The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รวมแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคำนวณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Veenussaya Takernglarb, 2022-03-05 23:07:09

รวมแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคำนวณ

รวมแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคำนวณ

ตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรู้แกนกลาง วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลย*ี

สาระที่ 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ญั หาท่พี บในชวี ติ จริงอยา่ งเปน็ ขั้นตอนและเป็นระบบ

ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รเู้ ท่าทนั และมจี ริยธรรม

ชัน้ ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง

ม.3 1. พัฒนาแอปพลเิ คชนั ทมี่ ีการบรู ณาการ  ข้ันตอนการพัฒนาแอปพลเิ คชนั
 Internet of Things (IoT)
กับวชิ าอืน่ อย่างสรา้ งสรรค์

 ซอฟต์แวรท์ ใ่ี ช้ในการพัฒนาแอปพลเิ คชนั เชน่

Scratch, python, java, c, AppInventor
 ตัวอย่างแอปพลิเคชนั เช่น โปรแกรมแปลงสกลุ เงนิ

โปรแกรมผนั เสียงวรรณยุกต์ โปรแกรมจาลอง

การแบง่ เซลล์ ระบบรดนา้ อัตโนมตั ิ

2. รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมินผล  การรวบรวมข้อมลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ปฐมภูมแิ ละทุตยิ ภมู ิ

นาเสนอข้อมูลและสารสนเทศตาม ประมวลผล สรา้ งทางเลือก ประเมินผลจะทาใหไ้ ด้

วตั ถุประสงค์ โดยใช้ซอฟต์แวร์หรอื บรกิ าร สารสนเทศเพอื่ ใชใ้ นการแก้ปัญหาหรอื การตดั สนิ ใจได้

บนอินเทอรเ์ นต็ ทห่ี ลากหลาย อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

 การประมวลผลเป็นการกระทากับขอ้ มูล เพอื่ ใหไ้ ด้

ผลลพั ธ์ทม่ี ีความหมายและมปี ระโยชนต์ อ่ การนาไปใช้งาน
 การใช้ซอฟตแ์ วรห์ รอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตที่

หลากหลาย

ในการรวบรวม ประมวลผล สร้างทางเลอื ก ประเมนิ ผล

นาเสนอ จะช่วยใหแ้ ก้ปญั หาไดอ้ ย่างรวดเรว็ ถกู ตอ้ ง

และ

แมน่ ยา
 ตัวอยา่ งปัญหา เชน่ การเลอื กโปรโมชันโทรศัพทใ์ ห้

เหมาะกับพฤตกิ รรมการใช้งาน สนิ ค้าเกษตรทตี่ อ้ งการ

และสามารถปลูกไดใ้ นสภาพดินของทอ้ งถน่ิ

3. ประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ของขอ้ มลู  การประเมนิ ความนา่ เช่ือถอื ของขอ้ มูล เชน่ ตรวจสอบ

วิเคราะหส์ อื่ และผลกระทบจากการให้ และยืนยนั ขอ้ มูล โดยเทยี บเคยี งจากข้อมลู หลายแหล่ง

ข่าวสารท่ีผิด เพอื่ การใชง้ านอย่างรเู้ ท่าทนั แยกแยะขอ้ มูลท่ีเป็นข้อเท็จจรงิ และขอ้ คิดเหน็ หรอื

ใช้ PROMPT
 การสบื คน้ หาแหลง่ ต้นตอของขอ้ มลู
 เหตผุ ลวิบัติ (logical fallacy)
 ผลกระทบจากข่าวสารทผี่ ดิ พลาด

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ชน้ั ม.๓ หนา้ 1

ชั้น ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

4. ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภยั  การรูเ้ ท่าทันสอ่ื เช่น การวเิ คราะห์ถงึ จุดประสงค์ของ
และมีความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ขอ้ มลู และผูใ้ ห้ข้อมลู ตีความ แยกแยะเนื้อหาสาระของ
ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายเกย่ี วกับคอมพิวเตอร์
ใช้ลิขสทิ ธข์ิ องผอู้ น่ื โดยชอบธรรม สอื่
เลอื กแนวปฏบิ ตั ไิ ด้อยา่ งเหมาะสมเมอื่ พบข้อมูลต่าง ๆ

 การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น
การทาธรุ กรรมออนไลน์ การซอื้ สนิ คา้ ซ้ือซอฟต์แวร์
ค่าบริการสมาชิก ซ้ือไอเท็ม

 การใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมคี วามรับผดิ ชอบ
เช่น

ไมส่ ร้างข่าวลวง ไมแ่ ชรข์ อ้ มลู โดยไม่ตรวจสอบ
ข้อเท็จจริง
 กฎหมายเกีย่ วกับคอมพวิ เตอร์
 การใชล้ ขิ สิทธข์ิ องผอู้ นื่ โดยชอบธรรม (fair use)

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ชัน้ ม.๓ หนา้ 2

เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) คาอธบิ ายรายวิชา
ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3
กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
เวลา 40 ชั่วโมง/ปี

ศึกษาเกย่ี วกบั การจดั การขอ้ มูลและสารสารเทศ การใช้ซอฟตแ์ วร์ในการจัดการข้อมลู และสารสนเทศ ศึกษา

เก่ยี วกับการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของขอ้ มูล การรเู้ ท่าทนั ส่ือ ศึกษาเกยี่ วกับการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศและ
กฎหมายคอมพิวเตอร์ ศกึ ษาเก่ยี วกับแอปพลเิ คชัน เทคโนโลยี IoT และการพฒั นาแอปพลิเคชนั

โดยอาศยั กระบวนการเรียนรทู้ ี่เนน้ ใหผ้ ้เู รียนได้ลงมือปฏิบตั ิ ฝึกทักษะการคดิ เผชิญสถานการณ์การแก้ปญั หา
วางแผนการเรยี นรู้ ตรวจสอบการเรียนรู้ และสรา้ งองค์ความรู้ใหมด่ ว้ ยตนเองผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิ

เพื่อใหผ้ เู้ รียนมีความรู้ ความเขา้ ใจ มที กั ษะการคิดเชงิ คานวณ การคิดวเิ คราะห์ การแกป้ ัญหาเปน็ ขั้นตอน

และเป็นระบบ มีทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาข้อมลู ส่วนตวั และการส่อื สารเบอ้ื งตน้ ในการแก้ปญั หา
ทพี่ บในชีวติ จริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ตลอดจนนาความรู้ความเขา้ ใจในวชิ าวทิ ยาศาสตร์ และนาเทคโนโลยใี หม่ที่
เกิดขึน้ ไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อสงั คมและการดารงชีวติ จนสามารถพฒั นากระบวนการคดิ และจินตนาการ
ความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการทกั ษะในการสื่อสาร ความสามารถในการตดั สินใจ และเปน็ ผ้มู ีจติ
วิทยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ มในการใชว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ย่างสรา้ งสรรค์

ตัวช้ีวัด
ว 4.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4

รวม 4 ตวั ชีว้ ัด

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ช้ัน ม.๓ หนา้ 3

โครงสรา้ งรายวชิ าพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ช้ัน ม.3

ลาดบั ท่ี ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน มโนทศั น์สาคญั เวลา
1. การจดั การข้อมูล การเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ดั (ชม.)
และสารสนเทศ ว 4.2 ม.3/2 การรวบรวมขอ้ มูล เป็นขั้นตอนท่สี าคัญ
2. ทสี่ ดุ ของการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศ 9
ความน่าเชอ่ื ถอื ว 4.2 ม.3/3 ดงั นั้น
ของขอ้ มลู ควรมีความเขา้ ใจเก่ียวกบั ลักษณะและ 8
ประเภทของข้อมูล ตลอดจนวิธกี ารรวบรวม
ข้อมลู
เพ่อื จะไดน้ าไปประยุกต์ใช้ไดอ้ ย่างถกู ต้องและ
เหมาะสม

การประมวลผลข้อมลู เป็นการคานวณ
หรอื การเปรยี บเทยี บ เพอื่ ใหข้ ้อมูลอยู่ใน
รปู แบบ
ทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ รงตามความต้องการ

การจัดการข้อมลู และสารสนเทศมกี ารนา
ซอฟตแ์ วรต์ ่าง ๆ มาชว่ ยในการจดั การขอ้ มลู
โดยมีทง้ั ซอฟตแ์ วรท์ ่ีใชใ้ นการรวบรวมขอ้ มูล
ซอฟต์แวรท์ ่ใี ช้ในการประมวลผลข้อมูล และ
ซอฟตแ์ วรท์ ใี่ ช้ในการนาเสนอข้อมลู
เพ่ือการจดั การขอ้ มูลและสารสนเทศ
อย่างมปี ระสิทธภิ าพ

การสืบค้นแหล่งขอ้ มลู เป็นกระบวนการ
คน้ หาข้อมลู ตามทีต่ ้องการ โดยใช้เครอื่ งมือ
ตา่ ง ๆ อกี ทั้งข้อมลู ท่ไี ดจ้ ะต้องมกี ารประเมิน
ความนา่ เชอื่ ถอื ของขอ้ มูล เพอื่ คดั เลอื กข้อมูล
ที่ได้จากการสบื ค้นขอ้ มลู ทมี่ ีคณุ คา่ มคี วาม
น่าเชอื่ ถอื เป็นการพจิ ารณาเพ่ือคัดเลอื กจาก
แหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ ซง่ึ จากการประเมนิ ความ
น่าเชอ่ื ถือจะทาใหเ้ ราได้ขอ้ มลู ทม่ี คี ุณค่า และ
นาขอ้ มูลไปประยกุ ต์ใชอ้ ยา่ งเหมาะสม

การรู้เท่าทันส่ือเป็นลักษณะสมรรถนะท่ี

ครอบคลุมทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 ในส่วนท่ี

เกี่ยวข้องกับความสามารถในการเข้าถึง

สารสนเทศผ่านสื่อ และเทคโนโลยีดิจิทัล การ

พิเศษ 7

ลาดบั ที่ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ มาตรฐาน มโนทศั นส์ าคญั เวลา
การเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ดั (ชม.)
เลือก รับ วิเคราะห์ ประเมิน และนาข้อมูล
ที่ได้รับไปใช้ในทางสร้างสรรค์

3. เทคโนโลยี ว 4.2 ม.3/4 การใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศโดย 7
สารสนเทศ ว 4.2 ม.3/1 คานึงถึงความปลอดภัยในการใช้งาน เชน่ 14
การทาธุรกรรม ออนไลน์ การซอื้ สินค้า
4. แอปพลเิ คชัน ออนไลน์ และการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ
อย่างมีจติ สานกึ และจรยิ ธรรมที่ดี คานึง
ผลกระทบท่ีอาจสง่ ผลตอ่ ผอู้ น่ื ภายใต้
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกบั การใชง้ านเทคโนโลยี
สารสนเทศหลายฉบับ เช่น พระราชบญั ญัตวิ ่า
ด้วยการกระทาความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์
พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยธรุ กรรมทาง
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ พระราชบัญญตั ิ
การรกั ษาความมั่นคงปลอดภยั ไซเบอร์
โดยพระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยการกระทาความผิด
เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 และ
พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทาความผิด
เก่ยี วคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ.2560
หรือลิขสทิ ธิ์ เปน็ ผลงานทเี่ กิดจากการใช้
ปญั ญา ความรู้ความสามารถในการสรา้ งสรรค์
ผลงาน ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ ทรัพยส์ นิ ทางปญั ญา
ประเภทหน่ึง ทกี่ ฎหมายให้ความค้มุ ครอง

การทาใหอ้ ปุ กรณ์หลายตวั สามารถส่อื สาร
แลกเปลยี่ นข้อมลู และทางานรว่ มกันไดน้ ัน้
เรียกวา่ เทคโนโลยี IoT ตอ้ งอาศัย
ความสามารถของ Smart Device ซง่ึ อุปกรณ์
ท่มี หี นว่ ยประมวลผล หรือเซนเซอร์ภายในตวั
เพอ่ื ส่งข้อมลู ผ่าน Cloud Computing หรอื
Wireless Network เป็นตัวกลางในการรับส่ง
ขอ้ มลู ภายในเครือขา่ ยเพอ่ื ประมวลผล และ
อาศยั Dashboard สาหรับแสดงผลและใช้
ควบคมุ การทางานจากผ้ใู ช้

แอปพลเิ คชัน เป็นโปรแกรมท่ถี กู
พฒั นาข้ึนมาเพอื่ อานวยในดา้ นต่าง ๆ มกี าร

พิเศษ 8

ลาดับที่ ชื่อหนว่ ยการเรียนรู้ มาตรฐาน มโนทศั นส์ าคัญ เวลา
การเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด (ชม.)

ออกแบบมาเพอ่ื ใชง้ านในหลายรูปแบบ ซึง่

การพัฒนาโปรแกรมในปัจจบุ นั นยิ มใช้

โปรแกรมภาษา

ไพทอน (Python) เพราะเปน็ ภาษาทอี่ า่ น

แล้วเขา้ ใจงา่ ย ไม่ซับซอ้ น

หมายเหตุ : 2 ชว่ั โมงทหี่ ายไปใหใ้ ช้สาหรบั การสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ทง้ั นยี้ ดื หยนุ่ ไดต้ ามดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน

พเิ ศษ 9

โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสต

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วิธสี อน/วธิ กี ารจดั
1. การจดั การข้อมูล แผนฯท่ี 1 การรวบรวมขอ้ มลู กิจกรรมการเรียนรู้
1. รปู แบบการสอน
และสารสนเทศ แบบการอภปิ ราย
2. วธิ ีการสอนแบบกระบวนกา
กลมุ่ (Group Process)

แผนฯที่ 2 การประมวลผลขอ้ มลู 1. รูปแบบการสอน
แบบการอภปิ ราย

2. วิธกี ารสอนแบบกระบวนกา
กลุ่ม (Group Process)

3. วธิ กี ารสอนโดยใชแ้ นวคดิ
เชงิ คานวณ (Computation
Thinking)

แผนฯที่ 3 การใช้ซอฟต์แวร์ 1. รปู แบบการสอน
ในการจดั การข้อมลู แบบการอภปิ ราย
2. วธิ ีการสอนแบบกระบวนกา
กลุ่ม (Group Process)

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ

ตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3

เวลา 40 ชั่วโมง

ทกั ษะท่ไี ด้ การประเมนิ เวลา
(ช่วั โมง)

1. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน 2
2. ทักษะการสื่อสาร หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 การจดั การขอ้ มลู 4
าร และสารสนเทศ

1. ทกั ษะการคิดวิจารณญาณ 2. ตรวจใบงานที่ 1.1.1 เรือ่ ง อาชีพ
2. ทักษะการทางานร่วมกนั ในอนาคต
าร 3. ทักษะการสอ่ื สาร
nal 3. ตรวจแบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรอ่ื ง การจดั การข้อมูลและสารสนเทศ

1. ตรวจแบบฝกึ หดั รายวิชาพน้ื ฐาน
วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ
คานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 1
เรอ่ื ง การจดั การข้อมลู และสารสนเทศ

2. การประเมินการทาแบบฝกึ หดั

1. ทักษะการคิดวจิ ารณญาณ 1. ประเมินการนาเสนออาชีพ 3
2. ทกั ษะการทางานร่วมกนั 2. ประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์
าร 3. ทกั ษะการส่อื สาร 3. ตรวจแบบทดสอบหลังเรียน
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1 การจดั การข้อมูล
และสารสนเทศ
4. ประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงานรวบยอด
เรื่อง -

ทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 13

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วธิ สี อน/วธิ กี ารจัด
2. ความนา่ เชื่อถือ แผนฯที่ 1 การสบื คน้ กจิ กรรมการเรียนรู้
1. รูปแบบการสอน
ของขอ้ มูล เพ่ือหาแหล่งขอ้ มูล แบบการอภปิ ราย
2. วธิ กี ารสอนโดยเนน้ การ
เรียนรู้
แบบรว่ มมือ (Collaborativ
learning) – เทคนคิ คู่คดิ
(Think Pair Share)

แผนฯที่ 2 การประเมิน 1. รูปแบบการสอน
ความนา่ เชื่อถอื แบบการอภปิ ราย
ของขอ้ มลู
2. วธิ ีการสอนแบบกระบวนกา
แผนฯท่ี 3 การรู้เทา่ ทนั สอื่ กลุ่ม (Group Process)

