The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

โดย ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sonchai.thz, 2021-12-28 04:16:45

รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

โดย ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Keywords: งานวิจัย

41

4) การมีส่วนร่วมในระดับรับฟังความคิดเห็น (Consult) เป็น
ลักษณะการให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความรู้สึกและความคิดเห็น
ประกอบการตัดสินใจดังนั้น ประชาชนมีบทบาทในฐานะเป็นผู้ให้ข้อมูล การตัดสินใจเป็นบทบาทของ
หน่วยงานภาครัฐเทคนิคการมีส่วนร่วมในลักษณะนี้ เช่น การสารวจความคิดเห็น การประชุมสาธารณะ
ปจั จบุ นั น้ีกฎหมายส่วนใหญ่มักกาหนดให้หน่วยงานภาครัฐจัดการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างน้อยใน
ระดับการรับฟงั ความคดิ เหน็

5) การมีส่วนร่วมในระดับให้ข้อมูลข่าวสาร (Inform) เป็นการมี
ส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่าท่ีสุด บทบาทของประชาชนน้อยมากเพียงแต่รับทราบว่าเกิดอะไรท่ี
ไหน ปัจจุบันการท่ีภาครัฐตัดสินใจในเรื่องที่กระทบประชาชนและแจ้งให้ประชาชนทราบสะท้อน
ความล้าสมัยในการบริหารงานแต่ในขณะเดียวกันจาเป็นต้องตระหนักว่าไม่ว่าจะเปิดให้ประชาชนมี
ส่วนร่วมในขั้นใดการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนเป็นเรื่องที่สาคัญมาก แต่ต้องไม่ใช่การให้ข้อมูลใน
ลักษณะประชาสัมพันธ์ โดยให้มองแต่ด้านดีเท่านั้นหัวใจสาคัญ คือ การให้ข้อเท็จจริง ครอบคลุมและ
เพียงพอเพอ่ื ทาใหป้ ระชาชนไดข้ ้อเทจ็ จริงและตดั สนิ ใจแสดงความคิดเห็นอยา่ งมคี ุณภาพ

ดังนัน้ ตัวแบบการมีส่วนร่วมของประชาชน IAP2 เป็นตัวแบบในการออกแบบ
กระบวนการมีสว่ นร่วมของประชาชน เนื่องจากตัวแบบแบ่งเป็น 5 ขั้นตอนช่วยให้เห็นความแตกต่างแต่
ละระดับภาษาที่ใช้เป็นภาษาทางบวก อาทิเช่น การมีส่วนร่วมข้ันสูงสุด ใช้ศัพท์ว่าขั้นการเสริมอานาจ
ไม่ใช่การควบคุมโดยประชาชนซ่ึงหัวใจของการมีส่วนร่วมของประชาชนไม่ว่าจะเป็นตัวแบบใดมักจะ
สะทอ้ นอานาจและความสมั พนั ธ์ระหวา่ งภาครฐั หรือองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ และประชาชน

2.2.8 การส่งเสริมการมสี ่วนรว่ มของประชาชน
หลักการสาคัญของการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ทาให้เกิดความสาเร็จ 5

ประการ 43 ดงั น้ี
1) ภาวะผู้นาท่ีจะสร้างความเช่ือมั่น ศรัทธาและความร่วมมือร่วมใจในการ

ทางานที่มีความสอดคล้องกัน ซ่ึงต้องมีวิสัยทัศน์ในเชิงกลยุทธ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและเสียสละเพ่ือ
ประโยชนส์ ่วนรวม

2) การสร้างค่านิยมในการทางานกันอย่างเหนียวแน่น จึงจะทาให้เกิด
ความสัมพนั ธ์ท่ีเป็นมติ รภาพอย่างแทจ้ รงิ

3) การพัฒนาปรับปรุงการทางานอย่างสม่าเสมอเพ่ือให้เกิดการปรับ
กระบวนการทางานอย่างต่อเน่ือง

4) การจัดทาฐานขอ้ มูลสมาชิกเครือข่ายเพื่อใช้ในการติดต่อประสานงาน และ
มปี ฏิสัมพนั ธ์ระหวา่ งกนั

5) การสร้างช่องทางในการตดิ ต่อสอ่ื สาร และแลกเปลย่ี นเรียนรูร้ ะหวา่ งกัน
การสง่ เสริมการมีสว่ นรว่ มของประชาชนไว้ 2 ประการ44 คอื

43 สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,“แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ.2551- 2555.”
http://opdc.go.th//special.php?spc_id=2&content_id=156, (สืบค้นเม่ือวันท่ี 8 กรกฎาคม 2559).

44 สานักมาตรฐานการศึกษา สานกั งานสภาสถาบันราชภฏั กระทรวงศึกษาธกิ าร สานกั มาตรฐานอุดมศกึ ษาทบวงมหาวทิ ยาลัย,
ชุดวิชาการวิจยั ชุมชน, (นนทบรุ ี : เอสอารป์ ร๊ินต้งิ แมสโปรดกั ส์, 2545), 118.

42

1. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ สามารถทาได้ ดงั ต่อไปน้ี
1.1 จัดเวทีวิเคราะห์สถานการณ์ของประชาชนเพื่อทาความเข้าใจ

และเรียนรู้รว่ มกนั ในเรื่อง ประเดน็ ต่างๆ
1.2 จัดเวทีแลกเปล่ียนข้อมูล ประสบการณ์ หรือจัดทัศนศึกษา

ภายในชมุ ชนและ ระหวา่ งองคก์ รตา่ งๆ กับประชาชน
1.3 จัดอบรมทักษะเฉพาะดา้ นต่างๆเพ่ือการพัฒนาทักษะ
1.4 ลงมือปฏิบตั ิจรงิ
1.5 สรปุ บทเรียนและถา่ ยทอดประสบการณ์ท่ีจะนาไปสู่การปรับปรุง

กระบวนการทางานที่เหมาะสม
2. การพฒั นาผู้นาเครือข่าย เพ่ือให้ผู้นาเกิดความม่ันใจในในความสามารถที่มี

จะช่วยให้สามารถริเร่ิมกิจกรรมการแก้ไขปัญหา หรือกิจกรรมการพัฒนาได้ ซ่ึงสามารถทาได้หลายวิธี
ดังน้ี

2.1 แลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างผู้นาท้ังภายในและภายนอกชุมชน
2.2 สนบั สนนุ การจัดเวทแี ลกเปลีย่ นเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เน่อื ง และ
สนบั สนุนขอ้ มลู ขา่ วสารท่ีจาเป็นอย่างตอ่ เนือ่ ง
2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้และดาเนินการร่วมกันของเครือข่ายอย่าง
ต่อเนอ่ื งจะทาใหเ้ กิดกระบวนการจัดการและจดั องค์กรรว่ มกนั
2.2.9 กรรมวธิ ีในการมีส่วนรว่ มของประชาชน
กรรมวิธกี ารมีสว่ นรว่ มของประชาชน45 สามารถดาเนินการดว้ ยวธิ ดี งั ต่อไปนี้
1) การเข้าร่วมประชุมอภิปราย เป็นการเข้าร่วมหรือเน้ือหาสาระของ
แผนงานหรือโครงการพฒั นาเพ่ือสอบถามความคิดเหน็ ของประชาชน
2) การถกเถียง เปน็ การแสดงความคิดเห็น โต้แย้งตามแนวทางประชาธิปไตย
เพอ่ื ให้ทราบผลต่างๆ ท้ังผลดีและผลเสีย โดยเฉพาะประชาชนในท้องถ่ินท่ีมีผลกระทบ ทั้งทางบวกและ
ทางลบต่อความเป็นอยขู่ องเขา
3) การให้คาแนะนาปรึกษากับประชาชนต้องเข้าร่วมเป็นคณะกรรมการใน
การบริหารโครงการ เพ่ือให้ความม่ันใจว่ามีเสียงของประชาชนท่ีถูกผลกระทบ เข้ามีส่วนร่วม รับรู้และ
ร่วมในการตดั สนิ ใจและการวางแผนดว้ ย
4) การสารวจ เป็นวิธีการมีส่วนร่วมให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็นในเรื่อง
ตา่ งๆ อย่างทวั่ ถึง
5) การประสานงานร่วม เป็นวิธีการที่ให้ประชาชนเข้าร่วมต้ังแต่การคัดเลือก
ตัวแทนของกลุม่ เขา้ ไปเปน็ แกนนาในการบรหิ ารหรือจดั การ
6) การจัดทัศนศึกษา เป็นการใช้ประชาชนได้เข้าร่วมสอบข้อเท็จจริง ณ
จุดดาเนินการ ก่อนใหม้ ีการจัดสนิ ใจอยา่ งใดอยา่ งหนึง่

45 โกวทิ ย์ พวงงาม, การปกครองทอ้ งถน่ิ ไทย, (กรงุ เทพฯ : วิญญชู น, 2550), 18

43

7) การสัมภาษณ์ หรือพูดคุยกับผู้นาอย่างไม่เป็นทางการ รวมถึง
ประชาชนที่ได้รับผลกระทบ เพอ่ื หาขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความคิดเหน็ และความต้องการทแี่ ท้จริงของท้องถิน่

8) การไต่สวนสาธารณะ เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าร่วม
แสดงความคิดเหน็ ตอ่ นโยบาย กฎ ระเบยี บในประเด็นต่างๆ ท่จี ะมีผลกระทบต่อประชาชนโดยรวม

9) สานสาธิต เป็นการใช้เทคนิคทุกรูปแบบในการสื่อสาร เพื่อเผยแพร่
ข้อมูลข่าวสาร ให้ประชาชนรับทราบอยา่ งท่ังถึงและชดั เจนอนั จะเปน็ แรงจงู ใจให้เขา้ มามสี ว่ นรว่ ม

10. การรายงานผล ให้ประชาชนได้เปิดโอกาสทบทวนและสะท้อนผลการ
ตดั สินใจตอ่ โครงการอีกครงั้ หากมีการเปลีย่ นแปลงจะได้แกไ้ ขได้ทนั ท่วงที

2.2.10 ประโยชน์ของการมีสว่ นรว่ มของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนไม่ว่าในหน่วยงานใดก็ตามเป็นส่ิงท่ีพึงปรารถนา เพราะ

การมีสว่ นร่วมมีคุณประโยชนห์ ลากหลายประการ อย่างไรก็ตามประโยชน์ท่ีจะได้จากการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนขึน้ อย่กู บั ความจริงใจและความจรงิ จงั ในการดาเนนิ การดว้ ยซึง่ ประโยชน์โดยท่ัวไป46 ได้แก่

1. การเพิ่มคุณภาพการตัดสินใจ การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการให้
ข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็นต่างๆ จะช่วยให้ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจท่ีครบถ้วนรอบคอบมาก
ขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้เกิดทางเลือกใหม่ ทาให้การตัดสินใจรอบคอบและได้รับการยอมรับมากข้ึน
โดยเฉพาะการตัดสนิ ใจท่กี ระทบกับประชาชนโดยตรง

2. ลดค่าใช้จ่ายและการสูญเสียเวลา เม่ือการตัดสินใจนั้นได้รับการยอมรับ
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมตัง้ แต่ตน้ รับทราบข้อมูลคาอธิบายต่างๆ เห็นประโยชน์ส่วนรวมท่ีจะได้รับ จะ
ช่วยลดความระยะเวลาแต่เม่ือประชาชนยอมรับ การนาโครงการไปสู่การปฏิบัติจะรวดเร็วขึ้น ซ่ึงใน
ประเด็นน้ีจะเห็นว่าโครงการของภาครัฐที่เร่งการตัดสินใจหรือปกปิด เมื่อประชาชนทราบภายหลังและ
ต่อต้านบางโครงการนาไปสู่การปฏิบัติไม่ได้ ล่าช้าเป็นปีๆ บางโครงการสามารถก่อสร้างได้เสร็จและ
ประชาชนไม่ยอมให้เข้าไปดาเนินการ กลายเป็นอนุสาวรีย์ร้าง ซ่ึงเป็นเร่ืองที่น่าเสียดาย งบประมาณ
ดงั กลา่ วสามารถนาไปสร้างคุณประโยชน์ไดม้ ากมาย

3. การสร้างฉันทามติ สาหรับสถานการณ์ปัจจุบันการสร้างฉันทามติอาจ
เป็นเรื่องยาก สังคมเรากลายร่างเป็นพหุลักษณ์และต้องยอมรับความหลากหลายแตกต่างทางความคิด
กลไกท่ีช่วยให้ความแตกต่างน้ันได้มีการแลกเปล่ียน คือ กลไกการมีส่วนร่วมของประชาชน ในทาง
หลักการเราเชื่อว่าการมีส่วนร่วมของประชาชนอาจช่วยป้องกันความขัดแย้งได้แต่ในสังคมไทยที่ผ่านมา
ภาครัฐมักดาเนินการตัดสินใจไปก่อน เม่ือประชาชนต่อต้านจึงจัดกระบวนการการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนซ่ึงช้าไปแล้ว หากเกิดเป็นความขัดแย้งข้ึน จาเป็นต้องใช้หลักการจัดการความขัดแย้งเข้ามา
แทนดังนั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนจึงสามารถช่วยลดความขัดแย้งทางการเมือง และและเกิด
ความชอบธรรมในการตัดสนิ ใจของรัฐ

4. ร่วมมอื ในการนาไปปฏบิ ตั ิ การมีสว่ นรว่ มของประชาชนเมื่อประสบ
ความสาเร็จจะทาใหป้ ระชาชนเกิดความรู้สึกเป็นเจา้ ของและมีความกระตือรือร้นในการช่วยใหเ้ กดิ ผล
ในทางปฏิบตั ิ

46 อรทัย กก๊ ผล, คู่คดิ คูม่ อื การมสี ่วนร่วมของประชาชน สาหรบั นักบรหิ ารทอ้ งถ่ิน, 26-28.

44

5. ช่วยทาให้ผู้บริหารท้องถ่ินมีความใกล้ชิดกับประชาชน การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนช่วยให้ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเกิดความใกล้ชิด สร้าง
ความสัมพันธ์ที่ดี สร้างความรู้สึกว่าองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเป็นของประชาชนไม่ใช่เป็นของ
นักการเมืองเท่านั้น นอกจากน้ันด้วยความใกล้ชิด ผู้บริหารท้องถิ่นจะไวต่อความรู้สึกห่วงกังวลของ
ประชาชนและเกดิ ความตระหนักในการตอบสนองต่อความกงั วลของประชาชน

6. ช่วยพัฒนาความเชี่ยวชาญและความคิดสร้างสรรค์ของสาธารณชน การมี
ส่วนร่วมของประชาชนเป็นการให้การศึกษาแก่ประชาชน เพ่ือเรียนรู้กระบวนการตัดสินใจและเป็นเวที
ฝกึ ผู้นาชุมชน

7. ช่วยทาใหป้ ระชาชนสนใจประเดน็ สาธารณะมากข้นึ การมสี ่วนร่วมเป็นการ
เพ่ิมทุนทางสงั คม และช่วยเสริมสร้างให้ประชาชนเป็นพลเมืองท่ีกระตือรือร้นสอดคล้องกับการปกครอง
ตามหลกั ประชาธิปไตยแบบมสี ว่ นร่วม

2.2.11 ปญั หาและอุปสรรคในการมีส่วนรว่ มของประชาชน
การท่ีประชาชนไม่เข้าไปมีส่วนร่วมมีหลายสาเหตุ โดยจาแนกปัญหาได้ 6 สาเหตุ47

ดังนี้
1. ปญั หาจากฝ่ายทค่ี วรใหเ้ ขา้ ร่วม (ฝ่ายข้าราชการ ฝ่ายผลิต) ได้แก่ฝ่ายที่เคย

ทาอะไรเพียงกลุ่มเดียว หรือคนเดียว แล้วควรให้ฝ่ายอื่นๆมีส่วนร่วมด้วย อาจเน่ืองมาจาก 1) ไม่เคยชิน
เพราะทาให้ตนขาดความสะดวก ขาดความเป็นส่วนตัว การใช้ภาษาพูดเป็นภาษาอังกฤษฝ่ายเกษตรจึง
ฟังไม่รู้เรื่อง 2) ทาให้ฝ่ายอื่นๆ มาเห็นพฤติกรรมการทางานของตนหรือฝ่ายตน 3) ไม่เห็นความจาเป็น
เจ้าหน้าที่ไม่เห็นความจาเป็นที่ให้ฝ่ายอื่นเข้ามามีส่วนร่วมด้วย 4) คิดว่าฝ่ายอื่นไม่มีความรู้เพียงพอ 5)
คดิ ว่าฝา่ ยอน่ื ดอ้ ยกวา่ ฝ่ายตน 6) การยึดถอื ระบบอุปถมั ภ์ 7) มองเห็นวา่ ฝ่ายอน่ื (ราษฎร์) เหมือนเป็นวัตถุ
ที่ไม่มชี ีวิตจิตใจ จึงคิดวา่ จะให้เขามาร่วมหรือไม่ให้ก็แล้วแต่ 8)พิจารณาว่ามีตัวแทนของลูกค้าเข้ามาร่วม
แล้ว แต่ไม่คานึงถึงผู้ที่เข้ามาร่วมมักเป็นบุคคลที่ไม่ใช่ตัวแทนทั้งหมดของลูกค้า 9) มักให้ชาวบ้านเข้า
ร่วมด้วย โดยชาวบ้านมีส่วนเสียประโยชน์มากกว่าได้ แล้วจ่ายเงินชดเชยท่ีบางโครงการ
จา่ ยนอ้ ยไป หรือจ่ายไปชาวบ้านเอาไปจ่ายฟุ่มเฟือยจนไมน่ านชีวติ ก็แย่กว่าเดิม

2. ฝ่ายที่ควรจะเข้ามีส่วนร่วม 1) ไม่ทราบเรื่องการให้เข้าไปมีส่วนร่วมด้วย
หรือไม่ทราบว่า มีกิจกรรมน้ัน 2) กลัวว่าเข้าไปมีส่วนร่วมแล้วจะเสียเวลาหรือเกิดความขัดแย้งหรือเสีย
ผลประโยชน์ 3) ไม่ทราบว่าจะได้เข้าร่วมได้อย่างไร เนื่องจากไม่เคยได้พูดคุยกันอย่างเสมอภาค 4) กลัว
ว่ามีความแตกต่างทางเศรษฐกิจและสังคม 5) เช่ือว่าการเข้าไปร่วมไม่จาเป็นสาหรับตน 6) เข้าไปร่วม
แลว้ ไม่ได้รับการยอมรับ 7) มีอคติเป็นส่วนตัว อาจไม่มั่นใจในความสามารถของตนหรือมีบทเรียนที่ไม่ดี
ในอดตี 8) รู้สึกว่าเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ทาตามสัญญาหรือไม่ให้ความเป็นธรรม 9) การมีส่วนร่วมเป็นไป
ไม่เท่าเทียมกัน 10) อยากเข้าไปมีส่วนร่วม แต่มีแรงเสียดทานจากสังคมรอบข้าง 11) เขา้ ไปร่วมดว้ ย
แล้วแต่ยึดประโยชน์สว่ นตนมากกว่าประโยชนส์ ่วนรวม

47 นรนิ ทร์ชัย พัฒนพงศา, การมีสว่ นรว่ ม หลักการพ้นื ฐาน เทคนิคและ กรณีตวั อย่าง,พมิ พ์ คร้งั ท่ี2, (เชยี งใหม:่ สริ ลิ กั ษณก์ ารพิมพ์,
2547), 23-27.

