภาพต้นไม้เป้าหมายชีวิต
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 31
5. แนวคิดที่ผู้เรียนควรได้
�
ั
ื
การเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วมจากการสวมชุดจาลองการต้งครรภ์ เพ่อสร้างการเรียนรู้อย่างมีส่วนร่วม
ให้ผู้เข้ารับการอบรมได้ตระหนักถึงการมีเพศสัมพันธ์เพ่อป้องกันการต้งครรภ์ในวัยรุ่น รวมท้งป้องกันโรคติดต่อ
ั
ื
ั
ทางเพศสัมพันธ์ และค�านึงถึงผลกระทบจากสิ่งที่อาจเกิดขึ้นหลังจากที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน
6. เวลำ
45 - 60 นาที
7. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
7.1 ขออาสาสมัครตัวแทน ชาย 2 คน และ หญิง 2 คน แสดงบทบาทสมมุติว่าตนเอง ตั้งครรภ์ 8 เดือน
โดยสวมชุดจ�าลองการตั้งครรภ์ตลอดการท�ากิจกรรม
7.2 น�าเข้าสู่บทเรียนด้วยกิจกรรม ต้นไม้เป้าหมายชีวิต
1. วิทยากรแจกภาพต้นไม้เป้าหมายชีวิตให้ผู้เข้ารับการอบรม คนละ 1 แผ่น
2. ให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนเขียนเป้าหมายของชีวิตประกอบด้วย
ส่วนของดอกและผล : สิ่งที่อยากเป็น สิ่งที่อยากท�า
ส่วนของราก : เป็นส่วนของสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลไปสู่เป้าหมาย
3. วิทยากรสรุปการมีเป้าหมายชีวิตและการไปสู่เป้าหมายชีวิต โดยเราสามารถออกแบบได้ด้วยตนเอง
7.3 กิจกรรมวิเคราะห์จากวีดิทัศน์
1. ชมวีดิทัศน์ เรื่องปุยฝ้าย (3 นาที) หรือวีดิทัศน์อื่นตามความเหมาะสม
2. ให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดเห็นลงในกระดาษฟลิปชาร์ท ในประเด็น
- ถ้าตนเองหรือคู่รักตั้งครรภ์ สิ่งที่จะเกิดขึ้นทั้งเชิงบวกและเชิงลบ
3. ส่งตัวแทนกลุ่มมาน�าเสนอและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อน
ี
�
ี
7.4 ให้อาสาสมัครท่สวมชุดจาลองการต้งครรภ์บอกเล่าความรู้สึกท่ตนเองหรือคู่ต้งครรภ์ 8 เดือน
ั
ั
เมื่อสวมชุดจ�าลองการตั้งครรภ์ในประเด็น เช่น
1. ความรู้สึกเมื่อสวมชุดจ�าลองการตั้งครรภ์ (ทั้งหญิงและชาย)
2. ความรู้สึกของผู้ชายต่อการรับผิดชอบผู้หญิงที่ตั้งครรภ์
3. ความรู้สึกของครอบครัวเป็นอย่างไร
7.5 วิทยากรสรุป เก่ยวกับชีวิตออกแบบได้ การไปสู่เป้าหมายชีวิตทาได้ด้วยตนเอง โดยจะต้อง
ี
�
ึ
นาไปสู่เร่องการตัดสินใจ การปรึกษาทางเลือก การให้บริการช่วยเหลือ ซ่งจะเข้าสู่ในแผนการ
ื
�
ึ
ี
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ต่อไปท่เก่ยวกับเร่องการช่วยเหลือและไม่ว่าอะไรจะเกิดข้น วัยรุ่นต้องก้าว
ื
ี
ข้ามผ่านไปให้ได้ เพอไปถงเป้าหมายแม้จะช้าไปบ้าง หรอต้องเปลยนเป้าหมายและวธการไป
่
ี
ิ
ื
ึ
ื
่
ี
แต่ท้ายที่สุดจะสามารถจัดการกับปัญหาและยืนได้
32 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
8. สรุป
ึ
�
�
ึ
ี
ี
ทุกคนมีเป้าหมายชีวิตและมีวิธีการท่นาไปสู่เป้าหมาย ซ่งอุปสรรคอย่างหน่งท่ทาให้ไม่ไปสู่เป้าหมายชีวิต
คือ การตั้งครรภ์ไม่พร้อมและการมีคู่ที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อม
การตั้งครรภ์มีทั้งผลเชิงบวกและเชิงลบ แต่สิ่งที่ส่งผลกระทบต่อวัยรุ่นมากคือด้านเชิงลบ เช่น การเสียชีวิต
ของมารดา การเสียชีวิตของทารก การตกเลือดหลังคลอด คลอดก่อนก�าหนด ทารกแรกคลอดน�้าหนักต�่ากว่าเกณฑ์