1. รปู แบบการสอน
แบบการอภิปราย

3. เทคโนโลยีสารสนเทศ แผนฯท่ี 1 การใชง้ านเทคโนโลยี 1. รูปแบบการสอน
สารสนเทศ แบบการอภปิ ราย

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ

ทักษะที่ได้ การประเมนิ เวลา
(ชัว่ โมง)
1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 2 ความน่าเชอ่ื ถอื 2
ของข้อมูล
2. ตรวจใบงานท่ี 2.1.1 เร่ือง คาไหน 4
ve เรว็ กวา่ กัน 2
3. ตรวจแบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ 3
คานวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2
เรื่อง ความนา่ เชื่อถือของข้อมลู
4. การประเมินการทาแบบฝึกหดั

1. ทักษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน
2. ทักษะการทางานรว่ มกนั วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ
าร คานวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
เรื่อง ความนา่ เช่อื ถอื ของข้อมูล

1. ทกั ษะการสอ่ื สาร 1. ตรวจแบบฝกึ หดั รายวิชาพนื้ ฐาน
2. ทักษะการทางานร่วมกนั วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2
เร่อื ง ความนา่ เช่ือถอื ของข้อมูล
2. ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
3. ตรวจแบบทดสอบหลังเรยี น
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ความน่าเช่ือถอื
ของข้อมูล
4. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรือ่ ง -

1. ทักษะการสอื่ สาร 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
2. ทกั ษะการทางานร่วมกนั หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เทคโนโลยี
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ สารสนเทศ

ทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 14

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรยี นรู้ วธิ สี อน/วธิ กี ารจัด
กิจกรรมการเรยี นรู้
2. วธิ ีการสอนแบบการใชค้ าถ
(Questioning Method)

แผนฯท่ี 2 กฎหมายคอมพวิ เตอร์ 1. รูปแบบการสอน
และลขิ สทิ ธ์ิ แบบการอภิปราย
2. วธิ กี ารสอนแบบกระบวนกา
กลมุ่ (Group Process)

4. แอปพลเิ คชัน แผนฯท่ี 1 แนวคดิ และ 1. วธิ ีการสอนแบบการใชค้ าถา
องค์ประกอบของ (Questioning Method)

IoT 2. วิธกี ารสอนโดยใชแ้ นวคดิ
เชิงคานวณ (Computation
Thinking)

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ

ทักษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
ถาม (ชว่ั โมง)
2. ตรวจใบงานที่ 3.1.1 เรอื่ ง การซื้อสินคา้
1. ทักษะการสอื่ สาร ออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั 4
2. ทักษะการทางานร่วมกนั
าร 3. ทกั ษะการคิดวจิ ารณญาณ 3. ตรวจแบบฝึกหดั รายวชิ าพน้ื ฐาน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3
เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ

1. ตรวจใบงานที่ 3.2.1 เร่อื ง ใครมี
ความผิด
2. ตรวจแบบฝึกหดั รายวิชาพนื้ ฐาน

วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3
เร่อื ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. ประเมนิ การนาเสนอ Activity
4. ประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
5. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรยี น
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 3 เทคโนโลยี
สารสนเทศ
6. ชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรื่อง -

าม 1. ทกั ษะการสอื่ สาร 1. ตรวจแบบทดสอบกอ่ นเรยี น 4
2. ทกั ษะการทางานร่วมกัน หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 4 แอปพลิเคชนั
3. ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์
2. ตรวจแบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐาน
nal วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ม.3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4
เร่ือง แอปพลเิ คชนั

3. ประเมินการนาเสนองานกล่มุ

ทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 15

หน่วยการเรียนรู้ แผนการจดั การเรียนรู้ วิธีสอน/วธิ กี ารจดั
กจิ กรรมการเรยี นรู้

แผนฯท่ี 2 ซอฟตแ์ วร์ทใ่ี ช้ 1. รปู แบบการสอน
ในการพฒั นา แบบการอภิปราย
แอปพลิเคชนั
2. วิธกี ารสอนแบบกระบวนกา
แผนฯท่ี 3 ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ กลมุ่ (Group Process)
ในการพฒั นา
แอปพลเิ คชนั (2) 3. วธิ กี ารสอนโดยใชก้ ารแสดง
บทบาทสมมติ (Role Playi

4. วิธีการสอนโดยใชแ้ นวคดิ
เชงิ คานวณ (Computation
Thinking)

1. รูปแบบการสอนแบบบรรย
(Lecture)

2. วธิ ีการสอนโดยใชแ้ นวคิด
เชงิ คานวณ (Computation

Thinking)

แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาวทิ

ทกั ษะทไ่ี ด้ การประเมนิ เวลา
(ช่ัวโมง)
1. ทกั ษะการส่ือสาร 4. ประเมนิ แบบฝึกหดั เรื่อง เทคโนโลยี
2. ทกั ษะการทางานรว่ มกัน IoT (แนวคดิ และองคป์ ระกอบของ 4
าร 3. ทักษะความคดิ สรา้ งสรรค์ IoT)
ง 5. ประเมนิ แบบฝึกหดั เร่ือง เทคโนโลยี
ing) IoT (การออกแบบแนวคดิ ในการ
nal พัฒนา

เทคโนโลยี IoT)
1. ตรวจแบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐาน

วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการ
คานวณ) ม.3 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 4
เรื่อง แอปพลเิ คชนั
2. ประเมนิ แบบฝึกหดั เรื่อง แอปพลเิ คชนั
(ออกแบบการพฒั นาแอปพลิเคชนั )
3. ประเมนิ การนาเสนองานกลุม่
(ออกแบบแนวคดิ การพฒั นา
แอปพลิเคชนั )

ยาย 1. ทักษะการส่อื สาร 1. ตรวจใบงานที่ 4.3.1 เร่อื ง ตวั แปรและ 6
2. ทักษะการทางานรว่ มกนั ตัวดาเนนิ การ
3. ทักษะการคิดวิจารณญาณ
2. ตรวจใบงานท่ี 4.3.2 เรอื่ ง การใชค้ าสง่ั
nal แสดงผลอินพตุ และเอาตพ์ ตุ

3. ตรวจใบงานที่ 4.3.3 เร่อื ง การทางาน
แบบมเี ง่ือนไข

4. ตรวจใบงานท่ี 4.3.4 เรื่อง การทาซ้า
5. ประเมนิ ชน้ิ งาน (ออกแบบและ

เขยี นโปรแกรมหรือแอปพลเิ คชนั
ดว้ ยภาษา Python)

ทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 16

หนว่ ยการเรยี นรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ วธิ ีสอน/วธิ กี ารจดั
กจิ กรรมการเรียนรู้

หมายเหตุ : 2 ช่วั โมงทหี่ ายไปให้ใช้สาหรับการสอบกลางภาคหรือการสอบปลายภาค ท้ังน

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ

ทักษะท่ีได้ การประเมนิ เวลา
6. ประเมนิ การนาเสนอ (ชว่ั โมง)

(ออกแบบและเขยี นโปรแกรมหรอื
แอปพลเิ คชันดว้ ยภาษา Python)
7. ประเมนิ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
8. ตรวจแบบทดสอบหลงั เรียน
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 4 แอปพลิเคชนั
9. ช้นิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรอ่ื ง -

นี้ยืดหยุ่นได้ตามดุลยพนิ จิ ของครผู ู้สอน

ทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 17

หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1
การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

เวลา 9 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชว้ี ัด

ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแกป้ ัญหาทีพ่ บในชวี ติ จริงอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปญั หาไดอ้ ยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทนั และมจี ริยธรรม
ว 4.2 ม.3/2 รวบรวมข้อมูล ประมวลผล ประเมนิ ผล นาเสนอขอ้ มลู และสารสนเทศ
ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ซอฟตแ์ วร์หรอื บริการบนอินเทอรเ์ นต็ ที่
หลากหลาย

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
1) การรวบรวมข้อมูลจากแหล่งขอ้ มูลปฐมภมู แิ ละทตุ ยิ ภูมิ ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล
จะทาใหไ้ ด้สารสนเทศเพอ่ื ใชใ้ นการแก้ปัญหาหรอื การตดั สนิ ใจไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ
2) การประมวลผลเป็นการกระทากับขอ้ มูล เพอื่ ให้ไดผ้ ลลพั ธ์ทีม่ คี วามหมายและมปี ระโยชน์ต่อ
การนาไปใช้งาน
3) การใชซ้ อฟต์แวรห์ รอื บริการบนอนิ เทอรเ์ น็ตทห่ี ลากหลายในการรวบรวม ประมวลผล
สรา้ งทางเลือก ประเมินผล นาเสนอ จะช่วยใหแ้ ก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และแม่นยา
4) ตวั อย่างปัญหา เชน่ การเลอื กโปรโมชนั โทรศัพทใ์ ห้เหมาะกบั พฤตกิ รรมการใชง้ าน สินคา้ เกษตร
ท่ีต้องการและสามารถปลกู ได้ในสภาพดนิ ของทอ้ งถ่นิ

2.2 สาระการเรยี นรทู้ ้องถนิ่
(พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)

3. สาระสาคญั /ความคิดรวบยอด

การรวบรวมข้อมลู เปน็ ขัน้ ตอนท่สี าคัญทีส่ ดุ ของการจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศ ดงั นัน้ ควร
มีความเข้าใจเกยี่ วกบั ลักษณะและประเภทของขอ้ มูล ตลอดจนวธิ ีการรวบรวมข้อมูล เพ่อื จะไดน้ าไป
ประยกุ ต์ใช้ได้อยา่ งถกู ต้องและเหมาะสมกบั งานของตน หากพจิ ารณาถึงประเภทของขอ้ มลู สามารถแบ่งได้
เปน็ 2 กลุม่ ตามแหล่งท่ีมาของข้อมลู ได้แก่ ขอ้ มูลปฐมภูมิและข้อมลู ทุติยภมู ิ

การประมวลผลข้อมลู หมายถงึ วธิ ีการจัดการกับขอ้ มลู ด้วยการ คานวณหรอื การเปรียบเทยี บ
เพ่ือใหข้ อ้ มูลอยู่ในรปู แบบทเ่ี ปน็ ประโยชน์ตรงตามความตอ้ งการ โดยการประมวลผลขอ้ มลู สามารถ
แบ่งตามอุปกรณ์ท่ีใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลขอ้ มูลดว้ ยมอื การประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ย
เครื่องจักรกลและการประมวลผลข้อมูลดว้ ยคอมพวิ เตอร์

การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศมีการนาซอฟตแ์ วรต์ า่ ง ๆ มาช่วยในการจัดการขอ้ มูล โดยมที ้ัง
ซอฟตแ์ วร์ท่ีใช้ในการรวบรวมข้อมลู ซอฟตแ์ วรท์ ี่ใช้ในการประมวลผลขอ้ มลู และซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ช้ในการ
นาเสนอขอ้ มูล เพื่อการจดั การขอ้ มลู และสารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 13

4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี นและคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มวี นิ ัย

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี 3. มุ่งมัน่ ในการทางาน

4. มจี ติ สาธารณะ

5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่ือง -

6. การวัดและการประเมนิ ผล

รายการวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมนิ
- แบบทดสอบ ประเมินตามสภาพจรงิ
6.1 การประเมินกอ่ นเรียน ก่อนเรยี น
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน - ตรวจแบบทดสอบ
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 1 ก่อนเรยี น
เร่ือง การจัดการขอ้ มลู และ
สารสนเทศ

6.2 การประเมินระหวา่ งการจดั - ตรวจแบบฝึกหัด - แบบฝกึ หดั รายวชิ า ระดับคณุ ภาพ 2
กจิ กรรม Exercise หนา้ 3–6 พ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
1) การรวบรวมขอ้ มูล เทคโนโลยี (วิทยาการ
- ตรวจใบงานที่ 1.1.1 คานวณ) ม.3
เร่ือง อาชพี ในอนาคต หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1
(ขอ้ 1) เรอ่ื ง การจัดการ
- ตรวจใบงานที่ 1.1.1 ข้อมลู และสารสนเทศ
เรื่อง อาชพี ในอนาคต หนา้ 3–6
(ข้อ 3)

- ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ ใบงาน
เรื่อง การใชเ้ หตุผลเชงิ ที่ 1.1.1 เรอ่ื ง อาชพี
ตรรกะใน ในอนาคต

ชีวิตประจาวัน

2) การประมวลผลขอ้ มลู - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝึกหัดรายวชิ า ระดบั คุณภาพ 2
Exercise หน้า 7–10 พืน้ ฐานวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
เทคโนโลยี (วิทยาการ
- ตรวจแบบฝึกหัด คานวณ) ม.3
Activity หน้า 13 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรื่อง การจดั การ
- การตอบคาถาม ขอ้ มูลและสารสนเทศ

แผนการจัดการเรยี นรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 14

รายการวดั วิธวี ดั เครอ่ื งมือ เกณฑ์การประเมิน
3) การใชซ้ อฟต์แวร์ - ประเมินการนาเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
ในการจดั การข้อมูล อาชพี การทาแบบฝกึ หดั ระดบั คณุ ภาพ 2
และสารสนเทศ ผา่ นเกณฑ์
4) คุณลักษณะ - แบบประเมิน
อนั พึงประสงค์ การนาเสนออาชีพ ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 การประเมินหลังเรยี น
1) แบบทดสอบหลังเรียน - สงั เกตความมีวนิ ยั - แบบประเมิน
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 ใฝ่เรียนรู้ และมงุ่ มนั่ คณุ ลักษณะ
เรื่อง การจัดการขอ้ มูล ในการทางาน และ อนั พงึ ประสงค์
และสารสนเทศ มจี ติ สาธารณะ

- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ
หลังเรียน หลงั เรยี น

2) การประเมนิ ชิ้นงาน/ - ตรวจชิ้นงาน/ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์
เร่ือง -

7. กจิ กรรมการเรียนรู้

นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 เรอื่ ง การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 15

เร่ืองท่ี 1 : การรวบรวมขอ้ มลู เวลา 2 ชัว่ โมง

วิธีการสอนแบบการอภิปราย
วธิ ีการสอนแบบกระบวนการกล่มุ

ขัน้ นา (10 นาท)ี

1. ครูสอบถามนกั เรยี นวา่ “ในภาคเรียนทีผ่ า่ นมา นักเรียนชอบวชิ าไหนมากทส่ี ุด เพราะอะไร”
(ครูสุ่มถามนกั เรียน 4 – 5 คน)
2. จากน้ันครูถามตอ่ วา่ “คาถามทค่ี รูถามขา้ งตน้ เปน็ ลกั ษณะของขอ้ มูลประเภทไหน”

(แนวคาตอบ ขอ้ มลู ปฐมภมู )ิ

ขั้นสอน (30 นาท)ี

1. ครูทบทวนความรูน้ กั เรียน โดยการถามคาถาม ถ้าเราพจิ ารณาขอ้ มลู ตามแหล่งท่ีมาของข้อมูล สามารถแบ่ง
ข้อมูลไดก้ ่ปี ระเภท อะไรบา้ ง (นักเรียนได้เรียนเร่อื ง การจัดการขอ้ มูลและสารสนเทศในระดบั ชน้ั ม.1)
(แนวคาตอบ 2 ประเภท คือ ขอ้ มูลปฐมภูมแิ ละขอ้ มูลทตุ ยิ ภมู )ิ

2. ครูอธบิ ายกบั นกั เรยี นวา่ ขอ้ มลู แตล่ ะประเภทมลี ักษณะต่างกัน การรวบรวมข้อมลู จึงต่างกัน
3. ครใู หน้ ักเรียนเปดิ ในหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจรญิ

ทัศน์ อจท. หนา้ 3 – 5 และอธบิ ายการรวบรวมขอ้ มูลปฐมภูมิ สามารถทาได้ดังนี้ การสมั ภาษณ์สว่ นบคุ คล
การสัมภาษณ์ทางโทรศพั ท์ การใชแ้ บบสอบถาม และการสงั เกต (ใหน้ กั เรยี นศึกษาวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู ปฐม
ภูมิเพิ่มเตมิ ในหนังสอื เรยี น อจท. หนา้ 3 – 5)
4. ครถู ามนกั เรยี นวา่ ในตอนตน้ ชวั่ โมงครูถามเรือ่ งวชิ าทีน่ กั เรยี นชอบมากทส่ี ดุ เพราะอะไร เปน็ การเกบ็
รวบรวมขอ้ มลู แบบใด
(แนวคาตอบ การสมั ภาษณ์สว่ นบคุ คล)
5. ครูอธิบายการรวบรวมขอ้ มลู ทุตยิ ภูมิ ในหนงั สือเรยี นวชิ า เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3
บรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. หน้า 6 ในการรวบรวมขอ้ มลู จากแหลง่ ทตุ ิยภมู สิ ามารถแบง่ ออกได้ 2
รูปแบบ ไดแ้ ก่ ข้อมลู จากแหล่งข้อมูลภายในและขอ้ มูลจากแหล่งข้อมลู ภายนอก (ใหน้ กั เรียนศกึ ษาวธิ ีการ
รวบรวมข้อมลู ทุตยิ ภมู เิ พม่ิ เตมิ ในหนังสอื เรียน อจท. หนา้ 6)
6. ครใู ห้นกั เรยี นทาแบบฝกึ Exercise ในหนังสอื แบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หน้า 3 – 6 เพอื่
ตรวจสอบความเขา้ ใจ

แผนการจัดการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 16

ชั่วโมงที่ 2

ข้นั สอน (40 นาที)

7. ครสู นทนากบั นักเรยี นว่า “ในคาบทีแ่ ล้วนักเรยี นรวู้ ่าตวั เองชอบวิชาอะไร คาบนีเ้ รามาจะมาดวู ่าสาขาที่

นกั เรยี นอยากเรียนตอ่ และอาชีพทอ่ี ยากทาอนาคต จะสัมพนั ธ์กันหรอื ไม”่
8. ครสู นทนากับนักเรยี นในการจดั การข้อมลู อย่างใดอย่างหน่ึง เราตอ้ งเลือกวธิ ใี หเ้ หมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ที่

เราจะใชง้ าน ต้ังแตเ่ ลอื กวธิ กี ารรวบรวมขอ้ มลู วิธกี ารประมวลผล และการนาเสนอขอ้ มลู จากนนั้ ครใู ห้
นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 4 – 5 คน
9. ครูแจกใบงานท่ี 1.1.1 เรอื่ ง อาชพี ในอนาคต ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ รวบรวมขอ้ มูลของนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษา

ปีที่ 3 จานวน 20 คน ขนึ้ ไป ตามหัวข้อท่กี าหนดให้ (กลุ่มประชากรท่ีแตล่ ะกลมุ่ รวบรวมข้อมูลไมค่ วรซา้ กนั )
10. จากนน้ั ครูใหน้ ักเรียนวางแผนวิธกี ารรวบรวมขอ้ มลู ทีเ่ หมาะสม โดยนกั เรียนสามารถเลอื กเพ่ือนตา่ งหอ้ งได้

ใชค้ าบพักเทย่ี งในการรวบรวมข้อมลู กลมุ่ เปา้ หมายทนี่ ักเรยี นต้องการได้ เช่น นักเรยี นตา่ งหอ้ ง เพอ่ื ไมใ่ ห้
กระทบการเรยี นของนักเรียนหอ้ งอ่นื

ขัน้ สรุป (10 นาที)

1. ครูให้นกั เรยี นรว่ มกันอภปิ รายถึงความสาคญั ของวธิ กี ารรวบรวมข้อมูล
2. ครสู นทนากบั นกั เรยี นวา่ ถา้ นักเรียนรวบรวมข้อมลู เสรจ็ แล้ว ขัน้ ตอนตอ่ ไปจะต้องนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้ไป

ประมวลผล ซึ่งในคาบถัดไป เราจะมาเรยี นรูเ้ ร่ือง การประมวลผลขอ้ มลู เพอื่ ให้ขอ้ มลู นน้ั อย่ใู นรูปแบบที่มี
ประโยชนแ์ ละตรงตามวัตถุประสงคก์ ารใช้งาน

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 17

เรอื่ งท่ี 2 : การประมวลผลขอ้ มลู เวลา 4 ชว่ั โมง

วิธกี ารสอนแบบการอภิปราย

วิธีการสอนแบบกระบวนการกลุ่ม

เทคนคิ ตามแนวคิดเชงิ คานวณ

ขน้ั นา (10 นาท)ี

1. ครูสอบถามว่าจากการสารวจข้อมูลของกลุ่มตัวอย่างในคาบท่ีแล้ว แต่ละกลุ่มใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลแบบ
ใดบา้ ง
(แนวคาตอบ การสมั ภาษณส์ ่วนบคุ คล การสัมภาษณท์ างโทรศพั ท์ การใชแ้ บบสอบถาม)

2. ครูสนทนากบั นกั เรียนวา่ เราสามารถนาขอ้ มูลนัน้ มาใชเ้ ลยได้หรอื ไม่
(แนวคาตอบ ได้แต่ไม่สะดวกตอ่ การใชง้ าน เพราะฉะนัน้ เราจะต้องนาข้อมูลมาประมวลผลกอ่ น)

ขนั้ สอน (40 นาที)

1. ครูอธิบายการประมวลผลข้อมูลในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3
บรษิ ทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. หน้า 7 การประมวลผลขอ้ มูลเป็นวิธีการจดั การกบั ขอ้ มูล อาจเปน็ การคานวณ
หรอื การเปรยี บลักษณะต่าง ๆ เพ่ือใหข้ อ้ มลู นั้นอย่ใู นรูปแบบทมี่ ปี ระโยชนต์ รงกับจดุ ประสงคข์ องผู้ใชง้ าน ซง่ึ
การประมวลผลข้อมูลแบ่งออกตามอุปกรณ์ท่ีใช้ได้ 3 ประเภท คือ การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ การ
ประมวลผลข้อมูลด้วยเครือ่ งจักรกล และการประมวลผลขอ้ มลู ด้วยคอมพิวเตอร์

2. จากนั้นครูอธิบาย “การประมวลผลข้อมูลด้วยมือ” ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้น
มัธยมศึกษาปที ี่ 3 บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 7

3. ครสู นทนาว่าจากขอ้ มูลท่ใี ห้ไปรวบรวมข้อมลู ในกิจกรรมอาชีพในฝัน ใหน้ กั เรยี นนาข้อมูล อาชีพท่ีอยากทาใน
อนาคตมาจัดอนั ดบั โดยการนาข้อมลู ของกลุ่มตนเองมาจัดอนั ดบั อาชีพท่มี ีคนอยากทามากที่สุด 5 อันดบั

4. ครูใหแ้ ต่ละกลุม่ ออกมานาเสนออาชีพ 5 อันดบั แรกจากการรวบรวมข้อมลู ของกล่มุ ตนเอง (ระหว่างทน่ี ักเรยี น
นาเสนอ ครูจดข้อมูลของแต่ละกล่มุ บนกระดาน หรอื พิมพล์ งบนExcel)

5. ครูถามนักเรียนว่าวิธีการจัดการกับข้อมูลที่รวบรวมได้จากเพ่ือน 20 คนในคาบที่แล้วเป็นการประมวลผล
ประเภทใด เพราะอะไร
(แนวคาตอบ การประมวลผลข้อมลู ด้วยมอื เพราะขอ้ มลู นอ้ ยคานวณด้วยตนเองได้)

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 18

ชัว่ โมงท่ี 2

ขั้นส1อ.น (50 นาท)ี

6. ครสู นทนากบั นกั เรียนว่า คาบทผี่ า่ นมานกั เรยี นได้ประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยมือ เราทราบอยูแ่ ลว้ วา่ การ
ประมวลผลขอ้ มลู สามารถทาได้หลายวธิ ี จากนั้นครูอธิบาย “การประมวลผลขอ้ มลู ด้วยเครื่องจักรกล” ใน
หนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท.
หนา้ 7

7. ครูยกตัวอย่างการประมวลผลข้อมูลด้วยเครื่องจักรกล เช่น เคร่ืองคิดเลขในมินิมาร์ทท่ีเป็นเคร่ืองทาบัญชี
อาชีพนกั บัญชที ่ีต้องมกี ารคานวณเกี่ยวกับเงินซ่งึ ต้องการความแม่นยาสูงจะมีเคร่ืองทาบญั ชีเขา้ มาช่วยทาให้
การคานวณแมน่ ยามากขนึ้ โดยการทางานของเครอ่ื งกจ็ ะมฟี ังกช์ ั่นตา่ ง ๆ ทส่ี ะดวกตอ่ การคานวณตัวเลข

8. ครตู ั้งคาถามว่าหากขอ้ มลู ทเ่ี ราต้องการประมวลผลมีจานวนทม่ี ากขึ้น จนไม่สามารถประมวลได้เอง เราจะมี
วิธกี ารแกป้ ญั หาอย่างไร
(แนวคาตอบ ใชค้ อมพวิ เตอร์มาชว่ ยในการประมวลผลขอ้ มลู ทาให้ได้ข้อมลู ท่รี วดเร็ว)

9. ครูยกตัวอย่างว่าในแต่ละเทอมเราจะต้องตัดเกรด และในข้ันตอนการตัดเกรดมีคะแนนที่ต้องคานวณหลาย
อย่าง ซึ่งครูส่วนใหญ่จึงจาเป็นต้องใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการประมวลผลข้อมูล จะแม่นยากว่าและ
ประมวลผลเรว็ กวา่

10. ครูสอบถามว่านักเรียนทราบหรือไม่การประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์มีลาดับขั้นตอนออย่างไร (แนว
คาตอบ ขั้นตอนที่ 1 การนาเขา้ ขอ้ มูล ขั้นตอนที่ 2 การประมวลผลข้อมลู ขัน้ ตอนที่ 3 การแสดงผล)

11. จากน้ันครูอธิบายลาดับการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการ
คานวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 บริษทั อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หนา้ 8

12. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด exersice ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 7 – 10
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

ชั่วโมงท่ี 3

ข้นั ส1อ.น (50 นาท)ี

13. ครูอธิบายวิธีการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 9 – 10 ซึ่งวิธีการประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็น 2 วิธี ดังนี้ การประมวลผลแบบแบตช์ และการประมวลผลแบบอินเทอร์แอ็กทิฟ (ครู
ยกตวั อย่างในหนงั สอื เรียน แลว้ ใหน้ กั เรียนศึกษาเพ่ิมเตมิ จากหนงั สือเรียน)

14. จากนั้นครูอธิบายเน้ือหาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษัท
อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 11 – 13 กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ มีวิธีในการ
ประมวลผลหลายวธิ ี ได้แก่ 1) การคานวณ 2) การจัดเรียงข้อมูล 3) การจัดกลมุ่ ข้อมลู 4) การสืบคน้ ขอ้ มลู
5) การรวบรวมข้อมูล 6) การสรุปผล 7) การทารายงาน 8) การบันทึก 9) การปรับปรุงข้อมูล 10) การ
สาเนาข้อมลู 11) การสารองขอ้ มูล 12) การกขู้ อ้ มลู 13) การสอื่ สารข้อมูล 14) การบีบอดั ขอ้ มูล

15. ครยู กตัวอยา่ งกรรมวิธีในการประมวลผลขอ้ มลู ดว้ ยคอมพวิ เตอรบ์ างข้อใหน้ กั เรียนฟงั

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 19

1) การคานวณข้อมูล เชน่ การนาระดบั เกรดของแตล่ ะวชิ ามาคานวณเพอ่ื หาเกรดเฉล่ีย
2) การจดั เรียงขอ้ มลู เช่น การเรียงลาดบั จากนอ้ ยไปมาก การเรียงตวั อกั ษร
3) การจัดกลุ่มข้อมูล เช่น สรุปข้อมูลผลการเรยี นนักเรยี นตามชั้นของนักเรยี น เช่น เกรดเฉลี่ยนักเรียนชน้ั

มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3
4) การสืบคน้ ข้อมลู เช่น ครูค้นหาขอ้ มลู ผลการเรยี นนักเรียนจากชือ่ ค้นหาข้อมูลนกั เรยี จากรหัสนักเรียน
5) การรวมข้อมลู เชน่ การนาประวตั ิการเข้าแถวมารวมกบั ประวัติผลการเรยี น
16. ครูสนทนากบั นกั เรียนวา่ จากคาบเรยี นท่ีแลว้ เราพูดถึงขั้นตอนการประมวลผลขอ้ มูลมี 3 ขนั้ ตอน จากน้ันให้
นักเรียนศึกษารายละเอียดในหนังสือเรยี นวิชา เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษทั
อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 14 – 17
17. ครูต้ังคาถามว่า จากตัวอย่างในหนังสือเรยี น อจท. หน้า 15 – 17 ให้นักเรียนยกตัวอย่างประโยชน์ของการ
ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ถ้าสมมติเราต้องการเก็บข้อมูลเพ่ือทาโปรโมชันลูกค้าร้านสะดวกซ้ือ
เราควรรวบรวมข้อมูลอะไรบ้าง ควรจัดกลุ่มข้อมูลแบบไหน ประมูลผลข้อมูลออกมาในรูปแบบใด เพื่อให้
ง่ายตอ่ การเรียกใชง้ าน ให้นักเรียนตอบคาถามลงสมุด
(แนวคาตอบ สร้างแบบสอบถามเพื่อให้ลูกค้ากรอกข้อมูลท่ีจาเป็นต้องใช้ เช่น ชื่อ – นามสกุล อายุ ท่ีอยู่
ปัจจุบนั เบอร์โทรศพั ท์ e-mail ความสนใจต่าง ๆ เชน่ สนใจผลติ ภัณฑค์ วามสวยความงาม สนใจผลติ ภณั ฑ์
สุภาพ เป็นต้น จากนั้นเรานามาสร้างรหัสเพื่อง่ายต่อการค้นหา เช่น ลูกค้าท่ีสมัครคนแรกของร้าน S ต้ัง
รหัสเป็น S620001 หมายถึงสมัครปี62คนท่ี0001 เป็นต้น แล้วนามากลุ่มข้อมูล เช่น เขตพ้ืนท่ีเดียวกัน
กลุ่มช่วงอายุ กลุ่มความสนใจ เป็นต้น เวลาเรยี กใช้งานสามารถพมิ พค์ ้นหาตามคีย์เวริ ด์ เช่น ต้องการส่งe-
mail จดั โปรโมชนั ความสวยความงามใหก้ บั ลูกค้าทสี่ นใจผลิตภัณฑ์ด้านนี้ เราสามารถสบื ค้นไดจ้ ากทเ่ี ราจัด
กลมุ่ ลกู ค้าไว้ )
18. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด Activity ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 13 เพื่อ
ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ช่วั โมงที่ 4

ขน้ั ส1อ.น (40 นาที)

18. ครูสุ่มนักเรียนเพ่ือยกตัวอย่าง กรรมวิธีในการประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ในแต่ละวิธี เพ่ือเป็นการ
ทบทวนความรู้คาบท่ีผ่านมา

19. ครถู ามคาถามนกั เรยี นวา่ ในการเลือกศกึ ษาตอ่ ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และระดบั อดุ มศกึ ษาเราควร
ตอ้ งคานึงขอ้ มูลดา้ นใดบ้าง
(แนวคาตอบ วิชาท่เี ราถนดั คณะทเี่ ราสนใจให้สอดคลอ้ งกบั อาชีพท่ีเราอยากทา)

20. ครูสนทนากับนกั เรียนวา่ จากขอ้ มลู ท่ีนักเรียนจัดอนั ดับอาชีพทม่ี คี นอยากทามากที่สุด 5 อันดับ (กิจกรรมใน
ช่ัวโมงที่ 1) ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลว่าถ้าทางาน 5 อาชีพน้ีนักเรียนควรเรียนคณะอะไร ค่าเทอมเท่าไร
รวบรวมข้อมูลอย่างน้อย 6 มหาวิทยาลัยขึ้นไป จากน้ันหาค่าเฉลี่ยค่าเทอมว่าถ้าอยากทาอาชีพน้ี จะต้อง

แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 20

เรียนคณะไหนและมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยเท่าไรต่อเทอม (เพื่อให้ให้นักเรียนได้เห็นความสาคัญการวางแผน
ค่าใช้จา่ ยท่จี ะเกิดข้ึนในอนาคตในการเรยี นคณะน้ัน ๆ)
21. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน รวบรวมข้อมูล ประมวลผลข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ (นักเรียน
สามารถเลอื กใชซ้ อฟตแ์ วร์ท่ีเหมาะสมกบั ข้อมลู และความถนัดได้ เป็นความร้ใู นระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1)

ขนั้ สรุป (10 นาที)

1. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายการประมวลผลข้อมูลแต่ละประเภท และวิธีการเลือกเครื่องมือในการ
ประมวลผลใหเ้ หมาะสมกับขอ้ มูล

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 21

เรื่องท่ี 3 : การใช้ซอฟตแ์ วร์ในการจดั การข้อมลู และสารสนเทศ เวลา 3 ช่ัวโมง

วิธกี ารสอนแบบการอภิปราย

วธิ กี ารสอนแบบกระบวนการกลมุ่

ขนั้ นา (10 นาที)

1. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากคาบท่ีผ่านมาในการรวบรวมข้อมูลนักเรียนใช้เคร่ืองมือใดในการรวบรวมข้อมูล
บ้าง
(แนวคาตอบ ใช้แบบสอบถาม ใชโ้ ปรแกรมExcel ใช้Google Forms)

2. ครูถามนักเรียนว่ากลุ่มที่ใช้แบบสอบถาม หรือใช้วิธีการสัมภาษณ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูลน้ันต้องใช้
ระยะเวลาหน่ึงเพอ่ื เก็บข้อมูลต่อกลุ่มตัวอย่างหนง่ึ คน หากมีวิธีท่ีจะลดเวลาในข้ันตอนนี้ลงเพือ่ เอาเวลาไปใช้
ในการทางานขั้นตอนอ่นื ทอ่ี าจมปี ระโยชนก์ วา่ จะสง่ ผลดตี ่อการทางานหรือไม่ อย่างไร
(แนวคาตอบ ดีเพราะนาเวลาที่เหลือไปทางานที่มีความซับซ้อนมากกว่า ดีเพราะลดเวลาในการรวบรวม
ข้อมูลอาจทาใหไ้ ด้ข้อมลู ท่มี ากขนึ้ เท่าตัว)

ข้นั สอน (40 นาท)ี

1. ครอู ธิบายว่าซอฟต์แวรท์ ใี่ ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู มใี หเ้ ลอื กใชง้ านหลากหลาย และมคี วามสาคญั ในขน้ั ตอน
การรวบรวมข้อมูลท่ีมีปรมิ าณขอ้ มูลจานวนมาก หรอื ตอ้ งการความรวดเรว็

2. ครอู ธบิ ายเนื้อหาในหนงั สอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 บริษัท อักษรเจริญ
ทศั น์ อจท. หนา้ 18 เรอื่ ง ซอฟตแ์ วรท์ ่ใี ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู เพอ่ื ใช้จัดเก็บรวบรวมข้อมูลตามทต่ี ้องการ
โดยมซี อฟตแ์ วรท์ ่นี า่ สนใจ ไดแ้ ก่ ซอฟตแ์ วรท์ ต่ี ิดตง้ั อยบู่ นคอมพวิ เตอร์ เชน่ Microsoft word และ
ซอฟตแ์ วร์ท่ใี ช้งานผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ต เชน่ Google Docs, Google Forms

3. ครยู กตัวอยา่ งซอฟตแ์ วร์ทใี่ ช้งานผา่ นอนิ เทอรเ์ น็ต คือ Google Forms เป็นซอฟตแ์ วร์ทีถ่ กู ใชง้ านอยา่ ง
แพร่หลาย ใชง้ านงา่ ยและมีประโยชนใ์ นการทางาน โดยครใู ห้นักเรยี นทดลองเปน็ ผู้ตอบแบบสอบถามใน
กิจกรรมตอ่ ไป เพอื่ เป็นตวั อยา่ งการจัดการข้อมลู และสารสนเทศ

4. ครสู อบถามนักเรยี นว่าจากตัวอยา่ งทีค่ รใู ชง้ าน Google Forms นักเรียนคิดวา่ มีขอ้ ดอี ยา่ งไรบ้าง
(แนวคาตอบ ใช้งานง่าย ประมวลผลใหท้ ันที นาแผนภมู ไิ ปนาเสนองานได้ทันท)ี

5. ครูอธิบายความสาคัญการเลอื กใชซ้ อฟต์แวรท์ เ่ี หมาะกบั งาน และวัตถปุ ระสงค์ เชน่ ตัวอย่างการรวบรวบ
ขอ้ มูลครูเลอื กใช้ Google Forms เนือ่ งจากสามารถประมวลผลขอ้ มลู ใหไ้ ด้ทนั ที และสามารถนาแผนภูมิไป
ใช้ในการนาเสนองานตอ่ ได้ จงึ ลดเวลาการทางานได้มาก

6. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างโปรแกรมที่สามารถใชโ้ ปรแกรมในการประมวลผลขอ้ มูล หรอื การสร้างและนาเสนอ
ขอ้ มลู ได้
(แนวคาตอบ Microsoft Excel)

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 22

7. ครูอธบิ ายเนอื้ หาในหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี(วทิ ยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 บรษิ ทั อกั ษรเจริญ
ทศั น์ อจท. หนา้ 19 เรอื่ ง ซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ในการประมวลผลข้อมูล และซอฟต์แวร์ที่ใชส้ าหรับสรา้ งและ
นาเสนอขอ้ มลู
ช่วั โมงท่ี 2

ข้นั ส2อ.น (50 นาท)ี

8. ครสู อบถามนักเรียนว่า จากคาบท่ีแลว้ ครยู กตัวอย่างการใช้ซอฟต์แวร์ในการจัดการข้อมลู และสารสนเทศ
พร้อมท้ังอธิบายเน้อื หาในหนงั สอื เรยี นเพิ่มเติม นักเรยี นคดิ วา่ ตนเองมคี วามถนัดในการใช้ซอฟต์แวรใ์ ดเพอื่ ใช้
ในการสรา้ งและนาเสนอขอ้ มลู บ้าง
(แนวคาตอบ Keynote, PowerPoint, Google Slide)

9. จากกิจกรรมท่ีครูให้นักเรียนหาข้อมูลว่าถ้าต้องการทางาน 5 อาชีพในฝันน้ีนักเรียนควรเรียนคณะอะไร
ค่าเฉลี่ยเทอมละเท่าไร รวบรวมข้อมูลอยา่ งน้อย 6 มหาวิทยาลยั ข้ึนไป (แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชั่วโมงท่ี
4) ในคาบเรียนนี้ให้นักเรียนนาข้อมูลที่รวบรวมข้อมูลและประมวลผลข้อมูลไว้ มาเตรียมนาเสนอทีละกลุ่ม
โดยให้แตล่ ะกลุ่มเลอื กใช้ซอฟตแ์ วร์ตามความถนัดและเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์ท่ีจะใชง้ าน
ช่ัวโมงท่ี 3

ข้นั ส2อ.น (40 นาท)ี

10. ครูใหแ้ ต่ละกล่มุ นาเสนองานหน้าชนั้ เรียน
11. ครูสอบถามนักเรยี นแตล่ ะกลุ่มวา่ จากการประมวลผลมีมหาวิทยาลยั ใดท่ีน่าเรียนตอ่ บา้ ง เพราะอะไร

ขน้ั สรุป (10 นาท)ี

1. ครใู ห้นักเรยี นช่วยกนั สรปุ ประโยชนจ์ ากการนาข้อมลู มาประมวลผล

8. สอ่ื /แหล่งการเรียนรู้

8.1 สือ่ การเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เรอ่ื ง การจัดการข้อมูลและสารสนเทศ
2. หนังสอื แบบฝึกหัดรายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 เรื่อง การจัดการข้อมลู และสารสนเทศ
3. ใบความรู้ เรือ่ ง การใช้ Google Forms
4. ใบงานที่ 1.1.1 เรอื่ ง อาชีพในอนาคต
5. คอมพิวเตอร์

8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอรเ์ นต็

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 23

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1

คาชีแ้ จง : ให้นกั เรียนเลือกคาตอบท่ีถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดคือลกั ษณะของข้อมูลปฐมภูมิ 6. ขอ้ ใดเปน็ การประมวลผลแบบแบตซ์
ก. ข้อมูลที่เกบ็ รวบรวมดว้ ยตนเอง ก. ธรุ กรรมการเงินของเอทเี อ็ม
ข. ขอ้ มูลท่ีมกี ารรวบรวมไว้แลว้ โดยผู้อืน่ ข. ระบบคานวณผลประกอบการรายปี
ค. ขอ้ มลู ทนี่ ามาใชจ้ ากงานวิจัยของรฐั บาล ค. ระบบแสดงความคิดเห็นของเฟสบคุ
ง. ข้อมลู ทเี่ ผยแพร่จากกระทรวงสาธารณสขุ ง. ระบบตรวจจบั ควนั ไฟและแจ้งเตอื นไฟไหม้
2. ขอ้ ใดคือลกั ษณะของข้อมลู ทุตยิ ภมู ิ
ก. ข้อมลู จากการสงั เกต 7. การเรยี งคะแนนสอบนกั เรียนจากมากไปนอ้ ย
ข. ข้อมลู จากการสมั ภาษณ์
ค. ข้อมลู จากการสารวจข้อมูล เป็นลกั ษณะการประมวลผลขอ้ มลู ด้วยคอมพิวเตอร์แบบใด
ง. ข้อมูลจานวนผู้สมคั รสอบบรรจคุ รู ก. การคานวณ
จากกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ข. การรวมข้อมลู
3. ข้อมลู ในขอ้ มลู จัดเป็นข้อมลู ปฐมภมู ิ ค. การจดั กลมุ่ ข้อมูล
ก. บอลนาข้อมลู การเปรยี บเทียบสเปคมือถือ ง. การจัดเรียงข้อมูล
สองเครอ่ื งจากเวบ็ ไซตม์ าศึกษา
ข. เจตไปขอข้อมลู สขุ ภาพของประชากรในอาเภอ 8. สถานการณต์ ่อไปนีเ้ ป็นกรรมวธิ กี ารประมวลผลข้อมูล
ทีต่ นเองอาศยั อยมู่ าทารายงาน
ค. เบลล์ดูวดี โี อคลิปเปรยี บเทียบสลี ิปคอลเลคช่ัน ใหม่ทง้ั 5 สี ด้วยคอมพิวเตอรแ์ บบใด “บรรณารกั ษ์ห้องสมุด จัดลาดับประวตั ิการยืมหนงั สอื ของ
ง. ต้ัมเดินทางไปสอบถามราคาคอนโดพร้อมสว่ นลด และโปรโมชัน่ ตาม นักเรยี นจากขอ้ มลู
โครงการทีต่ นเองช่ืนชอบและ
นาขอ้ มลู กลบั มาเปรียบเทยี บเพื่อตัดสนิ ใจ ในฐานขอ้ มูลของระบบบนั ทึกของหอ้ งสมุด”
4. ข้อใดเป็นการประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอร์
ก. การคานวณด้วยลกู คดิ . ก. การจดั กลุ่ม
ข. การคานวณด้วยเคร่ืองคดิ เลข ข. การคานวณ
ค. การคานวณด้วยเคร่อื งทาบัญชี ค. การรวมข้อมูล
ง. การาคนวณด้วย Microsoft Excel ง. การจดั เรียงข้อมลู
5. ขอ้ ใดเปน็ ขนั้ ตอนแรกของลาดบั การประมวลผล
ข้อมลู 9. ขอ้ ใดเปน็ ซอฟแวร์ท่ตี ้องใช้งานผ่านอนิ เทอร์เน็ต
ก. การแสดงผล ข. การนาเข้าข้อมูล ก. Keynote
ค. การวิเคราะหข์ อ้ มูล ง. การประมวลผลข้อมูล ข. SlideDog
ค. Microsoft Form
ง. OpenOffice Impress

10. ข้อใดคือตวั อยา่ งการใชง้ านโปรแกรม
Microsoft PowerPoint อยา่ งเหมาะสม

ก. ใชท้ ารายงานสรุปผลโครงการ
ข. ใชค้ านวณและหาคา่ เฉล่ยี งานวจิ ัย
ค. ใชส้ รา้ งงาน และนาเสนองานตอ่ ทป่ี ระชมุ
ง. ใชจ้ ัดทาตารางคานวณ จดั เรียงข้อมลู และสรปุ ผล

เฉลย

1. ก 2. ง 3. ง 4. ง 5. ข 6. ข 7. ง 8. ง 9. ค 10. ค

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 24

แบบทดสอบหลังเรียน

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1

คาช้ีแจง : ให้นักเรยี นเลือกคาตอบท่ีถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว

1. ขอ้ ใดคอื ลักษณะของข้อมลู ทตุ ิยภูมิ 6. ข้อใดเปน็ การประมวลผลแบบทันที

ก. ขอ้ มลู ทเ่ี กบ็ รวบรวมด้วยตนเอง ก. ธรุ กรรมการเงนิ ของเอทเี อ็ม

ข. ขอ้ มูลท่มี ีการรวบรวมไว้แลว้ โดยผู้อน่ื ข. ระบบคานวณผลประกอบการรายปี

ค. ขอ้ มูลที่นามาใชจ้ ากงานวจิ ัยของรัฐบาล ค. ระบบแสดงความคิดเหน็ ของเฟสบุค

ง. ขอ้ มูลที่เผยแพร่จากกระทรวงสาธารณสขุ ง. ระบบตรวจจบั ควนั ไฟและแจ้งเตอื นไฟไหม้

2. ขอ้ ใดคอื ลกั ษณะของขอ้ มลู ปฐมภูมิ 7. การบวก ลบ คูณ หาร หาค่าเฉลยี่ ถือว่าเป็นลกั ษณะ

ก. ขอ้ มลู ทางดา้ นสถติ ิตา่ ง ๆ การประมวลผลขอ้ มลู แบบใด

ข. ขอ้ มลู พนักงานภายในบรษิ ทั ก. การคานวณ

ค. ขอ้ มูลทางการเงนิ เฉพาะบุคคล ข. การรวมขอ้ มลู

ง. ขอ้ มลู จากการสังเกตข้อมูลภายในชมุ ชน ค. การจดั กล่มุ ข้อมูล

3. ขอ้ มลู ในขอ้ มูลจดั เป็นขอ้ มูลทุตยิ ภูมิ ง. การจัดเรียงขอ้ มูล

ก. บอลนาข้อมลู การเปรียบเทยี บสเปคมอื ถอื 8. สถานการณต์ ่อไปน้ีเปน็ กรรมวธิ ีการประมวลผลขอ้ มลู

สองเครื่องจากเว็บไซต์มาศกึ ษา ด้วยคอมพวิ เตอร์แบบใด “การนาประวตั สิ ่วนตัวของ

ข. เจตไปขอขอ้ มลู สุขภาพของประชากรในอาเภอ นักเรียนแตค่ นละคน มาจัดทาประวัตทิ างการศกึ ษา

ท่ตี นเองอาศัยอยู่มาทารายงาน ของโรงเรียน”

ค. เบลล์ดูวดี โี อคลปิ เปรยี บเทยี บสีลิปคอลเลคชน่ั ใหม่ท้งั 5 สี ก. การจดั กลมุ่ ข. การคานวณ

ง. ตัม้ เดนิ ทางไปสอบถามราคาคอนโดพรอ้ มสว่ นลด และโปรโมชั่นตาม ค. การรวมข้อมูล ง. การจัดเรยี งข้อมูล

โครงการท่ีตนเองชนื่ ชอบและ 9. เบนต้องการใชง้ านซอฟต์แวรใ์ นการรวบรวมข้อมลู

นาข้อมูลกลบั มาเปรยี บเทียบเพื่อตดั สนิ ใจ ผา่ นอินเทอร์เนต็ เบนควรเลอื กใช้ซอฟตแ์ วรใ์ นขอ้ ใด

4. การประมวลผลในขอ้ ใดไดร้ บั ความนิยมมาก ก. Keynote

ในปัจจบุ ัน

ก. การประมวลผลข้อมลู ด้วยมอื ข. SlideDog

ข. การประมวลผลข้อมลู ด้วยคอมพิวเตอร์ ค. Microsoft Form

ง. การประมวลผลข้อมลู ด้วยเคร่ืองคิดเลข

ค. การประมวลผลข้อมลู ดว้ ยเครื่องจกั รกล ง. OpenOffice Impress

5. ข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของลาดบั การประมวลผลข้อมูลคือขอ้ ใด 10. ข้อใดคอื ตัวอย่างการใช้งานโปรแกรม