45

3. ปัญหาจากทั้งสองฝ่าย 1) ต่างฝ่ายต่างไม่เห็นความจาเป็นที่จะต้องให้ฝ่าย
อ่ืนมีส่วนร่วม 2) การไม่ชอบรวมกลุ่มหรือไม่ชอบทางานเป็นทีม ท้ังฝ่ายที่ได้ประโยชน์และเสียประโยชน์ไม่
ชอบรวมกลมุ่ 3) ชาวบา้ นบางคนเหน็ แค่ประโยชน์ส่วนตน 4) ปัญหาจากการเอาเปรยี บของแตล่ ะฝา่ ย

4. ปัญหาจากหลักการที่ยึดถือต่างกัน 1) ความขัดแย้งไม่ร่วมมือมีรากฐาน
จากปรัชญาแนวคิดและทิศทางการพัฒนาที่ต่างกัน 2) การมีส่วนร่วมจะเกิดข้ึนได้อย่างแท้จริง ต้องมา
จากพ้ืนฐานความสัมพันธ์เชิงอานาจท่ีเท่าเทียมกัน 3) การบริหารงานแบบรวมศูนย์อานาจจะไม่เอ้ือ
ต่อการมีส่วนร่วม 4) มีการคอรัปชั่นเกดิ ขนึ้ ทาให้ฝ่ายท่ีไดร้ บั ประโยชนพ์ ยายามปกป้องประโยชนน์ ั้นๆ

5. ปัญหาจากการสื่อสารการเข้าใจไม่ดีพอ 1) การมีส่วนร่วมจะเริ่มข้ึนเม่ือ
ประชาชนได้รับข่าวสาร 2) การมีส่วนร่วมจะเพ่ิมไปยังบุคคลกลุ่มต่างๆมากขึ้น 3) ขาดข้อมูลพ้ืนฐาน
อย่างเพียงพอ ควรจาแนกประชาชนในท้องถิ่นเป็นกลุ่มผู้สนใจแต่ละเรื่องให้ชัดเจน 4) การขาดข้อมูล
อยา่ งเพยี งพออาจทาให้การแสดงความคิดเห็นเป็นไปโดยใชอ้ ารมณ์

6. การใช้วิธีการยังเป็นไปไม่เหมาะสมพอ 1) การเร่ิมโครงการต้องเริ่มท่ีตัว
ปัญหาแล้วใหป้ ระชาชนเขา้ มาร่วมกับปัญหาน้ันโดยรว่ มอภิปรายแล้วกาหนดวิธีแก้ไข 2) การแสดงความ
คิดเห็นไม่ควรเป็นการพูดในท่ีประชุมเพียงอย่างเดียว เพราะอาจมีผลกระทบต่อผู้ให้ ความเห็นหรือ
ครอบครัวและอาชพี ของบคุ คลนัน้ ๆ 3) ควรให้ประชาชนเข้ามีส่วนเป็นกรรมการในหน่วยงานของรัฐบาล
ให้มากขนึ้ 4) การมีสว่ นรว่ มตอ้ งใหเ้ ป็นความสมั พันธ์เชิงอานาจท่ีแสดงความคิดเห็นได้โดยเท่าเทียมและ
อยู่บนพื้นฐานที่เคารพซ่ึงกันและกัน 5) ไม่ระบุให้ชัดเจนว่าจะให้ฝ่ายใดมีส่วนร่วมแค่ไหนเพียงใดและ
อย่างไร ให้เหมาะสมแต่ละโครงการ 6) ให้โอกาสเข้าร่วมในสถานที่และเวลาท่ีไม่เหมาะสมทาให้
ประชาชนที่ไม่สะดวกแกก่ ารเข้ารว่ มไดจ้ งึ ไมเ่ ขา้ มามีส่วนร่วม

ดังน้นั จากการศึกษาแนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวกับการมีส่วนร่วมของประชาชน มีเง่ือนไขที่
สาคญั ในการเขา้ ไปมีส่วนรว่ มของประชาชนเกดิ จากความพร้อม ความเต็มใจ ความรู้สึกผูกพันกับท้องถิ่น
วิถีชีวิตวัฒนธรรม และความกระตือรือร้น แต่การดาเนินโครงการของหน่วยงานภาครัฐท่ีไม่ประสบ
ความสาเร็จส่วนใหญ่จะเกิดจากปัญหา อุปสรรค ที่ไม่ได้รับความร่วมมือจากภาคประชาชน ท่ีไม่ได้เข้า
มามีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ซึ่งอาจเกิดจากการท่ีประชาชนยังขาดความตระหนัก และจิตสานึก
ความรู้สึกรับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อมหรือระบบการบริหารราชการแบบเดิม ที่ไม่กระจาย
ขา้ ราชการอาจมองวา่ ประชาชนเป็นแค่เพียงผู้รับผลประโยชน์เท่านน้ั ข้าราชการสามารถใชอ้ านาจหน้าท่ี
หรอื กฎหมายเขา้ มาจดั การแก้ไขปัญหาได้

46

2.3 แนวคดิ เกีย่ วกับการขบั เคลอ่ื นกระบวนการแผนตาบล/ชมุ ชน

2.3.1 ความหมายของแผนชุมชน
ความหมายของแผนชมุ ชน48 หมายถงึ การกาหนดอนาคตและกจิ กรรมการพัฒนาของชุมชน

โดยเกิดข้ึนจากคนในชุมชนท่ีมีการรวมตัวกันจัดทาแผนขึ้นมา เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือ
ท้องถน่ิ ของตนเอง ให้เป็นไปตามที่ต้องการและสามารถแก้ปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่ คนในชุมชนมีส่วนร่วมคิด
รว่ มกาหนด แนวทางและทากจิ กรรมการพัฒนาร่วมกัน ยดึ หลักการพ่ึงตนเอง ลดการพ่ึงพิงภายนอก คานึงถึง
ศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อมในท้องถ่ินเป็นหลัก จึงกล่าวได้ว่า แผน
ชุมชนเป็นของชุมชนดาเนินการโดยชมุ ชนและเพอ่ื ประโยชนข์ องชุมชนเอง ซ่ึงแตกต่างจากแผนท่ีภาครัฐจัดทา
ขน้ึ เพือ่ การจัดสรรงบประมาณเป็นหลัก

แผนชุมชน49 “เปน็ กระบวนการวิเคราะหว์ ินจิ ฉยั ปัญหา วา่ คอื อะไร และจะทาอะไร คือการ
วิเคราะห์ทางเลือก เป็นกระบวนการทางปัญญาท่ีทรงพลัง เม่ือวิเคราะห์แล้วนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงซึ่งจะ
นาไปส่กู ารแก้ปัญหา กระบวนการจัดทาแผนชุมชนเป็นการเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง (Interactive Learning
interaction)”

แผนชุมชน50 “เป็นสว่ นหน่ึงของระบบการบรหิ ารจดั การชมุ ชน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของ
ความร่วมมือและการเรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนของตนและชุมชน ท่ี
สามารถบริหารจัดการกบั การพฒั นาและแกไ้ ขปัญหาของชมุ ชนได้ ชุมชนจะมีการดาเนินการใน ๖ เรื่อง คือ มี
ระบบข้อมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน มีการนาแผนไปปฏิบัติ มีทุนของชุมชน
และมีองค์กรเข้มแขง็ อยา่ งน้อย ๑ องค์กร

คาจากดั ความของแผนชมุ ชน51 การกาหนดอนาคตและกจิ กรรมพัฒนาของชุมชนโดยเกดิ ขึน้
จากคนในชุมชนท่ีมีการรวมตัวกันจัดทาแผนขึ้นมา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือท้องถ่ินของ
ตนเองให้เป็นไปตามทตี่ ้องการ และสามารถแก้ปัญหาท่ีชุมชนเผชิญอยู่ร่วมกัน โดยคนในชุมชนมีส่วน ร่วมคิด
รว่ มกาหนดแนวทางและทากิจกรรมการพัฒนาร่วมกัน โดยยึดหลักการพึ่งตนเองลดการพึ่งพิง ภายนอก ด้วย
การคานงึ ถงึ ศกั ยภาพ ทรัพยากร ภูมิปัญญา วิถชี ีวติ วัฒนธรรม และส่ิงแวดล้อมในทอ้ งถนิ่ เป็นหลกั

“แผนชุมชน”52 เป็นเครือ่ งมือหนง่ึ ท่ี กรมการพัฒนาชุมชนได้ใช้เป็นแนวทางส่งเสริมการมีส่วน
รว่ มของประชาชนในลกั ษณะของกระบวนการ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ และร่วมลงมือแก้ไขปัญหาเพ่ือพัฒนาชุมชน
บนพื้นฐานของทรัพยากรชุมชนโดยมีเป้าหมายให้ทุกชุมชน มีแผนชุมชนและใช้แผนชุมชนในการสะท้อนปัญหา
แก้ไขปญั หา และชเ้ี ป้าหมาย ความสาเร็จของการพัฒนาชุมชน ทาให้ชุมชนมีพัฒนาการในการบริหารจัดการที่มุ่ง
ไปสกู่ ารสรา้ งชุมชนเข้มแข็งอย่างเป็นระบบ เมอ่ื กรมการพัฒนาชุมชนได้สนับสนนุ ให้ชมุ ชนใช้กระบวนการวางแผน
ชุมชนแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชนมาระยะหนึ่ง ทาาให้เห็นช่องว่างในกระบวนการบูรณาการแผนชุมชนระดับ
หมู่บ้านสู่ระดับตาาบลซ่ึงยังไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าภาพหลักจัดทาาแผนชุมชนระดับตาบลในลักษณะของ
การบรู ณาการใหค้ รอบคลมุ ทกุ มติ ิได้อย่างชัดเจน

48 สานกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
49 ศาสตราจารย์ นายแพทย์ประเวศ วะสี
50 ดร.ขนิฏฐา กาญจนรังษีนนท์
51 กรมการพฒั นาชมุ ชน ได้ให้คาจากดั ความของ แผนชมุ ชน ในคู่มือการจัดเกบ็ ขอ้ มูล กชช.2 ค (ปี 2550- 2554)
52 สานักเสรมิ สร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพฒั นาชุมชน “แนวทางการบรู ณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล สาหรบั ศอช.ต.”
, 2556 กรุงเทพมหานคร . 2

47

ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 กรมการพัฒนาชุมชน ได้ส่งเสริมให้เครือข่ายภาคประชาชน
ระดับตาบล คือ ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน (ศอช.) เข้ามามีบทบาทเป็นกลไกหลักในการ
ขบั เคลอ่ื นกระบวนการแผนชุมชนระดับตาาบล โดยเฉพาะ ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนระดับตาาบล
(ศอช.ต.) ซึ่งตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการดาาเนินงานศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน
ได ้กาาหนดภารกิจให ศ้ ูนย์ประสานงานองค์การชุมชนทุกระดับบูรณาการการจัดทาาแผนชุมชน
ระดับตาาบลให ป้ ระสานกบั แผนพฒั นาองคก์ ร ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ แผนพัฒนาอาาเภอและแผนพัฒนา
จังหวัด เพ่ือนาาปัญหา / ความต้องการชุมชนท่ีอยู่ในแผนชุมชนมาบรรจุไว้ในแผนขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถนิ่ ตลอดจนนาาแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม ในแผนชุมชนไปพิจารณาบรรจุไว้ในข้อบังคับ
งบประมาณประจาาปีขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินเพ่ือให้แก้ไขปัญหาของชุมชนได้รับการสนับสนุน
งบประมาณ เกิดผลในทางปฏิบัติและถือให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับชุมชนจึงเป็นที่มาของการจัดทาา
เอกสารแนวทาง “การบูรณาการแผนชุมชนระดับตาาบล” ข้ึนมา เพ่ือให้ ศูนย์ประสานงานองค์การ
ชุมชนระดับตาบล (ศอช.ต.) ใช้เป็นแนวทางในการขับเคลื่อนกระบวนการบูรณาการแผนชุมชน
ระดับตาาบล ตอ่ ไป

ตามท่ีกล่าวมาข้างต้นน้ัน สามารถสรุปความหมายของแผนชุมชน โดยรวมได้ว่า
หมายถึง แผน ท่คี นในชุมชนมสี ่วนร่วมคิดรว่ มทาตั้งแต่ต้น เพ่ือแก้ไขปัญหาชุมชนของตนเอง และทุกคน
ในชุมชนร่วมรับประโยชน์ท่เี กดิ ขนึ้

2.3.2 กระบวนการจดั ทาแผนชมุ ชน มวี ัตถปุ ระสงคห์ ลักๆ ของการจัดทาแผนชุมชน 53 คือ
1) เพ่อื ให้ชาวบ้านซ่งึ เป็นเจ้าของชุมชน กาหนดอนาคตของชมุ ชนตนเอง
2) เพื่อให้เกิดกระบวนการในการจัดการชุมชน มีการเรียนรู้ร่วมกันเพิ่มคุณค่าทาง

สังคม และทุนทางเศรษฐกิจ เพ่ือนาไปส่กู ารวางแนวทางในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาและชมุ ชน
3) เพ่ือให้ชุมชนได้มีเป้าหมาย แนวทางท่ีชัดเจนในการพัฒนาให้คนในชุมชนอยู่ดีมีสุข

ในทกุ บา้ น
4) เพื่อให้ชุมชนได้มีแผนรองรับการสนับสนุนจากภายนอกได้อย่างครอบคลุม

สมบูรณ์ ในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชนท่ีผ่านมา กรมการพัฒนาชุมชน ได้กาหนดข้ันตอนการ
จดั ทาแผนชมุ ชนไว้ 5 ขนั้ ตอน54 ดงั น้ี

ขั้นตอนที่ 1 เตรียมความพร้อมชุมชน โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือ ผู้นาชุมชน
ผแู้ ทนคุ้มบา้ น
อบต. ผแู้ ทนกล่มุ /องคก์ รชมุ ชน

วตั ถปุ ระสงค์ เพ่อื ให้
1. ทีมงานระดับชุมชนมีความพร้อมและมีแนวทางในการจัด
กระบวนการแผนชุมชน
2. ผู้นาชุมชนตระหนักถึงความสาคัญและสามารถระบุความจาเป็น
ในการจัดกระบวนการแผนชุมชน

53 สานักเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “การขบั เคลือ่ นกระบวนการแผนชมุ ชน”, 2553
กรงุ เทพมหานคร. 6

54 หนงั สือระเบียบวาระชมุ ชน : กรมการพฒั นาชมุ ชน ปี 2551

48

3. ผนู้ าชมุ ชนกาหนดแผนปฏิบัติการและยอมรับพร้อมมีส่วนร่วม ใน
กระบวนการแผนชุมชนประเด็นการเรียนรู้

4. เป้าหมายของการทางานเพื่อชุมชนและความสาคัญของประชาชน
ทกุ คนในการทางานเพ่ือชุมชน

