13. นักเรยี นทำกจิ กรรมทส่ี อดคล้องกับเน้ือหา โดยให้ผู้เรยี นฝกึ ปฏบิ ตั เิ พ่อื พฒั นาความรู้และทกั ษะ
(Design Activity) จากหนังสือเรยี นและบนั ทกึ ลงในสมุดประจำตวั
ข้ันท่ี 5 สรุปและประเมนิ คา่ ของคำตอบ
14. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้องของข้อมูล
15. ครูทบทวนคำถามกระตุน้ ความคดิ ของนักเรียนว่า“นักเรยี นคดิ ว่า เทคโนโลยีมีผลกระทบ
ต่อชวี ิตประจำวันอยา่ งไรบ้าง”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขึน้ อยกู่ ับดลุ ยพินิจของครูผูส้ อน เชน่ เทคโนโลยเี อื้ออำนวย
ความสะดวกให้แก่มนษุ ย์ในหลาย ๆ ด้าน ไมว่ า่ จะเป็น ด้านการส่อื สาร ด้านการคมนาคม
ดา้ นการศึกษา หรือดา้ นการแพทย)์
ขน้ั ท่ี 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
16. นักเรียนแตล่ ะกลุม่ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอข้อมลู บรเิ วณหนา้ ชัน้ เรียน โดยครผู ู้สอน
ประเมนิ ผลงานการนำเสนอของนกั เรียนแตล่ ะกลุม่
ขั้นสรุป
1. ครูประเมนิ ผลโดยการสงั เกตการตอบคำถาม และการนำเสนอผลงานของนักเรยี น
2. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปความรู้เก่ยี วกับระดับของเทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นการแกป้ ัญหา
และปัจจยั ที่ใช้ในการตัดสินใจเลือกเทคโนโลยี
3. นกั เรยี นแตล่ ะคนทำแบบฝกึ หัด (Unit Activity) ทบทวนความรู้ ความเขา้ ใจ และพฒั นาทกั ษะ
การคดิ ของผเู้ รยี น โดยการตอบคำถามลงในสมุดประจำตวั
4. นักเรยี นตรวจสอบระดับความสามารถของตนเองจากหนังสอื เรยี น โดยพิจารณาขอ้ ความว่า
ถูกหรอื ผดิ หากนักเรียนพิจารณาไม่ถกู ต้องให้นักเรยี นกลบั ไปทบทวนเน้อื หาตามหวั ขอ้ ที่
กำหนดให้
5. ครมู อบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรม High Oder Thinking ทส่ี อดคลอ้ งกบั ตัวชว้ี ดั ตามทักษะ
แห่งศตวรรษท่ี 21 จากแบบฝึกหัดและทำชิน้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด) เร่ือง ปัญหาท่ีเกิดข้ึน
ในชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ เป็นการบ้านและนำมาส่งในช่วั โมงถดั ไป
6. นักเรยี นทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2 เรือ่ ง เทคโนโลยกี ับการพัฒนางาน
อาชีพภายในชุมชนหรือท้องถิ่น หรอื ทำแบบทดสอบ (Unit Test) จากแบบฝึกหดั
7. การวัดและประเมนิ ผล วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมนิ
รายการวัด
- ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝกึ หดั รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
7.1 การประเมนิ ระหว่างการ
จดั กจิ กรรม - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
1) การใชเ้ ทคโนโลยี ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
ในการแก้ปัญหา - สังเกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
2) การนำเสนอผลงาน การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
- สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
3) พฤติกรรมการทำงาน การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุม่ ผา่ นเกณฑ์
รายบคุ คล
4) พฤติกรรมการทำงาน
กลมุ่
5) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
คณุ ลักษณะ ผ่านเกณฑ์
อนั พึงประสงค์ ความรับผิดชอบ อันพึงประสงค์
ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ใฝเ่ รยี นรู้ และมุ่งม่นั - แบบทดสอบหลังเรยี น
ในการทำงาน
7.2 การประเมนิ หลังเรียน
1) แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ
หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 หลงั เรียน
เรอ่ื ง เทคโนโลยกี ับ
การพัฒนางานอาชีพ - ตรวจชิ้นงาน/ - แบบประเมินชิน้ งาน/ ระดบั คุณภาพ 2
ภายในชุมชนหรอื ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ผา่ นเกณฑ์
ทอ้ งถนิ่
2) การประเมนิ ช้ินงาน/
ภาระงาน (รวบยอด)
เรือ่ ง ปัญหาที่เกดิ ข้นึ
ในชุมชนหรือทอ้ งถิ่น
8. ส่อื /แหล่งการเรยี นรู้
8.1 สอื่ การเรยี นรู้
1) หนังสือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2
เรือ่ ง เทคโนโลยีกบั การพัฒนางานอาชีพภายในชุมชนหรือท้องถน่ิ
2) แบบฝึกหดั รายวชิ าพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2
เรอ่ื ง เทคโนโลยีกบั การพฒั นางานอาชพี ภายในชุมชนหรือท้องถ่นิ
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) หอ้ งคอมพิวเตอร์
2) อินเทอร์เนต็
ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เร่อื ง ปญั หาทเี่ กิดขึ้นในชุมชนหรอื ท้องถิน่
คำชี้แจง : ให้นักเรียนสำรวจปัญหาทีเ่ กิดขึ้นในชมุ ชนหรือทอ้ งถน่ิ ทีน่ กั เรยี นอาศัยอยู่ พร้อมบอกวิธีการสำรวจ
ปญั หาท่ีเหมาะสมกับปัญหานนั้ และแนวทางการแก้ไขปัญหามาพอสงั เขป
ประเภทของปัญหา วิธกี ารสำรวจปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหา
ปญั หาดา้ นเศรษฐกจิ
ปญั หาดา้ นสังคม
ปญั หาดา้ นวัฒนธรรม
ปญั หาดา้ นส่ิงแวดล้อม
ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เฉลย
เรื่อง ปญั หาทเ่ี กิดขึน้ ในชุมชนหรอื ท้องถนิ่
คำชแ้ี จง : ให้นกั เรยี นสำรวจปัญหาทเี่ กิดขึ้นในชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ ท่ีนกั เรยี นอาศัยอยู่ พร้อมบอกวธิ ีการสำรวจ
ปัญหาที่เหมาะสมกับปญั หานนั้ และแนวทางการแก้ไขปัญหามาพอสงั เขป
ประเภทของปัญหา วธิ ีการสำรวจปญั หา แนวทางการแกไ้ ขปญั หา
ปญั หาด้านเศรษฐกิจ - สำรวจจากการสงั เกต การสร้างเข่ือน ฝาย อา่ งเกบ็ น้ำ เพ่อื กกั เก็บ
- ปัญหาภยั แลง้ - สำรวจจากการสมั ภาษณ์ นำ้ ไวใ้ ช้ในหนา้ แล้ง ทำใหเ้ กษตรกรสามารถ
ทำการผลิตได้อยา่ งตอ่ เน่ืองทดแทนระบบ
ชลประทานท่ไี มเ่ พียงพอ
ปัญหาดา้ นสงั คม - สำรวจจากการสมั ภาษณ์ การใชส้ อ่ื โซเชียลมีเดียหรือเครอื ขา่ ยสังคม
ออนไลน์เปน็ ชอ่ งทางในการโฆษณาสินคา้
- ปัญหาการขายสินคา้ ภายในชุมชน - สำรวจจากแบบสอบถาม หรือขายสินคา้ เช่น Facebook Line
Instagram
- สำรวจจากเอกสาร ตำรา
และฐานข้อมูล
ปัญหาดา้ นวฒั นธรรม - สำรวจจากการสมั ภาษณ์ การใชเ้ ทคโนโลยีฟรซี ดรายในการแปรรูป
- ปญั หาการส่งออกอาหารพ้ืนบา้ น - สำรวจจากการสังเกต ผลผลติ เพอ่ื ยืดอายุการเกบ็ รักษา และ
- สำรวจจากเอกสาร ตำรา ชะลอการเน่าเสีย ช่วยถนอมอาหารโดยยัง
รกั ษาคุณคา่ ทางโภชนาการไว้
และฐานข้อมูล
ปญั หาด้านส่งิ แวดล้อม - สำรวจจากการสมั ภาษณ์ การใช้เครอ่ื งจกั รท่ีมปี ระสทิ ธิภาพสูงในการ
- ปญั หาการเผาตอซังขา้ ว - สำรวจจากการสงั เกต ไถกลบ เชน่ รถแทรกเตอร์ หรอื ใชจ้ ลุ ินทรยี ์
เร่งการย่อยสลายตอซงั ในนาข้าวหลงั
เก็บเกย่ี ว
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบุคคล
คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤตกิ รรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ ง
ทตี่ รงกับระดบั คะแนน
ลำดับที่ รายการประเมนิ ระดบั คะแนน 1
32
1 การแสดงความคดิ เหน็
2 การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผอู้ นื่
3 การทำงานตามหน้าท่ีที่ได้รับมอบหมาย
4 ความมนี ำ้ ใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมนิ
ปฏบิ ัตหิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............/.................../................
ปฏบิ ตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบ่อยครง้ั
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สนิ คุณภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
คำชแ้ี จง : ให้ผู้สอนสงั เกตพฤตกิ รรมของนกั เรียนในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่อง
ท่ตี รงกบั ระดับคะแนน
การมี
ชื่อ–สกลุ การแสดง การยอมรับ การทำงาน ความมี สว่ นรว่ มใน รวม
ของนกั เรยี น ความ ฟังคนอ่นื ตามที่ไดร้ บั นำ้ ใจ การ 15
คิดเห็น มอบหมาย คะแนน
ลำดบั ที่ ปรบั ปรุง
ผลงานกลุ่ม
32132 32132 321
11
เกณฑ์การให้คะแนน ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน
ปฏบิ ตั ิหรอื แสดงพฤติกรรมอย่างสมำ่ เสมอ ............./.................../...............
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง
ปฏิบัตหิ รอื แสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพ
ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรงุ
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
คำชีแ้ จง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤตกิ รรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่องที่
ตรงกับระดบั คะแนน
ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดับคะแนน 1
32
1 ความถูกต้องของเนื้อหา
2 ความคิดสร้างสรรค์
3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใชป้ ระโยชน์
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงชอ่ื ................................................... ผปู้ ระเมนิ
............/................./...................
เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤติกรรมสอดคล้องกบั รายการประเมินสมบรู ณช์ ดั เจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมนิ เป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางส่วน
เกณฑก์ ารตัดสนิ คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
14–15 ดมี าก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตำ่ กว่า 8 ปรบั ปรงุ
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำช้ีแจง : ให้ผสู้ อนสังเกตพฤตกิ รรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรยี น แล้วขีด ✓ลงในช่อง
ท่ีตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พงึ ประสงคด์ า้ น 32 1
1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และรอ้ งเพลงชาติได้
กษตั รยิ ์ 1.2 เขา้ รว่ มกิจกรรมท่ีสรา้ งความสามัคคีปรองดอง และเปน็ ประโยชนต์ อ่
โรงเรยี น
1.3 เขา้ ร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบตั ิตามหลกั ศาสนา
1.4 เข้ารว่ มกิจกรรมทเ่ี กย่ี วกับสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ตามทีโ่ รงเรยี นจัดขึน้
2. ซ่อื สัตย์ สจุ ริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้องและเป็นจริง
2.2 ปฏบิ ัตใิ นสิ่งทีถ่ ูกตอ้ ง
3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏบิ ตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว
มคี วามตรงตอ่ เวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ งๆ ในชวี ิตประจำวนั
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รูจ้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ปน็ ประโยชน์ และนำไปปฏิบัติได้
4.2 รจู้ กั จัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เช่ือฟงั คำสั่งสอนของบดิ า-มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อย่อู ย่างพอเพยี ง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสงิ่ ของของโรงเรียนอยา่ งประหยัด
5.2 ใชอ้ ุปกรณ์การเรียนอยา่ งประหยัดและร้คู ุณคา่
5.3 ใชจ้ ่ายอย่างประหยดั และมีการเกบ็ ออมเงิน
6. มุ่งมัน่ ในการทำงาน 6.1 มคี วามตัง้ ใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไมท่ อ้ แท้ตอ่ อปุ สรรคเพ่อื ใหง้ านสำเร็จ
7. รกั ความเป็นไทย 7.1 มีจติ สำนึกในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รูจ้ กั ชว่ ยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน
8.2 ร้จู กั การดแู ลรกั ษาทรัพยส์ มบตั แิ ละสิ่งแวดลอ้ มของห้องเรียนและ
โรงเรียน
ลงชอ่ื ..................................................ผ้ปู ระเมิน
............/.................../................