นอกจากนี้ การคลอดบุตรในช่วงวัยรุ่น ยังอาจส่งผลต่อโอกาสทางการศึกษา หน้าที่การงาน รวมทั้งรายได้ในอนาคต
ของมารดา ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญที่ส่งผลอย่างมากต่อการเลี้ยงดูบุตร
ข้อเสนอแนะส�าหรับผู้ด�าเนินกิจกรรม
1. วิทยากรควรมีการกระตุ้นให้ผู้เข้ารับการอบรมทุกคนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในบทเรียน
2. สื่อการสอน เช่น ภาพ หรือวีดิทัศน์ ควรเป็นสื่อที่ทันสมัย ดึงดูดความสนใจของผู้เข้ารับการอบรม
9. กำรประเมินผล
1. การประเมินความรู้และทัศนคติ
2. การมีส่วนร่วมในการท�ากิจกรรม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 33
34 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
หมวดที่ 3
เรื่อง กำรส่งเสริม
และช่วยเหลือเพื่อนวัยรุ่น
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 35
36 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
“พ.ร.บ.กำรป้องกันและแก้ไข
แผนกำรจัดกิจกรรม ปัญหำกำรตั้งครรภ์
เรื่อง
กำรเรียนรู้ที่ 6 ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
สิ่งส�ำคัญที่วัยรุ่นควรรู้”
1. สำระส�ำคัญ
ั
สิทธิของวัยรุ่นตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 ได้แก่
วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง ได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ ได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการจัด
สวัสดิการสังคม ได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค และได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว
2. วัตถุประสงค์
ี
ื
1. เพ่อให้ความรู้แก่วัยรุ่นเก่ยวกับสิทธิตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์
ั
ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
2. เพื่อให้วัยรุ่นรับรู้ช่องทางและบทบาทหน้าที่ของหน่วยงานต่างๆ ตามพระราชบัญญัติการป้องกัน และ
แก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
3. รูปแบบกิจกรรม
1. การเรียนรู้จากการชมวีดิทัศน์
2. การบรรยาย
3. เกมบัตรค�า
4. กิจกรรมกลุ่ม
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. กระดาษฟลิปชาร์ท
2. ปากกาเมจิก
3. บัตรค�า
4. วีดิทัศน์ เรื่อง พ.ร.บ. (เวลา 6.17 นาที) (หลักสูตรเตรียมให้)
5. กระดาษกาว
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 37
5. แนวคิดที่ผู้เรียนควรได้
ได้รับรู้ถึงสิทธิตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 เกี่ยวกับ
ี
สิทธิในการตัดสินใจด้วยตัวเอง การได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้และรับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ท่สอดคล้อง
กับความต้องการของวัยรุ่น ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม ได้รับการปฏิบัติอย่างเสมอภาค โดยไม่เลือกปฏิบัต ิ
ั
และได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว รวมท้งมีความรู้ ความเข้าใจ สามารถช่วยเหลือและส่งต่อไป
ตามบทบาทของหน่วยงานในการให้การดูแลและช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
6. เวลำ
45 - 60 นาที
7. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม
7.1 กิจกรรมเชื่อมโยงน�าเข้าสู่บทเรียน
1. วิทยากรตั้งค�าถาม สิทธิ หมายถึงอะไร
2. สิทธิของวัยรุ่นในปัจจุบันมีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง เช่น สิทธิการรักษาพยาบาล/บัตรทอง หรือ
สิทธิอื่นๆ ตามความเหมาะสม
7.2 การเรียนรู้จากการชมวีดิทัศน์
1. ชมวีดิทัศน์ เรื่อง สาระส�าคัญของ พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
2. วิทยากรต้งคาถามว่าวัยรุ่นได้อะไรบ้างจาก พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์
ั
�
ั
ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
ื
ั
7.3 กิจกรรมการเรียนรู้เร่อง สิทธิวัยรุ่นตาม พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์ในวัยรุ่น
พ.ศ. 2559
1. วิทยากรแจกบัตรค�า กลุ่มละ 1 ชุด (บัตรค�า 1 ชุด ประกอบด้วย 5 สิทธิวัยรุ่นตามมาตรา 5)
2. วิทยากรให้แต่ละกลุ่มวางหัวข้อสิทธิ ทั้ง 5 สิทธิ เพื่อใช้ในการตอบค�าถาม
3. วิทยากรยกตัวอย่างกิจกรรม โดยใช้บัตรคา หัวข้อสิทธ เช่น สิทธิการตัดสินใจด้วยตนเอง
ิ
�
เจาะตรวจหาเชื้อ HIV
�
4. ให้แต่ละกลุ่มระดมสมองเลือกบัตรคากิจกรรมหรือการบริการท่วัยรุ่นควรจะได้รับตามสิทธ ิ
ี
ให้เหมาะสมที่สุด ตามหัวข้อที่วิทยากรก�าหนดให้ทั้ง 5 สิทธิวัยรุ่น ภายใต้ พรบ. มาตรา 5 (เวลา 15 นาที)
5. ให้ผู้เข้ารับการอบรม นาบัตรคาท่เลือกมาวางหรือติด ลงในกระดาษฟลิปชาร์ท ตามสิทธิวัยรุ่น
�
�
ี
ภายใต้ พรบ. มาตรา 5 รวมทั้ง 5 สิทธิ
�
6. วิทยากรสอบถาม และเปิดโอกาสให้แต่ละกลุ่มทบทวนคาตอบและตรวจสอบความถูกต้อง
อีกครั้ง
7. ให้ตัวแทนกลุ่มน�าเสนอ
38 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
ิ
ั
ี
8. วิทยากรเฉลยทีละสิทธิและอธิบายเพ่มเติมของการใช้สิทธิน้นๆ ว่าสามารถใช้ได้ ท่ไหน และม ี
ขอบเขตอย่างไรและสรุปบทเรียนร่วมกัน
9. วิทยากรสรุปกิจกรรม และให้ความรู้บทบาทของหน่วยงานราชการต่างๆ 5 กระทรวงหลัก
ตาม พ.ร.บ.นี้ (เพิ่มช่องทางการเข้าถึงตามบริบทของพื้นที่หรืออ�าเภออนามัยการเจริญพันธุ์ )
ประเด็นส�าคัญของกิจกรรมที่ต้องเรียนรู้
1. สิทธิของวัยรุ่น ตาม พ.ร.บ.การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559 มีอะไรบ้าง
2. วัยรุ่นสามารถรับบริการด้านอนามัยการเจริญพันธุ์อะไรได้บ้าง
3. เมื่อวัยรุ่นตั้งครรภ์จะได้รับการช่วยเหลือด้านสวัสดิการสังคมอะไรบ้าง
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
5. บทบาทของสถานศึกษา ตาม พ.ร.บ. การป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์ในวัยรุ่น
ั
พ.ศ. 2559 มีอะไรบ้าง
8. สรุป
สิทธิของวัยรุ่นตามพระราชบัญญัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการต้งครรภ์ในวัยรุ่น พ.ศ. 2559
ั
อายุมากกว่า 10 ปี แต่ไม่ถึง 20 ปี ตามมาตรา 5 วัยรุ่นมีสิทธิตัดสินใจด้วยตนเอง และมีสิทธิได้รับข้อมูลข่าวสาร
และความรู้ ได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ ได้รับการการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว ได้รับการจัด
ิ
สวัสดิการสังคมอย่างเสมอภาคและไม่ถูกเลือกปฏิบัต และได้รับสิทธิและช่องทางและสวัสดิการต่างๆ ท่เป็นไป
ี
เพื่อประโยชน์ตามพระราชบัญญัตินี้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน และเพียงพอ