5. สถานการณข์ องชมุ ชน
6. สถานการณ์การทางานจากภาครัฐ ได้แก่การกระจายอานาจสู่
ทอ้ งถน่ิ แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาตฉิ บับท่ี 10
7. แนวคดิ การจดั กระบวนการแผนชมุ ชน
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูลเรียนรู้ตนเองและชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คือ
ผู้นาชุมชน ผูแ้ ทนคมุ้ บ้าน อบต. ผแู้ ทนกลมุ่ /องค์กรชมุ ชน ตัวแทนครัวเรือน ประชาชนในชุมชน
วัตถุประสงค์ เพอ่ื ให้
1. ชมุ ชนได้เรยี นรู้ข้อมลู ตนเอง ด้วยการวิเคราะห์ข้อมูล แยกแยะทุน
ทางสังคมและสภาพปญั หา
2. ชุมชนได้วิเคราะห์สาเหตุปัญหาและจัดลาดับความต้องการของ
ชุมชน
3. ชุมชนแยกแยะศักยภาพที่มีอยู่และสภาพปัญหาท่ีเป็นแนวโน้ม
กาลงั เกิดข้ึนกบั ชมุ ชน
ข้ันตอนท่ี 3 การกาหนดเป้าหมายและทิศทางการพัฒนา กลุ่มเป้าผู้แทน
คุม้ บา้ น อบต. ผ้แู ทนกลมุ่ /องคก์ รชุมชน ประชาชนในชมุ ชน
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ชุมชนกาหนดเป้าหมายว่าจะพัฒนาไปเป็น
ชุมชนแบบไหนในอนาคตพรอ้ มทัง้ กาหนดทศิ ทางและแนวทางการพฒั นาตามศักยภาพของชุมชน
ขน้ั ตอนท่ี 4 การกาหนดแผนงานโครงการพฒั นาชมุ ชน กลมุ่ เป้าหมาย ผู้นา
ชมุ ชน ผู้แทนคมุ้ บ้าน อบต. ผ้แู ทนกลมุ่ /องคก์ รชมุ ชน ประชาชนในชุมชน
วัตถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้ชุมชนมีแนวทางในการพัฒนาชุมชน สู่การเป็น
ชมุ ชนที่ปรารถนา
ขั้นตอนท่ี 5 การปฏิบัติตามแผนชุมชน กลุ่มเป้าหมาย คณะกรรมการ
บรหิ ารชมุ ชน อบต. หน่วยงานสนบั สนนุ การพัฒนาในพน้ื ที่
วตั ถปุ ระสงค์ เพอ่ื ให้เกดิ การปฏิบัติตามแผนชุมชนอยา่ งเป็นรูปธรรม
ดังนั้นการจัดทาแผนชุมชน 5 ขั้นตอน ดังกล่าวข้างต้นเป็นแนวทางที่กรมการพัฒนา
ชุมชนได้ศึกษาค้นคว้าจากกรณีศึกษาแผนชุมชนที่ประสบความสาเร็จในการส่งเสริมกระบวนการแผน
ชุมชน อาจปรับให้เข้ากับบริบทล้อมรอบหรือภูมิสังคมแต่ละพ้ืนท่ีได้ตามความเหมาะ โดยคานึงถึง
ประโยชน์ท่ีประชาชนจะได้รับจากการดาเนินงานนั้นๆ สรุปส้ันๆ ได้ว่า ปัจจุบัน เราอยู่จุดไหน ให้
วิเคราะห์ SWOT เราต้องการไปสู่จุดไหน ให้กาหนดวิสัยทัศน์ ตา แหน่ง ทิศทาง เราจะไปสู่จุดน้ันได้
อย่างไร ให้กาหนดแนวทางแก้ไข แผนยุทธศาสตร์ เราจะต้องทาอะไรเพื่อไปถึงจุดน้ัน แล้วแปลงแผน
ยุทธศาสตร์สู่กิจกรรม โครงการ และลงมือทา ยื่นขอรับการสนับสนุนต่อหน่วยงาน และติดตาม
ประเมนิ ผล ตามลาดับ

49

2.3.3 กระบวนการจดั ทาแผนชุมชนแบบมีสว่ นร่วม ควรมขี ัน้ ตอนการปฏบิ ัติ 55 ดังน้ี
1) การเตรยี มวิทยากรกระบวนการ
วัตถุประสงค์ เพ่ือเตรยี มวิทยากรกระบวนการ และจัดทาแผนการ ดาเนินงาน

เพ่อื ให้เปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ย เกิดประสิทธิภาพและประสบผลสาเร็จ
แนวทางดาเนนิ งาน
1.1) เตรียมทีมวิทยากรกระบวนการ โดยค้นหาบุคคลท่ีอยู่ในพ้ืนท่ี

เป้าหมาย จากหลากหลายหน่วยงาน /องค์กร/เครือข่าย โดยจะต้องเป็นผู้มีความรู้ ความสามารถและ
เขา้ ใจในกระบวนการจดั ทา แผนชมุ ชน เปน็ ผูม้ ปี ระสบการณ์ในการเป็นวิทยากรแผนชุมชน รู้เทคนิคการ
จัดเวทกี ระบวนการจัดทาแผนชุมชน

1.2) ออกแบบการเปิดเวทีในแต่ละขั้นตอน ด้วยการกาหนด
วัตถุประสงค์เนื้อหา ขน้ั ตอน กระบวนการและเทคนคิ ท่ีใช้ รวมทง้ั วทิ ยากรหลกั และวทิ ยากรผ้ชู ว่ ย

1.3) ซักซ้อมแนวคิด กระบวนการ เทคนิค วิธีการ ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือ
สาคัญสาหรบั วิทยากรกระบวนการแผนชมุ ชน

1.4) เตรียมประเด็นการพูดคุยในเวที เช่น แนวคิดของแผนชุมชน
เนื้อหาของการจัดทาแผนชุมชน เตรียมข้อมูลทั่วไปของชุมชนล่วงหน้า เช่น ข้อมูลสภาพของพ้ืนท่ีของ
ชมุ ชน อาณาเขตของชุมชน ประชากรและครัวเรอื น การประกอบอาชพี รวมทัง้ ประเด็นปัญหาที่สาคัญๆ
ของชมุ ชนนั้นๆ

1.5) เตรียมพื้นท่ี เช่น เตรียมคน เตรียมสถานที่ท่ีมีความพร้อม
สาหรับการ จัดเวที เตรียมอุปกรณ์และสื่อที่ใชใ้ นการจัดทาเวที

ผลท่ไี ดร้ บั ได้ทมี วิทยากรกระบวนการแผนชมุ ชน ท่ปี ระกอบด้วยบุคลากร จา
หลากหลายหน่วยงานรวมท้ังผู้นาชุมชน ซ่ึงมีทักษะและประสบการณ์จัดทาแผนชุมชนที่อยู่ใกล้ชิดกับ
พนื้ ทเี่ ปา้ หมาย (ตาบล/อาเภอ)

2) การเตรยี มชมุ ชนในการจดั ทาแผนชุมชน
วัตถุประสงค์ เป็นการเตรียมความพร้อมให้กับประชาชน กลุ่มแกนนาชุมชน

องค์กรชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในแต่ละพื้นท่ี ให้มีความเข้าใจในแนวความคิด กระบวน
ทัศน์ และกระบวนการจัดทา แผนชุมชน บทบาทความรับผิดชอบของฝ่ายต่างๆ ตลอดจนการสร้าง
ความผูกพนั และการคน้ หาบคุ คลที่อาสามาเปน็ กลุ่มแกนในการดาเนินงาน

แนวทางดาเนนิ งาน
2.1) จัดเวทีชี้แจงให้ประชาชน กลุ่มแกนนาชุมชน องค์กรชุมชน

และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความเข้าใจแนวความคิด กระบวนทัศน์ และแนวทางการจัดทาแผน
ชุมชนแบบองค์รวมโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ที่มุ่งสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน ที่เน้น
กระบวนการเรียนรู้รว่ มกนั ของทุกฝ่ายและมีการกระทารว่ มกัน

55 สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “การขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน”, 2553
กรุงเทพมหานคร.

50

2.2) ค้นหา กาหนดตัวบุคคล กลุ่มอาสาสมัครที่จะเป็นผู้นาหรือ
แกนในการผลักดันดาเนินการต่าง ๆ ตามกระบวนการจัดทาแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วม ของภาคีการ
พฒั นาต่างๆ โดยเนน้ ความสมัครใจและให้ชมุ ชนเปน็ ผเู้ สนอแนะ

2.3) การจัดเวทีทาได้ทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
เช่น การเปิดเวทีอย่างเป็นทางการ การพูดคุยภายหลังการประกอบพิธีกรรมทางศาสนา การพูดคุยใน
ร้านกาแฟ และการพูดคุยในกจิ กรรมร่วมตา่ งๆ ของชมุ ชน

2.4 ควรให้เวลากับชุมชนในการทาความเข้าใจ ดังนั้นการจัดเวที
ทาความเข้าใจและกระตุ้นสานึกของชุมชน จึงมักจะต้องทาหลายคร้ัง และหลายรูปแบบตามท่ีมีโอกาส
ผลท่ีได้รับ ประชาชน กลุ่มแกนนาชุมชน องค์กรชุมชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน มีความเข้าใจ
และมีแนวคิดตามกระบวนทัศน์ใหม่ พร้อมท่ีจะเข้าร่วมในกระบวนการจัดทาแผนชุมชนและการพัฒนา
ของชุมชน และมกี ลมุ่ แกนอาสาเข้าร่วมในกระบวนการ

ผลทีไ่ ดร้ ับ ประชาชน กลุ่มแกนนาชุมชน องค์กรชุมชน และองค์กรปกครอง
สว่ นท้องถ่ิน มคี วามเขา้ ใจและมแี นวคดิ ตามกระบวนทัศน์ใหม่ พรอ้ มทจ่ี ะเข้ารว่ มในกระบวนการจดั ทา
แผนชมุ ชนและการพฒั นาของชมุ ชน และมกี ลุ่มแกนอาสาเข้ารว่ มในกระบวนการ

3) การประเมนิ ศักยภาพของชมุ ชน
วัตถุประสงค์ เพ่ือประเมินศักยภาพในการพัฒนาของชุมชน (หมู่บ้าน ตาบล)

ในแงข่ องโอกาส ภยั คกุ คาม จุดแข็ง และข้อจากัดในการพัฒนาของชุมชน เพ่ือท่ีจะกาหนดปัญหาสาคัญ
ของชุมชนทางเลือก การพัฒนาของชุมชนรวมท้ังทุนทางสังคม วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ และ
ส่ิงแวดลอ้ มของชมุ ชน

แนวทางดาเนินงาน
3.1 จัดเวทีช้ีแจงให้ประชาชนกลุ่มแกนนาชุมชน องค์กรชุมชน

องค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ิน มคี วามเข้าใจในการประเมินศกั ยภาพของชุมชน
3.2 กาหนดแนวทางและข้ันตอนในการดาเนินงานและทาความ

เขา้ ใจร่วมกบั ผ้ทู ีเ่ กยี่ วขอ้ งทกุ ฝ่าย
3.3 กาหนดประเด็นของข้อมูลท่ีจะทาการศึกษา ซ่ึงมีประเด็นที่

สาคัญไดแ้ ก่ ประวัตหิ มบู่ า้ นหรือชมุ ชน ทรัพยากรท่ีมีอยู่ทั้งท่ีเป็นทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ที่ดิน ท่ีทากิน
ปา่ ไม้ แมน่ ้า ฯลฯ ทรพั ยากรที่คนสร้าง เช่น โรงเรียน โบสถ์ ศาลา หอกระจายข่าว ฯลฯ และทรัพยากร
บุคคล เช่น ผู้รู้หรือปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ประกอบพิธีกรรม ผู้เชี่ยวชาญด้านการอาชีพ ผู้นาตามธรรมชาติ
อื่น ๆ ผ้นู าทางการรวมถึงกล่มุ องค์กรต่าง ๆ จารีตประเพณี วัฒนธรรม เศรษฐกิจชุมชน เช่น กลุ่มอาชีพ
ต่างๆ กองทุนชุมชน รายรับ-รายจ่าย หน้ีสิน คนยากจน ผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการชุมชน รวมท้ัง
ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงต่างๆ สถานการณ์ของชุมชนในปัจจุบัน เช่น ภัยคุกคาม จุดแข็ง ข้อจากัด และ
ปญั หา

3.4 รวบรวมข้อมูลตามประเด็นที่กาหนด โดยอาจแบ่งเป็นกลุ่มๆ ทา
การเก็บข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เช่น ข้อมูลท่ีมีอยู่แล้ว (ข้อมูล กชช.2 ค / จปฐ.) บันทึกรายงานของ
หน่วยงานต่างๆ การสอบถามจากผู้รู้ การประชุมกลุ่มย่อย แล้วจึงนามารวมกัน ช่วยกันตรวจสอบ
ปรบั ปรงุ ใหส้ มบรู ณ์

51

3.5 การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนาข้อมูลที่ได้มาแยกแยะและหา
ความสัมพันธ์ในมิติต่างๆ และนาไปสู่ข้อสรุปเก่ียวกับ ปัญหา จุดอ่อน ข้อจากัด ความเข้มแข็ง และ
ศักยภาพของชุมชน ซึ่งสามารถบันทึกในรูปของแผนที่การต้ังถ่ินฐานของชุมชน พร้อมแสดงแหล่ง
ทรัพยากรต่างๆ แผนผังความสัมพันธ์ขององค์กร สถาบันต่างๆ เป็นต้น ซึ่งข้อมูลเหล่าน้ี จะเป็นพื้นฐาน
สาคัญในกระบวนการทางานข้ันต่อไป

3.6 ข้อมูลในเชิงศักยภาพของการพัฒนาและแนวโน้มของ
สภาพแวดล้อมต่างๆ ประชาชน กลุ่มแกนนา องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมีความเข้าใจ
สภาพทีแ่ ทจ้ ริงของชุมชนท้งั ในแงป่ ัญหา ข้อจากดั และศกั ยภาพ

3.7 ประชาชน องค์กรชุมชนและกลุ่มแกนนาต่างๆ เกิดความ
ตระหนักและสานึกร่วมในการที่จะช่วยแก้ไขปัญหาของชุมชน และมีความเช่ือม่ันในศักยภาพที่ชุมชนมี
อยู่

3.8 เป็นการเร่ิมกระตุ้นให้ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชน และท่ี
เก่ียวข้องต่างๆ ได้คิดถึงชุมชน และเห็นความสัมพันธ์ของตัวเอง ครอบครัว กลุ่ม กับชุมชน ในแง่มุม
ต่างๆ มากข้ึน มากกวา่ ทจี่ ะคิดถงึ แต่เรอื่ งราวของตนเอง ครอบครวั หรือกลุ่มท่ีตัวเองสังกัดเท่านั้น อันจะ
นาไปส่กู ารเกิดความตระหนักและสานึกรว่ มในการพัฒนาของชุมชนต่อไป

4) การกาหนดวสิ ัยทัศน์ แนวทางและจุดมุ่งหมายในการพัฒนาชุมชน
วัตถุประสงค์ เป็นการระดมพลัง ความผูกพัน ความเอ้ืออาทร และความรักท่ี

ประชาชนและครอบครัว มีต่อกันและกัน และต่อพ้ืนท่ีชุมชน หมู่บ้าน ตาบล มาสร้าง/กาหนดความ
มุ่งหวังในการพัฒนาของชุมชน

แนวทางดาเนินงาน โดยการจัดเวทีร่วมกับเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบในการจัดทา
แผนพัฒนาทอ้ งถน่ิ เพอ่ื นาผลการวเิ คราะห์ศักยภาพชุมชนและปัญหา ผสมผสานกับความคิดสร้างสรรค์
(Creative thinking) รวมทั้งกรอบสถานการณ์ภายนอก เพ่อื ให้ชว่ ยกันกาหนดเปน็

4.1 วสิ ยั ทศั นก์ ารพัฒนาชมุ ชน
4.2 แนวทางในการพัฒนาของแต่ละชุมชน
4.3 จดุ ม่งุ หมายในการพฒั นาท่ีเป็นรปู ธรรม
4.4 ชุมชนมีวิสัยทัศน์การพัฒนา โดยมีกรอบแนวทาง และ
จุดมุง่ หมายการพัฒนาท่ชี ดั เจนของชุมชน ที่ให้ทุกฝา่ ยยดึ ม่นั ร่วมกัน
4.5 ประชาชน องค์กรชุมชน กลุ่มแกนนา องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถน่ิ และหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน มีจดุ มงุ่ หมายการพัฒนาของชุมชนรว่ มกัน
5) การกาหนดยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาชมุ ชน
วัตถุประสงค์ เพ่ือให้การพัฒนาของชุมชนเป็นไปตามวิสัยทัศน์ และบรรลุ
ตามจุดมุ่งหมายของการพัฒนาชุมชนจะต้องกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เหมาะสมกับศักยภาพ ขีด
ความสามารถ และ ความพร้อมของชุมชน โดยกลยุทธ์การพัฒนาจะเป็นตัวเช่ือมระหว่างวิสัยทัศน์ และ
จุดมุ่งหมายการพัฒนา กับการกาหนดกิจกรรมการพัฒนา ในแง่ของการกาหนดขอบเขตและลักษณะ
ของการใช้ทรพั ยากรตา่ ง ๆ ของการพัฒนา