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤตกิ รรมทีป่ ฏบิ ตั ชิ ดั เจนและสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
51–60 ดีมาก
พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบัตชิ ดั เจนและบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน 41–50 ดี
30–40 พอใช้
พฤตกิ รรมที่ปฏบิ ตั ิบางคร้งั ให้ 1 คะแนน ต่ำกว่า 30 ปรับปรุง
ว 4.1 ม.3/2 แบบประเมินชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ม.3/3
ระบุปญั หาหรือความต้องการของชมุ ชนหรอื ทอ้ งถนิ่ เพื่อพัฒนางานอาชพี
สรุปกรอบของปญั หา รวบรวม วิเคราะห์ข้อมลู และแนวคิดทเ่ี กีย่ วข้องกบั ปัญหา
โดยคำนึงถงึ ความถูกตอ้ งดา้ นทรพั ยส์ นิ ทางปัญญา
ออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา โดยวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ และตัดสนิ ใจเลือกขอ้ มลู
ทีจ่ ำเป็นภายใตเ้ งื่อนไขและทรพั ยากรที่มอี ยู่ นำเสนอแนวทางการแกป้ ญั หาให้ผู้อื่น
เข้าใจด้วยเทคนิคหรือวธิ กี ารท่ีหลากหลาย วางแผนขั้นตอนการทำงานและ
ดำเนินการแกป้ ัญหาอย่างเป็นขน้ั ตอน
รายการ เกณฑก์ ารประเมิน (ระดับคุณภาพ) ระดับ
ประเมิน คณุ ภาพ
ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรบั ปรุง (1)
1. ปัญหาทีเ่ กดิ ขน้ึ ใน ดมี าก
ชมุ ชนหรือทอ้ งถน่ิ สามารถคดั เลือกปัญหาที่ สามารถคัดเลือกปญั หา สามารถคัดเลอื กปัญหา ไมส่ ามารถคดั เลือก
เกิดขึ้นในชมุ ชนหรอื ปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ใน ดี
2. บอกวิธีการสำรวจ ท้องถ่นิ ไดเ้ หมาะสม ทเ่ี กิดข้ึนในชมุ ชนหรือ ท่เี กิดขนึ้ ในชมุ ชนหรอื ชมุ ชนหรือทอ้ งถิ่นได้
ปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ใน ดีมาก พอใช้
ชุมชนหรือทอ้ งถนิ่ สามารถเลือกใชว้ ธิ กี าร ทอ้ งถนิ่ ได้ดี ท้องถิน่ ไดค้ อ่ นขา้ งดี ไม่สามารถเลือกใช้
สำรวจปญั หาทีเ่ กดิ ข้นึ ใน วธิ ีการสำรวจปัญหาท่ี ปรบั ปรุง
3. แนวทางการแก้ไข ชุมชนหรือทอ้ งถนิ่ ได้ สามารถเลือกใช้วธิ ีการ สามารถเลือกใช้วิธีการ เกดิ ขน้ึ ในชมุ ชนหรอื
ปญั หา เหมาะสม ดมี าก สำรวจปญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ สำรวจปญั หาทีเ่ กดิ ขึน้ ท้องถ่นิ ได้
สามารถบอกแนวทาง ในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถิ่นได้ ในชุมชนหรอื ทอ้ งถนิ่ ได้ ไมส่ ามารถบอกแนวทาง
4. ความสมบรู ณข์ อง การแกไ้ ขปญั หาท่ีเกดิ ขน้ึ ดี ค่อนข้างดี การแกไ้ ขปัญหาที่
ผลงาน ในชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ ได้ สามารถบอกแนวทาง สามารถบอกแนวทาง เกดิ ข้ึนในชุมชนหรือ
เหมาะสมดมี าก การแกไ้ ขปัญหาที่ การแกไ้ ขปัญหาที่ ท้องถ่ินได้
5. ส่งงานตรงเวลา ผลงานมคี วามครบถว้ น เกดิ ข้ึนในชุมชนหรือ เกิดขน้ึ ในชุมชนหรอื ผลงานมคี วามครบถ้วน
สมบรู ณ์ดมี าก ทอ้ งถ่ินไดด้ ี ทอ้ งถ่นิ ไดค้ อ่ นขา้ งดี สมบรู ณ์น้อย
ส่งภาระงานภายในเวลา ผลงานมีความครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถ้วน ส่งภาระงานชา้ กว่า
ทกี่ ำหนด สมบรู ณ์คอ่ นข้างดี สมบรู ณ์ดเี ป็นบางส่วน กำหนดเกนิ 3 วนั ขน้ึ ไป
ส่งภาระงานช้ากวา่ สง่ ภาระงานชา้ กว่า
กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วัน
เกณฑ์การตัดสนิ คณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
16-20 ดีมาก
10-15 ดี
7-9 พอใช้
1-6 ปรับปรุง
แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่ 6
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวชิ า ว23182 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 ช่อื หน่วย วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรูใ้ นการแก้ปัญหา เวลา 4 ช่ัวโมง
แผนการจดั การเรยี นรูท้ ี่ 6 เรอื่ ง ความรเู้ กี่ยวกับวสั ดสุ ำหรับการพัฒนาช้ินงาน เวลา 1 ชั่วโมง
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ครผู สู้ อน นายกรกฎ เกษมสนิ ธ์ุ
1. มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด
1.1 ตวั ช้ีวัด
ว 4.1 ม.3/5 ใชค้ วามรู้ และทักษะเก่ียวกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์
ให้ถูกต้องกับลกั ษณะของงาน และปลอดภยั เพ่ือแกป้ ญั หาหรือพฒั นางาน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของวสั ดุและประเภทของวสั ดไุ ด้ (K)
2. พจิ ารณาสมบัติของวัสดใุ ห้ตรงกับวัตถปุ ระสงคท์ ่ีต้องการ (K)
3. ยกตัวอยา่ งวัสดทุ ่ีใชส้ ำหรบั การพฒั นาชน้ิ งานได้ (P)
3. เห็นประโยชนข์ องวสั ดทุ ีใ่ ช้ในการพัฒนาช้ินงาน (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- วัสดแุ ต่ละประเภทมสี มบตั ิแตกต่างกัน เช่น ไม้ โลหะ พจิ ารณาตามหลกั สตู รของสถานศกึ ษา
พลาสติก เซรามิก จึงต้องมีการวเิ คราะห์สมบัตเิ พื่อ
เลือกใช้ให้เหมาะสมกับลกั ษณะของงาน
4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
วสั ดุ หมายถึง สิง่ ของหรือวัตถุท่ีนำมาใชป้ ระกอบกันเป็นชิน้ งานตามการออกแบบ เปน็ วัตถุ
ที่สามารถสัมผัสได้ และมสี มบัติเฉพาะตัวทางฟิสิกส์ ทางเคมี ทางไฟฟ้า หรือสมบัตเิ ชิงกลแตกต่างกนั ไป
โดยวสั ดุแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื โลหะและอโลหะ โดยการเลอื กใช้วัสดุควรพิจารณาจากสมบตั ขิ องวสั ดนุ ้ัน
ให้ตรงกบั งานท่อี อกแบบหรอื ตามวตั ถุประสงค์ทีต่ ้องการ
5. สมรรถนะสำคญั ของผ้เู รียนและคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ
2. ใฝ่เรยี นรู้
- ทักษะการสือ่ สาร 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
2. ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- ทักษะการแกป้ ัญหา
- ทกั ษะการสังเกต
- ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานร่วมกัน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กจิ กรรมการเรียนรู้
วิธีการสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชวั่ โมงท่ี 1
ข้นั นำ
ขน้ั ที่ 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1. นกั เรียนทำแบบทดสอบก่อนเรยี น หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 3 เร่ือง วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื
และความรูใ้ นการแก้ปัญหาหรอื พัฒนางาน
2. ครูถามคำถามสำคญั ประจำหัวข้อกบั นักเรียนวา่ “ความรู้เก่ียวกับวัสดมุ ปี ระโยชนต์ อ่ การพัฒนา
ชิ้นงานอยา่ งไร”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนข้ึนอยู่กับดุลยพินจิ ของครูผสู้ อน เชน่ ความรเู้ กย่ี วกบั วัสดุ
จะชว่ ยให้สามารถเลอื กวสั ดุท่ีมรี ะดบั คุณภาพและสมบตั ิทีเ่ หมาะสมกับชน้ิ งานท่ีจะพัฒนา
ซง่ึ เมือ่ เลือกใชว้ สั ดุทเ่ี หมาะสมจะชว่ ยลดค่าใช้จา่ ยและระยะเวลาในการพัฒนาช้นิ งานใหส้ ้ันลง)
ขัน้ สอน
ขั้นท่ี 2 สำรวจคน้ หา (Exploration)
1. นกั เรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม เพือ่ สืบค้นความหมายและประเภท
ของวัสดุจากอินเทอร์เน็ต
2. นกั เรยี นแตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอเกี่ยวกับความหมายและประเภทของวสั ดุ
บรเิ วณหนา้ ชนั้ เรยี น พร้อมอธิบายรว่ มกับเพื่อนในชนั้ เรยี น
ข้ันท่ี 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
3. นักเรยี นศกึ ษาตวั อย่างวัสดธุ รรมชาตแิ ละวสั ดุสงเคราะห์เพื่อสงั เกตสมบัติเดน่ และลักษณะงาน
ของวสั ดุต่าง ๆ จากหนังสือเรียนรายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 เร่ือง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
หรือเปิดโอกาสให้นักเรียนสบื ค้นข้อมูลเพิ่มเติมจากอนิ เทอรเ์ น็ต
4. ครูอธบิ ายกบั นักเรยี นเพ่ือให้นักเรียนเข้าใจมากยง่ิ ขึ้นว่า“การเลือกใช้วสั ดุให้เหมาะสมกับงาน
จะต้องพิจารณาจากสมบัติของวสั ดนุ ั้นให้ตรงกบั งานท่ีออกแบบหรือตามวัตถปุ ระสงค์ท่ตี ้องการ
จากวัสดุต่าง ๆ เช่น การทนต่อความร้อน การนำไฟฟ้า”
5. เปดิ โอกาสให้นักเรียนสืบค้นเก่ียวกับสมบัติของวสั ดุและหลักการเลือกวัสดุจากหนังสือเรียน
หรอื สืบค้นเพิ่มเติมจากอินเทอรเ์ น็ต
ขนั้ ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
6. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามขอ้ สงสยั โดยครูใหค้ วามรู้ในส่วนนน้ั
7. นักเรียนแต่ละกล่มุ สแกน QR code เรือ่ ง คุณภาพของวสั ดุในการสร้างชิ้นงานจากหนังสือเรยี น
8. ครมู อบหมายใหน้ ักเรียนทำใบงานท่ี 3.1.1 เร่ือง สำรวจวสั ดภุ ายในบา้ น และกิจกรรมฝึกทกั ษะ
กระบวนการคดิ และทบทวนเนือ้ หาอยา่ งครบถว้ นตามตัวช้ีวัดจากแบบฝกึ หดั รายวชิ าพื้นฐาน
เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 3 เร่ือง วัสดุ อปุ กรณ์
เคร่อื งมือ และความรใู้ นการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางานเป็นการบา้ นและนำมาสง่ ในชัว่ โมง
ถัดไป
ข้นั สรปุ
ข้นั ท่ี 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลโดยการสังเกตการตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนักเรียน
2. ครูตรวจสอบการทำใบงานที่ 3.1.1 เรื่อง สำรวจวสั ดภุ ายในบ้าน
3. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปเก่ียวกบั วัสดุ ประเภทของวัสดุ สมบัตขิ องวัสดุ และหลกั การ
เลือกวัสดุ
7. การวัดและประเมินผล วิธวี ัด เคร่อื งมอื เกณฑ์การประเมิน
- ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรยี น ประเมินตามสภาพจริง
รายการวัด กอ่ นเรียน
