The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by welfarektb.div, 2022-01-06 00:41:05

แกนนำเยาวชน

5. แนวคิดที่ผู้เรียนควรได้






มีทัศนคติท่ดีในการให้คาปรึกษาสามารถให้ข้อมูลความรู้ ให้คาปรึกษาเบ้องต้น ช่วยเหลือเพ่อน
ในการแก้ปัญหา
6. เวลำ

3 ชั่วโมง



7. ขั้นตอนกำรจัดกิจกรรม

7.1 กิจกรรมเชื่อมโยงน�าเข้าสู่บทเรียน โดยใช้เกมปิดตา มีวิธีการเล่นดังนี้

1. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมเลือกจับคู่
2. แจกผ้าปิดตาให้คู่ละ 1 ผืน โดยให้แต่ละคู่ตกลงกันว่าใครจะเป็นผู้ถูกปิดตา และเป็นผู้บอกทิศทางก่อน



3. วิทยากรจัดสถานท่โดยใช้เชือกฟางล้อมวงผู้เข้ารับการอบรมอยู่ตรงกลาง และสร้างอุปสรรคอ่นๆ
โดยใช้อุปกรณ์ ตามความเหมาะสมเช่น เก้าอี้เสียงเพลง ฯลฯ









4. วทยากรแนะนากตกา โดยให้ผ้เข้ารบการอบรมท่เปิดตาเป็นผ้นาทางและคอยบอกทศทาง
ซึ่งสามารถพูดหรือใช้มือแตะไหล่ เพื่อไม่ให้เพื่อนชนกับสิ่งกีดขวางได้ และเริ่มด�าเนินกิจกรรม


5. ระหว่างน้นวิทยากรสามารถเปิดเพลง เพ่อให้เป็นอุปสรรคในการส่อสารขยับวงล้อม ให้เล็กลง

หรือเปลี่ยนต�าแหน่งอุปสรรคต่างๆ ตามความเหมาะสม
6. เมื่อวิทยากรเห็นเหมาะสม ท�ากิจกรรมซ�้าอีก 1 รอบ โดยให้ทั้งคู่สลับบทบาทกัน
7. วิทยากรสอบถามความรู้สึกของการเป็นผู้ท่ถูกปิดตา และเป็นผู้บอกทิศทางว่ามีความรู้สึก

อย่างไร
8. วิทยากรสรุปเพิ่มเติม เรื่องการไว้วางใจซึ่งกันและกัน ทักษะการฟัง และการเป็นผู้ฟังที่ดี

7.2 วิทยากรสอบถามผู้เข้ารับการอบรมว่าเคยมีประสบการณ์ให้คาปรึกษาเพ่อนบ้างไหมและชวนคุย

ในประเด็น
1. ลักษณะของผู้ให้ค�าปรึกษา
2. เทคนิคการเป็นผู้ให้ค�าปรึกษา
7.3 วิทยากรพูดเพิ่มเติมประเด็นเรื่องเทคนิคการให้ค�าปรึกษาเบื้องต้น โดยเน้น 3 เทคนิค ได้แก่ เทคนิค

การฟัง การถาม และการทวนความ และอาจจะเสริมทักษะอื่นๆ ได้ตามความเหมาะสม
7.4 กิจกรรมวิเคราะห์จากการชมภาพยนตร์สั้น
1. ให้ผู้เข้ารับการอบรมชมภาพยนตร์สั้น เรื่อง Patcha is sexy ทีละตอน (จ�านวน 3 ตอน)

2. วิทยากรชวนคุยประเด็นดังต่อไปนี้
1. ชมภาพยนตร์สั้นแล้วรู้สึกอย่างไร

2. ลักษณะการให้ค�าปรึกษาที่ดีไม่ดี อย่างไร
7.4 วิทยากรสรุปลักษณะการให้ค�าปรึกษาที่ดีและเทคนิคของผู้ให้ค�าปรึกษา





42 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

7.5 กิจกรรมแสดงบทบาทสมมติการให้ค�าปรึกษา
1. ขออาสาสมัคร 2 คน เพื่อแสดงบทบาทสมมติ สถานการณ์ที่ 3

(โดยวิทยากรเตรียมความพร้อมอาสาสมัครก่อนการแสดงบทบาทสมมติ)
7.6 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติการเป็นผู้ให้ค�าปรึกษาจากกรณีศึกษา
1. ให้ผู้เข้ารับการอบรมจับกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน เพื่อลองฝึกปฏิบัติการเป็นผู้ให้ค�าปรึกษาตามบทบาท ดังนี้

A = เป็นผู้มาขอรับค�าปรึกษา
B = เป็นผู้ให้ค�าปรึกษา

C = เป็นผู้สังเกตการณ์
2. วิทยากรชี้แจง โดยให้ผู้มาขอรับการปรึกษา เล่าถึงสถานการณ์ตามใบงานสถานการณ์ ที่ 1 2 และ 3

3. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่มสลับบทบาทกันเป็นผู้มาขอรับคาปรึกษา (A) ผู้ให้
ค�าปรึกษา (B) และผู้สังเกตการณ์ (C) และด�าเนินกิจกรรม (ตามข้อ 7.6) จนครบทั้ง 3 บทบาท
7.7 กิจกรรมแลกเปลี่ยนประเด็นจากการฝึกปฏิบัติการเป็นผู้ให้ค�าปรึกษา