52

แนวทางดาเนินงาน ระดมความคิดเห็นมีแนวทางการดาเนินงานอย่างไรบ้าง
ท่ีจะนาไปสู่ การบรรลุวิสัยทัศน์ และจุดหมายการพัฒนาชุมชน โดยพิจารณาความเป็นไปได้ของ
ทางเลอื กตอ่ ไปนี้

5.1 มีแนวทางใดบ้างที่ชุมชนสามารถดาเนินการเองได้ตามศักยภาพ
ทชี่ ุมชนมอี ยู่

5.2 มีแนวทางใดบ้างท่ีมีปัจจัยหรือการสนับสนุนจากภายนอก
เออ้ื อานวยและสนับสนนุ ใหช้ มุ ชนทาไดต้ ามศกั ยภาพของชุมชนทีม่ ีอยู่

5.3 มีแนวทางใดบ้างท่ีชุมชนจะต้องการดาเนินการ แต่ชุมชนยังไม่
พร้อม หรือมีข้อจากัด จะมีทางเสริมความพร้อม หรือลดข้อจากัดของชุมชนได้หรือไม่ และจะต้องทา
อะไร

ผลทไ่ี ดร้ ับ ชมุ ชนมกี ลยทุ ธ์การพฒั นาทีเ่ หมาะสม ชดั เจน สาหรับใช้ในการวาง
กรอบทางเลอื กดาเนนิ โครงการ กจิ กรรมตา่ ง ๆ

6) การกาหนดแผนงาน โครงการ กจิ กรรมการพัฒนาชุมชน
วัตถปุ ระสงค์ เป็นการร่วมกันกาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่เหมาะสม

เป็นไปได้และสอดคล้องกับภูมิปัญญาท้องถ่ินและกลยุทธ์ที่วางไว้ เพื่อสานต่อ เสริมสร้าง สิ่งที่ชุมชนทา
ได้ดอี ยู่แล้วใหด้ ีย่งิ ข้นึ หรือเพื่อบรรเทาข้อจากัดและแก้ไขปญั หาในด้านต่าง ๆ ของชมุ ชน

แนวทางดาเนินงาน
6.1 ตรวจสอบว่ามีกิจกรรม โครงการอะไรบ้างท่ีคน ครอบครัวและ

องค์กรชุมชนทาอยู่และเป็นประโยชน์ นาไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์และเป้าหมายการพัฒนาชุมชน และ
สอดคลอ้ งกบั กลยุทธ์การพฒั นาของชมุ ชน กใ็ ห้เลือกไว้

6.2 พิจารณากิจกรรม โครงการว่ามีเพียงพอท่ีจะแก้ไขปัญหาของ
ชุมชน หรือบรรลุวิสัยทัศน์และจุดมุ่งหมายของการพัฒนาชุมชนหรือไม่ ยังมีกิจกรรม โครงการใดอีก
หรือไม่ที่ควรทาเพ่ือช่วยแก้ไขปัญหาของชุมชน โดยกิจกรรมที่จะทาเพ่ิมเติมน้ันควรจะสอดคล้องกับ
ศกั ยภาพของชุมชน หรือเปน็ ไปเพือ่ มุ่งแกไ้ ขจุดอ่อนและขอ้ จากัดในการพฒั นาชมุ ชน

6.3 แยกกจิ กรรมออกเป็นสามกล่มุ คอื
(1) กิจกรรมที่ครอบครัว กลุ่มองค์กรในชุมชน สามารถ

ดาเนินการได้ดว้ ยตนเอง : กาหนดเปน็ กจิ กรรมทช่ี มุ ชนทาเอง
(2) กจิ กรรมท่ชี ุมชนไม่สามารถดาเนนิ การไดเ้ อง แต่สามารถ

ไดร้ ับการสนับสนุนจาก อบต. : กาหนดขอรับการสนับสนุนจาก อบต.
(3) กิจกรรมที่ชุมชน และ อบต. ไม่สามารถดาเนินการได้

ด้วยตนเอง ทั้งหมด หรือบางส่วน : กาหนดเสนอขอรับการสนับสนุนจากอาเภอ จังหวัด ส่วนราชการ
รฐั วิสาหกจิ หรอื องค์กรเอกชน

6.4 พิจารณาจัดลาดบั ความสาคัญของกิจกรรมให้ชดั เจน
ผลทไ่ี ด้รบั มรี ายการกจิ กรรม เพอ่ื การพัฒนาแบบองคร์ วมของชุมชน เป็น
แผนชมุ ชน

53

7) การจัดเวทีประชาพจิ ารณแ์ ผนชุมชน
วัตถุประสงค์ เพ่ือให้ประชาชนทั้งชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ

หน่วยงานภาครัฐ ได้มาร่วมกันพิจารณาความเหมาะสม และความเป็นไปได้ของการนาไปสู่การปฏิบัติ
รวมทั้งใหค้ วามเหน็ ชอบ และร่วมมือกนั ส่งเสริมสนบั สนนุ แผนงาน โครงการ หรือกจิ กรรมในแผนชมุ ชน

แนวทางดาเนินงาน เปิดเวทีเพ่ือให้ชุมชน และหน่วยงานสนับสนุนที่ไม่ได้
มาร่วมเวทีจัดทาแผนชุมชนตั้งแต่ต้น ได้มาร่วมในการแสดงความเห็น ให้ข้อเสนอแนะ หรือเพ่ิมเติม
ข้อมูลต่างๆ เพอ่ื ใหแ้ ผนชุมชนทไี่ ด้จัดทาขึ้นเป็นแผนชุมชนท่ีสมบูรณ์ และเป็นท่ียอมรับของทุกฝ่าย และ
นาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้จริง

ผลท่ไี ดร้ ับ ไดแ้ ผนชมุ ชนท่ีชมุ ชนใชเ้ ปน็ แนวทางในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ชุมชนของตนเอง และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน รวมทั้งหน่วยงานราชการใช้เป็นข้อมูลในการ
สนับสนุนต่อไป

8) การขับเคล่ือนกระบวนการแผนชมุ ชน 56
แผนชุมชน เป็นการสะท้อนปัญหา ความต้องการของชุมชนจากล่างขึ้นสู่บน (จาก

หมูบ่ ้านสู่ตาบลอาเภอ จังหวดั และประเทศ) หรอื เปน็ ลักษณะ Bottom Up โดยการศึกษาข้อมูลความเป็นจริง
รู้ว่าปัญหาคืออะไร โอกาสคืออะไร ศักยภาพคืออะไร แล้วพัฒนาช่วยกันคิดช่วยกันทา ทาไปแล้วก็ศึกษา
เรียนร้จู ากสิง่ ทท่ี า หรอื ไปศกึ ษาเรยี นรจู้ ากที่ชุมชนอ่ืนทา คนในชุมชนต้องร่วมด้วยช่วยกันดู มีข้อติดขัดอย่างไร
บา้ ง ช่วยกันดแู ผนของคนทง้ั หมู่บ้าน รว่ มกันคิด รว่ มกนั ทาเกิดความเข้าใจ สามารถขบั เคลอ่ื นงานการแก้ปัญหา
ด้านต่างๆ ได้ อีกท้ังทาให้มีเวลาพูดคุยกันมากขึ้น การเรียนรู้ของชุมชนมีมากข้ึนที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต และ
ความผูกพนั ของคนในชมุ ชนเชน่ น้ีแนวโน้มจะไปทางท่ีย่ังยืน ยั่งยืนหมายถึงว่าพัฒนาไปแล้วเกิดผลที่ดีขึ้น ดีข้ึน
โดยไมส่ ะดดุ แผนชุมชนจงึ มสี ่วนสาคญั ดงั นี้

1. เกิดการรูต้ ัวเอง แทนทีช่ าวบา้ นจะทาตามหนว่ ยงานอย่างเดียว แต่กลับ
ตั้งสติ ได้เรม่ิ คดิ เริม่ จัดการข้อมูลและดปู ญั หา ดูแนวทางการพฒั นา นามาส่กู ารเร่มิ จดั การทุกอย่างดว้ ยตนเอง

2. มขี ้อมูล รับรขู้ ้อมลู รวู้ า่ ทาเร่ืองนีไ้ ปทาไม นาไปสกู่ ารเปลย่ี นแปลงอะไร
มีการเช่ือมโยงรวมตัวเป็นการทางานเป็นเครือข่ายร่วมกัน หรือเช่ือมโยงความสัมพันธ์ระหว่างขบวนที่ทางาน
ต่างกัน

3. กระบวนการทาแผน เป็นการเปลี่ยนความสัมพันธ์ให้ชาวบ้านด้วยกัน
เอง และระหว่างชาวบา้ นกบั หน่วยงาน ซึ่งตรงนถี้ ือเป็นสาระสาคัญมากและเพอ่ื ใหก้ ระบวนการขับเคลื่อนแผน
ชุมชนในพื้นที่ ดาเนินการได้อย่างต่อเนื่อง มีความสอดคล้องในภาพรวมของกระทรวงมหาดไทย
กระทรวงมหาดไทยจึงกาหนดให้ทุกหน่วยในพื้นที่ บูรณาการการทางานร่วมกัน โดยสานักงานปลัดกระทรวง
มหาดไทย เป็นหน่วยงานกลางในการบูรณาการ กรมการปกครอง เป็นหน่วยงานหลักในการทาความเข้าใจ
และซักซ้อมแนวทางปฏิบัติในการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน กรมส่งเสริมการปกครอง
ท้องถ่ินเป็นหน่วยงานหลักในการสรา้ งความเขา้ ใจใหก้ ับองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และกรมการพัฒนาชุมชน
เปน็ หนว่ ยงานหลักในการสนับสนุนข้อมลู สารสนเทศเพอ่ื การพัฒนา วิทยากรกระบวนการ และระบบรับรอง
มาตรฐานแผนชุมชน

56 สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “กรมการพัฒนาชุมชน กับ การขับเคล่ือนกระบวนการแผน

ชุมชน”, 2553 กรุงเทพมหานคร. 19 - 22

54

กรมการพัฒนาชุมชน จึงได้จัดทาแนวทางให้กับเจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชน ได้ทาความเข้าใจและพิจารณา
ดาเนนิ การเพ่ิมเติม ดงั น้ี

1. การตรวจสอบคุณภาพแผนชุมชน และการสนับสนุนข้อมูลสารสนเทศเพื่อ
การพัฒนา

1.1 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนตรวจสอบแผนชุมชนที่ผ่านการ
ประเมินคุณภาพแผนชุมชน ตามที่รายงานมา เพ่ือให้มีความพร้อมในการสนับสนุน “แผนชุมชน
คุณภาพระดับดีมาก” จานวน 54,585 แผน/หมู่บ้าน แก่คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ที่จะนาไปจัดทา
เป็นแผนพฒั นาหมบู่ ้าน ในปี 2553 - 2554 โดยไม่ตอ้ งจดั ทาแผนชมุ ชนขน้ึ ใหม่

1.2 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนจัดเตรียมสรุปข้อมูล จปฐ./กชช.2 ค
แผนชุมชนคุณภาพระดับดี จานวน 15,919 แผน/หมู่บ้าน และแผนชุมชนคุณภาพระดับพอใช้ จานวน
2,396 แผน/หมู่บ้าน ท่ีมีอยู่ และข้อมูลอ่ืนๆ ของหมู่บ้าน ในการสนับสนุนคณะกรรมการหมู่บ้าน/
ชมุ ชน ใช้ประโยชน์ในการทบทวน ปรบั ปรุง หรอื จดั ทาขนึ้ ใหม่ ในหมู่บ้าน/ชุมชนท่ียังไม่มีการจัดทาแผน
ชุมชนมากอ่ น เพอ่ื บูรณาการใหเ้ ป็นแผนพฒั นาหมบู่ า้ น ปี 2553 - 2554

2. การเปน็ วิทยากรกระบวนการ
2.1 ให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนเข้าร่วมเพ่ือเป็นวิทยากรกระบวนการ

ในการจัดทาแผนชุมชน/หมู่บ้านใหม่ หรือทบทวน/ปรับปรุงแผนชุมชน รวมทั้งบูรณาการแผนพัฒนา
หมูบ่ ้าน ในกรณที ี่ทางชุมชน/หม่บู ้าน หรอื องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น ร้องขอ

2.2 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนเข้าร่วมและสนับสนุนให้คณะทางาน
สง่ เสริม ศอช.ต.เปน็ คณะทางานบูรณาการแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนระดับตาบล ที่องค์กรปกครองส่วน
ท้องถ่ิน (ซึ่งจะเป็นองค์กรอานวยการฯ) แต่งต้ังข้ึน เพ่ือกาหนดการจัดทากลไกการดาเนินงานและ
รปู แบบของแผนชุมชนใหเ้ ปน็ ไปในทศิ ทางเดียวกนั

2.3 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนส่งเสริมและสนับสนุน ศอช.ต. เพ่ือให้
สามารถเป็นกลไกบูรณาการแผนชุมชนในระดับตาบล/เทศบาล โดยพัฒนาศักยภาพ/ให้ความรู้แก่
คณะกรรมการ ศอช.ต. ในการบูรณาการแผนชมุ ชน รวมทั้งการเป็นวทิ ยากรกระบวนการ

2.4 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนพัฒนาศักยภาพ/ให้ความรู้แก่ผู้นา
ชุมชน กลุ่มองค์กร และเครือข่าย ในเรื่องกระบวนการจัดทาแผนชุมชน และการเป็นวิทยากร
กระบวนการ พร้อมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กร และเครือข่าย เข้าเป็น
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ต่อไป

3. ระบบการรับรองมาตรฐานแผนชุมชน
3.1 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนกระตุ้นให้ชุมชน สมัครเข้ารับการ

ประเมินมาตรฐานแผนชุมชน (ตามเกณฑ์ ๕ ตัวชี้วัด) ให้มากข้ึน เพื่อให้หน่วยงานราชการ และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิน่ ให้การยอมรับ เช่ือถือ และนาไปใช้ประโยชน์ในการประสานการบูรณาการ และมี
ประสิทธิภาพในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และหน่วยงาน
ต่างๆ ในทกุ ระดบั

3.2 ให้เจ้าหน้าท่ีพัฒนาชุมชนประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ผลการรับรอง
มาตรฐานแผนชมุ ชน เพื่อให้หน่วยงานราชการ องค์กรปกครองส่วนท้องถน่ิ และหน่วยงานต่างๆ ได้รู้จัก
และนาไปใชป้ ระโยชน์

55

3.3 ให้เจ้าหน้าที่พัฒนาชุมชนประสานหน่วยงานภาคีและกลไกการ
ส่งเสริมกระบวนการ แผนชุมชนของจังหวัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการแผนชุมชนในหมู่บ้านท่ี
ไม่ผ่านการประเมิน ได้มีการปรับปรุงพัฒนาคุณภาพแผนชุมชน เพื่อให้ผ่านการประเมินมาตรฐานแผน
ชมุ ชนตอ่ ไป

ท้งั นี้ กรมการพัฒนาชุมชนเช่อื มนั่ ว่า การพัฒนาแผนชมุ ชน จะเป็นเคร่ืองมือท่ี
ก่อเกดิ ประโยชนใ์ หก้ ับชมุ ชน และประชาชนในชมุ ชนได้ ดังนี้

1. คนในชมุ ชนไดแ้ ลกเปล่ยี นเรียนร้รู ่วมกัน
2. คนในชุมชนไดเ้ หน็ ข้อเดน่ ข้อดี โอกาสและข้อจากัดของชุมชนใน
การพัฒนาอย่างมเี ปา้ หมาย
3. คนในชุมชนมีช่องทางในการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่าง
เหมาะสมและครอบคลมุ
4. คนในชุมชนสามารถกาหนดกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการ
ของชุมชนและลงมือทางานร่วมกนั ได้
5. ทาให้คนในชมุ ชนสามารถคดิ เป็นและกล้าท่ีจะตัดสนิ ใจด้วยตนเองได้
6. ชมุ ชนสามารถวางแผนจดั การกับทรพั ยากรหรอื ทนุ ในชมุ ชนทั้งทุน
บุคคลและทุนสังคม ทม่ี ีอยู่ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมสอดคล้องกบั สภาพชุมชน
7. คนในชมุ ชนสามารถรับผลประโยชน์ร่วมกันได้อย่างท่ัวถึงและเท่า
เทยี ม
8. ความร่วมมือกันของคนในชุมชนจะก่อให้เกิดทัศนคติที่ดี เอื้อ
อาทรต่อกนั ได้
9. ปลกู ฝังทัศนคติ ค่านิยมท่ดี ใี ห้กับลูกหลานและถา่ ยทอดสบื ต่อกันได้
10. สามารถหาภาคีแนวร่วมในการทางานเพื่อพัฒนาชุมชนของ
ตนเอง โดยเฉพาะภาคท้องถ่นิ และภูมิภาค ไดอ้ ย่างประสานประโยชน์รว่ มกนั
ดังน้ันจึงสรุปได้ว่ากระบวนการจัดทาแผนชุมชนแบบมีส่วนร่วมดังกล่าวนั้น ต้องให้
ประชาชนมีส่วนร่วมการจัดทาแผนชมุ ชนใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดกับความต้องการของประชาชนในชุมชน
ซง่ึ ร่วมมือกับเจา้ หน้าที่รฐั หน่วยงานเครือขา่ ยภาคี ให้คนในชุมชนกล้าตัดสินใจ ร่วมกันคิด ร่วมกันทาให้
เกดิ ความเขา้ ใจ สามารถขับเคลอื่ นแผนชุมชนในการแก้ปัญหาดา้ นต่างๆ ในชมุ ชนได้
2.3.4 แนวทางการบูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล 57
1) ความหมายการบูรณาการแผนชุมชน
แผนชุมชน หมายถึง กิจกรรมพัฒนาที่เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัว
กันเพื่อจัดทาแผนข้ึนมาใชเปนแนวทางในการพัฒนาชุมชนหรือทองถิ่นของตนเอง ใหเปนไปตามที่ตอง
การและสามารถแกปญหาท่ีชุมชนเผชิญอยูรวมกันได โดยคนในชุมชนไดมารวมกันคิดรวมกาหนด
แนวทาง และกิจกรรมการพัฒนาของชุมชนโดยยึดหลักการพึ่งพาตนเอง ลดการพ่ึงพิงภายนอกดวยการ
คานงึ ถึงศักยภาพทรพั ยากรภมู ิปญญาวิถีชีวติ วัฒนธรรมและสิง่ แวดลอมในทองถ่ินเปนหลกั