7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น - ใบงานที่ 3.1.1 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- ตรวจใบงานท่ี 3.1.1 - แบบฝกึ หดั ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบฝกึ หัด
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 3 - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
เรอื่ ง วสั ดุ อปุ กรณ์ - ประเมนิ การนำเสนอ การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
เครื่องมือ และความรู้ ผลงาน - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
ในการแก้ปญั หา การทำงานรายบุคคล ผา่ นเกณฑ์
หรือพัฒนางาน - สังเกตพฤตกิ รรม
7.2 การประเมินระหว่างการ การทำงานรายบคุ คล
จัดกจิ กรรม
1) สำรวจวัสดุ
ภายในบ้าน
2) ความรู้เก่ียวกับวัสดุ
สำหรับการพัฒนา
ชิ้นงาน
3) การนำเสนอผลงาน
4) พฤติกรรมการทำงาน
รายบคุ คล
5) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
กลมุ่ การทำงานกลุ่ม
การทำงานกลมุ่ ผา่ นเกณฑ์
6) คุณลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
อันพงึ ประสงค์ ความรับผิดชอบ คุณลกั ษณะ ผ่านเกณฑ์
ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งมน่ั อันพึงประสงค์
ในการทำงาน
8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นรายวชิ าพื้นฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 3
เรื่อง วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแกป้ ญั หาหรือพัฒนางาน
2) แบบฝึกหดั รายวชิ าพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 3
เรื่อง วัสดุ อปุ กรณ์ เครื่องมอื และความรใู้ นการแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน
3) ใบงานท่ี 3.1.1 เร่ือง สำรวจวสั ดภุ ายในบ้าน
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอร์เนต็
ใบงานที่ 3.1.1
เร่อื ง สำรวจวสั ดุภายในบา้ น
คำชีแ้ จง : ใหน้ กั เรยี นสำรวจสิ่งของเคร่อื งใช้ภายในบ้านของตนเองว่ามสี ิ่งของเคร่ืองใช้อะไรบา้ ง
และกรอกข้อมลู ลงในใบงานให้ถูกต้อง
สงิ่ ของเครือ่ งใชใ้ นบ้าน วัสดทุ ีใ่ ช้ สมบตั ิของวสั ดุ
ใบงานที่ 3.1.1 เฉลย
เร่ือง ตรวจสอบวัสดภุ ายในบ้าน
คำชี้แจง : ใหน้ กั เรียนสำรวจสง่ิ ของเครื่องใช้ภายในบ้านของตนเองว่ามีสิง่ ของเคร่ืองใชอ้ ะไรบ้าง
และกรอกข้อมูลลงในใบงานใหถ้ กู ต้อง
สง่ิ ของเคร่อื งใชใ้ นบา้ น วัสดทุ ีใ่ ช้ สมบัติของวัสดุ
โตะ๊ เขียนหนงั สือ ไม้
แก้วนำ้ แกว้ เปน็ วสั ดแุ ขง็ หดและขยายตวั เมอ่ื
ตะกรา้ ผา้ พลาสตกิ มีความชนื้
ตะกรา้ ใสผ่ ลไม้ หวาย มลี ักษณะโปร่งใสและมคี วามเปราะ
มดี ปลอกผลไม้ โลหะ
โคมไฟ ปอสา มีมวลน้อย น้ำหนักเบา ย่อยสลายยาก
เส่ือ กระจูด เป็นฉนวนความร้อนและไฟฟ้าได้ดี
เกา้ อ้ี ไมไ้ ผ่ มีความเหนยี ว แข็งแรง ทนทาน
ยางรถจักรยาน ยางสังเคราะห์ และยืดหยนุ่ ได้ดี
มคี วามแขง็ ผวิ มนั วาว ทนทาน
และเป็นตวั นำไฟฟ้า
มีลักษณะทเ่ี หนียว ทนทาน สามารถ
เกบ็ รกั ษาไดน้ าน
เหนียว ทนทาน ดูดความชนื้ ได้ดี
แข็ง ทนทาน มคี วามเหนียว ยืดหยุ่น
นำ้ หนักเบา และดัดโค้งงอได้
มคี วามทนทานตอ่ การขูดขีด และ
ป้องกนั การผกุ ร่อนได้ดี
แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 7
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหัสวชิ า ว23182 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 ช่ือหน่วย วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความร้ใู นการแก้ปญั หา เวลา 4 ชวั่ โมง
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 7 เรอื่ ง อุปกรณแ์ ละเคร่ืองมือช่างพ้ืนฐานในการแกป้ ัญหาและสร้างชิ้นงาน เวลา 1 ชั่วโมง
ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ครูผ้สู อน นายกรกฎ เกษมสินธุ์
1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
1.1 ตัวชีว้ ัด
ว 4.1 ม.3/5 ใชค้ วามรู้ และทักษะเก่ียวกบั วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์
ใหถ้ ูกต้องกับลกั ษณะของงาน และปลอดภัยเพ่ือแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
2. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. บอกอุปกรณ์และเคร่ืองมือช่างพืน้ ฐานได้ (K)
2. อธบิ ายวิธีการใชง้ านของอุปกรณ์และเคร่ืองมือช่างพ้นื ฐานได้ (K)
3. ใชอ้ ปุ กรณ์และเครอ่ื งมือช่างพื้นฐานได้เหมาะสมกับการทำงาน (P)
4. เห็นประโยชน์ของการใช้อุปกรณแ์ ละเครื่องมือชา่ งพืน้ ฐาน (A)
3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ
พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง
- อปุ กรณแ์ ละเคร่ืองมือในการสรา้ งช้ินงานหรอื พฒั นา
วิธีการมหี ลายประเภท ตอ้ งเลอื กใชใ้ ห้ถูกต้อง
เหมาะสม และปลอดภยั รวมทั้งรู้จักเกบ็ รักษา
4. สาระสำคญั /ความคิดรวบยอด
อุปกรณ์และเคร่อื งมือชา่ งพ้นื ฐานถือว่าเป็นตวั ชว่ ยทสี่ ำคัญในการออกแบบกระบวนการผลติ เช่น
ชว่ ยลดขนั้ ตอนและยน่ ระยะเวลาในการผลติ ซง่ึ การพัฒนาชิน้ งานจำเปน็ ตอ้ งเลือกใช้อุปกรณ์และเครื่องมือ
ทมี่ ีความหลากหลาย โดยตอ้ งเลือกใช้ใหถ้ ูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย รวมทั้งรจู้ ักเกบ็ รักษาอุปกรณ์และ
เครอ่ื งมอื ช่างพ้ืนฐานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพตลอดอายกุ ารใชง้ าน
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียนและคุณลักษณะอนั พึงประสงค์
สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มวี นิ ัย รบั ผิดชอบ
- ทักษะการส่ือสาร 2. ใฝ่เรียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
- ทกั ษะการให้เหตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทกั ษะการแก้ปญั หา
- ทักษะการสงั เกต
- ทักษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทกั ษะการทำงานรว่ มกัน
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Instructional Model)
ชว่ั โมงท่ี 1
ขั้นนำ
ขนั้ ท่ี 1 กระตุน้ ความสนใจ (Engagement)
1. ครูถามคำถามสำคัญประจำหัวข้อกับนักเรยี นว่า“ความรู้เก่ียวกับเคร่ืองมือชา่ งมปี ระโยชน์
ในการแก้ปญั หาและสรา้ งชนิ้ งานอยา่ งไร”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขน้ึ อย่กู ับดลุ ยพนิ จิ ของครูผูส้ อน เชน่ ความรู้เกย่ี วกับ
เครอ่ื งมือชา่ งทำใหช้ ว่ ยใหต้ ัดสินใจในการเลอื กเคร่ืองมือได้เหมาะสมกับวัสดุ อุปกรณท์ ี่
จะใช้งาน ทำให้เกดิ ความสะดวก ปลอดภัย และป้องกนั ความเสยี หายอาจเกิดจากการ
ใช้เครือ่ งมือผดิ วัตถุประสงค์ได้)
2. ครูอธบิ ายกบั นักเรยี นเพอ่ื เชอ่ื มโยงเขา้ สบู่ ทเรียนว่า “การสร้างช้ินงานจำเปน็ ทจี่ ะต้องใช้
อุปกรณ์และเครือ่ งมือช่างในการผลติ โดยต้องเลือกใชใ้ หถ้ ูกตอ้ ง เหมาะสม และปลอดภยั
รวมท้งั จะต้องร้จู กั เก็บรักษาอุปกรณ์และเคร่ืองมือใหใ้ ชง้ านได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพตลอดอายุ
การใชง้ าน”
ข้นั สอน
ขั้นท่ี 2 สำรวจค้นหา (Exploration)
1. นกั เรยี นแบ่งกลุ่ม กล่มุ ละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม เพื่อรว่ มกันตอบคำถามว่า
“นักเรียนรูจ้ ักอปุ กรณ์และเคร่ืองมือชา่ งพืน้ ฐานชนิดใดบา้ ง และอุปกรณ์และเคร่ืองมือชา่ ง
ชนิดน้ันทำอะไร”
2. ครูสุ่มนักเรยี น 2-3 คน ออกมาตอบคำถามบรเิ วณหนา้ ช้ันเรียน
ขน้ั ที่ 3 อธบิ ายความรู้ (Explanation)
3. นักเรียนศึกษาเน้ือหา เร่อื ง อุปกรณ์และเคร่ืองมือชา่ งพนื้ ฐาน จากหนงั สือเรยี นรายวิชา
พืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3 เรื่อง วัสดุ
อปุ กรณ์ เครื่องมอื และความรใู้ นการแกป้ ญั หาหรอื พัฒนางาน
4. ครูอธบิ ายกบั นักเรียนเพ่ือให้นักเรยี นเข้าใจมากยง่ิ ขนึ้ ว่า “อุปกรณแ์ ละเครื่องมือชา่ งพน้ื ฐาน
มหี ลายกลุม่ ได้แก่ เครื่องมือกล่มุ ไขควง เครื่องมือกลมุ่ สวา่ น เคร่อื งมือกลุ่มคมี และเคร่ืองมือ
พน้ื ฐานอื่น ๆ”
5. นกั เรยี นศึกษาเนื้อหาเกีย่ วกบั วิธีการเลอื กใช้อุปกรณ์และเครื่องมือชา่ งพ้ืนฐานแตล่ ะชนิด
จากหนงั สอื เรยี น
6. ครูอธิบายเกรด็ เสริมความร้ทู เี่ กี่ยวข้องกับเน้ือหา (Design Focus) เรื่อง ไขควงลองไฟ
7. ครูอธิบายกบั นักเรยี นเพือ่ ให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งข้ึนว่า “การเลือกใช้อุปกรณ์และเคร่ืองมือช่าง
พืน้ ฐานใหเ้ หมาะสมกับการทำงาน เพื่อประสทิ ธภิ าพในการสร้างชนิ้ งาน”
8. นักเรียนศกึ ษาเนื้อหา เรือ่ ง หลกั การเลือกใชแ้ ละการดแู ลรักษาอุปกรณ์และเครื่องมอื ช่าง
พน้ื ฐานจากหนังสือเรียน
ขน้ั ที่ 4 ขยายความเขา้ ใจ (Elaboration)
9. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามขอ้ สงสัย และครูให้ความร้เู พิ่มเตมิ ในส่วนน้ัน
10. ครูมอบหมายให้นักเรียนทำกิจกรรม High Oder Thinking ท่ีสอดคล้องกับตัวชวี้ ดั ตามทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 จากแบบฝึกหัดรายวชิ าพน้ื ฐานเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนางาน
11. ใหน้ กั เรียนแตล่ ะกลุม่ สง่ ตวั แทนออกมานำเสนอคำตอบบริเวณหนา้ ชั้นเรียน
ขั้นสรุป
ขัน้ ที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluation)
1. ครปู ระเมินผลโดยการสังเกตการณต์ อบคำถามและการนำเสนอผลงานของนักเรียน
2. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรปุ ความรู้เกีย่ วกบั อุปกรณ์และเคร่ืองมือชา่ งพนื้ ฐานในการแก้ปัญหา
และการสรา้ งช้ินงาน
7. การวดั และประเมินผล วธิ ีวัด เครือ่ งมือ เกณฑ์การประเมนิ