1. วิทยากรให้ผู้เข้ารับการอบรมแต่ละกลุ่ม (3 กลุ่ม) แลกเปล่ยนประเด็นท่ได้จากการเป็นผู้ขอรับ






คาปรกษา (A) เป็นผ้ให้คาปรกษา (B) และเป็นผู้สงเกตการณ์ (C) ในประเดนเทคนคการเป็น



ผู้ให้ค�าปรึกษาเบื้องต้นโดยเขียนลงในกระดาษฟลิปชาร์ท
2. ตัวแทนกลุ่มออกมาน�าเสนอ กลุ่มละ 5 นาที
3. วิทยากรแต่ละกลุ่มสรุปการเรียนรู้จากสถานการณ์ และถามผู้เข้ารับการอบรมว่าผู้เข้ารับ
การอบรม
- ได้เรียนรู้อะไร
- มีเทคนิคอะไรบ้าง
- ช่องทางการดูแลช่วยเหลือส่งต่อมีที่ไหน อย่างไร
วิทยากร

1. วิทยากรควรสังเกตการณ์หรือให้ค�าแนะน�าตามกลุ่ม
3. วิทยากรสามารถพิจารณาระยะเวลา ให้ผู้เข้าร่วมอบรมพักก่อนฝึกปฏิบัติ
(อยู่ในดุลยพินิจของวิทยากร)

4. ควรมีเวลาให้กลุ่มเตรียมความพร้อม โดยให้กลุ่มและอาสาสมัครอ่านสถานการณ์ กรณีศึกษา
เตรียมความพร้อมของผู้เข้ารับการอบรมคนอื่นๆ ในการเป็นผู้สังเกตการณ์ และแจกสถานการณ์

จ�าลอง กรณีศึกษา เพื่อเตรียมสรุปแลกเปลี่ยนช่วงท้ายกิจกรรม



8. สรุป



กระบวนการให้ข้อมูลความร้ แนะนาแก้ไขปัญหาให้บริการคาปรกษาและช่วยเหลือเพอนเบองต้น









แนะนาสถานบริการท่เป็นมิตรสาหรับวัยรุ่น และส่งต่อไปยังภาคีเครือข่ายและหน่วยงานท่เก่ยวข้อง เพ่อให้



การช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม โดยการใช้เทคนิคการให้ค�าปรึกษาวัยรุ่นที่เหมาะสม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 43

วิทยากรแนะน�า
บริการสุขภาพที่เป็นมิตรของโรงพยาบาล รพ.สต และภาคีเครือข่าย โรงเรียน หน่วยงานอื่นๆ แลกเปลี่ยน

ประสบการณ์การเข้ารับบริการสุขภาพที่เป็นมิตร (YFHS) ในประเด็นดังนี้
1. คลินิกวัยรุ่นของโรงพยาบาล รพ.สต และภาคีเครือข่าย โรงเรียน หน่วยงานอื่นๆ มีบริการอะไรบ้าง
2. เคยไปรับบริการบ้างหรือไม่ ช่องทางไหนบ้าง

3. มีความประทับใจอย่างไรบ้าง
4. เคยปรึกษาหรือส่งต่อเพื่อนไปรับการปรึกษา หรือรับบริการหรือไม่ อย่างไร

ผู้แทนคลินิกวัยรุ่นโรงพยาบาล รพ.สต และเครือข่าย โรงเรียน หรือหน่วยงานอื่นๆ
สรุปประชาสัมพันธ์การบริการ เช่น
- คลินิกวัยรุ่น

- ช่องทางการเข้ารับบริการ
- Flowchart เบอร์โทรศัพท์ ID line Website สายด่วน

- Power-point (น�าเสนอแนวทางการช่วยเหลือและส่งต่อวัยรุ่นของแต่ละพื้นที่)



หากมีประเด็นหรือข้อจากัดท่หน่วยงานไม่สามารถดาเนินการได้มีแนวทางอย่างไร รวมไปถึงการส่งต่อ
ไปยังสถานบริการสาธารณสุข ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง หรือหน่วยบริการอื่นๆ ที่รับให้ค�าปรึกษาในพื้นที่นั้นๆ เช่น
ร้านขายยา เว็บไซต์ที่สามารถสืบค้นข้อมูลทางวิชาการ สายด่วนที่ให้การปรึกษา เป็นต้น



9. กำรประเมินผล

1. จากการสังเกตผู้รับการอบรม การต้งคาถาม ในประเด็นการแลกเปล่ยนเรียนรู้และบรรยากาศ



ของการพูดคุย
2. การฝึกทักษะการฟัง การให้กาลังใจ การสังเกต การถาม การเงียบ การทวนความ การจับความ

การสะท้อนความรู้สึก การรักษาความลับ และสรุปความ



































44 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

ใบงำนกรณีศึกษำ




สถำนกำรณ์ที่ 1






นุชไปหาจันทร์เพ่อทารายงานกลุ่มท่บ้านแต่ไม่พบ แต่ได้พบกับพ่อ้น พ่ชายของจันทร์ พ่อ้นชวน
เข้าบ้านบอกว่าไม่มีใครอยู่ จันทร์เคยบอกว่าพี่อ้นแอบสนใจนุช แต่นุชไม่ได้สนใจเพราะคิดว่ายังไม่ถึงเวลา