57 สานักเสรมิ สร้างความเขม้ แข็งชุมชน “กรมการพฒั นาชุมชน แนวทางการบรู ณาการแผนชุมชนระดับตาบล สาหรับ ศอช.ต.”
กรมการพัฒนาชุมชน , กรุงเทพมหานคร 2556

56

ซึ่งบางกิจกรรมท่ีชุมชนไมสามารถทาเองได ก็สามารถขอรับการสนับสนุนจาก
หนวยงานภายนอกได โดยชุมชนเสนอแผนชุมชนเขาเปนแผนขององคการบริหารสวนตาบล(อบต.) หรือ
แผนงาน/โครงการของราชการได แผนชุมชนมีชื่อเรียกแตกตางกันตามความเขาใจของแตละทองถิ่น
อาทิ แผนแมบทชมุ ชน แผนชมุ ชนพึ่งตนเอง แผนชีวิต เปนตน

สรุปได้ว่าการบูรณาการแผนชุมชน หมายถึง วธิ ีการรวมมือกันทางานของ
หนวยงานสนับสนนุ การพฒั นาภายนอกชมุ ชนทุกภาคสวนโดยยึดหลักการใชพ้ืนท่เี ปนตัวตั้งชุมชนเป
นศนู ยกลางชาวบานเปนเจาของเรอ่ื ง โดยใชกระบวนการจัดทาแผนชมุ ชนเปนเครื่องมือดาเนินกจิ กรรม
พฒั นาใหเปนไปตามความตองการของชุมชน มากกวาวัตถุประสงคของหนวยสนับสนุน การบูรณาการ
มที ั้งบรู ณาการดานกลไก/บคุ ลากรกระบวนการและเครอื่ งมอื แผนงานและงบประมาณ

2) วัตถปุ ระสงคของการบรู ณาการแผนชมุ ชน
(1) เพ่อื เสรมิ สรางกระบวนการเรียนรู และพัฒนาขีดความสามารถของชุมชน

ในการจัดการพัฒนาและแกไขปญหาในทองถนิ่ ของตนเองในทุกๆ ดาน ตามความตองการของชุมชนโดย
ใชกระบวนการจัดทาแผนชุมชนเปนเครอ่ื งมือ นาไปสูชมุ ชนเขมแข็ง พึ่งตนเองและเอาชนะความยากจน

(2) เพ่ือบูรณาการการทางานในแนวด่ิงและแนวราบระดับพื้นท่ีของภาครัฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และเครอื ขายองคกรชุมชน ในการสนับสนุนการบูรณาการแผนชุมชนเพ่ือ
ความเขมแขง็ ของชมุ ชนและเอาชนะความยากจน โดยใชพื้นท่ีเปนตัวต้ัง ชุมชนเปนศูนยกลางและคนใน
ชมุ ชนเปนผูรบั ผดิ ชอบการพฒั นาและแกไขปญหาของตนเอง

(3) เพื่อประสานเชื่อมโยงความตองการของชมชน ุ ภายใตแผนชุมชนกับ
แผนพฒั นาทองถน่ิ แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพฒั นาจงั หวัด

3) เหตผุ ลในการบูรณาการแผนชมุ ชนระดับตาบล
เพราะในระดับตาบล ยังไม่มีหน่วยงานใดเป็นเจ้าภาพที่ชัดเจน บางพ้ืนท่ี

ตาบลมีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินมากกว่า ๑ องค์กร การบูรณาการแผนชุมชน ไม่ได้รับการสนับสนุน
ให้เกิดเวทีประชาคมในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบลตามหลักการ มีส่วนร่วมอย่างแท้จริง
การบูรณาการแผนชมุ ชน ไมส่ ามารถสะท้อนศักยภาพและความต้องการท่ีครอบคลุมภาพรวมของตาบล
อย่างแท้จรงิ นโยบายรัฐ แผนยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัด / กลุ่มจังหวัด ไม่สามารถ
แก้ปญั หาหรอื ตอบสนองความตอ้ งการท่ีแท้จรงิ ของประชาชน

4) ประโยชนที่จะไดรับในการบูรณาการแผนชุมชน
(1) เกิดกระบวนการบูรณาการแผนชุมชนเพ่ือความเขมแข็งของชุมชนและ

เอาชนะความยากจน ครอบคลมุ ทุกตาบลท้งั 75 จังหวัด
(2) เกิดเวทีชุมชนท่ีมีความตอเน่ือง เพ่ือรวมกันพัฒนาและแกไขปญหาความ

ยากจนในชมุ ชนของตนเอง
(3) คนในชุมชนไดพัฒนากระบวนการเรียนรู ประสบการณ และพัฒนาขีด

ความสามารถในการจัดการการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนท่ีผานกระบวนการบูรณาการแผน
ชุมชน เพ่ือสรางความเขมแข็งของชุมชน การพ่ึงตนเองของชุมชน และเอาชนะความยากจนโดยอาศัย
ฐานทุนทางสังคม ทนุ ทางวฒั นธรรม ภมู ิปญญาทองถ่นิ และทรัพยากรในทองถ่นิ ชมุ ชน

(4) มีการขยายและเช่ือมโยงเครือขายภาคีการพัฒนาในทุกระดับ ซ่ึงเปน ทุน
ทางสังคมทจ่ี ะชวยเสรมิ สรางความเขมแขง็ ของชมุ ชนและเอาชนะความยากจน

57

(5) มีการปรบั เปล่ยี นแนวคดิ และระบบการบริหารจัดการภาครัฐ โดยเนนกระ
บวนการมีสวนรวมของทกุ ภาคสวนในสังคม และเนนบทบาทของชุมชนในการจัดการพัฒนาและแกไขป
ญหาตามความตองการของตนเอง

(6) หนวยงานภาครฐั องคกรปกครองสวนทองถนิ่ และภาคกี ารพัฒนา ใชแผน
ชมุ ชนเป็นฐานขอมลู ในการจัดทาแผนงาน/โครงการ และงบประมาณสนับสนุน เพ่ือที่จะสามารถแกไขป
ญหาความยากจนไดอ้ ยางเปนรูปธรรม

(7) มีฐานขอมูลแผนชุมชน ท่ีหนวยงานภาครัฐ ภาคีการพัฒนาตางๆ และ
ประชาชนท่วั ไปสามารถเข้าถงึ ข้อมลู ได้

5) ขั้นตอนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
การบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล เป็นกระบวนการเรียนรู้ทางความคิด

และวิธีการปฏิบัติ โดยอาศัยประสบการณ์และการมีปฏิสัมพันธ์กับมิติต่างๆ ซึ่งจะทาให้เกิดความเข้าใจ
ถึงความสัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และอาจนากระบวนการจัดการความรู้มาประยุกต์เพ่ือ
บูรณาการแผนชุมชน เช่น มีปัญหาใดบ้างที่มีสาเหตุมาจาก “ความไม่รู้” ของคนในตาบล นั้นคือ ถึง
เวลาแล้วท่ีจะต้องใช้การจัดการความรู้เข้ามาช่วยในการแก้ไขปัญหา เพ่ือทาให้องค์ความรู้ต่างๆ ใน
ชุมชนถูกนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์และสามารถต่อยอดในการเรียนรู้ของคนในชุมชนต่อไปและสามารถ
บรู ณาการแผนชมุ ชนเพอื่ แก้ปัญหาของชุมชนไดอ้ ย่างเปน็ ระบบครบวงจร

ภาพท่ี 2.1 ข้ันตอนการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล

ข้นั ตอนท่ี 1 วิเคราะหป์ ัญหา
ทีมตาบลร่วมกับผู้เกี่ยวข้อง นาแผนชุมชนหรือแผนพัฒนา หมู่บ้าน

ทุกหมู่ / ทุกชุมชนในตาบล มาวิเคราะห์ร่วมกัน โดยใช้เวทีประชาคมช่วยกันค้นหาว่า ตาบลมีปัญหา
อะไรบ้าง มากหรือน้อยจาเป็นเร่งด่วนต้องแก้ไขขนาดไหน อย่างไร เป็นปัญหาที่เกิดจากปัจจัยในชุมชน
เอง หรือเกิดจากปัจจัยภายนอกท่ีส่งผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ในตาบล โดยนาข้อมูลทั้ง ๒ ประเภทมา
รวบรวมและประมวลผล ค้นหาศักยภาพของตาบล จากข้อมูลพื้นฐานของชุมชน และวิเคราะห์คุณภาพ

58

ชีวิต รายรับ รายจ่าย เงินออม และหนี้สิน ในภาพรวมของตาบล จากข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน เช่น
ข้อมูล จปฐ. ข้อมูลบัญชีครัวเรือน เพ่ือให้ทุกฝ่ายท่ีเก่ียวข้องได้รับรู้ปัญหาและหาแนวทางแก้ไขร่วมกัน
อย่างมเี ป้าหมาย

เพ่ือให้รวดเร็วขึ้นอาจจะแยกกลุ่มย่อยตามประเภทของปัญหา หรือ
ประเด็นปัญหา เช่น ประเด็น แหล่งน้า เศรษฐกิจสังคม สิ่งแวดล้อม ยาเสพติด ฯลฯ ทาการวิเคราะห์
ประเดน็ ปัญหา สาเหตุของปญั หา แนวทางการแก้ไขปัญหา แลว้ นาขอ้ เสนอที่ประชมุ ย่อย เข้าเสนอต่อท่ี
ประชุมใหญ่

ข้ันตอนท่ี 2 การบรู ณาแผนชุมชน
นาข้อมูลทั่วไป และข้อมูลท่ีเจาะลึกแต่ละด้าน เช่น ทุนชุมชนท้ังที่

เป็นเงินและไม่ใช่เงิน ธุรกิจชุมชน วัฒนธรรมชุมชนสุขภาพคน ฯลฯ ของแต่ละหมู่บ้าน/ชุมชน มา
รวบรวมเป็นข้อมูลระดับตาบล เพื่อใช้ในการวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และข้อจากัดของชุมชน
ให้มีความแม่นยา ชัดเจน สามารถนามากาหนดวิสัยทัศน์ เป้าหมาย และทิศทางการพัฒนาชุมชนได้
อยา่ งเหมาะสมกบั บรบิ ทของตาบล

สาหรบั การวางแผนแกไ้ ขปญั หาเพื่อบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
มรี ายละเอียดการดาเนินงาน ดังนี้

1. วิเคราะห์ชุมชน โดยนาข้อมูลพ้ืนฐานของชุมชนและ
ข้อมูลพน้ื ฐานของครัวเรือน มาวิเคราะห์ เพ่ือให้รู้ว่าในตาบลมีทรัพยากรอะไรบ้าง ท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหา
ที่ชุมชนตอ้ งการแกไ้ ข

2. การค้นหา โอกาส และแนวทางแก้ไขปัญหา สามารถใช้
ข้อมูลพื้นฐานของครัวเรือน วิเคราะห์คุณภาพชีวิตในมิติด้านต่างๆ เช่น เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ดา้ นการเรียนรดู้ า้ นสขุ ภาวะ ฯลฯ มาเชื่อมโยงกับเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในตาบล โดย
นามาบรู ณาการและจดั ทาเป็นโครงการตา่ ง ๆ ตามประเด็นท่ีเป็นปญั หาร่วมของตาบล

3. การกาหนดเป้าหมายหรือวิสัยทัศน์ เป็นการกาหนด
ทิศทางการพัฒนาตาบล ซ่ึงมีทิศทางระยะส้ัน ระยะกลาง หรือระยะยาว โดยใช้ข้อมูลในการค้นหา
ปญั หา สาเหตุ ความจาเป็นความต้องการ จัดลาดับและประเมินตนเอง และนามากาหนดเป้าหมายหรือ
วิสยั ทศั นข์ องตาบล

4. การกาหนดรายละเอียดการวางแผนเพ่ือแก้ไขปัญหา
ประกอบด้วย การนาปัญหาที่ชุมชนส่วนใหญ่ได้รับความเดือดร้อนหรือผลกระทบในวงกว้างมาเป็น
ประเด็นในการบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล ฉะน้ันจะเห็นว่าการบูรณาการแผนมิใช่การนาเอาแผน
ของหมูบ่ า้ น/ชมุ ชน มารวมกันเท่านัน้

5. จัดกลุ่มแผนงาน / โครงการ เพื่อแสวงหาแหล่ง
งบประมาณให้เหมาะสม กับแผนงาน / โครงการ ดังนั้น ทีมงานตาบล จึงต้องรู้ว่า แต่ละแผนงาน /
โครงการ จะขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานใด เพื่อจะได้ประสานเชื่อมโยงกับผู้ที่
เก่ยี วข้องตอ่ ไป โดยจดั กลุม่ แผนงาน / โครงการ เป็น ๓ กลมุ่ ดังนี้

แผนงาน / โครงการท่ีทาเองได้ เช่น การลดรายจ่ายใน
ครัวเรือน ดว้ ยการปลกู ผกั สวนครัว ลดรายจ่ายท่ีไมจ่ าเป็น หรอื ลดต้นทุนการผลิต ด้วยการทาปุ๋ยหมกั เป็นต้น

59

แผนที่ต้องทาาร่วม เป็นแผนท่ีต้องประสานขอรับความ
ร่วมมอื กบั หลายภาคสว่ นโดยมีการรว่ มกันในดา้ นทรัพยากรคน หรือ เงิน เช่น โครงการดูแลสุขภาพชุมชน
ร่วมกบั สานกั งานสาธารณสขุ อาเภอ โครงการปลูกขา้ วพนั ธุ์ดีรว่ มกบั สานกั งานเกษตรอาเภอ เป็นตน้

แผนที่ต้องขอรับการสนับสนุน เป็นแผนที่ต้องมีการ
ประสานเช่ือมโยงกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะปัญหาท่ีส่งผลกระทบในวงกว้างและเป็นปัญหา
ร่วมกันหลายพ้ืนท่ี หากสามารถจัดทาารายละเอียดต่างๆ ได้ครบถ้วน และสอดคล้องเชื่อมโยงกับ
ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย / ตวั ช้วี ดั ของหนว่ ยงานทเี่ กย่ี วขอ้ งไดช้ ัดเจน แผนงาน / โครงการดังกล่าว ย่อมมี
โอกาสไดร้ ับการสนับสนนุ สงู กวา่ แผนงาน/โครงการที่ ไม่ชดั เจน

การจัดลาดับแผนงาน / โครงการ จัดโดยยึดหลัก
ความสาคัญ ความจาเป็น หรือความสามารถในการแก้ไขปัญหาความต้องการของชุมชน ผ่านเวที
ประชาคมโดยใช้วิธีการต่างๆ เช่น การอภิปรายถึงความสาาคัญของโครงการการใช้เสียงส่วนใหญ่จาก
การโหวตออกเสียงสนับสนุนในเวทีประชาคม หรือการประเมินข้อมูลด้วยตารางวิเคราะห์คะแนน
ความสาาคญั ของแผนงาน/โครงการ

การบรู ณาการแผนชมุ ชนระดับตาาบล จาเป็นต้องวเิ คราะห์ทั้งปัญหา
/ อปุ สรรค และโอกาสท่ีจะเกิดข้ึนรอบด้าน ท้ังน้ีเพื่อให้ชุมชนสามารถแสวงหาความร่วมมือ และโอกาส
ในการขอรับการสนับสนุนจากหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องอย่างเป็นรูปธรรมและสอดคล้องกับเป้าหมายของ
หนว่ ยงานทขี่ อรบั การสนับสนุน ในทุกระดบั ฉะนนั้ รปู แบบการนาาเสนอแผนงาน/โครงการก็ควรจะทาา
ใหส้ อดคลอ้ งกบั แหลง่ งบประมาณ เชน่ แยกตามประเด็นยทุ ธศาสตร์ของจังหวดั นัน้ ๆ

ขนั้ ตอนที่ 3 การเช่อื มโยงแผนชมุ ชน
การเชื่อมโยงแผนชุมชน เป็นการเช่ือมโยง ทรัพยากร คน และ เงิน