รายการวัด - ตรวจแบบฝกึ หัด - แบบฝกึ หัด รอ้ ยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
7.1 การประเมินระหวา่ งการ
- ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดับคุณภาพ 2
จดั กจิ กรรม ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
1) อปุ กรณ์และเครือ่ งมอื - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม ระดับคุณภาพ 2
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบคุ คล ผา่ นเกณฑ์
ชา่ งพนื้ ฐานในการ
แกป้ ญั หาและสร้าง
ช้ินงาน
2) การนำเสนอผลงาน
3) พฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล
4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
กลุ่ม การทำงานกลุม่
การทำงานกลมุ่ ผ่านเกณฑ์
5) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมิน ระดบั คุณภาพ 2
อนั พึงประสงค์ ความรบั ผดิ ชอบ คุณลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝเ่ รยี นรู้ และมุง่ มนั่ อันพงึ ประสงค์
ในการทำงาน
8. ส่อื /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 สอื่ การเรียนรู้
1) หนงั สอื เรยี นรายวิชาพ้ืนฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 3
เรอื่ ง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน
2) แบบฝึกหดั รายวิชาพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3
เรอ่ื ง วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื และความรใู้ นการแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) หอ้ งคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอรเ์ นต็
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ 8
รายวิชา เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหสั วิชา ว23182 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 ช่อื หนว่ ย วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรใู้ นการแก้ปัญหา เวลา 4 ชัว่ โมง
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ 8 เรอื่ ง ความรู้ในการแก้ปญั หาหรือพฒั นาชิ้นงาน เวลา 2 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ครูผู้สอน นายกรกฎ เกษมสินธุ์
1. มาตรฐาน/ตัวชี้วดั
1.1 ตวั ชว้ี ดั
ว 4.1 ม.3/5 ใชค้ วามรู้ และทกั ษะเกี่ยวกบั วสั ดุ อปุ กรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และอิเล็กทรอนิกส์
ให้ถกู ต้องกับลกั ษณะของงาน และปลอดภยั เพื่อแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของกลไก ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ได้ (K)
2. อธิบายวงจรไฟฟ้าแตล่ ะรปู แบบได้ (K)
3. ยกตัวอย่างอปุ กรณ์ต่าง ๆ ท่ีอาศยั กลไกสำคัญในการพฒั นาชิน้ งาน (P)
4. เลอื กใชอ้ ุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ี่ทำหนา้ ทีค่ วบคมุ การไหลของกระแสไฟฟ้าได้ (P)
5. ออกแบบชิน้ งานโดยอาศัยความรเู้ กีย่ วกบั กลไก ไฟฟา้ และอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ได้ (P)
6. เห็นประโยชน์ของการใช้ความรใู้ นการแก้ปัญหาหรือพัฒนาชน้ิ งาน (A)
3. สาระการเรียนรู้ สาระการเรียนรทู้ อ้ งถ่นิ
พิจารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง
- การสรา้ งชนิ้ งานอาจใช้ความรู้ เร่อื ง กลไก ไฟฟ้า
อิเล็กทรอนกิ ส์ เช่น LED LDR มอเตอร์ เฟือง คาน
รอก ลอ้ เพลา
4. สาระสำคัญ/ความคดิ รวบยอด
กลไก คือ ส่ิงที่ทำงานประสานสอดคล้องกันเพื่อใหร้ ะบบทำงานได้ เช่น กลไกการย่อยอาหารของ
มนุษย์ กลไกในเครือ่ งยนต์ท่ีทำให้รถเคล่ือนท่ีได้ โดยอาศัยกลไกท่สี ำคัญในการพัฒนาชิ้นงาน ไดแ้ ก่ ล้อและ
เพลา รอก เฟอื งตรง คาน และสปรงิ
ไฟฟ้า คือ พลังงานที่สามารถเปล่ียนพลังงานจากการเคล่ือนทข่ี องอิเล็กทรอนิกสห์ รอื โปรตอน
ที่ก่อให้เกดิ พลงั งานอน่ื ๆ เชน่ แสงสว่าง ความร้อน พลังงานกล สว่ นอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ เป็นการ
ควบคุมหรือออกแบบการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า ซง่ึ มอี ปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ทำหนา้ ท่ี
ควบคมุ การไหลของกระแสไฟฟา้
5. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี นและคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รยี น คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินยั รบั ผิดชอบ
- ทกั ษะการสอื่ สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน
- ทกั ษะการใหเ้ หตุผล
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
- ทักษะการแกป้ ัญหา
- ทกั ษะการสงั เกต
- ทกั ษะการประยุกตใ์ ช้ความรู้
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- ทักษะการทำงานรว่ มกนั
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
- ทักษะการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
6. กิจกรรมการเรยี นรู้
วธิ กี ารสอนโดยเน้นรปู แบบการสอนแบบใชป้ ญั หาเป็นฐาน (Problem-Based Learning)
ช่วั โมงที่ 1
ข้ันนำ
1. ครถู ามคำถามสำคญั ประจำหัวขอ้ เพ่ือกระต้นุ ความสนใจของนักเรียนวา่ “การมีความรู้เก่ียวกับ
ศาสตร์ตา่ ง ๆ ท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการแกป้ ญั หาหรือการพฒั นาช้ินงานมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขน้ึ อยกู่ ับดลุ ยพินจิ ของครูผู้สอน เช่น การมคี วามรูเ้ กย่ี วข้องกบั
ศาสตร์ต่าง ๆ จะทำให้นักพฒั นาสามารถออกแบบและพฒั นาชิน้ งานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ
ถกู ต้อง เหมาะสม ตามกลไก หรอื กระบวนการทำงานต่าง ๆ รวมทงั้ สามารถแกป้ ญั หา
เฉพาะหนา้ ท่ีอาจเกดิ ขนึ้ ขณะปฏบิ ตั งิ าน)
2. ครูอธบิ ายกับนักเรยี นเพือ่ เชือ่ มเช่อื มโยงเขา้ สู่บทเรียนว่า “เทคโนโลยตี า่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ ต้องใช้
กลไก ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์เป็นสว่ นสำคญั ในการสรา้ ง ตัวอย่างเชน่ การเคลื่อนทีข่ องรถ
ตอ้ งอาศัยกลไกของล้อและเพลาชว่ ยให้เคลื่อนทไ่ี ด้ นอกจากนี้ ยังอาศัยระบบไฟฟ้าใน
การขบั เคล่ือนให้ทำงานได้สะดวกและรวดเร็ว”
ข้นั สอน
ขั้นที่ 1 กำหนดปญั หา
1. นักเรียนแบง่ กลุ่ม กลุม่ ละ 3-5 คน หรือตามความเหมาะสม
2. ครถู ามคำถามกระตุน้ ความคิดของนักเรยี นว่า “นกั เรยี นรู้หรอื ไม่ว่า ถ้านักเรียนต้องการ
แก้ปัญหาหรือพฒั นาช้นิ งาน นักเรียนจำเปน็ ตอ้ งมีความรูใ้ นเรื่องใดบ้าง”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนข้ึนอย่กู ับดุลยพินจิ ของครูผู้สอน)
ขั้นที่ 2 ทำความเขา้ ใจปญั หา
3. นักเรยี นศึกษาเน้ือหาเก่ียวกับกลไกทีส่ ำคัญในการพัฒนาชน้ิ งานจากหนงั สอื เรยี นรายวิชา
พนื้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 3 เรื่อง วัสดุ
อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื และความรใู้ นการแกป้ ัญหาหรอื พัฒนางาน ดังนี้
1) ลอ้ และเพลา
2) รอก
3) เฟอื งตรง
4) คาน
5) สปริง
ขน้ั ท่ี 3 ดำเนินการศึกษาค้นคว้า
4. นักเรยี นแต่ละกลุ่มแสดงความคดิ เหน็ ร่วมกนั ถงึ สงิ่ ของในชีวิตประจำวันทเ่ี กย่ี วข้องกบั
กลไกต่าง ๆ ในการพฒั นาชน้ิ งาน
5. ครูอธิบายกบั นักเรียนเพอ่ื ให้นักเรียนเขา้ ใจมากยิ่งขึ้นวา่ “การพฒั นาช้นิ งานอาจจำเปน็ ต้อง
ใชไ้ ฟฟา้ เนอ่ื งจากไฟฟ้าเปน็ แหลง่ พลังงานที่สำคัญทมี่ นุษย์จำเปน็ ต้องใชแ้ ละขาดไม่ได้”
6. นักเรยี นแตล่ ะกล่มุ รว่ มกันศกึ ษาและสงั เกตรปู แบบของไฟฟา้ และวงจรไฟฟา้ อยา่ งา่ ย รวมถงึ
อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ่ีทำหน้าทค่ี วบคุมการไหลของกระแสไฟฟา้ จากหนังสอื เรยี น หรือ
สืบคน้ ขอ้ มูลเพิ่มเติมจากอนิ เทอรเ์ นต็
7. ครอู ธบิ ายกบั นักเรยี นเพื่อใหน้ ักเรยี นเข้าใจมากยิง่ ขึน้ วา่ “นักเรียนควรระวงั ตนเองเม่ือต้อง
ปฏิบตั งิ านที่เก่ียวข้องกบั ไฟฟ้า ดงั น้ี
1) ก่อนทดลองหรือปฏิบัติงานท่ีเกยี่ วขอ้ งกับไฟฟา้ จำเป็นต้องสำรวจอุปกรณ์ตา่ ง ๆ
ไม่ให้ชำรดุ หรอื แตกหัก
2) กอ่ นปฏบิ ัตงิ านตอ้ งเขียนวงจรไฟฟา้ และให้ผู้สอนตรวจสอบก่อนทดลองจรงิ
3) ขณะทำงานมือและเทา้ ต้องแหง้ หรือสวมรองเท้าเสมอ”
ขนั้ ท่ี 4 สังเคราะหค์ วามรู้
8. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซักถามข้อสงสัย และครใู หค้ วามรูเ้ พิ่มเติมตามความเหมาะสม
9. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มรว่ มกันทำใบงานท่ี 3.3.1 เรอื่ ง กลไก ไฟฟ้า และอุปกรณอ์ เิ ลก็ ทรอนิกส์
10. จากนั้นให้นักเรยี นแตล่ ะกลมุ่ ส่งตัวแทนออกมานำเสนอใบงานบริเวณหน้าชนั้ เรยี น
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นสอน
ขั้นที่ 4 สังเคราะหค์ วามรู้
11. ครูทบทวนการเรียนจากช่วั โมงทแ่ี ลว้ พอสังเขป
12. นักเรยี นแบง่ กลุ่ม (กล่มุ เดิม)
13. นักเรียนทำกิจกรรมท่สี อดคล้องกับเน้ือหา โดยใหผ้ เู้ รยี นฝึกปฏิบัติ เพอ่ื พัฒนาความรแู้ ละทักษะ
(Design Activity) และบันทึกลงในสมดุ ประจำตวั
ขัน้ ที่ 5 สรุปและประเมินคา่ ของคำตอบ
14. นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ร่วมกนั ตรวจสอบความถูกตอ้ งของข้อมูล
15. ครูทบทวนคำถามกระตนุ้ ความคดิ ของนักเรียนวา่ “นักเรียนรหู้ รอื ไมว่ ่า ถ้านักเรียนต้องการ
แกป้ ญั หาหรือพัฒนาชิ้นงาน นักเรยี นจำเปน็ ต้องมคี วามรใู้ นเรื่องใดบ้าง”
(แนวตอบ : คำตอบของนักเรียนขนึ้ อยู่กับดลุ ยพนิ ิจของครูผูส้ อน เช่น ความรเู้ ก่ียวกบั วสั ดแุ ละ