และกาลังเรียนและทางานด้วย ทาให้ไม่ค่อยมีเวลามากในการเจอกับเพ่อน คุยกันจนเย็น จันทร์ก็ยัง
ไม่กลับมา นุชคิดว่าตนเองไม่ค่อยมีเวลามาช่วยเพื่อนจึงรอต่อไป พี่อ้นชวนคุย เปิดเพลงฟัง สนิทสนมกันมากขึ้น


และอ้นก็ได้ขอกอด และหอมแก้ม นุชตกใจมาก แต่ไม่รู้ว่าจะทาอย่างไร พ่อ้นบอกว่า ชอบและรักนุชมา
นานแล้ว เขาจะดูแลนุชอย่างดี และขอมีเพศสัมพันธ์ด้วย นุชเผลอใจไปกับความเป็นกันเองและความสนิทสนม
และในวันน้นนุชมีเพศสัมพันธ์กับพ่อ้นโดยไม่ได้ป้องกัน นุชเสียใจร้องไห้ไม่อยากพบหน้าใครแม้แต่พ่อแม่





กังวลว่าตนเองจะท้อง เพราะมีเพ่อนหลายคนท่เรียนด้วยกันท่ท้องระหว่างเรียน นุชกลัวพ่อแม่ผิดหวัง
กลัวหลายๆ อย่างไม่มีกะจิตกะใจจะเรียนแม้แต่น้อย ไม่รู้จะท�าอย่างไร
สถำนกำรณ์ที่ 2

ฟ้ากบอาทตย์ เป็นเพอนกน ค่อนข้างสนทกน ทกวนหลงเลกเรยนทงค่กพากนมานงกนท ี ่






















สวนสาธารณะใกล้โรงเรียนในช่วงเย็นพลบคาเป็นประจา ในขณะท่รอรถเพ่อกลับบ้าน วันหน่งมีญาต ิ



ของฟ้ามาเห็น เขาก็เตือนว่าไม่ควรมานั่งคุยกันในสถานที่แบบนี้และเวลาใกล้ค�่า มันดูไม่เหมาะสม แต่ฟ้า
ก็ไม่เชื่อเพราะคิดว่าไม่ได้ท�าอะไรเสียหายวันหนึ่งทางโรงเรียน มีการจัดกิจกรรม หลังจากนั้นอาทิตย์กับฟ้า


ก็ชวนกันไปเท่ยว และกลับมารอรถกลับท่เดิมทุกวัน แต่วันน้น่งในท่ลับตาคน และอาทิตย์บอกว่ารักฟ้า



มาก อีกหน่อยเข้าก็ต้องแยกย้ายกันไปศึกษาที่อื่น ฟ้าตกใจ แต่อาทิตย์บอกว่าเป็นเรื่องธรรมดาของคนรัก
กันเพ่อนของอาทิตย์หลายคนเขาก็มีเพศสัมพันธ์กันหลายคู่ บางคนก็มีเพศสัมพันธ์กับผู้หญิงหลายคน

ถ้าเราไม่มีเพศสัมพันธ์กันอาทิตย์ก็จะอายเพื่อน ฟ้าลังเลใจ ควรตัดสินใจอย่างไรเนื่องจากตนเป็นความหวัง
ของครอบครัว อยากให้เรียนต่อ แต่ฟ้าก็รักอาทิตย์มากเช่นกันไม่อยากขัดใจคนรัก
สถำนกำรณ์ที่ 3
น้องนุช อายุ 15 ปีก�าลังเรียน ม.3 เทอม 1 เป็นเด็กเรียนเก่ง ตั้งใจเรียนให้จบ ป.ตรี โดยได้ใช้ชีวิต
วัยรุ่นอย่างมีความสุขและในช่วงนั้นได้พบกับแฟนซึ่งเป็นรุ่นพี่ (อายุ 19 ปี) ต่างโรงเรียน ต่อมาก็เลิกรากัน
ไป โดยช่วงท่คบกัน มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ได้ป้องกัน และแล้วเหตุการณ์ไม่คาดฝันหลังเลิกคบกับแฟน

ก็เกิดขึ้น เมื่อประจ�าเดือนไม่มา ตนเองก้อไม่ได้สนใจอะไร แต่มีเพื่อนสนิทเริ่มสังเกตถึงความเปลี่ยนแปลง
ที่เกิดขึ้นเพราะทุกเดือนประจ�าเดือน จะมาพร้อมๆ กัน จึงคุยกันและคิดว่าจะไปปรึกษาใครดี
หมายเหตุ วิทยากรสามารถปรับสถานการณ์ได้ตามความเหมาะสม
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 45

46 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

ภำคผนวก













































คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 47































48 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

แบบทดสอบก่อน-หลัง รับการอบรม



ชื่อ..................................................สกุล....................................อายุ................ปี



1. แบบประเมินความรู้








ขอให้ท่านพจารณาข้อความต่อไปนตามความคดเหนของท่าน โดยใส่เครองหมาย √ ลงในช่องความคดเหน

“ใช่” เม่อท่านมีความคิดว่าถูกต้องหรือเห็นด้วย และใส่เคร่องหมาย √ ลงในช่องความคิดเห็น “ไม่ใช่” เม่อท่าน