ในระดับจังหวัด อาเภอ ตาบล ทีมงานตาบลต้องรู้จักบูรณาการทรัพยากรทุกภาคส่วนเข้าด้วยกัน การ
ได้รบั ความรว่ มมือจากผ้ทู ี่เกี่ยวข้อง จะช่วยให้การบูรณาการแผนชุมชนมีประสิทธิภาพและมีโอกาสท่ีจะ
ได้รับการนาไปใช้ประโยชน์มากข้ึนการเชื่อมโยงแผนชุมชนกับทรัพยากรทุกภาคส่วน จะต้องมีข้อมูลที่
เกยี่ วข้องกบั ผลกระทบ โดยจะตอ้ งสามารถแสดงให้เห็นว่ามีความเชื่อมโยงและสัมพันธ์กับการแก้ปัญหา
อย่างไร เพ่ือเป็นการเตรียมความพร้อมในการจัดทาข้อเสนอโครงการเพื่อขอรับการสนับสนุนได้
ตลอดเวลา หากชุมชนไม่มรี ายละเอียดแผนงาน /โครงการไว้แล้ว อาจไม่สามารถดาเนินการไดท้ นั เวลา

การบูรณาการแผนชุมชนกับทรัพยากร ทุกภาคส่วนเป็นการทางาน
รว่ มกับหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทีมงานตาบลต้องทราบว่าจะต้องประสานงานกับใคร เม่ือไหร่ ที่ไหน และ
ใช้วิธีการแบบใดซึ่งอาจจะต้องอาศัยความสัมพันธ์ส่วนบุคคลในการประสานงานติดตามความก้าวหน้า
โดยจะตอ้ งทราบว่าโอกาสในการขอรบั สนับสนนุ อย่ใู นช่วงเวลาไหน เน่ืองจากการอนุมัติงบประมาณของ
แต่ละหนว่ ยงานมีเวลาที่ไมต่ รงกนั

การเตรียมความพร้อมของโครงการก็มีความสาคัญมาก ซ่ึงเกิดจาก
ความชัดเจนของข้อมลู เช่น พน้ื ทดี่ าเนนิ การเปน็ ท่ีดินสาธารณะประโยชน์ หรือของหน่วยงานใด ต้องขอ
อนญุ าตหรือไม่ชาวบ้านทไี่ ด้รับผลกระทบยินยอมหรือไม่

ขั้นตอนที่ 4 การนาแผนสู่การปฏิบัติ
ความสาเร็จของการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ ทีมงานตาบลจะต้อง

จัดตั้งกลไกภายในชุมชนท่ีเก่ียวข้อง ในการนาแผนสู่การปฏิบัติ นอกจากจะได้รับการความร่วมมือจาก

60

ภายในชุมชนแล้วจาเป็นอย่างย่ิงต้องได้รับการสนับสนุนและความร่วมมือจากองค์กรภายนอกด้วย
โดยเฉพาะหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ได้รับการเชื่อมโยงกับนโยบายทุกระดับ อีกทั้งต้องจัดตั้งกลไกการ
บรหิ ารจดั การ เพื่อติดตามตรวจสอบ สนับสนุนการนาแผนไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุตามเป้าประสงค์ด้วย
ข้อสาคัญก็คือ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน การบริหารแผนงาน / โครงการ จึงจะประสบ
ผลสาเร็จและเกดิ ประโยชน์อย่างแทจ้ รงิ

ข้นั ตอนที่ 5 ตดิ ตามประเมินผล สรุปบทเรียน
การประเมินผลและร่วมสรุปบทเรียน เป็นการทบทวนวัตถุประสงค์

การขับเคลื่อนกระบวนการดาเนินงานตามแผนชุมชนโดยเน้นการสรุปเป็นบทเรียนที่ได้เรียนรู้จาก
กระบวนการดาเนินงาน โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม เพื่อนาไปปรับปรุงการดาเนินงานในปีถัดไป ให้มี
ประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากย่ิงขึ้นโดยใช้วิธีการถอดความรู้จากผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในการ
ดาเนินงานและสรุปไว้ในรูปแบบที่สามารถนาไปเผยแพร่ ต่อยอดและขยายผลการเรียนรู้จากการ
ดาเนินงาน เพ่ือยกระดับการดาเนินงานหรือการแก้ปัญหาของชุมชนท้ังในด้านคุณภาพและปริมาณ ที่
ชุมชนเป็นผ้รู ับผลประโยชน์อย่างแท้จรงิ

6) วิธกี ารบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล
1. ก่อนดาเนินการ ศอช.ต. ต้องคอยติดตามสนับสนุน ส่งเสริม ให้กรรมการ

หมู่บ้าน ผู้นาชุมชน และผู้แทนสมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทบทวนแผนชุมชนในหมู่บ้านของ
ตนเองให้เรียบร้อย ช่วงเดือน มกราคม ของทุกปี เพื่อให้สอดคล้องกับการบูรณาการแผนชุมชนระดับ
ตาบลในชว่ งเดอื น กมุ ภาพนั ธ์ - มนี าคม ของทุกปี

2. การเตรยี มการ ประกอบด้วย ข้นั ตอน วิธีการ ดังนี้
- ประชุมหรืประชาสัมพันธ์ให้ ผู้นาชุมชน / กรรมการหมู่บ้านเข้าใจ

วัตถุประสงค์แนวทางการบูรณาการแผนชมุ ชนระดบั ตาบล
- รวบรวมแผนชุมชนทุกหมู่บา้ นในตาบล
- จัดเตรียมข้อมลู ในการวเิ คราะหภ์ าพรวมของตาบล เช่น จปฐ. กชช.

2ค. ข้อมลู บญั ชรี ับ-จา่ ยครวั เรือนและขอ้ มลู อื่น
- เตรียมทมี ในการบรู ณาการแผนชุมชน ศอช.ต. จดั ประชุมนาผลการ

วิเคราะห์แผนชุมชนจากทุกหมู่บ้านมาสังเคราะห์ แล้วยกร่าง “แผนชุมชนระดับตาบล” ก่อนนาเสนอ
เวทีบูรณาการแผนชุมชนระดับตาบล เพื่อเป็นการลดขั้นตอนในการทางาน และทาให้ผลงานมีคุณภาพ
เพราะได้ผ่านกระบวนการกล่ันกรองมากอ่ น

3. การดาเนนิ การ ประกอบด้วย ขนั้ ตอน วธิ ีการ ดังนี้
- จัดเวทีประชาคมตาบล ประกอบด้วย ผู้จัดทา แผนชุมชน

ตาบล เช่น แกนนาชมุ ชน ผนู้ าากลมุ่ องคก์ ร ตวั แทนกรรมการหมู่บ้าน (กม.) หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ให้
ครอบคลมุ พ้ืนที่ตาบล

- วเิ คราะห์ข้อมลู ทกุ หมู่บา้ นเพอื่ คน้ หาศักยภาพของตาบล
- วเิ คราะห์ปัญหาความต้องการในภาพรวมของตาบล
- กาหนดแนวทางแก้ไขปัญหา/ความต้องการ ตามประเดน็
- กาหนดอัตลักษณ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์การพัฒนาของ
ตาบล

61

- จัดลาดับความสาคัญของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม โดย
เรยี งลาดบั ความสาคัญ , แยกประเภทโครงการ

4. การยกรา่ งการบูรณาการแผนชุมชนระดบั ตาบลเพือ่ ขอความเหน็ ชอบ
ประกอบด้วย ข้ันตอน วธิ ีการ ดงั นี้

- คณะทางานทีมตาบล จัดทาโครงร่าง แผนชุมชนระดับตาบล โดย
ใช้ขอ้ มูลตามข้นั ตอน ขอ้ ๓.

- จัดเวทีประชาพิจารณ์หรือใช้วิธีการ/ช่องทางท่ีเหมาะสมเพื่อให้
ประชาชน/ผู้เก่ียวข้องแสดงความคิดเห็นเพมิ่ เติม

- นาเสนอเวทีประชาคมระดับตาบลเพื่อให้ความเห็นชอบและเกิด
การยอมรบั

- การจัดทารูปเลม่ แผนชมุ ชนระดบั ตาบลฉบับสมบูรณ์จานวน 2 - 4
เล่ม เพอื่ สง่ ให้ องคก์ รปกครองสว่ นท้องถนิ่ ในพนื้ ที่ (อบต./เทศบาลตาบล) เพ่ือนาไปบรรจุในแผนพัฒนา
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและนาเข้าในข้อบัญญัติงบประมาณ ส่งให้อาเภอเพื่อประสานการจัดทา
แผนพัฒนาอาเภอ และมีแผน 1 เล่ม เก็บไว้ที่ตาบล และอาจส่งให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องตามโอกาสและ
ช่องทางการประสาน / ประสานงบประมาณ

5. การตรวจสอบ/ประชาสัมพันธ์/ติดตาม/ประเมินผล ประกอบด้วย ข้ันตอน
วธิ ีการ ดงั นี้

- ตรวจสอบการดาเนินกจิ กรรม/โครงการ
- ติดตามความก้าวหน้าในการดาเนินการ
- ประเมนิ ผลสาเร็จของโครงการ
- ประชาสัมพันธ์ความก้าวหน้าในการดาเนินการอย่างต่อเน่ืองทุก
ขนั้ ตอน

ดังนน้ั แนวทางการบรู ณาการแผนชมุ ชนระดับตาบล ให้ชมุ ชนเข้มแข็ง ไม่สามารถทาได้
โดยกาสร้างจากภายนอกชุมชน หรือทาโดยการสอน การฝึกอบรมเท่านั้นชุมชนท่ีเข้มแข็งจะต้องมี
กระบวนการในการบริหารจัดการของชุมชน มีการคิดวิเคราะห์เรียนรู้ร่วมกันของคนในชุมชน เพื่อหา
แนวทางการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของชุมชน มีกิจกรรมเพิ่มคุณค่าทุนทางสังคมและเศรษฐกิจของคน
ในชุมชน และมกี ารขยายเครือข่ายพันธมิตรออกไปในลักษณะการสร้างความสัมพันธ์ร่วมกับชุมชนอ่ืน ๆ
ดว้ ยดงั นัน้ การพัฒนาชมุ ชนให้มีความเข้มแข็งและพ่ึงตนเองได้จาเป็นอย่างย่ิงท่ีต้องอาศัยการมีส่วนร่วม
ของคนในชุมชนเปน็ สาคัญ

62

2.4 แนวทางเกยี่ วกับแผนตาบล ม่ันคง มง่ั คงั่ ยง่ั ยนื ในพนื้ ท่จี งั หวดั ขายแตนภาคใต้ 58

1) การวเิ คราะหส์ ถานการณเ์ ฉพาะท่ีเกยี่ วข้อง
พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ ซ่ึงประกอบด้วยจังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส และ 4

อาเภอของจังหวัดสงขลา เป็นพื้นท่ีที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างจากพื้นท่ีอื่นของประเทศ โดยมีปัจจัย
สนับสนนุ ท่สี าคัญ อาทิ (1) ความเป็นชมุ ชนมสุ ลิมทม่ี พี ้นื ฐานทางประวัติศาสตร์ ชาติพันธ์ุ และศาสนา มี
การตงั้ ชมุ ชนแยกจากกนั ระหวา่ งชมุ ชนไทยมสุ ลมิ คอ่ นขา้ งชัดเจน (2) การยึดม่ันในอัตลักษณ์มลายูที่โดด
เด่น เช่น การใช้ภาษามลายูถ่ินเป็นภาษาพูด การใช้อักษรยาวีเป็นภาษาเขียน การแต่งกายแบบมลายู
ด้งั เดมิ ซง่ึ ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมที่สามารถสืบทอดสู่ชนรุ่นหลังจนถึงปัจจุบัน (3) การจัดการศึกษา
ท่ีให้ความสาคัญกับการศึกษา ด้านศาสนา ซ่ึงในปัจจุบันสถาบันการศึกษาปอเนาะมีการจัดต้ังอย่าง
แพร่หลายพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ การท่ีภาครัฐให้ความสาคัญกับการจัดการศึกษาโดยเอกชนสอน
ศาสนา ทาใหส้ ถาบันปอเนาะมกี ารจดั ตัง้ อย่างแพร่หลาย ประกอบการผู้ปกครองสนับสนุนให้บุตรหลาน
ศึกษาด้านสายสามัญควบคกู่ ับศาสนา (4) ความรูส้ กึ ความภาคภมู ใิ จในประวัติศาสตร์และชาติพันธุ์มลายู
อย่างเหนยี วแน่น จนสามารถสง่ ผา่ นประวัตศิ าสตร์เฉพาะ “มลายูปัตตานี” หรือ “มลายูปัตตานี” จนถึง
ปัจจุบัน (5) เพิ่มเรื่องมีกฎหมายบังคับใช้เฉพาะทาให้ภาคใต้แตกต่างจากพ้ืนท่ีอื่นๆนอกจากน้ียังมี
เงื่อนไขอื่นๆ อาทิ เง่ือนไขทางการเมืองเงื่อนไขทางเศรษฐกิจ เง่ือนไขทางสังคมจิตวิทยา รวมไปถึง
เง่ือนไขจากการจัดการภาครัฐได้ส่งผลให้เกิดกลุ่มบุคคลท่ีฉกฉวยโอกาสจากความแตกต่างเฉพาะของ
พื้นทจ่ี ังหวัดกับความรู้สึกไม่ได้รับความเป็นธรรมจากรัฐในอดีตมาขับเคล่ือนการปลุกระดมบ่มเพาะวาท
กรรมและแนวคิดชาตินิยมสุดโต่งการบิดเบือนประวัติศาสตร์ รวมไปถึงการตีความและส่งผ่าน คาสอน
ทางศาสนาท่ีเอ้ือต่อแนวการคิดการปลดปล่อยดินแดนปาตานี เพื่อให้เกิดความแตกแยกและความ
เกลียดชังในหมู่เยาวชนและผู้นาในชุมชน และนาไปสู่การแผ่ขยายวาทกรรมชาตินิยมปาตานีในหมู่บ้าน
ชุมชนจนสามารถควบคมุ มวลชนได้ในทุกพื้นที่

จากข้อมูลด้านการข่าวท่ีติดตามสถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดข้ึนในพ้ืนที่จังหวัด
ชายแดนภาคใตต้ ั้งแต่ ปี 2547 จนถงึ ปัจจุบัน พบว่า สถานการณ์ความรุนแรงที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องกว่า
1 ทศวรรษนน้ั เป็นการกระทาของกลมุ่ ผ้กู ่อเหตุรุนแรงท่ีมีเป้าหมายสาคัญในการแบ่งแยกดินแดน โดยมี
แนวทางในการปฏิบตั กิ ารเพอื่ บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าว แบ่งเป็น 2 แนวทางหลัก คือ (1) การใช้ความ
รุนแรง ซึ่งมีพ้ืนฐานมาจากการปลุกระดมบ่มเพาะสร้างวาทกรรมแห่งความขัดแย้งท่ีใช้ลักษณะ
ความจาเพาะของพ้ืนท่ีเป็นเคร่ืองมือกระตุ้นกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรง และแนวร่วมเพื่อนาไปสู่การก่อเหตุ
รนุ แรงหลากหลายรปู แบบ เชน่ การลอบวางระเบิดท่ีสร้างความเสียหายกระทบต่อประชาชนในวงกว้าง
การลอบยิงบุคคล โดยเฉพาะอย่างย่ิง เจ้าหน้าที่ของรัฐและประชาชนชาวไทยพุทธ การทาลายสถานที่
และโครงสร้างพื้นฐานท่ีสาคัญ เป็นต้น และ (2) การเคล่ือนไหวทางการเมืองโดยใช้แนวร่วม จากภาค
ประชาสังคมในพ้ืนที่และกลุ่มเครือข่ายองค์กรระหว่างประเทศในการสร้างการยอมรับและสนับสนุนให้
เกิดการแทรกแซงการแกไ้ ขปญั หาของรฐั บาลไทย

58 นายอัสมัน แวกามา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กลุ่มงานสังคมจิตวิทยาเพ่ือความมั่นคง กองส่งเสริม
และสนบั สนุนการพัฒนาเพื่อความมน่ั คง (กสม.) ศูนยอ์ านวยการบรหิ ารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต) , การมีส่วนร่วมของส่วนราชการ
และประธานสภาสันตสิ ขุ ตาบลต่อการขบั เคลื่อนสภาสันติสุขตาบลในพื้นที่จังหวัดขายแตนภาคใต้ กิจกรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการถอด
บทเรียนการขับเคล่ือนสภาสันติสุขดาบลในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ ประจาปี 2563 ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
(ศอ.บต.)