ก. การแสดงผล ข. การนาเขา้ ขอ้ มูล Microsoft Excel ได้อยา่ งเหมาะสม

ค. การวเิ คราะหข์ ้อมูล ง. การประมวลผลข้อมลู

ก. ใช้ทารายงานสรปุ ผลโครงการ

เฉลย ข. ใชค้ านวณและหาค่าเฉล่ียงานวจิ ัย

ค. ใช้สร้างงาน และนาเสนองานตอ่ ท่ปี ระชมุ

ง. ใช้จดั ทาตารางคานวณ จดั เรยี งขอ้ มลู และสรุปผล

1. ข 2. ง 3. ข 4. ข 5. ก 6. ค 7. ก 8. ค 9. ค 10. ง

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 25

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 2

ความน่าเชือ่ ถือของขอ้ มลู

เวลา 8 ชวั่ โมง

1. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชี้วัด

ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคดิ เชงิ คานวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็นขั้นตอนและเปน็ ระบบ
ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทางานและการแก้ปญั หาได้อย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ รู้เท่าทัน และมจี ริยธรรม
ว 4.2 ม.3/3 ประเมนิ ความนา่ เชื่อถอื ของขอ้ มูล วิเคราะหส์ อื่ และผลกระทบ
จากการให้ขา่ วสารท่ีผิด เพื่อการใชง้ านอยา่ งรเู้ ท่าทนั

2. สาระการเรยี นรู้

2.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
1) การประเมนิ ความน่าเช่อื ถอื ของข้อมูล เช่น ตรวจสอบและยนื ยนั ข้อมูล โดยเทียบเคียงจากขอ้ มลู
หลายแหลง่ แยกแยะขอ้ มูลทเี่ ปน็ ข้อเทจ็ จริงและข้อคิดเหน็ หรอื ใช้ PROMPT
2) การสบื ค้น หาแหล่งต้นตอของข้อมูล
3) เหตุผลวิบัติ (logical fallacy)
4) ผลกระทบจากข่าวสารทผ่ี ิดพลาด
5) การรู้เท่าทนั สอ่ื เช่น การวเิ คราะห์ถงึ จดุ ประสงค์ของข้อมลู และผ้ใู หข้ อ้ มลู ตคี วาม แยกแยะเนอื้ หา
สาระของสอ่ื เลอื กแนวปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งเหมาะสมเมอื่ พบขอ้ มลู ตา่ ง ๆ

2.2 สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถนิ่
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

3. สาระสาคญั /ความคดิ รวบยอด

การสืบคน้ แหล่งข้อมลู เปน็ กระบวนการค้นหาขอ้ มูลท่ตี ้องการ โดยใช้เครอ่ื งมือต่าง ๆ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังน้ี

1. การสบื ค้นข้อมูลด้วยมอื คือ การสบื คน้ ขอ้ มลู ดว้ ยเอกสาร หนงั สือ ตารา เป็นต้น
2. การสืบค้นขอ้ มูลดว้ ยระบบคอมพวิ เตอร์ คือ การสบื คน้ ข้อมูลผา่ นเทคโนโลยีหรอื อปุ กรณ์

คอมพิวเตอร์ เชน่ การสืบค้นขอ้ มูลจากระบบฐานขอ้ มลู ข้อมูลออนไลน์ เปน็ ต้น
การประเมนิ ความน่าเชอื่ ถอื ของข้อมลู เปน็ ข้ันตอนในการประเมินเพอื่ คดั เลอื กขอ้ มลู ทไ่ี ด้
จากการสบื ค้นข้อมูลท่ีมีคณุ ค่า มคี วามนา่ เชอ่ื ถือ เปน็ การพจิ ารณาเพอื่ คดั เลอื กจากแหลง่ ข้อมูลต่าง ๆ
ซงึ่ จากการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถอื จะทาใหเ้ ราไดข้ อ้ มูลที่มีคุณค่า และนาขอ้ มลู ไปประยกุ ตใ์ ช้
อยา่ งเหมาะสม
การรู้เท่าทันส่ือเป็นลักษณะสมรรถนะที่ครอบคลุมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ในส่วนท่ีเกี่ยวข้อง
กับความสามารถในการเข้าถึงสารสนเทศผ่านสื่อ และเทคโนโลยีดิจิทัล การเลือก รับ วิเคราะห์ ประเมิน
และนาขอ้ มลู ท่ีไดร้ ับไปใชใ้ นทางสรา้ งสรรค์

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 26

4. สมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียนและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวินยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ความสามารถในการแก้ปญั หา 3. มุ่งม่นั ในการทางาน

4. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 4. มีจิตสาธารณะ

5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่ือง -

6. การวดั และการประเมนิ ผล
รายการวัด วธิ วี ดั เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
- แบบทดสอบ ประเมนิ ตามสภาพจรงิ
6.1 การประเมินก่อนเรียน กอ่ นเรยี น
- แบบทดสอบกอ่ นเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 กอ่ นเรยี น
เร่ือง ความน่าเช่อื ถือของ
ขอ้ มูล

6.2 การประเมินระหวา่ งการจดั - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หัดรายวชิ า ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
กิจกรรม Exersice หนา้ 19-21 พ้ืนฐานวิทยาศาสตร์
1) การสบื คน้ เพอื่ หา เทคโนโลยี
แหล่งข้อมลู - ตรวจใบงานที่ 2.1.1
เร่อื ง คาไหนเรว็ (วทิ ยาการ
กวา่ กนั คานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรู้ที่ 2
- ตรวจแบบฝึกหดั เรอ่ื ง ความ
Exersice หนา้ 21-23
นา่ เชอื่ ถือ
ของข้อมูล

- ใบงานที่ 2.1.1
เรอ่ื ง คาไหนเรว็
กว่ากนั
- แบบประเมิน
แบบฝึกหัด
2) การประเมนิ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัดรายวชิ า ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
ความน่าเชอื่ ถอื Exercise หน้า 24–26 พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์
ของข้อมูล - ตรวจแบบฝึกหดั เทคโนโลยี
Exercise หนา้ 26–27 (วทิ ยาการ
- ตรวจแบบฝกึ หัด คานวณ) ม.3
Exercise หนา้ 28 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 2
เรอ่ื ง ความ

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 27

รายการวัด วิธวี ดั เคร่อื งมอื เกณฑก์ ารประเมนิ
3) การรู้เทา่ ทนั สอ่ื - ตรวจแบบฝกึ หดั น่าเชอ่ื ถอื รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์

4) คุณลักษณะ Exercise หนา้ 29–31 ของขอ้ มลู ระดบั คุณภาพ 2
อนั พงึ ประสงค์ ขอ้ 1 – 4 - แบบฝึกหดั รายวชิ า ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจแบบฝกึ หัด
6.3 การประเมินหลังเรยี น Activity หนา้ 32 พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์
1) แบบทดสอบหลงั เรียน เทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 2 - สังเกตความมีวินยั (วิทยาการ
เรอ่ื ง ความนา่ เชื่อถือ ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มนั่ คานวณ) ม.3
ของข้อมลู ในการทางาน และ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2
2) การประเมินชน้ิ งาน/ มีจติ สาธารณะ เรอ่ื ง ความ
ภาระงาน (รวบยอด) น่าเชอ่ื ถอื
เรือ่ ง - ของข้อมลู
- แบบประเมิน
คณุ ลักษณะ
อนั พึงประสงค์

- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
หลังเรยี น หลังเรยี น

- ตรวจชิน้ งาน/ - แบบประเมนิ ช้ินงาน/ - ระดับคณุ ภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์

7. กจิ กรรมการเรยี นรู้

นกั เรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง ความนา่ เชอ่ื ถอื ของข้อมูล

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 28

เร่อื งท่ี 1 : การสบื คน้ เพอื่ หาแหล่งขอ้ มลู เวลา 2 ชั่วโมง

วิธกี ารสอนแบบการอภปิ ราย
เทคนคิ การสอนแบบค่คู ดิ (Think Pair Share)

ขัน้ นา (10 นาท)ี

1. ครูสอบถามนักเรียนว่าหากต้องการทราบข้อมูลเรื่องท่ีสนใจ นักเรียนมีวิธีการค้นหาข้อมูลได้อย่างไร และใช้
เครื่องมอื ใด
(แนวคาตอบ ค้นหาจากอนิ เทอรเ์ น็ตโดยใช้ google คน้ ดว้ ยตาราหรอื หนังสอื )

ขั้นสอน (30 นาที)

1. ครูอธิบายเนื้อหาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) อจท. หน้า 25 ในอดีตการค้นหาข้อมูล
ส่วนใหญ่จะใช้วิธีการสืบค้นข้อมูลด้วยมือ เน่ืองจากข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในหนังสือ เอกสาร ตารา แต่ในยุค
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย ดังน้ันวิธีการสืบค้นข้อมูลด้วยระบบ
คอมพวิ เตอร์จงึ เป็นทนี่ ยิ ม

2. ครูอธบิ ายเน้อื หาในหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) อจท. หนา้ 26 ขอ้ มลู ทีม่ ีอยใู่ นอนิ เทอรเ์ นต็
น้ันมีขนาดใหญ่ การสืบค้นจึงควรมีวธิ ีการหรือเครื่องมือเข้ามาชว่ ย เช่น กาหนดวัตถุประสงค์ของการสบื ค้น
ประเภทของข้อมูลท่ีสามารถสืบค้นได้ อุปกรณ์และความรู้ที่ใช้ในการสืบค้น บริการอินเทอร์เน็ต เคร่ืองมือ
หรือโปรแกรมสาหรับสบื คน้

3. ครูสนทนากับนักเรยี นว่าอนิ เทอร์เน็ตทีม่ ีท้งั ประโยชน์และโทษ ครถู ามคาถามว่า “นกั เรียนคดิ ว่าอินเทอร์เน็ต
ใหป้ ระโยชน์อย่างไรกับตัวนักเรียนบา้ ง”
(แนวคาตอบ ใช้ในการสืบค้นขอ้ มลู ได้รวดเรว็ ประหยดั เวลา ใชต้ ิดตอ่ สารสารกบั คนอ่นื )

4. จากนนั้ ครถู ามคาถามนกั เรยี นว่า “แล้วคดิ วา่ อนิ เทอร์เน็ตมโี ทษกับตัวนกั เรยี นหรือไม่ อยา่ งไร”
(แนวคาตอบ เลน่ มากไปเสยี การเรียน)

4. ครูอธิบายเพ่ิมเติมในเนื้อหาประโยชน์และโทษของอินเทอร์เน็ตจากหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการ
คานวณ) อจท. หนา้ 27 – 28

5. ครใู หน้ ักเรียนดแู นวทางการใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ตอย่างมคี ุณธรรมและจริยธรรมในหนงั สอื หนา้ 29 และสรปุ แนวคดิ
เร่ืองคณุ ธรรมและจริยธรรมในการใช้อนิ เทอร์เนต็ ร่วมกนั

6. ครูยกตัวอย่างภาพเกี่ยวกับการโพสในโซเชียลเก่ียวกับคุณธรรมและจริยธรรมในการใช้อินเทอร์เน็ตให้
นกั เรยี นดู และให้นักเรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เห็นวา่ ข้อความท่ีโพสเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร

7. ครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด exersice ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 19 – 21
ขอ้ 1 – 4 เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจ

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 29

ช่ัวโมงท่ี 2

ขัน้ สอน (40 นาท)ี

8. ครูสอบถามนักเรยี นวา่ หากต้องการสบื คน้ ข้อมลู ผา่ นอินเทอร์เนต็ สามารถใชเ้ คร่ืองมอื ใดได้บ้าง

(แนวคาตอบ Google, bing, yahoo)
9. ครูอธิบายเครื่องมือสาหรับสืบค้นข้อมูลผา่ นอินเทอรเ์ น็ตจากหนังสือเรียนวชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ)

อจท. หน้า 30 – 32
10. ครูให้นักเรียนจบั ค่เู พอ่ื ทากิจกรรม “คาไหนเรว็ กว่ากนั ” กิจกรรมน้ีต้องการให้นกั เรียนกาหนดคาสาคญั ของ

การสืบค้นขอ้ และสามารถประเมินความนา่ เชอื่ ถือขอ้ งแหลง่ ข้อมูลได้

11. ครกู าหนดใหน้ ักเรยี นแตล่ ะค่คู น้ หาคาตอบจากอนิ เทอร์เนต็ โดยมือถือ แทบ็ เล็ต หรอื แล็ปท็อป
12. ครูถามนกั เรยี นวา่ จากการทากิจกรรมเพอื่ คน้ หาข้อมลู ให้ได้เรว็ ท่ีสุด นักเรยี นไดแ้ นวคดิ อย่างไรบ้าง
13. ครูถามนักเรียนต่อว่าหากต้องการค้นหาข้อมูลท่ีสนใจ นักเรียนมีการวางแผน ข้ันตอน หรือเทคนิคอย่างไร

บ้าง
14. ครอู ธิบายความสาคัญ ข้ันตอนการสบื คน้ ขอ้ มูลเพบนอินเทอรเ์ นต็ และเทคนคิ การสืบค้นด้วย Google.com

จากหนังสือเรยี นวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) อจท. หน้า 33 – 36

15. จากน้ันครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด exersice ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า
21 – 23 ข้อ 5 – 8 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

ขน้ั สรปุ (10 นาท)ี

1. ครสู อบถามนักเรียนวา่ จากนีไ้ ปหากต้องการสบื ค้นข้อมูลผ่านอนิ เทอรเ์ นต็ ต้องมีขน้ั ตอนอยา่ งไร
2. ครูใหน้ กั เรียนสรุปเทคนคิ การคน้ หาข้อมูลท่ีนกั เรยี นได้เรยี นรู้ร่วมกนั

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 30

เรื่องท่ี 2 : การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มูล เวลา 4 ชวั่ โมง

วิธกี ารสอนแบบการอภิปราย

วธิ ีการสอนแบบกระบวนการกล่มุ

ข้ันนา (10 นาท)ี

1. ครูถามนักเรียนว่าข้อมูล ข่าวสารในอินเทอร์เน็ตมีอยู่มากมายหากเราต้องการนาเอาข้อมูลไปใช้ประโยชน์
นักเรียนมวี ธิ ีการในการคัดเลอื กขอ้ มลู ท่ีน่าเชอื่ ถอื อย่างไร
(แนวคาตอบ ขอ้ มูลตรงกบั วัตถปุ ระสงค์การใช้งาน แหล่งข้อมูลมีความน่าเชอ่ื ถอื )

ข้นั สอน (40 นาท)ี

1. ครเู ปดิ ตวั อย่างขา่ วให้นักเรยี นดูจากนัน้ ให้นักเรียนรว่ มกันวเิ คราะหว์ า่ เป็นข้อมลู จรงิ หรอื ไม่ (มีตัวอยา่ งข่าวอยู่
ท้ายแผนการสอนช่ัวโมงท่ี 1)

2. ครูถามนักเรยี นวา่ นักเรียนใชเ้ กณฑใ์ ดในการประเมินความน่าเชอื่ ถอื ของขอ้ มลู บา้ ง
(แนวคาตอบ แหลง่ ท่ีมาของขา่ วมคี วามนา่ เช่อื ถอื มีการระบวุ ันทใ่ี นการเผยแพร่ อา้ งอิงแหลง่ ทมี่ าของขอ้ มูล)

3. ครูอธบิ ายเนื้อหาในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3 บรษิ ทั อกั ษร เจรญิ
ทศั น์ อจท. หน้า 37 – 40 เรือ่ ง หลักการประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถือของขอ้ มูล จากนั้นครูอธิบายการตรวจสอบ
ความนา่ เชื่อถือของแหล่งขอ้ มูล หนา้ 41 – 42

4. ครูนาตัวอย่างชุดข้อมูลหรือข่าวให้นักเรียนดูเพิ่มเติม จากน้ันให้ทุกคนช่วยกันประเมินความน่าเช่ือถือ (ครู
สามารถหาขา่ วทสี่ นใจใหเ้ หมาะสมกบั วัยของนักเรียนได้ทางอินเทอรเ์ นต็ หรอื สือ่ สง่ิ พมิ พ์ตา่ ง ๆได้)

5. จากนั้นครใู หน้ กั เรียนทาแบบฝกึ หัด exersice ในหนังสอื แบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หน้า 24-
26 ขอ้ 1 – 4 เพ่อื ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ชวั่ โมงที่ 2