มีความคิดว่าไม่ถูกต้องหรือไม่เห็นด้วย
ค�าตอบ
ข้อ ประเด็นข้อความ
ใช ่ ไม่ใช่



1 อาหารกลุ่มสีแดง คือ อาหารท่ให้พลังงานตา เช่น ผักต้ม ผลไม้ โยเกิร์ต ผัดกะเพรา
เป็นต้น

2 การจัดฟันท่จาเป็น ได้แก่ การรักษาความผิดปกต เช่น ฟันเรียงตัวผิดปกต (ซ้อนเก)



การสบฟันที่ผิดปกติเช่นฟันล่างคร่อมฟันบน ฟันบน-ล่างสบกันแบบไม่สมดุล/
ความผิดปกติของขนาดและความสัมพันธ์ของขากรรไกรต่อใบหน้า
3 การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพควรดูเครื่องหมายเลขทะเบียนอาหารและยา (อย.)
วันเดือนปี หมดอายุ และฉลากข้างผลิตภัณฑ์อย่างละเอียดเพื่อความปลอดภัย
4 การจัดการกับอารมณ์ทางเพศ ได้แก่ การเบ่ยงเบนไปทากิจกรรมท่สนใจ การควบคุม



อารมณ์ และการส�าเร็จความใครด้วยตนเอง
5 การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันเพียงครั้งเดียวไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี

6 หากลืมกินยาคุมก�าเนิด 1 เม็ด ให้กินทันทีที่นึกได้แล้วกินยาเม็ดต่อไปในเวลาเดิม









หากลมกนยาคมกาเนด 2 เมด ให้กนยาวนละ 2 เมด 2 วน และควรใช้ถงยางอนามย




ร่วมด้วย หากลืมกินยาคุมก�าเนิด 3 เม็ด ให้หยุดกินยา และใช้วิธีการคุมก�าเนิดอย่างอื่น
7 ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉินต้องกินทันทีหลังมีเพศสัมพันธ์ภายใน 72 ชั่วโมง เม็ดที่ 2 กินหลัง
เม็ดแรก 12 ชั่วโมง หรือกินทันที่พร้อมกัน 2 เม็ดและไม่ควรกินเกิน 4 เม็ดต่อเดือน



8 ควรใช้ถุงยางอนามัย ร่วมกับสารหล่อล่นท่เป็นน้ามัน เช่น วาสลีน โลช่น เพ่อลดการ


เสียดสีเวลามีเพศสัมพันธ์
9 วัยรุ่นมีสิทธิสามารถเรียนต่อหรือย้ายสถานศึกษาได้เม่อต้งครรภ์ รวมถึงขอรับบริการ


อนามัยการเจริญพันธุ์ และวางแผนเมื่อตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้



10 ส่งท่สาคัญในการให้คาปรึกษาคือการเอาใจเขามาใส่ใจเรา การให้กาลังใจ การฟัง


การรักษาความลับ และการพูดให้เพื่อนหาทางแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ไม่ใช่การตัดสิน
ปัญหาให้เพื่อน
รวมคะแนน
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 49

2. แบบประเมินทัศนคติ


ขอให้ท่านพิจารณาข้อความต่อไปน้ตามความคิดเห็นของท่าน โดยใส่เคร่องหมาย √ ลงในช่องระดับ
ความคิดเห็นของท่าน

ระดับความคิดเห็น

5 4 3 2 1
ข้อ ประเด็นข้อความ
มาก ปาน น้อย
ที่สุด มาก กลาง น้อย ที่สุด

1 แนวทางการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองนั้น เริ่มจากสร้าง
ความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถพัฒนาที่ตัวบุคคลได้ โดยการเรียนรู้

ที่จะยอมรับตนเอง การให้รางวัลตนเองเมื่อประสบความส�าเร็จ
2 การจัดฟันแฟชั่น การใส่บิ๊กอาย ท�าให้ตนเองดูดีและเป็นการแสดง
ถึงการมีฐานะหรือท�าให้คนอื่นเข้าใจว่าตนเองมีฐานะ

3 การมีเพศสัมพันธ์กับแฟน/คนรัก/นักเรียนด้วยกันน่าจะปลอดภัย

จากการติดเชื้อเอชไอวี

4 การสาเร็จความใครด้วยตนเองเป็นส่งท่ไม่ปลอดภัยและเป็นอันตราย


ต่อสุขภาพ
5 เร่องเพศเป็นเร่องน่าอายท่ควรปกปิดไม่ควรนามาพูดคุยและเป็นเร่อง





ที่สามารถเรียนรู้ได้เองโดยไม่ต้องให้ใครมาสอนหรือให้ค�าแนะน�า




6 การเร่มต้นของการพูดคุยเร่องเพศควรเร่มจากการส่อสารเชิงบวก
ที่เป็นการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้สึก และความสัมพันธ์ที่ดี
7 การพกถุงยางอนามัยเป็นการส่งเสริมให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์
8 การต้งครรภ์ในขณะท่ท้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายยังไม่มีความพร้อม



ในทุกๆ ด้าน ท�าให้เกิดปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ
และสังคม
9 ความรับผิดชอบในการป้องกันการต้งครรภ์ เป็นเร่องของทั้งฝ่ายชาย