63

อาทิ การเคลื่อนไหวทางการเมืองและกลุ่มสหพันธ์นิสิตนักศึกษา และเยาวชนปาตานี (Per Mas) ท่ี
ขับเคลื่อนแนวทางการกาหนดใจตนเอง เพอ่ื ดงึ มวลชนและสร้างสภาพแวดลอ้ ม ที่เกื้อกูลต่อแนวทางการ
ต่อสู้ของขบวนการแบ่งแยกดินแดน ทั้งน้ี จากข้อมูลของกอ.รมน.ภาค4สน. สามารถแบ่งพื้นที่ของการ
แก้ไขปญั หาออกเปน็ 3 ประเภท คือ

1) พ้นื ที่เสริมสร้างความมัน่ คง หมายถึง พนื้ ทีท่ ย่ี งั ปรากฏความเคลือ่ นไหว
ของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงซึ่งฝ่ายรัฐต้องใช้การปฏิบัติการเชิงรุกเพื่อจากัดเสรีการเคล่ือนไหวของผู้ก่อเหตุ
รุนแรง จึงจาเป็นต้องดาเนินงานกิจการพลเรือน งานการเมืองและงานพัฒนาเพ่ือความมั่นคง เพื่อมุ่ง
สร้างความเช่ือม่ันในอานาจรัฐให้แก่ประชาชนในพ้ืนท่ีมีขอบเขตพื้นท่ี 10 อาเภอ (อาเภอเมืองยะลา
อาเภอเมอื งปัตตานี อาเภอยะรงั อาเภอสายบุรี อาเภอหนองจิก อาเภอกะพ้อ อาเภอรือเสาะ อาเภอบา
เจาะ อาเภอระแงะ) จานวน 15 ตาบล 76 หมบู่ า้ น

2) พื้นทเี่ ร่งรัดการพัฒนา หมายถึง พ้ืนทีล่ ่อแหลมต่อการก่อเหตุ ซ่งึ ฝ่าย
รัฐต้องเร่งสร้างเกราะป้องกันไม่ให้ผู้ก่อเหตุรุนแรง เข้ามาสร้าง ขยายอิทธิพลในพ้ืนที่ จึงจาเป็นต้อง
ดาเนินงานพัฒนาอยา่ งยง่ั ยืนควบคูง่ านพฒั นาเพื่อความมน่ั คง เพ่ือใหป้ ระชาชนในพ้ืนที่มีความมั่นใจและ
ให้การสนับสนุนฝ่ายรัฐ มีขอบเขตพ้ืนท่ี 17 อาเภอ (อาเภอบันนังสตา อาเภอยะหา อาเภอกรงปินัง
อาเภอธารโต อาเภอมายอ อาเภอทุ่งยางแดง อาเภอปานาเระ อาเภอยะหร่ิง อาเภอโคกโพธิ์ อาเภอ
เมอื งนราธวิ าส อาเภอตากใบ อาเภอยงี่ อ อาเภอศรีสาคร อาเภอจะแนะ อาเภอสุไหงโก-ลก อาเภอสุไหง
ปาดี และอาเภอเจาะไอร้อง) จานวน 104 ตาบล 388 หมู่บา้ น

3) พื้นที่เสรมิ สร้างการพฒั นา หมายถึง พ้นื ทท่ี ่ไี มม่ ีเหตุรุนแรง ซึ่งฝ่ายรฐั
ต้องดารงการดาเนนิ ตามวิถีชีวติ และความเป็นอยูอ่ ยา่ งปกติสุขของประชาชนในพื้นที่ โดยการดาเนินงาน
ด้านการพัฒนาที่ย่ังยืนอย่างต่อเนื่องและยกระดับมาตรฐานหรือเป้าหมายการพัฒนาให้เท่าเทียมกับ
พ้ืนทใ่ี นภูมภิ าคอื่นๆ ของประเทศ มขี อบเขต พื้นที่ 10 อาเภอ (อาเภอเบตง อาเภอกาบัง อาเภอแม่ลาน
อาเภอไม้แก่น อาเภอแว้ง อาเภอสุคิริน อาเภอจะนะ อาเภอเทพา อาเภอนาทวี และอาเภอสะบ้าย้อย)
จานวน 171 ตาบล 1,524 หมู่บ้าน เพื่อมุ่งแก้ไขปัญหาท่ีสาเหตุรากเหง้าของปัญหา โดยมุ่งสร้างความ
เข้มแข็งให้กับประชาชนในชุมชนหมู่บ้านรวมถึงระดับพ้ืนท่ีซ่ึงถือเป็นหน่วยที่ได้รับผลกระทบจากการ
ขับเคลื่อนวาทกรรมและแนวคิดชาตินิยมสุดโต่งจาทาให้สามารถลดการขยายตั วของแนวคิดชาตินิยม
สุดโต่งท่ีจะกระจายไปในทุกส่วนของชุมชนเช่น มัสยิดและสถานท่ีประกอบกิจกรรมทางศาสนา
สถาบันการศึกษาหรือแม้กระท่ังหน่วยงานของรัฐ เป็นต้น ท้ังยังสามารถพัฒนาให้ชุมชน หมู่บ้านและ
พ้ืนที่เหล่าน้ี ให้เป็นภูมิคุ้มกันการขยายกระบวนการปลุกระดมบ่มเพาะของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงได้ ท้ังน้ี
จาเป็นต้องดาเนินการในทุกมิติร่วมกันท้ังมิติด้านความม่ันคงเพ่ือเสริมสร้างความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์ของประชาชนและชุมชน มิติด้านเศรษฐกิจ เพ่ือส่งเสริมการประกอบอาชีพท่ีสอดคล้องกับวิถี
สังคมของพื้นท่ีและนาไปสู่การมีรายได้ครัวเรือนท่ีย่ังยืน มิติด้านสังคมและวัฒนธรรม เพ่ือเสริมความ
เข้มแข็งให้กับสังคมและวัฒนธรรม เพื่อให้เกิดการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรมและมิติด้าน
การศึกษาเพ่ือให้เกิดการส่งผ่านองค์ความรู้ท่ีถูกต้องเป็นจริง และต่อสู้กับแนวคิดและค่านิยมที่ถูก
บดิ เบอื น จงึ ได้จดั ทาโครงการตาบลม่ันคง มง่ั ค่ัง ยงั่ ยนื เพอ่ื เป็นโครงการหลกั สาคัญในการขับเคลื่อนงาน
ในระดบั พืน้ ทใี่ ห้เกดิ ผลเป็นรูปธรรม

64

2) กรอบแนวคิดในการปฏบิ ตั ิ
ดา้ นความม่ันคง
1) จัดตั้งสภาสันติสุขตาบล ซึ่งประกอบด้วย (1) ภาคส่วนราชการที่มี

เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานในพื้นท่ีตาบล (2) ผู้นาท้องท่ีในตาบล (3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (4) ผู้นา
ศาสนา และ (5) ภาคประชาชน

2) ขับเคล่ือนและเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาสันติสุขตาบลอย่างต่อเน่ือง
เช่น การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการหมู่บ้าน และสภาสันติสุขตาบลการประชุมเพื่อรวบรวมและ
จัดทาขอ้ เสนอความต้องการของประชาชนในระดับตาบล

3) จัดทาแผนชุมชน/ตาบล ได้แก่ แผนรักษาความปลอดภัยแผนพัฒนา และ
แผนสร้างความเข้าใจ

4) ขับเคลือ่ นงานยทุ ธศาสตร์ประชาชนมสี ่วนร่วม
5) สร้างความม่ันคงปลอดภัย เพ่ิมเร่ืองหลักประกันความมั่นคง และลด
เงือ่ นไขทสี่ รา้ งความขดั แย้ง
ดา้ นความมั่งค่งั
1) ส่งเสริมอาชีพประชาชนด้วยการยกระดับการทาการเกษตรดั้งเดิมและ
การเกษตรเชิงเดี่ยวสูก่ ารทาเกษตรอุตสาหกรรมผสมผสานและการจดั หาตลาดรองรับ
2) พัฒนาศักยภาพแหลง่ ท่องเทีย่ วในพื้นท่ี ท้ังในมติ ิการท่องเที่ยวชายแดน
ทรพั ยากรธรรมชาติและการท่องเที่ยวเชิงวฒั นธรรมให้มีความเข้มแข็ง
3) ส่งเสริมการจัดตั้งและขยายผลกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อย ขนาดกลาง
ให้มีความเขม้ แขง็
4) พัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชน กลุ่มคนเปราะบางและสาธารณสุขเชิงรุกท่ี
สอดคลอ้ งกับสงั คมพหวุ ัฒนธรรม
5) อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสวัสดิการและบริการข้ันพ้ืนฐานของรัฐ
ช่วยเหลือพัฒนาอาชีพสร้างงาน สร้างอาชพี ให้มีรายได้
ดา้ นความยงั่ ยนื
1) สนับสนุนสังคมให้อยู่กันอย่างสันติสุข และมุ่งแก้ไขปัญหาสาคัญในระดับ
ตาบล
2) สนับสนุนตาบลให้มีหมู่บ้าน/ชุมชนท่ีเข้มแข็งประชาชนได้รับการพัฒนา
ชีวิต ชุมชนน่าอยู่ และมีความสงบสุข ผ่านการบูรณาการระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาค
ประชาสงั คม และสถาบนั การศกึ ษาในพนื้ ท่ี
3) วัตถปุ ระสงค์
1) เพ่อื เสริมสร้างความเข้มแขง็ และเป็นปกึ แผ่นให้กบั ประชาชนทกุ กลุ่ม ทุกศาสนาใน
ชุมชนหมู่บ้านรวมไปถึงตาบล ให้สามารถร่วมกันป้องกันและรักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ของประชาชน หม่บู ้านรวมถึงตาบลได้
2) เพ่ือสง่ เสริมอาชพี ที่มีความต่อเน่อื งและครบวงจรให้กบั ประชาชนในชมุ ชน
หม่บู า้ น และตาบล เพื่อให้เกดิ รายได้ครัวเรอื นท่ียั่งยืนสง่ ผลใหป้ ระชาชนมคี วามกนิ ดี อยู่ดี
3) เพอ่ื สร้างการยอมรบั วถิ ีสังคมและวัฒนธรรมท่ีแตกต่าง เพ่อื ให้การพฒั นามคี วาม

65

เขม้ แข็งและพงึ่ พากัน และนาไปสู่การร่วมมือกนั ในระดับชุมชนเพ่ือส่งเสริมการพัฒนาในอนาคตและการ
อยรู่ ว่ มกนั ในสังคมพหวุ ฒั นธรรมไดอ้ ยา่ งสนั ตสิ ขุ

4) เป้าหมาย ระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ.2561 - 2565) ตาบลมกี ารพฒั นาทางเศรษฐกิจและสังคม
ยกระดับความเป็นอยขู่ องประชาชนใหด้ ีขึน้

5) การดาเนินการระยะ 5 ปีแรก (พ.ศ.2561 - 2565)
6) แนวทางการแกไ้ ขปัญหา

1) จัดต้ังสภาสันติสุขตาบล ซึ่งประกอบด้วย (1) ภาคส่วนราชการที่มีเจ้าหน้าท่ี
ปฏิบัติงานในพื้นที่ตาบล (2) ผู้ปกครองท้องที่ในตาบล (3) องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน (4) ผู้นาศาสนา
และ (5) ภาคประชาชน

2) ขับเคลื่อนและเสริมสร้างความเข้มแข็งสภาสันติสุขตาบลอย่างต่อเนื่อง เช่น การ
พัฒนาศักยภาพ กม. และสภาสันติสุขตาบล , การประชุมเพ่ือรวบรวมและจัดทาข้อเสนอความต้องการ
ของประชาชนในระดับตาบล

3) จัดทาแผนชุมชน/ตาบล ได้แก่ แผนรักษาคามปลอดภัยแผนพัฒนา และแผนสร้าง
ความเข้าใจ

4) ขบั เคลือ่ นงานยุทธศาสตร์ประชาชนมีสว่ นรว่ ม
5) สร้างความม่นั คงปลอดภยั
6) ส่งเสริมอาชีพประชาชนด้วยการยกระดับการทาการเกษตรดั้งเดิมและการเกษตร
เชิงเด่ียว สู่การทาเกษตรอตุ สาหกรรมผสมผสาน และการจัดหาตลาดรองรบั
7) พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเท่ียวในพื้นที่ ทั้งในมิติการท่องเท่ียวชายแดน
ทรัพยากรธรรมชาติและการทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ใหม้ ีความเข้มแข็ง
8) ส่งเสริมการจัดตั้งและขยายผลกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนาดย่อยขนาดกลาง ให้มีความ
เข้มแขง็
9) พฒั นาคุณภาพชีวติ ผเู้ ปราะบางและสาธารณสขุ เชิงรกุ
10) อานวยความสะดวกในการเข้าถึงสวัสดกิ ารและบริการข้นั พนื้ ฐานของรัฐ ช่วยพัฒนา
อาชพี สรา้ งงาน สร้างอาชีพใหม้ ีรายได้
11) สนับสนนุ สังคมให้อยู่กนั อยา่ งสันตสิ ุข

66

ภาพที่ 2.2 การเช่ือมโยงแผนพฒั นาพื้นท่ี

12) สนับสนนุ ตาบลใหม้ ีหมบู่ ้าน/ชุมชนที่เขม้ แข็งประชาชนไดร้ ับการพัฒนาชีวิต ชุมชน
น่าอยู่และมีความสงบสุข เชื่อมโยงไปสู่เมืองต้นแบบ ๓ เมืองหลัก (อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
อาเภอเบตง จังหวัดยะลา และอาเภอสุไหงโก-ลก จังหวัดนราธิวาส) และอาเภอจะนะ จังหวดั สงขลา

13) สนับสนุนให้มีตาบลต้นแบบการพัฒนาที่เข้มแข็ง และขยายการพัฒนาไปสู่ตาบล
ข้างเคยี ง

จึงสรุปได้ว่าแนวทางเกี่ยวกับแผนตาบล มั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ในพื้นท่ีจังหวัดขายแตน
ภาคใต้น้ัน ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในฐานะหน่วยงานเจ้าภาพแผนงานตาบล
ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ได้กาหนดกลไกการขับเคล่ือนงาน และมีคาสั่งแต่งต้ังคณะกรรมการอานวยการ
บริหารกิจกรรมสาคัญตามแนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านความม่ันคง ประกอบด้วย เลขาธิการศูนย์อานวยการบริหารจังหัดชายแดน
ภาคใต้เป็นประธาน ผชู้ ่วยเลขาธกิ ารศูนยอ์ านวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผู้อานวยการ สานัก/
กอง ภายในศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ทาหน้าที่พิจารณากล่ันกรองแผนงาน/
โครงการ และกจิ กรรม ภายใตแ้ ผนงานตาบลมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืนในจังหวัดชายแดนภาคใต้ กาหนดกลไก
การทางาน ติดตาม และประเมินผลแผนงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยให้ผู้ช่วยเลขาธิการศูนย์
อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามกรอบกระทรวง/กรมที่มาปฏิบัติหน้าท่ีประจาศูนย์
อานวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใตเ้ ปน็ ผู้เชื่อมประสานการทางาน ระหว่างศูนย์อานวยการบริหาร
จังหวัดชายแดนภาคใต้กับกระทรวง/กรม ท่ีเก่ียวข้อง คณะกรรมการดังกล่าว กาหนดการประชุมเพื่อ
ขบั เคล่ือนงานและติดตามงานทุกสัปดาห์กาหนดการประชุมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเป็นรายไตรมาส ทั้งนี้
เพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องร่วมกันรายงานผลการปฏิบัติงาน สะท้อนปัญหา อุปสรรค และร่วมกับ
กาหนดแนวทางทช่ี ดั เจนในการขับเคล่ือนงานร่วมกนั ตอ่ ไป

67

2.5 แนวทางการขับเคลอ่ื นสภาสนั ติสุขตาบลในพ้ืนที่จงั หวัดชายแดนภาคใต้ 59

ระดับหมบู่ ้าน
ให้คณะกรรมการหมู่บ้านจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ

พัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชนหรือท้องถ่ินให้เป็นไปตามความต้องการและสามารถแก้ปัญหาที่ชุมชนเผชิญอยู่
ร่วมกันโดยคนในชุมชนมีส่วนร่วมคิด ร่วมกาหนดแนวทางและกิจกรรมการพัฒนาโดยยึดหลักการ
พึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงจากภายนอกด้วยการคานึงถึงศักยภาพทรัพยากรภูมิปัญญา วิถีชีวิต และ
สงิ่ แวดลอ้ ม ในท้องถน่ิ

ระดบั ตาบล
เพ่ือให้การบริหารจัดการและบูรณาการ การปฏิบัติงานระดับตาบลในพื้นที่จังหวัด

ชายแดนภาคใต้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจของรัฐมีประสิทธิภาพ ลดข้ันตอน
การปฏิบัติงานประชาชนได้รับการตอบสนองจากบริการภาครัฐ ให้นายอาเภออาศัยอานาจตาม
พระราชบัญญัติบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2534 และที่แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา 65 และแต่งต้ังให้มีสภา
สนั ติสุขตาบลดาเนินการดังนี้

1) ให้ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ ารอาเภอดาเนนิ การสรรหาสมาชิกสภาสันตสิ ุขตาบล ประกอบด้วย ดังน้ี
1) ภาคส่วนราชการ ที่มีเจ้าหน้าท่ีปฏิบัติงานในพื้นที่ตาบล เช่น ปลัดอาเภอ ทหาร

ตารวจ พัฒนากร สาธารณสุข เกษตร การศึกษานอกระบบ (กศน.) ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ผู้บริหารสถานศกึ ษาทั้งระดบั ประถม และมัธยมในพื้นที่