ขนั้ ส3อ.น (50 นาท)ี

6. ครูสนทนากับนักเรียนว่า คาบท่ีแล้วเราประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยหลักการการประเมินความ
น่าเชอ่ื ถือ และการตรวจสอบแหลง่ ที่มาของข้อมูล นอกจาก 2 วธิ นี ้ีแล้ว ยังสามารถประเมินความนา่ เช่ือถือ
ของข้อมลู โดยใช้ PROMPT

7. ครูอธิบายวิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูลโดยใช้ PROMPT ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี
(วทิ ยาการคานวณ) ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 บริษัท อกั ษร เจริญทัศน์ อจท. หน้า 43

8. จากนั้นครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหดั exersice ในหนังสอื แบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 26
– 27 ข้อ 5 – 6 โดยใช้ PROMPT ในการวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ของขอ้ มลู

แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 31

ชั่วโมงที่ 3

ขั้นส1อ.น (50 นาที)

9. ครูถามคาถามทบทวนนกั เรยี นวา่ จากคาบที่แลว้

10. ครูนาภาพตัวอย่างการโพสข้อความบนเฟซบุ๊กให้นักเรียนดู และร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลว่าจากตัวอย่าง
ดังกล่าวนักเรียนมีความคิดเหน็ อย่างไร (เป็นข่าวทมี่ ีการใช้เหตผุ ลวิบัติ)

11. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่าการสรูปเหมารวม เป็นตรรกะวิบัติที่เรียกว่า Appeal to Ignirance การแสดงความ
คดิ เห็นต่างๆ บางเรอ่ื งไมม่ ีใครทราบข้อมลู นั้น จนทาให้อา้ งความไม่รเู้ พ่ือหาข้อเท็จจรงิ นัน้

12. จากน้ันครูอธิบายเนอ้ื หาเรอ่ื งการใชเ้ หตุผลวบิ ตั ิ และยกตวั อยา่ งการใช้เหตุผลวบิ ัติ พรอ้ มผลกระทบทเ่ี กดิ ขนึ้

จากตัวอย่างในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 บริษัท อักษร เจริญ
ทัศน์ อจท. หน้า 46-47
13. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 4-5 คน และให้แต่ละกลุ่มหาตัวอย่างการใช้เหตุผลวิบัติบนอินเทอร์เน็ต เพ่ือ
วเิ คราะหผ์ ลกระทบ หรอื ปญั หาท่ีอาจเกดิ ตามมาจากนัน้ ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเตรียมนาข้อมลู มาแบง่ ปนั หน้าชัน้ เรียน
(อาจเอกสารหรอื PowerPoint มาประกอบ ) ในหัวขอ้ “เหตุผลวิบตั ิ และผลกระทบท่ีเกิดข้นึ ” พรอ้ มบนั ทึก
ลงในแบบฝึกหัดแบบฝกึ หัด exersice ในหนังสอื แบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หน้า 28 ข้อ 7-8

ชว่ั โมงท่ี 4

ขนั้ ส2อ.น (40 นาท)ี

14. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากกิจกรรมท่ีให้ไปเตรียมในการแบ่งปันข้อมูลจากคาบท่ีแล้ว นักเรียนเลือก
ยกตัวอย่างเหตผุ ลวบิ ัตปิ ระเภทไหนบา้ ง
(แนวคาตอบ การละทิง้ ข้อยกเว้น การสรปุ เหมารวม การอา้ งความไมร่ ู้ )

15. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาแบ่งปันข้อมูลหน้าชั้นตามหัวข้อท่ีได้รับมอบหมาย จากน้ันให้นักเรียนกลุ่ม
อื่น ๆ ร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสถานการณ์ของกลุ่มที่นาเสนอผลกระทบที่เกิดขึ้น จากการใช้

เหตผุ ลวบิ ตั ิ

ขั้นสรุป (10 นาท)ี

1. ครูสอบถามนกั เรียนว่าจากคาบที่ผ่านมานักเรยี นไดม้ ุมมองในการใช้อินเทอร์เนต็ อย่างไรบ้าง
(แนวคาตอบ ขอ้ มลู ท่ีเราอา่ นอาจไมใ่ ช้ขอ้ มูลจรงิ ท้งั หมดควรประเมนิ ความน่าเช่ือถือของข้อมลู กอ่ นตัดสินใจ
เชือ่ ขา่ วบางสานักมีการเขยี นขา่ วโดยใชเ้ หตุผลวบิ ัตเิ ราควรอา่ นข่าวอยา่ งมีวิจารณญาณหรือคิดไตต่ รองตาม
เนื้อหาท่ีข่าวเขยี นไปด้วย)

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 32

เร่อื งท่ี 3 : การรู้เท่าทันสอื่ เวลา 2 ชว่ั โมง

วิธกี ารสอนแบบการอภปิ ราย

ขนั้ นา (10 นาท)ี

1. ครูสอบถามนักเรียนว่าจากคาบที่แล้ว ข้อมูลท่ีเราพบในอินเทอร์เน็ต นอกจากการประเมินความน่าเช่ือถือ
ของขอ้ มูลก่อนนาไปใช้งานแลว้ เรายังต้องคานึงถงึ ดา้ นใดอกี บ้าง
(แนวคาตอบ การกล่ันแกล้งคนอ่นื ด้วยสอื่ ออนไลน์ ลิขสิทธ์ขิ องขอ้ มลู )

ขั้นสอน (40 นาที)

1. ครูถามนักเรียนว่าก่อนที่จะสามารถวิเคราะห์ และรู้เท่าทันสื่อได้ ควรมีพ้ืนฐานความรู้ ความสามารถด้าน
ใดบ้าง
(แนวคาตอบ การใช้คอมพิวเตอร์ ความสามารถในการค้นหาขอ้ มลู ขา่ วสาร)

2. ครูอธิบายองค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อจากหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ัน
มธั ยมศึกษาปที ี่ 3 บริษัท อักษร เจริญ ทัศน์ อจท. หน้า 50-51

3. ครูอธิบายท่ีมาของความสามารถในการรู้เท่าทันส่อื ดิจทิ ัล และการรู้เท่าทันสื่อดิจทิ ัล 8 ด้าน ในหนังสือเรยี น
วชิ า เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 บรษิ ทั อกั ษร เจริญ ทศั น์ อจท. หน้า 52

4. ครูสุม่ นกั เรยี นยกตัวอยา่ งการร้เู ท่าทันส่อื คนละด้าน พร้อมยกตวั อยา่ ง
(แนวคาตอบ ด้านการปกป้องความเป็นส่วนตัวและขอ้ มูล ยกตัวอยา่ ง ไม่เปิดเผยข้อมูลท่ีอย่ใู ห้กับบุคคลทไ่ี ม่
รจู้ ัก ไม่โพสต์ข้อมลู บัตรประจาตัวประชาชนลง Facebook โดยเฉพาะทอี่ ย่แู ละเลขประจาตวั ประชาชน เป็น
ต้น)

5. ครูอธิบายหัวข้อ “การร้เู ท่าทันสอ่ื ” ในหนังสือเรียนวิชา เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
บรษิ ทั อักษร เจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 53

6. จากนั้นครใู ห้นักเรยี นทาแบบฝึกหดั exersice ในหนังสอื แบบฝึกหดั เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า 29
– 31 ข้อ 1 – 4

แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 33

ชว่ั โมงท่ี 2

ขน้ั ส2อ.น (40 นาท)ี

7. ครูถามทบทวนนักเรยี นโดยการถามคาถามวา่ ความสามารถในการรเู้ ทา่ ทันสือ่ ดิจทิ ลั มีกดี่ า้ น อะไรบ้าง

(แนวคาตอบ การใชอ้ ย่างปลอดภยั การปอ้ งกันความเป็นสว่ นตวั )
8. ครูถามนักเรยี นว่าหากมีการใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ อยา่ งไม่รูเ้ ท่าทัน จะส่งผลกระทบอะไรกับผ้อู ่ืนบา้ ง

(แนวคาตอบ ข้อมูลทเ่ี ป็นเท็จ เกิดความไมป่ ลอดภยั ต่อข้อมลู สว่ นบุคคล มีการละเมิดลขิ สิทธ์)ิ
9. ครูอธิบายความสาคัญของการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างรู้เท่าทัน และผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากหนังสือหนังสอื

เรียนวิชา เทคโนโลยี(วิทยาการคานวณ) ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 3 บริษัท อักษร เจริญ ทัศน์ อจท. หน้า 55-57

เร่อื งการใชส้ อ่ื และปญั หาท่ีพบในสื่อปัจจบุ ัน และเรื่องผลกระทบของข้อมลู ทผี่ ดิ พลาด
10. จากนั้นครูให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด Activity ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หน้า

32-33 วิเคราะห์ความนา่ เช่ือถือของข้อมลู และประเมนิ ผลผลกระทบท่อี าจเกดิ ข้นึ หากข้อมลู ผิดพลาด

ข้ันสรุป (10 นาท)ี

1. ครใู ห้นกั เรยี นรว่ มกนั สรุปผลกระทบท่ีอาจเกดิ ข้นึ จากการใชอ้ นิ เทอร์เนต็ อยา่ งไมร่ เู้ ทา่ ทนั สอ่ื

8. สอ่ื /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 สอื่ การเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
เรอ่ื ง ความนา่ เช่ือถือของขอ้ มูล

2. หนงั สือแบบฝึกหดั รายวชิ าพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื ง ความน่าเชอื่ ถอื ของขอ้ มลู
3. ใบงานที่ 2.1.1 เร่ือง คาไหนเร็วกว่ากัน
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอร์เนต็

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 34

แบบทดสอบก่อนเรียน

หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1

คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นเลือกคำตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1.ข้อใดจดั ลาดบั การสืบคน้ ขอ้ มูลบนอินเทอรเ์ นต็ 5.ซันต้องการซอื้ รถยนตค์ ันใหมจ่ ึงหาข้อมลู การเปิดตวั

ได้ถูกต้อง รถยนตร์ นุ่ ใหม่จากเวบ็ ไซต์ของคา่ ยรถยนตโ์ ดยตรง
ก.กาหนดวัตถุประสงค์ > กาหนดประเภทของขอ้ มลู ซนั ประเมนิ ความน่าเชือ่ ของขอ้ มลู ตามขอ้ ใด
> กาหนดคาสาคัญ > ประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ขอ้ มูล ก.ประเมินระดับเนอ้ื หาของขอ้ มูล
ข.กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ > กาหนดคาสาคญั > กาหนด ข.ประเมินความตรงตามความต้องการของข้อมลู
ประเภทของข้อมลู > ประเมินความน่าเชื่อถือขอ้ มูล ค.ประเมินความนา่ เชอ่ื ถือและความทันสมัยของขอ้ มลู

ค.กาหนดคาสาคญั > กาหนดวตั ถุประสงค์ > กาหนด ง.ประเมนิ ความความนา่ เชอื่ ถอื ของเครอื่ งมอื ในการสบื คน้
ประเภทของข้อมูล > ประเมินความนา่ เชื่อถอื ขอ้ มลู 6.ขอ้ ใดไม่ใชว่ ิธกี ารประเมินความน่าเช่ือถอื โดยใช้
ง.กาหนดประเภทของข้อมลู > กาหนดคาสาคญั PROMPT
> กาหนดวตั ถุประสงค์ > ประเมนิ ความนา่ เชอ่ื ถอื ก. กระบวนการ (Process)
ข้อมลู ข. วตั ถปุ ระสงค์ (Objectivity)
2.คณุ พอ่ ของเอมอายมุ ากแลว้ เอมตอ้ งการหาเครอื่ งดืม่ ค. พสิ จู น์หหรอื ยนื ยัน (Provenance)

ทีเ่ หมาะให้คณุ พ่อด่มื เอมจงึ ค้นหาข้อมลู บน ง. ทนั เหตกุ ารณ์และเปน็ ปัจจบุ ัน (Timeliness)
อนิ เทอรเ์ นต็ ดว้ ยคาวา่ เครอื่ งดื่มสุขภาพผสู้ ูงอายุ 7.ข้อใดไม่ใชก่ ารใชเ้ หตผุ ลแบบวิบัติ
พฤติกรรมของเอมตรงกับข้ันตอนใด ก.การเจตนาฆ่าคอื อาชญากรรม ป๊อปถกู คนรา้ ยข่ฆู า่ เพอื่
ก.กาหนดคาสาคญั สาหรบั สบื ค้นขอ้ มูล กรรโชกทรัพยแ์ ตป่ อ๊ ปตอ่ สแู้ ละใชป้ นื ของคนรา้ ยยงิ เข้าท่ี
ข.กาหนดประเภทของข้อมูลทีจ่ ะสืบคน้ ขาปอ๊ ปจงึ เปน็ อาชญากร. วิบตั ิ
ค.กาหนดวัตถุประสงคแ์ ละหวั ข้อการสืบค้นใหช้ ัดเจน ข.นกั เรยี นทีเ่ ขา้ เรยี นในความรพู้ ้ืนฐานในปีที่ผา่ นมาจะสอบ

ง.ประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื ของข้อมูลทีไ่ ด้จากการสบื คน้ ผา่ น ดังนนั้ เด็กนกั เรียนทกุ คนทเ่ี ข้าเรียนคาบความรู้
3.หากตอ้ งการค้นหารูปภาพรถยนต์ Hybrid พน้ื ฐานในปนี จี้ ะสอบผ่าน วิบตั ิ
ข้อใดใชเ้ ทคนคิ การค้นหาขอ้ มูลดว้ ย Google.com ค.มิวมฐี านะทางบ้านปานกลาง จงึ ขอใหศ้ ิลปนิ ท่านอ่ืนไมค่ ิด
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ค่าลิขสิทธิเ์ วลานาเพลงศลิ ปนิ ท่านอนื่ ไปทาการแสดงเพือ่ ให้
ก.รถยนต์ – Hybrid ข.รถยนต์ + Hybrid มิวมรี ายไดเ้ ล้ยี งครอบครวั วบิ ตั ิ

ค.รถยนต์ “ Hybrid ” ง.รถยนต์ or Hybrid ง.วา่ นได้ผลการเรียนท่ีดีและได้รางวลั จากพอ่ เนื่องจากพอ่
4.ข้อใดไมใ่ ช่หลกั การในการประเมินความน่าเชื่อถอื สัญญาวา่ จะใหร้ างวัลถ้าว่านไม่ตดิ ศูนยว์ ิชาใดเลย
ของข้อมลู 8.การพิจารณาการกระทาของตนเองวา่ มีผลกระทบหรอื
ก.ประเมินระดบั เนอ้ื หาของข้อมลู ผลลพั ธ์ตอ่ ผู้อนื่ อยา่ งไร เป็นลกั ษณะของการรเู้ ทา่ ทันส่อื ใน
ข.ประเมนิ ความตรงตามความต้องการของขอ้ มลู ขอ้ ใด
ค.ประเมินความนา่ เชอื่ ถือและความทนั สมยั ของขอ้ มูล ก. การสะท้อนคิด

ง.ประเมนิ ความความนา่ เชอื่ ถือของเครอ่ื งมอื ในการ ข. ความสามารถในการเข้าถงึ สื่อ
สืบคน้ ค. ความเข้าใจการประเมนิ คา่ สารสนเทศและเนื้อหาในสอ่ื
ง. การสรา้ ง การใชป้ ระโยชน์ และการเฝา้ ระวงั สารสนเทศ
และเนอื้ หาในสอ่ื

แผนการจดั การเรียนรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 35

9.ปอยตอ้ งการโพสใบแจ้งคะแนนผลการเรียนของ 10.ขอ้ ใดเป็นผลกระทบของข้อมลู ท่ผี ดิ พลาด
ตนเอง ก. ฟ้าใช้แผ่นพบั เรอ่ื งโรคมะเร็งจากโรงพยาบาลศริ ริ าชมา
ลงเฟซบกุ๊ ปอยจงึ นาปากสเี ขม้ มาเขยี นปกปดิ ขอ้ มูลท่ไี ม่ เขยี นบล็อกและเผยแพร่
เหมาะสมตอ่ การเปิดเผยตอ่ ผอู้ นื่ ทัง้ แลว้ จงึ ถ่ายรูปโพสต์ ข. กอ้ ยนารูปภาพโปสเตอร์เชญิ ชวนเข้าสมัครเขา้ รว่ ม
ลงเฟซบุ๊ก การกระทาของปอยเป็นการรเู้ ท่าทนั สอื่ ตาม โครงการอาสาปลูกปะการังจาก UNESCO มาแชรห์ นา้
ขอ้ ใด เฟสบกุ๊ ของตนเอง