และหญิง

10 การเห็นเพ่อนท่มีปัญหาเข้ามาพูดคุยกับเราแต่เป็นบุคคลท่เราไม่ชอบ



เลยเล่าเรื่องให้คนอื่นฟัง เพื่อจะได้ช่วยหาทางแก้ไข















50 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลัง รับการอบรม



1. แบบประเมินความรู้

ขอให้ท่านพิจารณาข้อความต่อไปนี้ตามความคิดเห็นของท่าน โดยใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องความคิดเห็น


“ใช่” เม่อท่านมีความคิดว่าถูกต้องหรือเห็นด้วย และใส่เคร่องหมาย √ ลงในช่องความคิดเห็น “ไม่ใช่” เม่อท่าน

มีความคิดว่าไม่ถูกต้องหรือไม่เห็นด้วย
ค�าตอบ
ข้อ ประเด็นข้อความ
ใช ่ ไม่ใช่


1 อาหารกลุ่มสีแดง คือ อาหารท่ให้พลังงานตา เช่น ผักต้ม ผลไม้ โยเกิร์ต ผัดกะเพรา


เป็นต้น √



2 การจัดฟันท่จาเป็น ได้แก่ การรักษาความผิดปกต เช่น ฟันเรียงตัวผิดปกต (ซ้อนเก)

การสบฟันที่ผิดปกติเช่นฟันล่างคร่อมฟันบน ฟันบน-ล่างสบกันแบบไม่สมดุล/ √
ความผิดปกติของขนาดและความสัมพันธ์ของขากรรไกรต่อใบหน้า
3 การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพควรดูเครื่องหมายเลขทะเบียนอาหารและยา (อย.)
วันเดือนปี หมดอายุ และฉลากข้างผลิตภัณฑ์อย่างละเอียดเพื่อความปลอดภัย √

4 การจัดการกับอารมณ์ทางเพศ ได้แก่ การเบ่ยงเบนไปทากิจกรรมท่สนใจ การควบคุม



อารมณ์ และการส�าเร็จความใครด้วยตนเอง √
5 การมีเพศสัมพันธ์โดยไม่ป้องกันเพียงครั้งเดียวไม่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวี √

6 หากลืมกินยาคุมก�าเนิด 1 เม็ด ให้กินทันทีที่นึกได้แล้วกินยาเม็ดต่อไปในเวลาเดิม
หากลืมกินยาคุมก�าเนิด 2 เม็ด ให้กินยาวันละ 2 เม็ด 2 วัน และควรใช้ถุงยางอนามัย √

ร่วมด้วย หากลืมกินยาคุมก�าเนิด 3 เม็ด ให้หยุดกินยา และใช้วิธีการคุมก�าเนิดอย่างอื่น

7 ยาเม็ดคุมก�าเนิดฉุกเฉินต้องกินทันทีหลังมีเพศสัมพันธ์ภายใน 72 ชั่วโมง เม็ดที่ 2 กินหลัง
เม็ดแรก 12 ชั่วโมง หรือกินทันที่พร้อมกัน 2 เม็ดและไม่ควรกินเกิน 4 เม็ดต่อเดือน √


8 ควรใช้ถุงยางอนามัย ร่วมกับสารหล่อล่นท่เป็นน้ามัน เช่น วาสลีน โลช่น เพ่อลดการ




เสียดสีเวลามีเพศสัมพันธ์ √















9 วยร่นมสทธสามารถเรยนต่อหรอย้ายสถานศกษาได้เมอตงครรภ์ รวมถง ขอรบบรการ
อนามัยการเจริญพันธุ์ และวางแผนเมื่อตั้งครรภ์ไม่พร้อมได้ √

10 ส่งท่สาคัญในการให้คาปรึกษาคือการเอาใจเขามาใส่ใจเรา การให้กาลังใจ การฟัง




การรักษาความลับ และการพูดให้เพื่อนหาทางแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ไม่ใช่การตัดสิน √
ปัญหาให้เพื่อน
รวมคะแนน
คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 51

2. แบบประเมินทัศนคติ
ขอให้ท่านพิจารณาข้อความต่อไปนี้ตามความคิดเห็นของท่าน โดยใส่เครื่องหมาย √ ลงในช่องระดับความ

คิดเห็นของท่าน

ระดับความคิดเห็น
5 4 3 2 1
ข้อ ประเด็นข้อความ
มาก มาก ปาน น้อย น้อย
ที่สุด กลาง ที่สุด

1 แนวทางการเสริมสร้างการเห็นคุณค่าในตนเองนั้นเริ่มจากสร้าง
ความเชื่อมั่นในตนเอง สามารถพัฒนาที่ตัวบุคคลได้ โดยการเรียนรู้

ที่จะยอมรับตนเอง การให้รางวัลตนเองเมื่อประสบความส�าเร็จ
2 การจัดฟันแฟชั่น การใส่บิ๊กอาย ท�าให้ตนเองดูดีและเป็นการแสดง
ถึงการมีฐานะหรือท�าให้คนอื่นเข้าใจว่าตนเองมีฐานะ

3 การมีเพศสัมพันธ์กับแฟน /คนรัก/นักเรียนด้วยกันน่าจะปลอดภัย
จากการติดเชื้อเอชไอวี