ประเภทของวสั ดุ อปุ กรณ์และเคร่ืองมือชา่ งพน้ื ฐาน กลไก ไฟฟา้ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ ส์)
ขนั้ ที่ 6 นำเสนอและประเมนิ ผลงาน
16. นกั เรยี นแต่ละกลมุ่ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอข้อมลู บริเวณหนา้ ช้นั เรยี น โดยครูผูส้ อน
ประเมนิ ผลงานการนำเสนอของนักเรียนแตล่ ะกลุ่ม
ขั้นสรปุ
1. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการณต์ อบคำถาม และการนำเสนอผลงานของนกั เรียน
2. นักเรยี นและครูร่วมกันสรุปความร้เู กี่ยวกบั วสั ดุสำหรบั การพัฒนาช้ินงาน สมบัตขิ องวสั ดุ
หลักการเลอื กวสั ดุ หลักการเลือกใช้และการดแู ลรักษาอปุ กรณ์และเครอ่ื งมือช่างพ้ืนฐาน
รวมถงึ ความรูเ้ กี่ยวกับกลไก ไฟฟ้า และอุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
3. นกั เรียนแตล่ ะคนทำแบบฝกึ หัด (Unit Activity) จากหนงั สือเรียน เพ่ือทบทวนความรู้
ความเขา้ ใจ และพัฒนาทักษะการคิดของผู้เรียน โดยการตอบคำถามลงในสมุดประจำตัว
4. นักเรยี นตรวจสอบระดับความสามารถของตนเองจากหนังสอื เรียน โดยพจิ ารณาข้อความวา่
ถกู หรอื ผิด หากนกั เรียนพจิ ารณาไม่ถกู ต้องใหน้ ักเรยี นกลบั ไปทบทวนเนอ้ื หาตามหัวข้อ
ทีก่ ำหนดให้
5. ครมู อบหมายใหน้ ักเรยี นทำกิจกรรม High Oder Thinking ท่ีสอดคล้องกบั ตวั ชีว้ ดั ตามทักษะ
แห่งศตวรรษที่ 21 จากแบบฝึกหัดรายวิชาพน้ื ฐานเทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
และทำช้ินงาน/ภาระงาน(รวบยอด) เรื่อง การนำความรู้มาใช้ในการแก้ปญั หาหรอื พัฒนางาน
เป็นการบา้ นและนำมาส่งในชั่วโมงถดั ไป
6. นักเรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 3 เร่อื ง วัสดุ อปุ กรณ์ เครอ่ื งมอื และ
ความรูใ้ นการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน หรือทำแบบทดสอบ (Unit Test) จากแบบฝึกหัด
7. การวดั และประเมนิ ผล
รายการวดั วิธวี ดั เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
7.1 การประเมนิ ระหว่างการ
ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
จัดกจิ กรรม
ระดบั คุณภาพ 2
1) กลไก ไฟฟา้ และ - ตรวจใบงานที่ 3.3.1 - ใบงานท่ี 3.3.1 ผา่ นเกณฑ์
ระดับคุณภาพ 2
อุปกรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์ ผ่านเกณฑ์
ระดบั คุณภาพ 2
2) อุปกรณ์และเครอ่ื งมือ - ตรวจแบบฝกึ หดั - แบบฝึกหดั ผา่ นเกณฑ์
ระดบั คุณภาพ 2
ช่างพ้นื ฐานในการ ผ่านเกณฑ์
แกป้ ญั หาและสร้าง รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ชน้ิ งาน ระดับคุณภาพ 2
ผา่ นเกณฑ์
3) การนำเสนอผลงาน - ประเมนิ การนำเสนอ - แบบประเมนิ
ผลงาน การนำเสนอผลงาน
4) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม
รายบุคคล การทำงานรายบคุ คล การทำงานรายบคุ คล
5) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤตกิ รรม
กลุม่ การทำงานกลมุ่ การทำงานกลมุ่
6) คณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ
อันพึงประสงค์ ความรับผิดชอบ คณุ ลกั ษณะ
ใฝเ่ รียนรู้ และมุ่งม่ัน อนั พึงประสงค์
ในการทำงาน
7.2 การประเมนิ หลังเรียน
1) แบบทดสอบหลังเรยี น - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 หลงั เรยี น
เร่ือง วสั ดุ อุปกรณ์
เครื่องมือ และความรู้
ในการแก้ปญั หาหรอื
พฒั นางาน
2) การประเมินชิ้นงาน/ - ตรวจช้นิ งาน/ - แบบประเมนิ ชิ้นงาน/
ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด) ภาระงาน (รวบยอด)
เร่อื ง การนำความรู้
มาใชใ้ นการแกป้ ญั หา
หรือพฒั นางาน
8. สอื่ /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 ส่อื การเรยี นรู้
1) หนังสอื เรยี นรายวชิ าพน้ื ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3
เรื่อง วสั ดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมือ และความรู้ในการแก้ปญั หาหรือพฒั นางาน
2) แบบฝึกหดั รายวิชาพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 3
เรื่อง วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมอื และความรใู้ นการแก้ปัญหาหรือพฒั นางาน
3) ใบงานท่ี 3.3.1 เร่อื ง กลไก ไฟฟ้า และอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนิกส์
8.2 แหล่งการเรยี นรู้
1) ห้องคอมพวิ เตอร์
2) อินเทอร์เนต็
ใบงานที่ 3.3.1
เร่ือง กลไก ไฟฟา้ และอปุ กรณ์อิเล็กทรอนิกส์
คำช้แี จง : จากภาพที่กำหนดให้ ให้นักเรยี นสังเกตวา่ ภาพดังกลา่ วมกี ารใช้กลไก ไฟฟา้ และอุปกรณ์
อเิ ลก็ ทรอนิกสป์ ระเภทใดบา้ ง จงอธิบายพอสงั เขป
หุน่ ยนตส์ ำรวจและกภู้ ัย
รายการ ประเภท ส่วนทใ่ี ช้
กลไก
ไฟฟา้
และอุปกรณ์
อิเล็กทรอนกิ ส์
รถยนตบ์ ังคับ
รายการ ประเภท สว่ นท่ีใช้
กลไก
ไฟฟ้า
และอุปกรณ์
อเิ ล็กทรอนิกส์
ใบงานท่ี 3.3.1 เฉลย
เรอ่ื ง กลไก ไฟฟ้าและอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์
คำช้แี จง : จากภาพท่ีกำหนดให้ ใหน้ ักเรยี นสงั เกตวา่ ภาพดังกลา่ วมกี ารใช้กลไก ไฟฟ้า และอุปกรณ์
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ประเภทใดบ้าง จงอธิบายพอสงั เขป
หุน่ ยนตส์ ำรวจและกภู้ ยั
รายการ ประเภท สว่ นท่ีใช้
ล้อและเพลา ล้อรถ มอเตอร์
กลไก เฟอื งตรง ชุดเฟืองในหุ่นยนต์
สปรงิ รองรบั แรงกระแทก
ไฟฟา้ อปุ กรณ์ไฟฟา้ อุปกรณ์เซน็ เซอร์
และอุปกรณ์ อปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ สมองกล
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ - -
รถยนต์บังคบั
รายการ ประเภท สว่ นทใ่ี ช้
ลอ้ และเพลา ลอ้ รถ มอเตอร์
กลไก เฟืองตรง ชดุ เฟอื งในรถยนต์
- -
ไฟฟ้า แหลง่ กำเนดิ ไฟฟา้ ถา่ ยไฟฉาย แบตเตอรี่
และอปุ กรณ์ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าหรือโหลด เครอื่ งควบคุมความเร็ว
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ หรอื รโี มท
-
ชนิ้ งาน/ภาระงาน (รวบยอด)
เรือ่ ง การนำความรูม้ าใช้ในการแกป้ ญั หาหรอื พฒั นางาน
คำชีแ้ จง : ให้นกั เรียนออกแบบสิง่ ของทีอ่ ยรู่ อบตวั ของนกั เรียนคนละ 1 ชิ้น โดยอธิบายแนวทางการพฒั นางาน
พอสังเขป
วสั ดทุ ี่ใช้ คือ
เครอ่ื งมือช่างที่ใชง้ าน คืออะไร และใช้สำหรบั ทำอะไร
ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) เฉลย
เร่ือง การนำความรมู้ าใช้ในการแก้ปญั หาหรือพัฒนางาน
คำชีแ้ จง : ให้นักเรียนออกแบบส่งิ ของที่อย่รู อบตัวของนกั เรียนคนละ 1 ชนิ้ โดยอธิบายแนวทางการพฒั นางาน
พอสังเขป
วัสดุทใี่ ช้ คือ
ไม้ ตะปู กาวลาเทก็ ซ์
เครือ่ งมือชา่ งที่ใชง้ าน คืออะไร และใชส้ ำหรับทำอะไร
1. เลื่อย ใช้สำหรับเลื่อยไมก้ ระดาน
2. ค้อน ใช้สำหรับตอกตะปูบนไม้
3. ตลบั เมตร ใช้สำหรบั วดั ความยาวของโต๊ะทตี่ ้องการ
4. สว่าน ใชส้ ำหรบั เจาะรู
แบบประเมนิ การนำเสนอผลงาน
คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนสงั เกตพฤติกรรมของนกั เรียนในระหว่างเรยี นและนอกเวลาเรียน แล้วขดี ✓ลงในชอ่ ง
ที่ตรงกบั ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1
32
1 ความถกู ต้องของเน้อื หา
2 ความคดิ สรา้ งสรรค์
3 วธิ กี ารนำเสนอผลงาน
4 การนำไปใช้ประโยชน์
5 การตรงต่อเวลา
รวม
ลงชอ่ื ...................................................ผปู้ ระเมนิ
............/................./....................
เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 3 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกับรายการประเมินสมบูรณ์ชดั เจน ให้ 2 คะแนน
ผลงานหรอื พฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินเป็นส่วนใหญ่ ให้ 1 คะแนน
ผลงานหรือพฤตกิ รรมสอดคล้องกบั รายการประเมินบางสว่ น
เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ
ชว่ งคะแนน ระดบั คุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตำ่ กวา่ 8 ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานรายบคุ คล
คำชีแ้ จง : ให้ผสู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ ง
ท่ีตรงกบั ระดบั คะแนน
ลำดับท่ี รายการประเมิน ระดบั คะแนน 1
32
1 การแสดงความคิดเห็น
2 การยอมรับฟังความคดิ เห็นของผูอ้ ่นื
3 การทำงานตามหน้าท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย
4 ความมีนำ้ ใจ
5 การตรงต่อเวลา
รวม
เกณฑก์ ารให้คะแนน ลงช่อื ...................................................ผ้ปู ระเมิน
ปฏบิ ตั หิ รือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ............/................./....................
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครัง้
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤตกิ รรมบางครง้ั ให้ 3 คะแนน
ให้ 2 คะแนน
ให้ 1 คะแนน
เกณฑก์ ารตัดสนิ คุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ตำ่ กว่า 8 ปรับปรุง
แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำงานกล่มุ
คำช้ีแจง : ใหผ้ สู้ อนสงั เกตพฤติกรรมของนักเรยี นในระหวา่ งเรยี นและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในช่อง
ทตี่ รงกับระดับคะแนน
การแสดง การทำงาน การมีสว่ นรว่ ม
ความ ตามทไี่ ดร้ ับ
ลำดบั ที่ ช่อื –สกลุ คดิ เหน็ การยอมรบั มอบหมาย ความมี ในการ รวม
ของนกั เรยี น ฟงั คนอนื่ น้ำใจ ปรับปรุง 15
ผลงานกลมุ่ คะแนน
321321321321321
ลงช่ือ...................................................ผปู้ ระเมิน
................/................./....................
เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏบิ ัติหรือแสดงพฤตกิ รรมบ่อยครงั้ ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั หิ รอื แสดงพฤตกิ รรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คุณภาพ
14–15 ดีมาก
11–13 ดี
8–10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรบั ปรงุ
แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
คำชแี้ จง : ใหผ้ ู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนกั เรยี นในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรียน แลว้ ขีด ✓ลงในชอ่ ง
ท่ีตรงกับระดับคะแนน
คณุ ลกั ษณะ รายการประเมิน ระดับคะแนน
อนั พึงประสงคด์ ้าน 32 1
1. รกั ชาติ ศาสน์ 1.1 ยนื ตรงเคารพธงชาติและร้องเพลงชาตไิ ด้
กษัตรยิ ์ 1.2 เขา้ ร่วมกจิ กรรมที่สร้างความสามัคคีปรองดองและเปน็ ประโยชน์
ต่อโรงเรยี น
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนบั ถือ ปฏิบัติตามหลกั ศาสนา
1.4 เข้ารว่ มกจิ กรรมทีเ่ ก่ยี วกบั สถาบันพระมหากษตั ริยต์ ามทโ่ี รงเรยี นจัดข้ึน
2. ซ่อื สตั ย์ สุจริต 2.1 ให้ขอ้ มูลท่ถี กู ต้องและเปน็ จรงิ
2.2 ปฏิบัติในสิง่ ทีถ่ กู ต้อง
3. มวี นิ ัย รบั ผดิ ชอบ 3.1 ปฏิบตั ิตามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ข้อบงั คบั ของครอบครัว
มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมตา่ ง ๆ ในชีวติ ประจำวัน
4. ใฝเ่ รียนรู้ 4.1 รจู้ กั ใชเ้ วลาวา่ งใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ละนำไปปฏบิ ัติได้
4.2 รู้จกั จัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เช่อื ฟังคำสั่งสอนของบิดา-มารดา โดยไมโ่ ต้แยง้
4.4 ตง้ั ใจเรียน
5. อยู่อยา่ งพอเพยี ง 5.1 ใชท้ รพั ย์สินและสง่ิ ของของโรงเรยี นอยา่ งประหยดั
5.2 ใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยดั และมกี ารเก็บออมเงนิ
6. มุง่ มนั่ ในการทำงาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รบั มอบหมาย
6.2 มคี วามอดทนและไม่ท้อแทต้ ่ออปุ สรรคเพอ่ื ให้งานสำเร็จ
7. รักความเปน็ ไทย 7.1 มจี ิตสำนกึ ในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย
7.2 เหน็ คุณคา่ และปฏิบตั ติ นตามวัฒนธรรมไทย
8. มจี ติ สาธารณะ 8.1 รู้จกั ช่วยพ่อแม่ ผ้ปู กครอง และครูทำงาน
8.2 รู้จกั การดแู ลรักษาทรัพยส์ มบตั ิและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน
และโรงเรยี น
ลงชือ่ ..................................................ผปู้ ระเมิน
............/.................../................
เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ตั ิชัดเจนและสมำ่ เสมอ ให้ 2 คะแนน 51-60 ดีมาก
พฤติกรรมทป่ี ฏิบตั ชิ ดั เจนและบ่อยครัง้ ให้ 1 คะแนน 41-50 ดี
พฤติกรรมท่ีปฏบิ ัตบิ างครงั้ 30-40 พอใช้
ปรบั ปรงุ
ต่ำกวา่ 30
แบบประเมนิ ช้ินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
ว 4.1 ม.3/5 ใช้ความรู้ และทักษะเกยี่ วกับวสั ดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ กลไก ไฟฟา้ และ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ให้ถกู ต้องกับลักษณะของงาน และปลอดภัยเพ่อื แก้ปัญหา
หรอื พฒั นางาน
รายการ เกณฑ์การประเมิน )ระดับคุณภาพ( ระดับ
ประเมิน คุณภาพ
ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง (1)
1. วสั ดสุ ำหรับใชง้ าน ดีมาก
สามารถบอกวสั ดุทใี่ ช้ สามารถบอกวสั ดุท่ใี ช้ สามารถบอกวสั ดุทใี่ ช้ ไมส่ ามารถบอกวสั ดุท่ี
.2เคร่ืองมอื ช่างพืน้ ฐาน สำหรับใชง้ านไดถ้ ูกต้องดี ใช้สำหรับใช้งานได้ ดี
และหน้าท่กี ารทำงาน มาก สำหรบั ใช้งานได้ดี สำหรับใชง้ านได้
สามารถบอกเคร่ืองมอื ไมส่ ามารถบอก พอใช้
3. ความสมบรู ณ์ ชา่ งพ้ืนฐานและหน้าท่ี ค่อนขา้ งดี เครอ่ื งมือชา่ งพน้ื ฐาน
ของผลงาน การทำงานได้ถกู ต้อง และหน้าที่การทำงาน ปรบั ปรุง
.4สง่ งานตรงเวลา ดีมาก สามารถบอกเครื่องมือ สามารถบอกเครื่องมอื ได้
ผลงานมคี วามครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถว้ น
สมบูรณ์ดมี าก ชา่ งพน้ื ฐานและหน้าที่ ชา่ งพ้นื ฐานและหน้าที่ สมบรู ณ์นอ้ ย
สง่ ภาระงานชา้ กวา่
ส่งภาระงานภายในเวลา การทำงานไดด้ ี การทำงานได้คอ่ นขา้ งดี กำหนดเกิน วนั ขึน้ ไป 3
ทกี่ ำหนด
ผลงานมีความครบถ้วน ผลงานมคี วามครบถ้วน
สมบรู ณ์คอ่ นข้างดี สมบูรณ์ดเี ป็นบางสว่ น
ส่งภาระงานช้ากว่า ส่งภาระงานช้ากว่า
กำหนด วนั 1 กำหนด วัน 2
เกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพ
ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ
14-16 ดีมาก
10-13 ดี
7-9 พอใช้
1-6 ปรบั ปรงุ
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 9
รายวชิ า เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลยี) รหสั วชิ า ว23182 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 ชอื่ หน่วย การแก้ปญั หาชุมชนหรือท้องถน่ิ ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมเวลา 7 ชวั่ โมง
แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 9 เรอ่ื ง กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกับการแก้ปญั หาชุมชนหรอื ท้องถน่ิ เวลา 4 ชั่วโมง
ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ครูผสู้ อน นายกรกฎ เกษมสินธ์ุ
1. มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั
1.1 ตัวชีว้ ดั
ว 4.1 ม.3/1 วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยท่ีส่งผลตอ่ การเปลยี่ นแปลงของเทคโนโลยี และ
ความสมั พันธข์ องเทคโนโลยีกับศาสตร์อน่ื โดยเฉพาะวิทยาศาสตร์ หรอื
คณิตศาสตร์ เพอ่ื เปน็ แนวทางการแกป้ ัญหาหรือพัฒนางาน
ว 4.1 ม.3/2 ระบุปัญหาหรอื ความต้องการของชมุ ชนหรอื ท้องถ่ิน เพื่อพัฒนางานอาชีพ
สรปุ กรอบของปัญหา รวบรวม วเิ คราะหข์ ้อมูลและแนวคดิ ทเี่ ก่ยี วข้องกับปัญหา
โดยคำนึงถงึ ความถูกต้องดา้ นทรัพยส์ ินทางปัญญา
ว 4.1 ม.3/3 ออกแบบวธิ กี ารแก้ปัญหา โดยวิเคราะห์ เปรยี บเทยี บ และตดั สินใจเลอื กข้อมลู ที่
จำเป็นภายใตเ้ งอ่ื นไขและทรัพยากรท่ีมอี ยู่ นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหาให้ผู้อ่นื
เขา้ ใจด้วยเทคนิคหรอื วธิ กี ารทห่ี ลากหลาย วางแผนขนั้ ตอนการทำงานและ
ดำเนินการแกป้ ญั หาอยา่ งเป็นขน้ั ตอน
ว 4.1 ม.3/4 ทดสอบ ประเมนิ ผล วิเคราะห์ และให้เหตผุ ลของปัญหาหรอื ข้อบกพรอ่ งทเี่ กิดขน้ึ
ภายใต้กรอบเง่อื นไข พร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรงุ แก้ไข และนำเสนอผล
การแกป้ ัญหา
2. จุดประสงค์การเรยี นรู้
1. อธิบายความหมายของกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมได้ (K)
2. บอกขน้ั ตอนของกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมได้ (K)
3. ออกแบบโครงงานตามขน้ั ตอนกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมได้ (P)
4. เล็งเหน็ ความสำคัญของการนำกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมมาใช้แก้ปัญหาในชวี ติ ประจำวัน (A)
3. สาระการเรยี นรู้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถน่ิ
- เทคโนโลยมี กี ารเปลยี่ นแปลงตลอดเวลาตัง้ แต่อดตี พจิ ารณาตามหลกั สูตรของสถานศกึ ษา
จนถงึ ปจั จุบนั ซง่ึ มีสาเหตหุ รือปจั จยั มาจากหลาย
ดา้ น เชน่ ปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์
ความก้าวหน้าของศาสตรต์ า่ ง ๆ การเปลี่ยนแปลง
ทางดา้ นเศรษฐกิจ สงั คม วัฒนธรรม สิง่ แวดล้อม
- เทคโนโลยีมีความสมั พนั ธ์กับศาสตร์อื่น โดยเฉพาะ
วทิ ยาศาสตร์ โดยวิทยาศาสตรเ์ ป็นพ้นื ฐานความรู้
ทน่ี ำไปสู่การพฒั นาเทคโนโลยี และเทคโนโลยีทีไ่ ด้
สามารถเป็นเคร่ืองมือที่ใชใ้ นการศึกษา ค้นคว้า
เพอ่ื ใหไ้ ดม้ าซ่ึงองค์ความรู้ใหม่
- ปัญหาหรอื ความตอ้ งการอาจพบได้ในงานอาชพี
ของชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ ซึ่งอาจมหี ลายดา้ น เชน่
ด้านการเกษตร อาหาร พลังงาน การขนส่ง
- การวเิ คราะห์สถานการณป์ ญั หาชว่ ยใหเ้ ข้าใจเงือ่ นไข
และกรอบของปญั หาไดช้ ดั เจน จากน้ันดำเนินการ
สืบคน้ รวบรวมขอ้ มลู ความรู้จากศาสตร์ตา่ ง ๆ
ท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การออกแบบแนวทาง
การแก้ปัญหา
- การวเิ คราะห์ เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลอื กข้อมูล
ทจ่ี ำเป็น โดยคำนงึ ถึงทรัพยส์ ินทางปญั ญา เง่ือนไข
และทรัพยากร เช่น งบประมาณ เวลา ข้อมูลและ
สารสนเทศ วสั ดุ เคร่อื งมือและอุปกรณ์ ช่วยให้ได้
แนวทางการแกป้ ัญหาทีเ่ หมาะสม
- การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหาทำได้
หลากหลายวิธี เชน่ การร่างภาพ การเขียนแผนภาพ
การเขยี นผงั งาน
- เทคนคิ หรือวิธีการในการนำเสนอแนวทางการ
แก้ปัญหามหี ลากหลาย เชน่ การใชแ้ ผนภมู ิ ตาราง
ภาพเคลอ่ื นไหว
- การกำหนดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงานก่อน
ดำเนนิ การแก้ปัญหาจะช่วยใหก้ ารทำงานสำเรจ็ ได้
สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถนิ่
ตามเป้าหมาย และลดข้อผดิ พลาดของการทำงานที่