ก. ความรูเ้ ทา่ ทนั ข้อมูลดจิ ทิ ลั ค. หญงิ อ่านขอ้ มลู ปริมาณของจานวนรถยนต์สว่ นบุคคลที่
ข. การปกปอ้ งความเป็นสว่ นตวั และขอ้ มลู เพิ่มขึน้ อย่างตอ่ เนื่องจากเวบ็ ไซตก์ รมการขนสง่ แล้วมา
ค. การสร้างอัตลกั ษณส์ ่วนตวั ในโลกออนไลน์ เขยี นบทความตามมมุ มองของตนเองและแชรบ์ นเฟซบ๊กุ
ง. การใช้ข้อมูลดจิ ทิ ลั อย่างสรา้ งสรรคแ์ ละไม่ละเมิดสทิ ธิ์ ง. ออยเหน็ ประกาศเตือนทหี่ นา้ โรงพักเรื่องใหร้ ะวังขโมย
ในชว่ งปใี หมเ่ นอ่ื งจากพน้ื ทท่ี ต่ี ารวจตอ้ งดูแลมบี รเิ วณกว้าง
อาจทาใหด้ ูแล

ไมท่ ่ัวถงึ ออยจงึ ถา่ ยรูปลงไลน์กล่มุ ของหมบู่ ้านตนเอง

เฉลย 1. ก 2. ก 3. ข 4. ง 5. ค 6. ก 7. ง 8. ก 9. ข 10. ค

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 36

แบบทดสอบหลังเรยี น

หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 1

คาชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นเลือกคาตอบที่ถูกต้องท่ีสุดเพียงข้อเดียว

1.ซันตอ้ งการซื้อรถยนต์คนั ใหมจ่ ึงหาข้อมูลการเปดิ ตวั 5.ข้อใดจัดลาดับการสืบค้นขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ น็ต
ได้ถกู ต้อง
รถยนต์รนุ่ ใหมจ่ ากเว็บไซต์ของคา่ ยรถยนตโ์ ดยตรง ก.กาหนดวตั ถุประสงค์ > กาหนดประเภทของข้อมลู
ซันประเมนิ ความนา่ เชอื่ ของข้อมลู ตามข้อใด
ก.ประเมินระดับเนอ้ื หาของข้อมลู > กาหนดคาสาคญั > ประเมนิ ความน่าเชื่อถอื ขอ้ มลู
ข.ประเมินความตรงตามความตอ้ งการของข้อมลู ข.กาหนดวัตถุประสงค์ > กาหนดคาสาคัญ > กาหนด
ค.ประเมินความนา่ เชื่อถือและความทนั สมยั ของข้อมลู
ง.ประเมนิ ความความน่าเชอ่ื ถือของเคร่อื งมอื ในการสืบคน้ ประเภทของข้อมูล > ประเมินความน่าเชอื่ ถอื ขอ้ มลู
ค.กาหนดคาสาคัญ > กาหนดวัตถปุ ระสงค์ > กาหนด
2.ขอ้ ใดเปน็ ผลกระทบของขอ้ มลู ทีผ่ ดิ พลาด
ก. ฟา้ ใช้แผ่นพบั เรื่องโรคมะเรง็ จากโรงพยาบาลศริ ิราชมาเขยี น ประเภทของข้อมูล > ประเมนิ ความน่าเช่ือถอื ขอ้ มลู
บล็อกและเผยแพร่ ง.กาหนดประเภทของข้อมูล > กาหนดคาสาคญั
ข. กอ้ ยนารปู ภาพโปสเตอร์เชญิ ชวนเขา้ สมคั รเข้าร่วมโครงการ
อาสาปลกู ปะการังจาก UNESCO มาแชรห์ นา้ เฟสบุ๊กของตนเอง > กาหนดวตั ถปุ ระสงค์ > ประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ขอ้ มลู
ค. หญิงอ่านขอ้ มลู ปริมาณของจานวนรถยนต์สว่ นบคุ คลที่
เพิ่มข้นึ อยา่ งตอ่ เนื่องจากเวบ็ ไซตก์ รมการขนส่ง แล้วมาเขยี น 6.การพิจารณาการกระทาของตนเองว่ามผี ลกระทบหรอื
บทความตวามมมุ มองของตนเองและแชร์บนเฟซบุ๊ก ผลลพั ธต์ อ่ ผู้อน่ื อยา่ งไร เปน็ ลกั ษณะของการรเู้ ทา่ ทันส่ือใน
ง. ออยเหน็ ประกาศเตอื นท่ีหน้าโรงพักเรอื่ งใหร้ ะวังขโมยในชว่ ง ข้อใด
ปใี หม่เน่ืองจากพืน้ ทีท่ ต่ี ารวจตอ้ งดูแลมบี รเิ วณกว้างอาจาทให้ ก. การสะท้อนคดิ
ดูแลไม่ทว่ั ถึง ออยจงึ ถ่ายรูปลงไลนก์ ล่มุ ของหมบู่ า้ นตนเอง ข. ความสามารถในการเขา้ ถงึ ส่ือ
ค. ความเข้าใจการประเมินคา่ สารสนเทศและเนอ้ื หาในสอ่ื
3.คุณพ่อของเอมอายมุ ากแลว้ เอมตอ้ งการหาเครอื่ งดมื่ ง. การสร้าง การใช้ประโยชน์ และการเฝ้าระวังสารสนเทศ
ทีเ่ หมาะให้คณุ พ่อดมื่ เอมจึงค้นหาข้อมูลบนอนิ เทอรเ์ น็ตดว้ ยคา และเนอื้ หาในสือ่
วา่ เครื่องดืม่ สุขภาพผ้สู ูงอายุ พฤตกิ รรมของเอมตรงกับขัน้ ตอน
ใด 7.ปอยตอ้ งการโพสใบแจง้ คะแนนผลการเรยี นของตนเอง
ก.กาหนดคาสาคญั สาหรับสืบคน้ ขอ้ มูล ลงเฟซบุ๊กปอยจึงนาปากสเี ขม้ มาเขยี นปกปิดข้อมลู ท่ีไม่
ข.กาหนดประเภทของข้อมูลทจี่ ะสืบคน้ เหมาะสมตอ่ การเปิดเผยตอ่ ผอู้ นื่ ท้ังแลว้ จึงถา่ ยรปู โพสต์
ค.กาหนดวตั ถปุ ระสงค์และหัวขอ้ การสบื ค้นให้ชดั เจน ลงเฟซบ๊กุ การกระทาของปอยเปน็ การรเู้ ท่าทันส่ือตามข้อ
ง.ประเมินความนา่ เช่ือถอื ของขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการสืบค้น ใด
ก. ความรเู้ ทา่ ทนั ข้อมูลดิจิทลั
4.ข้อใดไม่ใชว่ ิธกี ารประเมนิ ความนา่ เช่อื ถือโดยใช้ PROMPT ข. การปกป้องความเป็นสว่ นตวั และขอ้ มลู
ก. กระบวนการ (Process) ค. การสรา้ งอัตลกั ษณส์ ว่ นตวั ในโลกออนไลน์
ข. วตั ถปุ ระสงค์ (Objectivity) ง. การใชข้ ้อมลู ดิจทิ ลั อยา่ งสรา้ งสรรค์และไม่ละเมิดสทิ ธิ์
ค. พสิ จู นห์ หรือยนื ยนั (Provenance)

ง. ทันเหตกุ ารณแ์ ละเปน็ ปัจจบุ นั (Timeliness)

แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 37

8.หากตอ้ งการคน้ หารูปภาพรถยนต์ Hybrid 10.ข้อใดไม่ใช่การใช้เหตผุ ลแบบวบิ ตั ิ
ก.การเจตนาฆ่าคืออาชญากรรม ป๊อปถกู คนรา้ ยขู่ฆา่ เพอ่ื
ขอ้ ใดใชเ้ ทคนคิ การค้นหาข้อมูลดว้ ย Google.com กรรโชกทรพั ย์แต่ปอ๊ ปตอ่ สู้และใชป้ นื ของคนรา้ ยยงิ เข้าท่ี
ขาป๊อปจงึ เป็นอาชญากร. วบิ ตั ิ
ได้อย่างเหมาะสม ข.นกั เรียนทเี่ ข้าเรยี นในความรู้พนื้ ฐานในปที ี่ผา่ นมาจะสอบ
ผา่ น ดงั น้นั เดก็ นักเรยี นทุกคนทเี่ ขา้ เรยี นคาบความรู้
ก.รถยนต์ –Hybrid ข.รถยนต์ +Hybrid
พ้ืนฐานในปนี ้จี ะสอบผ่าน วบิ ตั ิ
ค.รถยนต์ “Hybrid” ง.รถยนต์ or Hybrid ค.มวิ มีฐานะทางบ้านปานกลาง จงึ ขอให้ศลิ ปนิ ทา่ นอนื่ ไม่คดิ
ค่าลิขสิทธิเ์ วลานาเพลงศลิ ปนิ ทา่ นอนื่ ไปทาการแสดงเพือ่ ให้
9.ขอ้ ใดไมใ่ ช่หลกั การในการประเมินความนา่ เช่ือถอื ของ มิวมีรายได้เลี้ยงครอบครวั วบิ ัติ
ขอ้ มูล ง.วา่ นไดผ้ ลการเรียนท่ดี ีและได้รางวลั จากพอ่ เนอื่ งจากพอ่
ก.ประเมนิ ระดับเนอ้ื หาของข้อมูล สญั ญาวา่ จะให้รางวัลถา้ วา่ นไม่ตดิ ศูนยว์ ชิ าใดเลย
ข.ประเมินความตรงตามความตอ้ งการของขอ้ มลู
ค.ประเมินความนา่ เชอื่ ถือและความทันสมัยของขอ้ มูล
ง.ประเมินความความน่าเชอื่ ถอื ของเครอื่ งมอื ในการ
สบื คน้

เฉลย 1. ค 2. ค 3. ก 4. ก 5. ก 6. ก 7. ข 8. ข 9. ง 10. ง

แผนการจดั การเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 38

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3

เทคโนโลยสี ารสนเทศ

เวลา 7 ชว่ั โมง

1. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวช้วี ัด

ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชงิ คานวณในการแก้ปญั หาท่พี บในชวี ติ จริงอยา่ งเปน็ ขน้ั ตอนและเปน็ ระบบ
ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารในการเรยี นรู้ การทางานและการแกป้ ัญหาไดอ้ ย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมจี ริยธรรม
ว 4.2 ม.3/4 ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างปลอดภยั และมคี วามรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
ปฏิบัติตามกฎหมายเก่ียวกับคอมพวิ เตอร์ ใชล้ ิขสทิ ธิข์ องผอู้ ่นื โดยชอบธรรม

2. สาระการเรียนรู้

2.1 สาระการเรียนรแู้ กนกลาง
1) การใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งปลอดภัย เช่น การทาธรุ กรรมออนไลน์ การซ้ือสินคา้
ซอ้ื ซอฟต์แวร์ ค่าบรกิ ารสมาชิก ซ้อื ไอเท็ม
2) การใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีความรับผดิ ชอบ เชน่ ไมส่ ร้างข่าวลวง ไมแ่ ชรข์ อ้ มลู
โดยไมต่ รวจสอบขอ้ เท็จจรงิ
3) กฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์
4) การใช้ลขิ สิทธิ์ของผอู้ ื่นโดยชอบธรรม (fair use)

2.2 สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ
(พิจารณาตามหลักสตู รสถานศึกษา)

3. สาระสาคัญ/ความคดิ รวบยอด
การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศโดยคานึงถงึ ความปลอดภยั ในการใช้งาน เชน่ การทาธรุ กรรม
ออนไลน์ การซอ้ื สนิ ค้าออนไลน์ และการใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอย่างมีจิตสานกึ และจรยิ ธรรมท่ดี ี
คานึงผลกระทบท่อี าจสง่ ผลตอ่ ผูอ้ น่ื

กฎหมายที่เกยี่ วข้องกับการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศหลายฉบับ เชน่ พระราชบญั ญตั วิ ่าด้วย

การกระทาความผดิ เกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พระราชบญั ญัตวิ า่ ด้วยธรุ กรรมทางอเิ ล็กทรอนิกส์

พระราชบญั ญตั กิ ารรกั ษาความม่ันคงปลอดภยั ไซเบอร์ โดยพระราชบญั ญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทาความผิด

เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ.2550 และพระราชบัญญัตวิ า่ ด้วยการกระทาความผดิ เกีย่ วคอมพิวเตอร์

(ฉบบั ที่ 2) พ.ศ.2560

ลขิ สิทธิ์ เป็นผลงานทเี่ กิดจากการใชป้ ัญญา ความรคู้ วามสามารถ และความอุตสาหะพยายาม

ในการสรา้ งสรรค์ผลงาน ซง่ึ ถอื ว่าเป็นทรัพยส์ ินทางปญั ญาประเภทหนึง่ ท่ีกฎหมายใหค้ วามค้มุ ครอง

4. สมรรถนะสาคัญของผเู้ รยี นและคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์

สมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รยี น คุณลักษณะอนั พึงประสงค์

1. ความสามารถในการสอื่ สาร 1. มีวินยั

2. ความสามารถในการคดิ 2. ใฝเ่ รียนรู้

3. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ 3. ม่งุ มนั่ ในการทางาน

4. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

แผนการจัดการเรยี นรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หน้า 39

5. ชน้ิ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)

- ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เรอ่ื ง -

6. การวัดและการประเมนิ ผล

รายการวดั วิธวี ดั เครอื่ งมือ เกณฑก์ ารประเมนิ

6.1 การประเมินกอ่ นเรียน

- แบบทดสอบก่อนเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ ประเมินตามสภาพจริง

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ก่อนเรียน ก่อนเรียน

เร่ือง เทคโนโลยีสารสนเทศ

6.2 การประเมนิ ระหวา่ งการจัด

กจิ กรรม

1) การใชง้ านเทคโนโลยี - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั รายวชิ า ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

สารสนเทศ Exercise หน้า 39 พ้นื ฐานวิทยาศาสตร์

- ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 เทคโนโลยี

เรอ่ื ง การซื้อสนิ คา้ (วิทยาการ

ออนไลนอ์ ยา่ ง คานวณ) ม.3

ปลอดภัย หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3

- ตรวจแบบฝึกหดั เรื่อง เทคโนโลยี

Exercise หนา้ 40–41 สารสนเทศ

- ประเมนิ การนาเสนอ - แบบประเมิน

เรอื่ ง การใชเ้ หตุผลเชิง ใบงานท่ี 3.1.1

ตรรกะในชวี ติ ประจาวนั เรอ่ื ง การซ้อื สนิ ค้า

ออนไลนอ์ ย่าง

ปลอดภัย

2) กฎหมายคอมพวิ เตอร์ - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หดั รายวชิ า ระดับคุณภาพ 2
และลขิ สทิ ธ์ิ
Exercise หนา้ 42-45 พน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์
3) คุณลกั ษณะ
อันพึงประสงค์ - ตรวจแบบฝกึ หัด เทคโนโลยี (วิทยาการ

Exercise หน้า 46-47 คานวณ) ม.3

- ใบงานที่ 3.2.1 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3

เรื่อง ใครมคี วามผิด เรอ่ื ง เทคโนโลยี

สารสนเทศ

- แบบประเมิน

ใบงานที่ 3.2.1

เร่อื ง ใครมคี วามผดิ

- สงั เกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคณุ ภาพ 2
ใฝ่เรยี นรู้ และม่งุ ม่ัน คณุ ลกั ษณะ
ในการทางาน ผา่ นเกณฑ์

อนั พึงประสงค์

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 40

รายการวัด วธิ วี ดั เครือ่ งมอื เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
6.3 การประเมนิ หลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบ
1) แบบทดสอบหลังเรียน หลังเรยี น หลงั เรยี น
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3
เร่ือง เทคโนโลยี
สารสนเทศ

2) การประเมินชิน้ งาน/ - ตรวจช้ินงาน/ - แบบประเมินชน้ิ งาน/ - ระดบั คณุ ภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด)
เรอื่ ง - ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผ่านเกณฑ์

7. กจิ กรรมการเรียนรู้

นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 เรอ่ื ง เทคโนโลยีสารสนเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ วชิ าวิทยาการคานวณ ม.๓ หน้า 41