4 การสาเร็จความใครด้วยตนเองเป็นส่งท่ไม่ปลอดภัยและเป็นอันตราย
ต่อสุขภาพ
5 เรื่องเพศเป็นเรื่องน่าอายที่ควรปกปิด ไม่ควรน�ามาพูดคุยและเป็น
เรื่องที่สามารถเรียนรู้ได้เองโดยไม่ต้องให้ใครมาสอนหรือให้ค�าแนะน�า

6 การเร่มต้นของการพูดคุยเร่องเพศควรเร่มจากการส่อสารเชิงบวก




ที่เป็นการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ สร้างความรู้สึก และความสัมพันธ์ที่ดี
7 การพกถุงยางอนามัยเป็นการส่งเสริมให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์



8 การต้งครรภ์ในขณะท่ท้งฝ่ายหญิงและฝ่ายชายยังไม่มีความพร้อม
ในทุกๆ ด้าน ท�าให้เกิดปัญหาต่อตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ และสังคม


9 ความรับผิดชอบในการป้องกันการต้งครรภ์ เป็นเร่องของท้งฝ่ายชาย

และหญิง


10 การเห็นเพ่อนท่มีปัญหาเข้ามาพูดคุยกับเราแต่เป็นบุคคลท่เราไม่ชอบ

เลยเล่าเรื่องให้คนอื่นฟัง เพื่อจะได้ช่วยหาทางแก้ไข

ค�าถามเชิงบวกข้อ 1 6 8 9 ค�าถามเชิงลบ ข้อ 2 3 4 5 7 10

เห็นด้วยมากที่สุด = 5 คะแนน เห็นด้วยมากที่สุด = 1 คะแนน
เห็นด้วยมาก = 4 คะแนน เห็นด้วยมาก = 2 คะแนน

เห็นด้วยปานกลาง = 3 คะแนน เห็นด้วยปานกลาง = 3 คะแนน

เห็นด้วยน้อย = 2 คะแนน เห็นด้วยน้อย = 4 คะแนน
เห็นด้วยน้อยที่สุด = 1 คะแนน เห็นด้วยน้อยที่สุด = 5 คะแนน





52 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

ตัวอย่ำงรูปโครงร่ำงวัยรุ่น ชำย หญิง
ตัวอย่ำงรูปต้นไม้เป้ำหมำยชีวิต





















































































คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 53

ตัวอย่ำงรูปต้นไม้เป้ำหมำยชีวิต




















































































54 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

รำยชื่อภำคีเครือข่ำยที่เกี่ยวข้อง



1. ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท์: 0-2590-4238 0-2590-4265 โทรสาร : 0-2590-4163
เว็บไซด์:http://rh.anamai.moph.go.th/

2. สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท์: 0-2248-8999 โทรสาร : 0-2248-8998 เว็บไซด์: http://www.smartteen.net/
3. ส�านักโรคเอดส์วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

โทรศัพท์: 0-2590-3241 โทรสาร : 0-2590-3241 เว็บไซด์: http://aidsstithai.org/home
4. ชุมชนแห่งการเรียนรู้เพศศึกษา path2health foundation

โทรศัพท์: 0-2653-7563 โทรสาร: 0-2653-7566 เว็บไซด์: http://www.teenpath.net
5. สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

โทรศัพท์: 0-2941-2320 โทรสาร : 0-2561-5130 เว็บไซด์: www.ppat.or.th

6. สมาคมส่งเสริมสถานภาพสตรีในพระอุปถัมภ์พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชา
ทินัดดามาตุ โทรศัพท์: 0-2929-2301-7 โทรสาร : 0-2566-3481, 0-2929-2856

เว็บไซด์: http://www.apsw-thailand.org/
7. มูลนิธิเพื่อนหญิง

โทรศัพท์: 0-2513-1001 โทรสาร : 0-2513-1929 อีเมล์[email protected]
8. มูลนิธิปวีณาหงสกุลเพื่อเด็กและสตรี

โทรศัพท์: 1134, 0-2577-0500-1, 0-2577-0496-8 โทรสาร : 0-2577-0499

เว็บไซด์: www.pavenafoundation.or.th
9. สายด่วนวัยรุ่น มูลนิธิห่วงใยประชาชน

โทรศัพท์: 0-2275-6993-4 โทรสาร : 0-2276-5141-5
10. สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน (PDA)

โทรศัพท์: 0-2229-4611-28 โทรสาร : 0-2229-4632 เว็บไซด์: http://www.pda.or.th/
11. ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัด, โรงพยาบาล, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�าบลใกล้บ้าน

12. สายด่วน 1663 สายด่วนปรึกษาเอดส์และท้องไม่พร้อม
13. สายด่วน 1300 ศูนย์ช่วยเหลือสังคม

14. สายด่วน 1323 สายด่วนสุขภาพจิต
15. สายด่วน 1506 กระทรวงแรงงาน











คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 55

คณะผู้จัดท�ำ







ที่ปรึกษำ

1. นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย

2. นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ รองอธิบดีกรมอนามัย
3. นายแพทย์กิตติพงศ์ แซ่เจ็ง ผู้อ�านวยการส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

4. นายแพทย์บุญฤทธิ์ สุขรัตน์ ผู้ช่วยผู้อ�านวยการส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

5. นายแพทย์ประวิช ชวชลาศัย ผู้ช่วยผู้อ�านวยการส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
6. ผศ.ดร.ปรีย์กมล รัชนกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