อาจเกดิ ขึน้
- การทดสอบและประเมนิ ผลเป็นการตรวจสอบ
ชิน้ งานหรือวิธกี ารวา่ สามารถแก้ปญั หาได้ตาม
วัตถุประสงค์ภายใต้กรอบของปญั หา เพอ่ื หา
ขอ้ บกพร่อง และดำเนนิ การปรับปรุง โดยอาจ
ทดสอบซ้ำเพื่อให้สามารถแก้ไขปญั หาได้
- การนำเสนอผลงานเปน็ การถ่ายทอดแนวคดิ เพ่ือให้
ผอู้ น่ื เขา้ ใจเก่ียวกับกระบวนการทำงาน และช้นิ งาน
หรอื วิธีการท่ีได้ ซ่ึงสามารถทำได้หลายวิธี เชน่ การ
เขยี นรายงาน การทำแผ่นนำเสนอผลงาน การจัด
นิทรรศการ การนำเสนอผา่ นสื่อออนไลน์
4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมเป็นกระบวนการแก้ปัญหาหรือพัฒนาชิ้นงานอย่างเป็น
ขั้นตอนภายใต้ทรัพยากรที่มีอยู่ การวิเคราะห์สถานการณ์ของปัญหา ผลกระทบของการแก้ปัญหาเพื่อ
นำไปสู่การออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา โดยใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ
สำหรับกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม ประกอบไปด้วย 6 ขั้นตอน ดงั น้ี ขัน้ ตอนที่ 1 ระบปุ ญั หา
ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา ขั้นตอนที่ 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุ งแก้ไข
วิธกี ารแกป้ ญั หาหรอื ชิ้นงาน และขน้ั ตอนที่ 6 นำเสนอวธิ ีการแก้ปญั หา ผลการแกป้ ญั หาหรือช้ินงาน
5. สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รียนและคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสือ่ สาร 1. มีวนิ ยั รบั ผิดชอบ
- ทักษะการสอื่ สาร 2. ใฝเ่ รียนรู้
2. ความสามารถในการคดิ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
- ทกั ษะการให้เหตุผล
- ทกั ษะการคิดอยา่ งเป็นระบบ
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
- ทักษะการแกป้ ัญหา
สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
- ทกั ษะการสงั เกต
- ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
4. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ
- ทักษะการทำงานรว่ มกนั
- ทักษะการสำรวจ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
- ทกั ษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
6. กิจกรรมการเรียนรู้
วธิ กี ารสอนโดยเนน้ รปู แบบการสอนแบบใชโ้ ครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
ชวั่ โมงท่ี 1
ข้นั นำ
ขน้ั ท่ี 1 ใหค้ วามรู้พื้นฐาน
1. นกั เรียนทำแบบทดสอบกอ่ นเรียนหน่วยการเรียนรทู้ ่ี 4 เรื่อง การแกป้ ัญหาชุมชนหรอื ท้องถ่ิน
ดว้ ยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
2. ครถู ามคำถามกระตนุ้ ความคิดของนักเรยี นวา่ “ในชุมชนที่นกั เรียนอาศยั อยู่มปี ัญหาอะไร
เกดิ ขึ้นบ้าง และปัญหาเหลา่ นั้นสามารถแก้ไขได้หรือไม่ อยา่ งไร”
(แนวตอบ : คำตอบของนกั เรียนข้ึนอยู่กับดุลยพินจิ ของครูผูส้ อน เชน่ ปญั หาด้านการเกษตร
ด้านอาหาร ด้านพลังงาน ดา้ นการขนส่ง)
3. ครูอธิบายกบั นักเรียนเพ่ือใหน้ ักเรียนเขา้ ใจมากยิง่ ข้ึนว่า“ปัญหาตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขึ้นภายในชุมชน
สามารถแก้ไขได้โดยใชก้ ระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมที่อาศยั ความร้ดู า้ นตา่ ง ๆ เข้ามา
จดั การ เช่น วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตรอ์ ื่น ๆ รวมถงึ ความคิดสรา้ งสรรค์ เพ่อื ใหไ้ ด้
ผลลพั ธ์ท่ีมีประสทิ ธิภาพและเหมาะสมทีส่ ุดแกช่ มุ ชนหรือท้องถนิ่ ”
ข้ันที่ 2 กระตนุ้ ความสนใจ
4. ครถู ามคำถามสำคัญประจำหัวข้อเพ่ือกระตนุ้ ความสนใจของนกั เรยี นว่า“นักเรยี นคิดว่า
กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม จะช่วยแก้ปญั หาในชมุ ชนหรือท้องถ่ินของนักเรียน
ได้อย่างไร”
(แนวตอบ : คำตอบของนกั เรียนขน้ึ อยูก่ ับดลุ ยพนิ จิ ของครูผ้สู อน เช่น กระบวนการออกแบบ
เชิงวศิ วกรรมมสี ว่ นช่วยในการตดั สนิ ใจสำหรบั การแกป้ ัญหาทเี่ กดิ ข้ึนได้อยา่ งถูกต้อง ทำให้
การแก้ปัญหามรี ะบบ โดยอาศยั ความรทู้ างดา้ นวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ
รวมถงึ ความคิดสร้างสรรค์ ดงั นั้น การแกป้ ญั หาจึงมีประสิทธภิ าพ และสร้างผลลัพธท์ ด่ี ีท่ีสุด
แกช่ ุมชนหรือท้องถิ่น)
5. ครูสมุ่ นักเรยี น 6 คน ออกมายนื เรยี งกนั บริเวณหน้าชัน้ เรยี นโดยครเู ปดิ แผน่ ป้าย เร่อื ง
กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมให้นักเรียนดู และใหน้ ักเรียนคนแรกพดู ข้อความ
ทปี่ รากฏอยใู่ นแผ่นปา้ ย จากนน้ั ครเู ปดิ แผ่นป้ายที่ 2 ให้นักเรยี นคนถดั ไปดู โดยนักเรียน
จะตอ้ งพูดขอ้ ความของเพือ่ นคนก่อนหน้าและขอ้ ความทป่ี รากฏอยใู่ นแผ่นป้าย โดยดำเนินการ
ต่อไปเร่ือย ๆ จนถงึ นักเรียนคนสดุ ทา้ ยตามลำดับ
ขั้นสอน
ขั้นท่ี 3 จดั กลุ่มร่วมมือ
1. ใหน้ ักเรียนแบง่ กล่มุ กลมุ่ ละ 3-5 คน หรอื ตามความเหมาะสม เพ่อื ศึกษากระบวนการออกแบบ
เชงิ วศิ วกรรมกบั การแก้ปญั หาชุมชนหรือทอ้ งถน่ิ จากหนงั สือเรยี นรายวชิ าพ้นื ฐาน เทคโนโลยี
(การออกแบบและเทคโนโลยี) ม.3 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 4 เร่ือง การแก้ปัญหาชุมชนหรือ
ท้องถน่ิ ด้วยกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม
2. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ระดมความคดิ เหน็ รว่ มกนั เพ่ือระบปุ ัญหาที่มภี ายในชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ
ที่นกั เรยี นสนใจกล่มุ ละ 3 ปัญหา จากนั้นตอบคำถามลงในใบงานท่ี 4.1.1 เร่ือง การระบุ
ปัญหา โดยทำตามขัน้ ตอน ดังนี้ สรปุ รายการปัญหาท่ีเกดิ ขึ้นในชุมชนหรอื ทอ้ งถน่ิ จัดลำดบั
ความสำคญั ของแตล่ ะปัญหา เลอื กปัญหาท่ตี ้องการแก้ไข และระบุปญั หาทีต่ อ้ งการแก้ไข
ซง่ึ นกั เรียนอาจจะศกึ ษาข้ันตอนตา่ ง ๆ เพิ่มเตมิ อย่างละเอียดในหนังสือเรยี น
3. ครอู ธบิ ายกบั นักเรยี นว่า“การสำรวจปญั หาท่พี บในชุมชนหรอื ท้องถน่ิ สามารถทำไดโ้ ดยใช้
วิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น การสำรวจปญั หาจากเอกสาร ตำรา วจิ ัย ฐานข้อมูล การสังเกต
การสมั ภาษณ์ หรือแบบสอบถาม”
4. นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ออกมานำเสนอปัญหาทีน่ ักเรยี นสนใจทั้ง 3 ปญั หา และการจดั ลำดบั
ความสำคัญของกลมุ่ ตนเองบรเิ วณหนา้ ชัน้ เรยี น
5. นักเรยี นแตล่ ะกลุ่มศึกษาเกณฑ์การจัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหาท้งั 4 เกณฑ์ และสแกน
QR code เรือ่ ง ตัวอย่างการคำนวณลำดบั ความสำคญั ของแตล่ ะปัญหา จากหนังสือเรียน
6. จากนนั้ ให้นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ เหน็ รว่ มกนั เพื่อคัดเลอื กปัญหา กลมุ่ ละ 1 ปัญหา
พรอ้ มระบุปญั หาท่ตี ้องการแก้ไขอย่างแทจ้ ริงเป็นข้อความส้ัน ๆ กะทดั รดั ใหม้ องเหน็ เป็น
แนวทางของการแก้ปญั หาลงในใบงานท่ี 4.1.1 เรอ่ื ง การระบปุ ญั หา
ช่วั โมงที่ 2
ข้นั ท่ี 4 แสวงหาความรู้
7. ให้นกั เรยี นแบง่ กลุม่ (กลุ่มเดิม) เพือ่ ศึกษาเนอื้ หาเกีย่ วกับขั้นตอนการรวบรวมข้อมลู และแนวคดิ
ทเี่ กย่ี วข้องกับปัญหาซง่ึ อาจจะเปน็ แนวคดิ ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี หรอื
ศาสตร์อ่ืน ๆ โดยสืบค้นข้อมูลจากทางอินเทอรเ์ น็ต และตอบคำถามลงในใบงานท่ี 4.1.2
เรอ่ื ง การรวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่เี ก่ยี วข้อง
8. ครูอธิบายเพิ่มเตมิ กับนักเรยี นว่า“ข้ันตอนการรวบรวมข้อมูลและแนวคดิ ท่ีเก่ียวข้องกบั ปัญหา
เป็นขนั้ ตอนทลี่ ะเอียดอ่อน และส่งิ ท่ียากทสี่ ุด คอื การประเมนิ ความนา่ เชอื่ ถอื ของแหล่งข้อมูล”
9. ครูอธบิ ายเกรด็ ความรู้ทีเ่ กี่ยวข้องกับเนื้อหา (Design Focus) เร่อื ง การรวบรวมข้อมลู
10. เปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นแต่ละกลมุ่ สังเกตตัวอยา่ งขั้นรวบรวมขอ้ มูลและแนวคดิ ทีเ่ กย่ี วข้องกับ
ปัญหา จากหนงั สอื เรียน
11. ครอู ธิบายเกร็ดความรูท้ ่เี กีย่ วข้องกับเนือ้ หา (Design Focus) เรื่อง แนะนำเวบ็ ไซตด์ ้าน
การเกษตรเพ่ิมเติม
12. นกั เรียนแต่ละกลุ่มสง่ ตัวแทนออกมานำเสนอข้อมูลและแนวคดิ ท่เี กย่ี วข้องกับปัญหาตามทไ่ี ด้
เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู บริเวณหนา้ ช้ันเรียน และเปิดโอกาสใหน้ ักเรียนแลกเปล่ยี นความคดิ เห็น
ร่วมกันได้อย่างอสิ ระ
ชว่ั โมงที่ 3
ขน้ั ท่ี 4 แสวงหาความรู้
13. ใหน้ ักเรยี นแบ่งกลุ่ม (กลุ่มเดิม) เพ่อื ศึกษาเนื้อหาเกยี่ วกบั ข้นั ตอนการออกแบบวธิ ีการแกป้ ัญหา
ซงึ่ เปน็ ขั้นตอนทช่ี ว่ ยให้ได้แนวทางการแกป้ ัญหาท่ีเหมาะสมแลว้ ออกแบบแนวทางการแก้ปัญหา
โดยอาจรา่ งภาพ (Sketch) เขียนเปน็ แผนภาพ (Diagrams) เขียนผงั งาน (Flowchart) หรอื
การสรา้ งแบบจำลอง (Model)
14. ครูนำบตั รภาพ เร่อื ง การรา่ งภาพ ให้นักเรยี นดู และถามคำถามท้าทายความคิดกับนักเรียนว่า
“ภาพที่นักเรยี นเหน็ นั้นคือภาพอะไร” และเฉลยคำตอบท่ถี ูกตอ้ งแกน่ ักเรยี นพร้อมอธบิ ายกบั
นกั เรียนว่า“การร่างภาพเป็นการเขียนภาพโดยใชม้ ือเปลา่ ท่ีเกิดจากความคิดหรอื จินตนาการ
ของผู้ออกแบบและนำไปเขยี นแบบที่มีรายละเอียดตา่ ง ๆ ใหส้ มบรู ณต์ ่อไป”