เรอ่ื งท่ี 1 : การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ เวลา 3 ชัว่ โมง

วิธกี ารสอนแบบการอภิปราย
เทคนิคการสอนแบบการถาม – ตอบ

ข้นั นา (10 นาที)

1. ครูถามนกั เรยี นคดิ ว่าเทคโนโลยีมบี ทบาทสาคญั ต่อชวี ิตนกั เรยี นหรอื ไม่ อย่างไรบ้าง
(แนวคาตอบ มี เพราะทาให้ชวี ิตสะดวกสบาย)

2. ครูถามนกั เรียนตอ่ วา่ นอกจากเทคโนโลยมี ีบทบาทสาคญั ตอ่ ชวี ิตนักเรียนแลว้ นกั เรยี นคดิ ว่าเทคโนโลยีมี
บทบาทสาคัญตอ่ ระดบั องค์กร หรอื ระดบั ประเทศหรอื ไม่ อย่างไร
(แนวคาตอบ มี เนอ่ื งจากทาให้มรี ะบบออนไลน์ใช้งาน มีใบขับขีอ่ ิเล็กทรอนิกส์)

ขั้นสอน (30 นาที)

1. ครอู ธบิ ายเนอ้ื หาเรอื่ งการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ในหนงั สือเรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3 บริษัท อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. หน้า 59-60

2. ครูสนทนาและถามนกั เรียนว่า ปจั จบุ ันเทคโนโลยีเขา้ มีบาทในทุกดา้ นยกตัวอยา่ ง เชน่ ร้านคา้ ตอ้ งมกี าร
ปรับตวั การให้บริการแบบออนไลน์ ในฐานะลูกค้าหากตอ้ งการซอื้ สนิ คา้ ออนไลน์ นักเรียนจะประเมินความ
นา่ เชอ่ื ถอื ของรา้ นค้าอยา่ งไร
(แนวคาตอบ รา้ นทีม่ ีรวี วิ เยอะ ร้านค้าทีม่ ีชอื่ เสยี ง)

3. ครูถามต่อว่าในการซอ้ื สินคา้ ออนไลนใ์ นข้ันตอนการชาระเงนิ คา่ สินค้า นอกจากตอ้ งประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื
ของร้านค้า นักเรียนจะมวี ธิ ีการทาธุรกรรมออนไลน์หรอื โอนเงนิ คา่ สินค้าอยา่ งไรให้ปลอดภัย
(แนวคาตอบ โอนเงนิ ผา่ นอุปกรณ์ตนเองเทา่ น้ัน ไม่ใช้ Wi-Fi สาธารณะ ใช้บริการร้านคา้ ที่นา่ เชอื่ ถือ)

4. ครูอธิบายเนือ้ หาเรอ่ื งการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยในหนังสอื เรียนวชิ า เทคโนโลยี
(วิทยาการคานวณ) ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. หน้า 62 - 63 การทาธรุ กรรม
ออนไลน์ และหนา้ 64 – 65 การซอ้ื สนิ คา้ ออนไลน์

5. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝกึ Exercise ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หน้า 39 ข้อ 1 – 3
เพือ่ ตรวจสอบความเข้าใจ เรอ่ื ง การทาธุรกรรมออนไลนอ์ ย่างปลอดภัย

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 42

ช่วั โมงท่ี 2

ข้นั สอน (50 นาที)

6. ครูทบทวนเนือ้ หาจากชัว่ โมงทีแ่ ลว้ นักเรยี นไดเ้ รียนร้กู ารทาธุรกรรมออนไลน์อยา่ งปลอดภยั ในชว่ั โมงน้ีครใู ห้
นกั เรยี นจับค่กู ัน จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นแต่ละคนเขยี นชอ่ื สินคา้ ทนี่ กั เรียนสนใจ 1 อย่าง และนาหวั ขอ้ นน้ั แลกกนั
กับค่ขู องตนเอง

7. ครใู หแ้ ตล่ ะคนค้นหาร้านคา้ ออนไลนท์ ีข่ ายสินค้าตามหวั ขอ้ ท่ีไดร้ ับจากค่ขู องตนเอง และเลอื กหารา้ นคา้ ท่ี
นา่ เชอ่ื ถอื มากทส่ี ดุ จานวน 3 รา้ นคา้

8. ครใู ห้นกั เรยี นบนั ทกึ ผลการทากิจกรรมลงในใบงานท่ี 3.1.1 เรอ่ื ง การซอื้ สินคา้ ออนไลน์อยา่ งปลอดภัย
9. ครสู ุ่มนักเรียน 5 – 6 คน นาเสนอใบงานท่ี 3.1.1 เรอ่ื ง การซอ้ื สินค้าออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั เพอื่ แลกเปลย่ี น

ความคดิ เห็นรว่ มกัน
10. ครูถามนักเรียนวา่ จากการค้นหาร้านค้านักเรยี นมวี ธิ ีการประเมินความน่าเชอ่ื ถือร้านคา้ อย่างไร

(แนวคาตอบ เลอื กซือ้ เว็บไซตท์ ี่ข้นึ ต้นด้วย https//: เทา่ น้ัน อ่านรีววิ กอ่ นสง่ั ซือ้ สารวจราคาตลาดก่อน
สัง่ ซ้อื )

ชัว่ โมงที่ 3

ขนั้ สอน (40 นาที)

11. ครสู อบถามนกั เรียนว่าจากคาบทแ่ี ล้วในการประเมินความนา่ เชอ่ื ถือของร้านค้า นกั เรยี นพบว่าร้านคา้ ที่ดี
น่าเชอื่ ถอื ควรมลี กั ษณะอย่างไรบ้าง
(แนวคาตอบ คาอธบิ ายสนิ ค้าถกู ตอ้ งไม่เกินจริง ไมเ่ ปดิ เผยข้อมูลส่วนตวั ลูกคา้ ในการรวี วิ สินคา้ ไมน่ าขอ้ มูล
ส่วนตวั ลกู ค้าไปเผยแพร่ )

12. ครอู ธบิ ายว่าในปจั จุบนั การซ้ือของออนไลนต์ ามเว็บไซต์ต้องมบี ัญชีผใู้ ช้ก่อนจงึ จะสามารถทาการสงั่ ซื้อ สินค้า
ได้
13. ครูถามนกั เรยี นวา่ โดยปกติเวลาใชง้ านเว็บไซต์เหลา่ นส้ี ามารถสมัครบญั ชีผใู้ ช้ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง

(แนวคาตอบ ลงชอ่ื เข้าใช้ดว้ ย Facebook ลงชื่อเขา้ ใช้ดว้ ย Google สมัครบญั ชผี ใู้ ชด้ ว้ ยอเี มล)
14. ครูอธิบายว่าในขน้ั ตอนการลงชอ่ื เข้าใชง้ านเวบ็ ไซตด์ ว้ ยบัญชี Facebook หรอื บัญชี Google เว็บไซตจ์ ะ

เรียกขอสทิ ธิ์ในการเข้าถงึ ขอ้ มลู สว่ นตวั บัญชี Facebook หรือ Google ของเราซึ่งอาจสง่ ผลตอ่ การนาข้อมลู
ไปใชแ้ ละสง่ ผลเสยี ได้ ดงั นนั้ นอกจากการประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ของร้านคา้ ออนไลนแ์ ลว้ ยังมีสว่ นอน่ื ที่
ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งระมัดระวัง
15. ครูอธบิ ายเน้อื หาเรอ่ื งการใชง้ านเทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งมีความรับผดิ ชอบในหนงั สอื เรียนวิชา
เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 บรษิ ัท อกั ษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 66-67
16. ครใู ห้นกั เรยี นถามคาถามนักเรยี นโดยใหม้ ีสถานการณ์ “หากนกั เรียนเป็นเจ้าของรา้ นค้ารบั สกรีนลายเสอื้
และมีลูกค้าติดตอ่ มาใหผ้ ลิตเสือ้ รูปการ์ตูนทตี่ นเองไมไ่ ดเ้ ปน็ เจ้าของลขิ สทิ ธผ์ิ ลงาน นักเรียนจะมวี ธิ กี าร
รับมอื กบั ลูกคา้ อย่างไร เชน่ ข้อมลู ท่ีเป็นสว่ นตัวของลูกค้า ความถูกต้องของขอ้ มูลสินคา้ กรรมสิทธิ์ และ
ดา้ นอนื่ พรอ้ มบอกเหตผุ ล” จากนน้ั ครสู มุ่ นักเรยี น 4 – 5 คน ตอบคาถาม

แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 43

17. ครูถามนักเรยี นวา่ จากสถานการณ์ขา้ งต้น ในมุมมองนกั เรยี นผบู้ รโิ ภคและผขู้ าย ควรมีความรบั ผิดชอบตอ่
กันอยา่ งไรบา้ ง
(แนวคาตอบ ผบู้ ริโภคไม่จองสินค้าแลว้ ไม่ซื้อ ไม่ควรส่งั สนิ คา้ ทีท่ รพั ยส์ นิ ทางปัญญา ผู้ขายจะตอ้ งคานงึ ถงึ
เรอื่ งลขิ สิทธคิ์ วรศึกษากฎหมายเก่ยี วกับลขิ สิทธใ์ิ หด้ ี ความถกู ต้องของข้อมลู สนิ ค้า)

18. ครูให้นกั เรียนทาแบบฝึก Exercise ในหนังสอื แบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 40 – 41
ข้อ 4 – 5 เพอ่ื ตรวจสอบความเข้าใจ

ข้ันสรุป (10 นาท)ี

1. ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกันสรปุ นอกจากเราจะตอ้ งระวงั การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศให้ปลอดภยั กบั ตวั เรา
แลว้ ยังตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบต่อตนเองและผู้อน่ื ด้วย โดยเคารพความเป็นสว่ นตัว คานงึ ถึงความถูกตอ้ งแมน่ ยา
ของข้อมลู การเปน็ เจ้าของ และการเข้าถึงขอ้ มูลท่ไี ม่ไดร้ ับอนญุ าต

แผนการจดั การเรยี นรู้ วิชาวิทยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 44

เรื่องท่ี 2 : กฎหมายคอมพิวเตอร์และลิขสิทธิ์ เวลา 4 ชัว่ โมง

วธิ กี ารสอนแบบการอภิปราย

วิธกี ารสอนแบบกระบวนการกล่มุ

ขัน้ นา (10 นาท)ี

1. ครูถามนกั เรียนวา่ จากคาบทผ่ี า่ นมาในการการทาธรุ กรรมทางการเงิน หรือซอ้ื ของออนไลน์นักเรยี น
ควรระมดั ระวังด้านใดอกี บ้าง
(แนวคาตอบ ขอ้ มลู สว่ นตวั ลขิ สิทธผ์ิ ลงาน)
2. ครถู ามนักเรยี นว่าจากคาบท่ีแลว้ เรอ่ื งการประเมนิ ความน่าเชอื่ ถือของร้านค้าออนไลน์ หากนกั เรียน
ทาการส่งั ซ้ือสนิ ค้าออนไลนไ์ ป แต่ไมไ่ ด้รบั สินค้า หรอื ไดร้ บั สนิ คา้ ท่ีไมต่ รงตามคาอธบิ าย หรอื สินคา้ ไมม่ คี ณุ ภาพ
นักเรยี นจะแกป้ ัญหาอยา่ งไร
(แนวคาตอบ ปริน้ ทห์ ลักฐานทีม่ เี กยี่ วกับร้านคา้ สินคา้ และการโอนเงนิ ทัง้ หมดและไปแจ้งตารวจ)

ขนั้ สอน (40 นาท)ี

1. ครใู ห้นักเรียนแบง่ กลุม่ 3 – 4 คน จากน้ันแตล่ ะกล่มุ ศึกษาเนอ้ื หาในหนังสอื เรยี นวชิ า เทคโนโลยี (วทิ ยาการ
คานวณ) ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หนา้ 68 – 70 หัวขอ้ “กฎหมายคอมพวิ เตอร”์
โดยใหแ้ ตล่ ะกลุม่ เลอื กหวั ข้อกฏหมายตามพระราชบัญญตั วิ า่ ด้วยการกระทาความผิดเกย่ี วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั
ที่ 2) พ.ศ.2560 และคน้ หาเพ่มิ เตมิ จากอนิ เทอรเ์ น็ต จากนั้นให้สมาชกิ ในกลุ่มสรปุ ใหเ้ พื่อนในกลมุ่ ฟงั
2. ครใู หน้ ักเรยี นทาแบบฝึก Exercise ในหนังสือแบบฝกึ หดั เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) หนา้ 42 – 43 เพอื่
ตรวจสอบความเขา้ ใจ

ชั่วโมงท่ี 2

ขน้ั ส4อ.น (50 นาท)ี

3. จากชั่วโมงทผี่ ่านมา ครูใหน้ ักเรียนแบง่ กล่มุ 3 – 4 คน และแบ่งหวั ขอ้ กันศึกษา“กฎหมายคอมพิวเตอร”์ ใน
ชั่วโมงน้ีครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มศกึ ษาเน้อื หาในหนังสอื เรียนวชิ า เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ช้ันมธั ยมศึกษา
ปีที่ 3 บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. หน้า 71 – 73 หวั ขอ้ “ลขิ สทิ ธ”ิ์ และคน้ หาเพ่มิ เติมจากอินเทอรเ์ นต็
จากนนั้ ให้สมาชิกในกลมุ่ สรุปให้เพอื่ นในกล่มุ ฟัง
4. ครูใหน้ ักเรียนทาแบบฝึก Exercise ในหนังสือแบบฝึกหัด เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) หนา้ 44 – 45 เพอ่ื
ตรวจสอบความเขา้ ใจ
5. จากน้นั ครูให้นักเรยี นแต่ละกลมุ่ ทาใบงานท่ี 3.2.1 เรอ่ื ง ใครมีความผดิ และเตรียมตวั นาเสนอในชวั่ โมงถดั ไป

แผนการจัดการเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 45

ชัว่ โมงท่ี 3

ขั้นส3อ.น (50 นาที)

6. ครใู ห้นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มออกมานาเสนอแนวคดิ ของกลมุ่ ตนเอง ตรงตามความผดิ ในมาตราทศ่ี ึกษาหรอื ไม่
อย่างไร
7. ครใู หน้ กั เรยี นชว่ ยกันสรปุ แนวคดิ จากคาตอบของกลมุ่ อน่ื
8. จากนั้นครูให้แตล่ ะกลุ่มรว่ มกันวางแผนในการทากิจกรรม Activity ในหนังสอื แบบฝกึ หดั เทคโนโลยี
(วทิ ยาการคานวณ) หน้า 46 – 47 ถ้าเกดิ มีข้อสงสัยสามารถสอบถามครูผสู้ อนได้
9. จากน้ันให้นักเรยี นแต่ลงมปี ฏบิ ัตติ ามท่วี างแผนไว้ พรอ้ มเตรียมนาเสนอในชวั่ โมงถัดไป

ชวั่ โมงท่ี 4

ข้นั ส3อ.น (40 นาท)ี

10. ครูใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกล่มุ ออกมานาเสนอกจิ กรรม Activity
11. ครซู กั ถามกลมุ่ ท่นี าเสนอ เพอ่ื ตรวจสอบความเขา้ ใจและความถูกตอ้ งของขอ้ มูล พร้อมท้ังเสนอแนะเพม่ิ เติม

ข้ันสรปุ (10 นาที)

1. ครใู ห้และนักเรยี นรว่ มกันสรปุ เนอื้ หาและความสัมพนั ธเ์ กย่ี วกบั การใชง้ านเทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ ง
ปลอดภยั มคี วามรบั ผดิ ชอบ ปฏบิ ัตติ ามกฎหมายเก่ียวกบั คอมพวิ เตอร์ และใช้ลิขสิทธขิ์ องผอู้ ่ืนโดยชอบธรรม

8. สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้

8.1 สือ่ การเรยี นรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3
เรอ่ื ง เทคโนโลยสี ารสนเทศ
2. หนงั สือแบบฝึกหดั รายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.3
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง เทคโนโลยสี ารสนเทศ
3. ใบงานท่ี 3.1.1 เรอ่ื ง การซื้อสนิ คา้ ออนไลนอ์ ย่างปลอดภยั
4. ใบงานท่ี 3.2.1 เรอื่ ง ใครมีความผดิ

8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอรเ์ นต็

แผนการจดั การเรยี นรู้ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ม.๓ หนา้ 46


Click to View FlipBook Version