7. นายรณภูมิ สามัคคีคารมย์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

8. ดร.วันวิสาข์ ศรีสุเมธชัย คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล






คณะผู้จัดท�ำ

1. นางกอบกุล ไพศาลอัชพงษ์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

2. นางพัชรินทร์ กสิบุตร ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
3. ร้อยโทหญิง ณิชารัศม์ ปัญจจิตราพัฒน์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

4. นางสาววรรณนี ร่อนแก้ว ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

5. นายอ�าพล มุ่งคิด ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
6. นางสาวเจนจิรา อุ่นแก้ว ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

7. นางสาวทิพาพรรณ ธูสรานนท์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์


























56 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

รำยนำมผู้ให้ข้อเสนอแนะ


“คู่มือพัฒนำศักยภำพแกนน�ำวัยรุ่น”






1. นางสาวนวพร นาวีสาคร รพ.สมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 17 จังหวัดสุพรรณบุรี
2. นางทรงศรี พลเสน รพ.ศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี

3. นางชไมกาญจน์ กองสันเทียะ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา
4. นางสาววสิมล สุวรรณรัตน์ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี

5. ทันตแพทย์ภารดร ชัยเจริญ ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดจันทบุรี

6. นายพิสุทธิ์ สุรสังข์ ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
7. นางสาวสุจิตรา ประยูรยวง รพ.สต.คลองนารายณ์ อ�าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี

8. นางนุชนาถ โรจนธรรม รพ.สต.หนองบัว อ�าเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี
9. นางละออง สนธิภักดี ครูโรงเรียนหนองเจ๊กสร้อย จังหวัดจันทบุรี

10. เด็กหญิงรัตถาพร ชื่นจิต นักเรียนโรงเรียนหนองเจ๊กสร้อย จังหวัดจันทบุรี

11. เด็กหญิงปาริชาติ นิสัยซื่อ นักเรียนโรงเรียนหนองเจ๊กสร้อย จังหวัดจันทบุรี
12. นางพรรณา เอี่ยนเล่ง ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดกระบี่

13. นางสุชาดา เจียวก๊ก ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

14. นางคนางค์ ภูมิภมร รพ.กระบี่ จังหวัดกระบี่
15. นางสนธิญา กิตติธรกุล รพ.อ่าวลึก จังหวัดกระบี่

16. นางเจนจิรา ศรีหากัญญา รพ.สต.ตลิ่งชัน อ�าเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่

17. นางสาวภัทราวดี พานิช ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี
18. นางสาวภัทรจิตร ค�าน้อย ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี

19. นางสุจิรา แก้วสมุทร รพ.ตาลสุม จังหวัดอุบลราชธานี
20. นางธงชัย ภาโค ส�านักงานสาธารณสุขอ�าเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี

21. นางสาวจุรีรัตน์ จิตธนพานิช ครูโรงเรียนบ้านหมอพิทยานุกูล จังหวัดสระบุรี

22. นายเอกชาติ สุวพงษ์ นักเรียนโรงเรียนบ้านหมอพิทยานุกูล จังหวัดสระบุรี
23. นางสาวศิริพร เบิกบาน นักเรียนโรงเรียนบ้านหมอพิทยานุกูล จังหวัดสระบุรี

24. นางทัศนีย์ ช่วยรักษา ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
25. นางนภา พวงรอด ส�านักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี

26. นางสาวราณี อาชาเจริญ รพ.บางกรวย จังหวัดนนทบุรี

27. นางสาวจันจิรา ผัดแก้ว รพ.บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี



คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 57

28. ทันตแพทย์หญิงสุธิดา สกุลณี รพ.ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี
29. นางสุภัทรา พันธวิทย์ รพ.ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

30. นางสาวยุภาวดี เนตร์หนู รพ.ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

31. นางละเอียด แก้วจรัส รพ.ไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี
32. นางสุอาภรณ์ ไหลพานิช รพ.ปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

33. นางศิริกาญจน์ โภคะสวัสดิ์ รพ.บางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

34. นางอรนุช บุญศิริ รพ.บางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
35. นางสาวดลฤดี ทับทิม รพ.สต.ตลาดวัดมะเกลือ อ�าเภอไทรน้อย จังหวัดนนทบุรี

36. นางพรรณ์นิภา เกิดน้อย รพ.สต.ท่าอิฐ อ�าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี

37. นางสาวนลินธรณ์ เอกอัครศุภาพงศ์ รพ.สต.บ้านใหม่ อ�าเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
38. นางสาววันวิสาข์ สนใจ รพ.สต.บางไผ่ อ�าเภอบางบัวทอง จังหวัดนนทบุรี

39. นางทวารัตน์ อติชาตสินธพ รพ.สต.บางเขน อ�าเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
40. นางสาวิตรี พาทีทิน รพ.บ้านนา จังหวัดนครนายก

41. นางสาวณัฐกฤตา เทียนทอง รพ.สต.กะเหรี่ยง อ�าเภอบ้านนา จังหวัดนครนายก
42. นางสาวเอกกมล ส�าลีรัตน์ รพ.พระสมุทรเจดีย์วาทยานนท์ จังหวัดสมุทรปราการ

43. ทันตแพทย์หญิงสุรัตน์ มงคลชัยอรัญญา ส�านักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย

44. นางสาวลักษณิน รุ่งตระกูล ส�านักโภชนาการ กรมอนามัย
45. นางนุชนารถ แก้วด�าเกิง ส�านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กรมควบคุมโรค

46. นางจิราภรณ์ ยาชมภู ส�านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
กรมควบคุมโรค

47. นางมณฑาทิพย์ ศรีวรรณ ส�านักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

กรมควบคุมโรค
48. นางสาวอมรเรข ตั้งจิตร ส�านักงานคณะกรรมการควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์

กรมควบคุมโรค
49. นางสาวศศกร วิชัย สถาบันสุขภาพจิตเด็กและวัยรุ่นราชนครินทร์

กรมสุขภาพจิต

50. นางสาวเศรษณีย์ จุฬาเสรีกุล ส�านักควบคุมบริโภคยาสูบ กรมควบคุมโรค
51. ดร.เทวินทร์ วารีศรี ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี

52. นางสาววราภรณ์ จิตอารี ศูนย์อนามัยที่ 4 สระบุรี
53. นางวรรณดี จันทรศิริ ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี









58 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

54. นางณัฐพร สุจิตโต ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี
55. นางนงลักษณ์ สุขเอี่ยม ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี

56. นางสาววราภรณ์ นนทวี ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี

57. นางสาวสุกานดา แก้วล้อมบึง ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี
58. นางสาวเทียมดาว ทองโกฏิ ศูนย์อนามัยที่ 10 อุบลราชธานี

59. นางสายใจ โฆษิตกุลพร ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช

60. นางวิไล รัตนพงษ์ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรุงเทพมหานคร
61. นางณิชนันท์ ไพรวิจารณ์ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรุงเทพมหานคร

62. นายสมสุข โสภาวนิตย์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

63. นางประกายดาว พรหมประพัฒน์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
64. นางนารีรัตน์ ฉัตรนุกูล ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

65. นางปภาวี ไชยรักษ์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
66. นางสาวนฎาประไพ สาระ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

67. นางสาวธัญญาพรรณ เรือนทิพย์ ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์
68. นางสาวสาลินี อุ่มมี ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

69. นางสาวนันทิยา พรมวงษา ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์

70. นางสาวนฤมล แก้วโมรา ส�านักอนามัยการเจริญพันธุ์













































คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น 59

บรรณำนุกรม






กรมควบคุมโรค, กรมอนามัย, กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ, กรมสุขภาพจิต, กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือแนวทาง


การจัดบริการสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการตามมาตรฐานกระทรวงสาธารณสุข. พิมพ์คร้งท 3.


กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2558.










กรมสขภาพจต กระทรวงสาธารณสข. ค่มอวิทยากรฝึกอบรมอาสาสมัคร/แกนนาเยาวชน ศนย์เพอนใจวัยร่น.
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2547.
เบญจพร ปัญญายง. คู่มือการให้ค�าปรึกษาวัยรุ่นด้านจิตใจและสังคมแบบบูรณาการ. กรมสุขภาพจิต. บริษัทบียอนด์
พับลิสซิ่ง จ�ากัด; 2557.
สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย (สวท) ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนคริทราบรมราชชนนี. คู่มือ
วิทยากรสอนเพศศึกษารอบด้านส�าหรับเยาวชน; 2558.
สานักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพ่อป้องกันเอดส์


และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สาหรับเยาวชนในโครงการขับเคล่อนงานด้านการป้องกันเอดส์


ในสถานศึกษา. ส�านักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2555.

สานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย. คู่มือพัฒนาทักษะการส่อสารเร่องเพศระหว่างวัยรุ่นกับครอบครัว.


กรุงเทพมหานคร. บริษัทบียอนด์ พับลิสซิ่ง จ�ากัด; 2559.


สานักอนามัยการเจริญพันธุ์ กรมอนามัย. การให้บริการอนามัยการเจริญพันธุ์ คู่มือสาหรับเจ้าหน้าท่สาธารณสุข.

พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2556.



สานกอนามยการเจรญพนธ์ กรมอนามย. พระราชบญญตการป้องกนและแก้ไขปัญหาการตงครรภ์ในวยร่น พ.ศ. 2559.












กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ; 2559.
ส�านักทันตสาธารณสุข กรมอนามัย. สืบค้นจากเว็บไซต์สมาคมทันตแพทย์จัดฟันแห่งประเทศไทย. ข้อมูลการจัดฟัน.
เข้าถึงเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2559.

สานักโภชนาการ กรมอนามัย. คู่มือการดาเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ลด หวาน มัน เค็ม. กรุงเทพมหานคร:

ส�านักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2557.













60 คู่มือพัฒนาศักยภาพแกนน�าวัยรุ่น

คู่มือ








คู่มือ พัฒนาศักยภาพ


พัฒนาศักยภาพ

แกนน�าวัยรุ่น
แกนน�าวัยรุ่น








105
















105




























ส�ำนักอนำมัยกำรเจริญพันธ์ุ ส�ำนักอนำมัยกำรเจริญพันธ์ุ

กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข กรมอนำมัย กระทรวงสำธำรณสุข
http://rh.anamai.moph.go.th http://rh.anamai.moph.go.th


Click to View FlipBook Version