15. เปิดโอกาสใหน้ ักเรียนได้สงั เกตแผนภาพทง้ั 4 ชนดิ จากหนังสือเรียน เพ่ือให้เข้าใจมากย่งิ ขึ้น
ได้แก่ แผนภาพลายเส้น แผนภาพแบบบลอ็ ก แผนภาพแบบรปู ภาพ และแผนภาพแบบผสม
16. ครถู ามคำถามทบทวนความคิดของนักเรียนวา่ “นกั เรยี นเคยเขยี นผังงานหรอื ไม่ และเขยี นแสดง
ข้ันตอนการทำงานเร่ืองใด” และเปดิ โอกาสให้นกั เรยี นแสดงความคิดเหน็ ร่วมกันในช้ันเรียน
จากน้นั ครอู ธบิ ายกบั นักเรยี นวา่ “การออกแบบวิธีการแกป้ ัญหาสามารถใชว้ ธิ ีการเขียนผังงานซึง่
สามารถเขยี นได้ 2 แบบ คือ ผงั งานระบบ (System Flowchart) และผังงานโปรแกรม
(Program Flowchart)”
17. ครอู ธิบายกับนักเรียนวา่ “การออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหาทีส่ ามารถบรรยายคุณลักษณะเพ่ือให้
งา่ ยตอ่ การทำความเข้าใจ อธิบายรายละเอยี ดทกุ แงท่ ุกมุมอยา่ งชัดเจน ควรใช้แบบจำลอง
(Model) ในการออกแบบเพ่ือให้เหน็ แตล่ ะมุมมองและชว่ ยใหก้ ารสื่อสารระหวา่ งบุคคลมีความ
ถูกต้องตรงกันมากขึน้ เพราะแบบจำลองจะแสดงให้เหน็ ถงึ กระบวนการทำงานวา่ ทำหนา้ ที่
อะไรและอย่างไร เชน่ การสาธติ การแปรงฟันทีถ่ ูกวิธี ควรเลือกใช้แบบจำลองฟนั ในการสาธิต
เพ่ือใหเ้ หน็ ถงึ ลักษณะตา่ ง ๆ ของฟันทำให้ง่ายต่อการสาธติ การแปรงฟันท่ถี ูกวธิ ี”
18. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรยี นแตล่ ะกลุ่มสังเกตตวั อย่างขั้นออกแบบวธิ ีการแกป้ ญั หาจากหนงั สอื เรยี น
เพอ่ื ศกึ ษาการพจิ ารณาทางเลือกในการแก้ปญั หาและประเมินผลทางเลอื กโดยพจิ ารณาถึง
ผลกระทบทางบวกและผลกระทบทางลบ รวมถึงการคดั เลือกทางเลอื กเขา้ มาใช้ในการแก้
ปัญหาท่เี กดิ ขึน้ จากน้นั ให้ตอบคำถามลงในใบงานที่ 4.1.3 เรอ่ื ง การออกแบบวิธกี าร
แกป้ ญั หา
19. ครูอธิบายเกรด็ ความรู้ท่เี ก่ียวข้องกับเนื้อหา (Design Focus) เร่อื ง ฟางข้าวและกระดาษจาก
ฟางขา้ วเพื่อเปน็ แนวทางในการออกแบบวธิ ีการแก้ปัญหา
20. นกั เรยี นศกึ ษาเนื้อหาเกย่ี วกบั ขน้ั ตอนการวางแผนและดำเนินการแก้ปัญหาและสงั เกตตวั อยา่ ง
การวางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา วสั ดุที่ใช้ อปุ กรณ์ท่ีใช้ ขัน้ ตอนการผลิตจากหนังสอื เรียน
โดยนักเรียนนำความรมู้ าปรับใช้และตอบคำถามลงในใบงานท่ี 4.1.4 เรื่อง การวางแผนและ
ดำเนินการแกป้ ัญหา จากน้นั ใหแ้ ตล่ ะกลุ่มสง่ ตวั แทนออกมานำเสนอแนวทางการวางแผนและ
ดำเนินการแกป้ ญั หาที่บรเิ วณหนา้ ช้นั เรยี น โดยครูคอยให้ข้อเสนอแนะเพิม่ เติมอย่างใกล้ชดิ
21. ครูอธบิ ายเพิ่มเติมกบั นักเรียนวา่ “ข้นั วางแผนและดำเนินการแก้ปัญหา เป็นการกำหนดลำดับ
ข้ันตอนของการแก้ปัญหาและระยะเวลาในการทำงานทช่ี ัดเจนกอ่ นดำเนินการแก้ปญั หาเพื่อ
ลดขอ้ ผิดพลาดที่อาจเกิดขน้ึ จากการทำงาน แล้วลงมอื แก้ปัญหาตามขน้ั ตอนท่ีได้ออกแบบ
และวางแผนไว้
ชั่วโมงท่ี 4
ข้นั ที่ 4 แสวงหาความรู้
22. ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม (กลุ่มเดมิ ) เพอื่ ศกึ ษาเนือ้ หาเกี่ยวกับขน้ั ตอนการทดสอบ ประเมินผล และ
ปรบั ปรงุ แก้ไขวธิ ีการแก้ปัญหาหรือช้ินงานและสงั เกตตวั อย่างประกอบจากหนังสือเรียน เพือ่ ให้
นักเรียนเข้าใจมากย่ิงขึน้ พร้อมเปดิ โอกาสให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มทดสอบ ประเมนิ ผล และปรับปรุง
แกไ้ ขวธิ ีการแกป้ ัญหาหรอื ช้นิ งาน และบันทึกผลลงในสมุดประจำตัว
23. ครูอธิบายเกร็ดความรทู้ ีเ่ กยี่ วข้องกบั เน้ือหา (Design Focus) เรือ่ ง การต่อยอดธุรกิจ
24. นักเรยี นศกึ ษาเนื้อหาเกยี่ วกับการนำเสนอวธิ กี ารแกป้ ญั หา ผลการแก้ปญั หาหรือชิน้ งานและ
สงั เกตตวั อยา่ ง จากหนังสอื เรียน
25. จากน้นั ใหน้ ักเรียนแตล่ ะกล่มุ ส่งตวั แทนออกมานำเสนอแนวทางการทดสอบ ประเมินผล และ
ปรบั ปรุงแก้ไขวิธกี ารแกป้ ัญหาหรอื ช้นิ งาน รวมถงึ วธิ กี ารแก้ปัญหา ผลการแก้ปัญหาหรือ
ชิ้นงานทไ่ี ดบ้ ริเวณหนา้ ชนั้ เรียน
ขั้นท่ี 5 สรุปสิ่งท่เี รยี นรู้
26. ครูถามคำถามกระตนุ้ ความคิดของนักเรยี นวา่ “กระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรมกับ
การแกป้ ัญหาชมุ ชนหรือท้องถ่นิ ประกอบไปด้วยกขี่ นั้ ตอน อะไรบ้าง”
(แนวตอบ : กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมกับการแกป้ ัญหาชมุ ชนหรือท้องถิ่น
ประกอบดว้ ย 6 ขน้ั ตอน คอื
ข้ันตอนท่ี 1 ระบุปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 รวบรวมข้อมลู และแนวคดิ ท่ีเก่ียวข้องกบั ปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 ออกแบบวธิ ีการแก้ปญั หา
ขนั้ ตอนที่ 4 วางแผนและดำเนนิ การแกป้ ัญหา
ขน้ั ตอนท่ี 5 ทดสอบ ประเมินผล และปรบั ปรุงแก้ไขวิธีการแกป้ ัญหา หรือชิ้นงาน
ขั้นตอนที่ 6 นำเสนอวิธกี ารแก้ปญั หา ผลการแกป้ ญั หา หรือชน้ิ งาน
ข้ันที่ 6 นำเสนอผลงาน
27. เปิดโอกาสให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอผลงานหน้าชั้นเรยี นโดยครูกำหนดเวลาใน
การนำเสนอตามความเหมาะสม จากน้นั ให้ครูและเพื่อนร่วมชนั้ ร่วมกันประเมินผลการนำเสนอ
ผลงานของนักเรยี นแตล่ ะกลุ่ม
ข้นั สรุป
1. เปดิ โอกาสใหน้ ักเรียนซกั ถามข้อสงสยั โดยครูให้ความรู้เพมิ่ เตมิ ตามความเหมาะสม
2. ครปู ระเมินผลโดยการสงั เกตการตอบคำถามและการนำเสนอผลงานของนักเรยี น
3. นกั เรียนและครรู ่วมกันสรปุ เกี่ยวกับกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรมกบั การแก้ปัญหาชุมชน
หรอื ท้องถน่ิ
7. การวดั และประเมินผล วิธวี ดั เคร่ืองมือ เกณฑ์การประเมนิ
- ตรวจแบบทดสอบ
รายการวดั ก่อนเรยี น - แบบทดสอบก่อนเรียน ประเมินตามสภาพจริง
7.1 การประเมนิ ก่อนเรยี น
- ตรวจใบงานที่ 4.1.1 - ใบงานท่ี 4.1.1 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 4
เร่ือง การแก้ปัญหา
ชุมชนหรือท้องถ่นิ ด้วย
กระบวนการออกแบบ
เชิงวศิ วกรรม
7.2 การประเมินระหวา่ งการ
จัดกจิ กรรม
1) การระบุปัญหา
2) การรวบรวมข้อมูล - ตรวจใบงานท่ี 4.1.2 - ใบงานที่ 4.1.2 ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
และแนวคิด
ท่เี กยี่ วข้อง - ตรวจใบงานท่ี 4.1.3 - ใบงานท่ี 4.1.3 ร้อยละ 60 ผา่ นเกณฑ์
3) การออกแบบวิธกี าร - ตรวจใบงานที่ 4.1.4 - ใบงานท่ี 4.1.4 รอ้ ยละ 60 ผ่านเกณฑ์
แกป้ ญั หา
- ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
4) การวางแผนและ ผลงาน. การนำเสนอผลงาน ผา่ นเกณฑ์
ดำเนนิ การแก้ปญั หา - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ 2
การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
5) การนำเสนอผลงาน
6) พฤติกรรมการทำงาน
รายบุคคล
7) พฤติกรรมการทำงาน - สงั เกตพฤติกรรม - แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ระดบั คุณภาพ 2
กลมุ่ การทำงานกล่มุ
การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
8) คณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี ินัย - แบบประเมนิ ระดบั คุณภาพ 2
อันพงึ ประสงค์ ความรับผดิ ชอบ คณุ ลักษณะ ผา่ นเกณฑ์
ใฝเ่ รียนรู้ และมงุ่ มนั่ อนั พึงประสงค์
ในการทำงาน
8. สอ่ื /แหลง่ การเรียนรู้
8.1 สอ่ื การเรียนรู้
1) หนังสือเรยี นรายวชิ าพืน้ ฐาน เทคโนโลยี (การออกแบบและเทคโนโลย)ี ม.3 หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 4
เรือ่ ง การแกป้ ญั หาชมุ ชนหรอื ท้องถน่ิ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
2) ใบงานท่ี 4.1.1 เร่ือง การระบุปัญหา
3) ใบงานที่ 4.1.2 เร่ือง การรวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ท่เี กย่ี วข้อง
4) ใบงานที่ 4.1.3 เรื่อง การออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา
5) ใบงานที่ 4.1.4 เรื่อง การวางแผนและดำเนินการแก้ปญั หา
6) แผน่ ปา้ ย เรื่อง กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม
7) บัตรภาพ เรื่อง การร่างภาพ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องคอมพิวเตอร์
2) อนิ เทอร์เน็ต
ใบงานที่ 4.1.1
การระบุปญั หา
คำชแี้ จง : ให้นักเรยี นสำรวจปญั หาทีพ่ บในชมุ ชนหรอื ทอ้ งถ่ิน โดยระบุปญั หาและรายละเอียดต่าง ๆ
ให้ถูกต้อง
1. สรุปรายการปัญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชนหรือท้องถิ่น
1)
2)
3)
2. จดั ลำดบั ความสำคญั ของแต่ละปัญหา
รายการปญั หา ขนาด ความรนุ แรง ความยากงา่ ย ความสนใจ คา่ คะแนน ลำดบั
(R1) (R2) (R3) (R4) รวม
ปญั หา
ปัญหา
ปญั หา
3. เลอื กปัญหาท่ตี ้องการแกไ้ ข
4. ระบุปัญหาทีต่ ้องการแก้ไข
ใบงานที่ 4.1.1 เฉลย
การระบปุ ญั หา
คำชแ้ี จง : ให้นกั เรียนสำรวจปัญหาที่พบในชมุ ชนหรือทอ้ งถ่นิ โดยระบุปญั หาและรายละเอียดต่าง ๆ
ให้ถูกต้อง
1. สรุปรายการปัญหาทีเ่ กิดขน้ึ ในชมุ ชนหรือทอ้ งถิน่
1) ปญั หาขยะมูลฝอย
2) ปญั หาน้ำเนา่ เสยี
3) ปญั หาขาดแคลนไฟฟ้า
2. จดั ลำดบั ความสำคญั ของแตล่ ะปญั หา
รายการปญั หา ขนาด ความรนุ แรง ความยากงา่ ย ความสนใจ คา่ คะแนน ลำดบั
(R1) (R2) (R3) (R4) รวม
ปญั หาขยะมลู ฝอย 43 2 4 53 3
ปญั หาน้ำเนา่ เสยี 53 3 5 66 1
ปัญหาขาดแคลนไฟฟา้ 3 4 3 3 51 2
3. เลอื กปัญหาท่ีต้องการแก้ไข ปญั หาน้ำเนา่ เสีย
4. ระบปุ ัญหาทีต่ ้องการแก้ไข ปญั หายุงลาย