9. กำรประเมินผล
1. ประเมินความรู้
2. สังเกตการมีส่วนร่วมของสมาชิก
3. ประเมินจากการถามตอบ และคะแนนกลุ่มมากกว่าร้อยละ 80 ในภาพรวม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 39
ตัวอย่างบัตรค�า
สิทธิของวัยรุ่น (ภายใต้ พ.ร.บ. มาตรา 5) ตัวอย่าง
1. สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง - สามารถเจาะตรวจหาเชื้อ HIV
- สามารถขอรับบริการคุมก�าเนิด
- สามารถเรียนต่อเมื่อตั้งครรภ์
- สามารถย้ายสถานศึกษาเมื่อตั้งครรภ์
- สามารถวางแผนทางเลือกเมื่อตั้งครรภ์ไม่พร้อม
2. ได้รับข้อมูลข่าวสารและความรู้ - สามารถขอรับข้อมูลความรู้เรื่อง การวางแผน
ครอบครัวและการคุมก�าเนิด
- สามารถขอรับข้อมูลความรู้เรื่อง การป้องกันโรค
และการดูแลสุขภาพส�าหรับวัยรุ่น
- ขอรับข้อมูลของภาคีเครือข่ายในการให้ค�าปรึกษา
หรือหน่วยงานที่ให้ความช่วยเหลือวัยรุ่น
- ได้รับข้อมูลความรู้เรื่องเพศวิถีศึกษา
3. ได้รับบริการอนามัยการเจริญพันธุ์ - บริการถุงยางอนามัย
- บริการยาเม็ดคุมก�าเนิด
- บริการฝังยา ใส่ห่วง
- บริการการตรวจรักษา
- บริการการฟื้นฟูสุขภาพ
- บริการการฝากครรภ์
- บริการการขอรับการปรึกษา
- บริการวางแผนการมีบุตร
4. ได้รับการจัดสวัสดิการสังคม - จัดหาครอบครัวทดแทน
- ฝึกอาชีพแม่วัยรุ่นหรือพ่อวัยรุ่น
- หาที่พักส�าหรับวัยรุ่นตั้งครรภ์
- ให้ค�าปรึกษาด้านสวัสดิการสังคม
- เงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็ก
5. ได้รับการรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว - เมื่อวัยรุ่นไม่ต้องการให้เปิดเผยข้อมูลผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องรักษาความลับและเป็นส่วนตัว
40 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น
แผนกำรจัดกิจกรรม กำรให้ค�ำปรึกษำ
เรื่อง
กำรเรียนรู้ที่ 7
เพื่อนช่วยเพื่อน
1. สำระส�ำคัญ
ึ
ื
ื
ื
�
การให้คาปรึกษาเพ่อนช่วยเพ่อนเป็นแนวทางในการให้ความช่วยเหลือรูปแบบหน่ง เพ่อให้ความ
ี
ช่วยเหลือด้านอารมณ์ จิตใจ แก่ผู้ขอรับการช่วยเหลือ และช่วยให้เขาได้แสดงออกทางอารมณ์ได้เต็มท ช่วยให้
่
ผู้รับการปรึกษาสามารถตัดสินใจแก้ไขปัญหาด้วยตนเองได้ ผู้ให้ค�าปรึกษาที่ดี ควรมีบุคลิกภาพที่เป็นมิตร เป็นผู้ฟัง
ที่ดี มีความเข้าใจผู้อื่น มีความจริงใจ ท�าให้ผู้รับการช่วยเหลือรู้สึกปลอดภัย และรักษาความลับและความเป็นส่วนตัว
2. วัตถุประสงค์
1. มีความรู้ในการให้ค�าปรึกษาเบื้องต้นกับเพื่อนวัยรุ่นได้
2. สามารถให้ค�าปรึกษาเบื้องต้นกับเพื่อนวัยรุ่นได้
3. สามารถรับทราบแนวทางการช่วยเหลือ ดูแล และส่งต่อไปยังภาคีเครือข่ายอย่างเหมาะสม
3. รูปแบบกิจกรรม
1. กิจกรรมการเรียนรู้จากเกมปิดตา และการบรรยาย
2. การวิเคราะห์จากการชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง Patcha is sexy (หลักสูตรเตรียมให้)
3. การฝึกทักษะการให้ค�าปรึกษาเบื้องต้น จากกรณีศึกษา
4. สื่อ/อุปกรณ์
1. ผ้าปิดตา
2. เครื่องเล่นซีดีหรืออุปกรณ์เครื่องเสียง
3. เชือกฟาง
4. กระดาษฟลิปชาร์ท
5. ปากกาเคมี
6. ใบงานกรณีศึกษา
7. ภาพยนตร์สั้น เรื่อง Patcha is sexy จ�านวน 3 ตอน (เวลา 8.55 นาที)
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 41