2) ผ้ปู กครองทอ้ งท่ี ในตาบล ได้แก่ กานนั ผใู้ หญ่บ้าน ทกุ หมบู่ ้าน
3) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้แก่ ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (นายก
อบจ นายกเทศมนตร)ี สมาชกิ เทศบาล สมาชกิ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ
4) ผนู้ าศาสนา หรือ องค์กรศาสนาทุกศาสนาในพ้นื ทต่ี าบล
5) ภาคประชาชน เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิในตาบล เช่น ตัวแทนกลุ่ม
เยาวชน กล่มุ สตรี กลุม่ ออมทรัพย์ อาสาสมัครต่างๆ ในพน้ื ที่ เชน่ อสม. ผแู้ ทนเกษตรกร ปศสุ ัตว์ ฯลฯ
2) ให้นายอาเภอแต่งต้งั สภาสันติสุขตาบลโดยมวี าระ 1 ปี ประกอบด้วยดังน้ี
1) ประธาน ซงึ่ มาจากการคดั เลอื กของสมาชกิ สภาสนั ติสขุ ตาบล
2) รองประธาน ซงึ่ มาจากการคัดเลือกของสมาชกิ สภาสนั ติสุขตาบล จานวน 2 คน
3) กรรมการสภาสนั ติสุขตาบล
4) เลขานุการสภาสันติสุขตาบล จานวน 2 คน ได้แก่ เจ้าหน้าที่ปกครองท่ีรับผิดชอบ
ประจาตาบล หน่วยทหารชดุ เฉพาะกิจในพ้นื ที่ ท่ีไดร้ ับมอบหมาย
5) ให้ประธาน หรือ ตัวแทนบัณฑิตอาสาพัฒนามาตุภูมิในระดับตาบล สังกัดศูนย์
อานวยการบรกิ ารจังหวดั ชายแดนภาคใต้ เปน็ ผ้ชู ว่ ยเลขานุการสภาสันติสขุ ตาบล

59 นายอัสมัน แวกามา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กลุ่มงานสังคมจิตวิทยาเพื่อความมั่นคง กองส่งเสริมและ
สนับสนุนการพัฒนาเพื่อความมั่นคง (กสม.) ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต) , โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับหมู่บ้านชุมชนและตาบลจังหวัดชายแดนภาคใต้ กิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพผู้ปฏิบัติงานระดับตาบล ประจาปี
2563 ศูนยอ์ านวยการบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)

68

3) การกาหนดกล่มุ ภารกิจและหน่วยท่ีรบั ผดิ ชอบภายในสภาสันตสิ ขุ ตาบล
เพื่อให้การขับเคล่ือนงานของสภาสันติสุขตาบล เป็นไปอย่างมีเอกภาพ ประสิทธิภาพ

และประสิทธิผลจึงได้กาหนดโครงสร้างการขับเคล่ือนการขับเคล่ือนภายในของสภาสันติสุขตาบล และ
หน่วยรับผิดชอบตามกลุ่ม/ภารกิจของงาน ดงั น้ี

1) สภาสันติสุขตาบลมีประธานสันติสุขตาบล รองประธานสภาสันติสุขตาบล
จานวน 2 คน และกาหนดให้เจ้าหน้าที่ปกครองประจาตาบล และหน่วยทหารชุดเฉพาะกิจในพ้ืนท่ีที่
รับผิดชอบประจาตาบลเป็นเลขานุการสภาสันติสุขตาบลและให้ประธานบัณฑิตอาสาระดับตาบลเป็น
ผ้ชู ่วยเลขานกุ ารสภาสันตสิ ขุ ตาบล

2)กาหนดกลุม่ ภารกิจและหน่วยงานรับผิดชอบภายในสภาสันติสุขตาบล จานวน 5 กลุ่ม
ภารกจิ ดงั น้ี

1.ด้านการปกครองและรกั ษาความสงบเรียบร้อย กาหนดให้ หน่วย
ทหารในพน้ื ที่ เปน็ หนว่ ยรบั ผิดชอบหลัก โดยมขี อบเขตภารกิจดงั นี้

- ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชน ในตาบลได้มีส่วนร่วมใน
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ์เปน็ ประมขุ

- ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการปกครองระดับท้องที่
และท้องถน่ิ

- ส่งเสริมและสร้างความเข้าใจให้ประชาชนปฏิบัติตามกฎหมาย กฎ
ระเบียบ ข้อบังคับ มติของทีป่ ระชุมของหมู่บา้ น/ชุมชน

- สร้างความเป็นธรรมและประนีประนอมข้อพิพาท ส่งเสริมให้ศูนย์
ยุติธรรมชุมชนเข้มแข็งมีประสิทธิภาพแประสิทธิผล ตรวจตรา รักษาคามสงบเรียบร้อย การป้องกัน
แกไ้ ข และปราบปรามยาเสพติดพ้ืนท่รี วมถงึ การลดปญั หาอาชญากรรมในทกุ รูปแบบ

- การคุ้มครอง ดูแลรักษาชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นท่ี
รวมถึงการดูแลรกั ษาทรัพย์สินอันเปน็ สาธารณประโยชน์ของหมบู่ ้าน/ชมุ ชน

- การปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั
- งานอื่นๆ ตามทีส่ ภาสันตสิ ุขตาบลมอบหมาย
2.ด้านการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ตาบลกาหนดให้
องค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ เป็นหน่วยรบั ผิดชอบหลกั โดยมขี อบเขตภารกิจ ดงั นี้
- รวบรวมปัญหา ความต้องการ และความจาเป็นเร่งด่วนของ
หมู่บ้าน/ชุมชน เพ่ือจัดทาแผนพฒั นาหม่บู ้าน/ชุมชน
- ประสานงานกับหน่วยงานหรทอส่วนราชการที่มีแผนงานโครงการ
ในพ้ืนที่เพอื่ จดั ทาแผนบรู ณาการพัฒนาหมบู่ ้าน/ชุมชน ประกอบดว้ ย 5 ดา้ น ดังน้ี

1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2. ดา้ นเศรษฐกิจ
3. ด้านการพัฒนาสังคม/คณุ ภาพชีวิต
4. ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม
5. ด้านการศึกษา ศลิ ปะ ศาสนาและวฒั นธรรม
- รวบรวมและจัดทาข้อมลู สารสนเทศของหมบู่ ้าน/ชมุ ชน

69

- ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนา
หมู่บา้ น/ชุมชน

- สนับสนุนกิจกรรมตามแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน ให้บรรลุ
วัตถปุ ระสงค์และประสบผลสาเรจ็ และงานอื่นใดตามทีส่ ภาสันติสขุ ตาบลมอบหมาย

3. ด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ กาหนดให้ พัฒนาชุมชนอาเภอและ
เกษตรอาเภอ เปน็ หนว่ ยรบั ผดิ ชอบหลกั โดยมีขอบเขตภารกิจ ดงั นี้

- ส่งเสรมิ การพฒั นาตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง
- การพัฒนาและส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพ การผลิตและ
การตลาด เพื่อเสริมสรา้ งรายได้ ลดรายจ่าย มเี งนิ ออม
- สนับสนุนการรวมกลุ่ม การจัดต้ังกลุ่มอาชีพ ส่งเสริมการเกษตร
แบบผสมผสาน
- การพัฒนาแหล่งกระจายสินค้า การสร้างมูลค่าเพ่ิมให้กับผลผลิต
ทางการเกษตร การพัฒนาและต่อยอดงานฝีมอื
- พฒั นาแหล่งทอ่ งเท่ยี ว
- สนบั สนนุ การเลีย้ งสัตวเ์ พื่อการบริโภค
- งานอ่ืนใดตามท่ีสภาสนั ตสิ ุขตาบลมอบหมาย
4. ด้านสังคม ส่ิงแวดล้อมสาธารณสุข กาหนดให้ สาธารณสุข
อาเภอ เปน็ หน่วยรบั ผดิ ชอบหลักโดยมขี อบเขตภารกิจ ดงั น้ี
- ส่งเสริมสวัสดิการและพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุและผู้
พิการให้มีคณุ ภาพชวี ิตท่ีดี
- สงเคราะห์ผู้ยากจน ผู้ด้อยโอกาส ให้สามารถเข้าถึงบริการภาครัฐและมี
คณุ ภาพชีวิตที่ดี
- เสริมสร้างสุขภาวะในหมู่บ้าน/ชุมชน สนับสนุนให้เด็กได้รับวัคซีนตาม
เกณฑ์ทีก่ าหนด
- สร้างภูมิค้มุ กนั ในครวั เรอื น ลดปัญหาสงั คมปญั หาอ่นื
- การส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรวมถึง
การพ้นื ฟทู รัพยากรธรรมชาตทิ เ่ี สื่อมโทรม
- สร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าเกิด
ประโยชนส์ ูงสุด
- งานอ่นื ใดตามทส่ี ภาสันตสิ ุขตาบลมอบหมาย
5. ด้านการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กาหนดให้ ปกครอง
อาเภอ เปน็ หน่วยรบั ผดิ ชอบหลักโดยมีของเขตภารกิจ ดงั นี้
- สง่ เสริมการศกึ ษา ศาสนา การบารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณภี มู ิ
ปญั ญาและวฒั นธรรม
- สง่ เสรมิ กจิ กรรมเชงิ พหวุ ัฒนธรรม และสนบั สนนุ ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ (พหสุ ังคม)

70

- ส่งเสรมิ ใหป้ ระชานในพืน้ ที่ให้ความสาคัญในกิจกรรมสาคญั ของชาตติ าม
ความเหมาะสม

- การเสรมิ แรงทางบวก เพื่อปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมในการอยู่รว่ มกัน
(พหุสงั คม) และความหลากหลายทางศาสนาและวฒั นธรรม (พหวุ ัฒนธรรม)

6. ดา้ นงานอานวยการและงานอนื่ ๆ กาหนดให้ เลขานุการสภา
สนั ติสุขตาบล เป็นหนว่ ยรับผิดชอบหลกั โดยมขี อบเขตภารกจิ ดังน้ี

- งานธุรการ
- งานจัดประชมุ
- งานรบั จ่าย และเกบ็ รกั ษาเงนิ และทรัพย์สินสภาสันตสิ ุขตาบล
- งานประสานและตดิ ตามการทางานของคณะกรรมการต่างๆ
- จดั ทาและรายงานผลการดาเนินงานของคณะกรรมการสภาสันติสขุ
ตาบลฯ
- งานอืน่ ใดท่ีสภาสันติสขุ ตาบลมอบหมาย
3) ให้ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) และกอง
อานวยการรักษาคามมั่นคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค4 สน.) เป็นหน่วยอานวยการในการ
ขับเคล่ือนสภาสันติสุขตาบลโดยการสนับสนุนการขับเคล่ือนของสภาสันติสุขตาบลให้มีเสถี ยรภาพ
เอกภาพ ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลและสนบั สนนุ กิจกรรม แผนงานโครงการท่ีเกินศักยภาพของสภา
สนั ตสิ ุขตาบล เพอ่ื สภาสนั ตสิ ุขตาบลสามารถแก้ปัญหาและสนองตอบความตอ้ งการของประชาชน
4) ใหส้ ว่ นราชการระดับกระทรวง ทบวง กรม ท่ีมีหน่วยงานสังกัดในพ้ืนที่ ทา
หน้าท่ีหนุนเสริมการับเคลื่อนของสภาสันติสุขตาบลให้การดาเนินกิจกรรมต่างๆ ผ่านกระบวนการของ
สภาสันติสุขตาบลเกิดการบูรณาการ ลดความซ้าซ้อนและลดข้ันตอนในการดาเนินการภาครัฐ และ
กจิ กรรมอน่ื ใดท่เี ก่ียวข้องต่อไป ฯลฯ
4) ให้สภาสนั ตสิ ขุ ตาบล มีบทบาทหนา้ ท่ี ดงั น้ี
1) รวบรวมปัญหาและความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี ที่ส่วนราชการหรือ
หน่วยงานไม่อาจดาเนินการได้ในระดับตาบล รายงานให้ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอทราบและพิจารณาให้
ความช่วยเหลือ
2) นาแผนท่ีส่วนราชการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องท่ีได้จัดทาขึ้นมาแล้ว เสนอให้สภาสันติ
สุขตาบลเพื่อทราบ และเพื่อบูรณาการในการปฏิบัติงาน มิให้เกิดความซ้าซ้อน โดยให้หน่วยงานฝ่าย
ความมน่ั คงเสนอแนะในการขับเคลอ่ื นงานให้บรรลตุ ามเป้าประสงค์

3) ใหส้ ว่ นราชการ หน่วยงานที่เก่ียวข้อง นาแผนพัฒนาหมู่บ้าน/ชุมชน เป็นข้อมูลเพ่ือ
จัดทาแผนงานโครงการของแต่ละหน่วยงาน เช่น แผนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามระเบียบที่
กระทรวงมหาดไทยกาหนด แผนของหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง โดยให้หน่วยงานความมั่นคงได้เสนอแนะ
กลุ่มเป้าหมายหรือวิธีการเพ่ือให้บรรลุเป้าประสงค์ ในกรณีท่ีศูนย์ปฏิบัติการอาเภอไม่อาจช่วยเหลือได้
รายงานปัญหาใหท้ างจังหวัดทราบและพิจารณาให้ความชว่ ยเหลอื เพ่ิมเตมิ หรือการช่วยเหลือนอกอานาจ
หนา้ ที่ ให้ศูนยบ์ รกิ ารบริหารจังหวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.)และกองอานวยการรักษาคามมั่นคงภายใน
ภาค 4 (กอ.รมน.ภาค 4) ตามลาดบั ต่อไป

71

4) ส่วนราชการต้องสร้างความเข้าใจนโยบายภาครัฐ กลไกลการบริหารราชการ
กฎหมาย และสทิ ธิ หน้าทพี่ ลเมอื ง ให้กับสภาสันติสุขตาบล เพ่ือให้สมาชิกได้เผยแพร่ ทาความเข้าใจกับ
ประชาชนในพน้ื ท่ี ลดการสร้างเงอ่ื นไข และมงุ้ เนน้ การพัฒนาท่ยี ัง่ ยืน

ในกรณีใดที่การแก้ปัญหาต้องใช้หน่วยงานจากนอกพื้นที่ หรือหน่วยงานท่ีมีความรู้
ความสามารถเฉพาะด้าน ให้สภาสันติสุขตาบลประสานหน่วยงานดังกล่าว เพื่อแก้ไขปัญหาหรือสร้าง
ความเข้าใจให้กบั ประชาชนทุกมติ ใิ นพน้ื ท่ที ้ังทางตรงและทางอ้อม

5) ประสานการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ขนบธรรมเนียม
ประเพณีอันดีงาม ส่งเสริมสังคมพหุวัฒนธรรม และสนับสนุนการพัฒนาตามศักยภาพของพื้นที่ให้
ประชาชนในพน้ื ท่ีสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างปกติสขุ

6) ติดตามและประเมินผลกิจกรรม/โครงการของส่วนราชการ หรือหน่วยงานอ่ืนท่ี
ดาเนินการในพ้นื ท่ีเพอื่ ให้เกิดประโยชนส์ งู สดุ ตอ่ ประชาชนและประเทศชาติ

7) งานอน่ื ๆ ท่ีสว่ นราชการตา่ งๆมอบหมาย

ภาพที่ 2.3 แสดงกลมุ่ ภารกิจของสภาสนั ติสขุ ตาบล

5) ใหส้ ภาสันติสขุ ตาบล มแี นวทางดาเนินการดงั น้ี
1) ให้มีการประชุมสภาสันติสุขตาบลอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ในสัปดาห์แรกของแต่

ละเดอื น กรณีจาเปน็ เร่งดว่ นให้ประธานร่วมหารือกับฝ่ายเลขานุการสภาสันติสุขตาบลเพ่ือพิจารณาและ
ดาเนินการตามอานาจหน้าท่ีมติเป็นประการใด ให้เสนอให้สภาสันติสุขตาบลทราบในการประชุมคราว
ถัดไป

2) ในการประชุมประจาเดือนสภาสันติสุขตาบลต้องมีประเด็นที่จะขับเคล่ือนการ
แก้ปัญหาและพัฒนาตลอดจนการสร้างความเขา้ ใจดงั น้ี

(1) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในตาบลต้องรายงานแผนงานโครงการให้ท่ีประชุม
ทราบเพื่อบรู ณาการรว่ มกนั

72

(2) หน่วยงานที่เก่ียวข้องในตาบลต้องรายงานผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา
เพือ่ ให้ทีป่ ระชุมไดป้ ระเมินผลและติดตาม ความคืบหน้า ตลอดจนการแก้ไขปญั หา

(3) การดาเนินงานตามนโยบายท่ีสาคัญของผู้บังคับบัญชา เช่น การแก้ไข
ปัญหายาเสพตดิ การแกไ้ ขปญั หานาร้าง ฯลฯ

(4) การติดตาม การแก้ไขปัญหา ในพ้ืนที่เป็นการเฉพาะ เช่น ปัญหาท่ีดินทา
กนิ ปญั หาด้านสาธารณสุข ทีเ่ กดิ ขึ้นในพ้ืนท่ี ปญั หาสง่ิ แวดล้อม ปัญหาการเข้าถงึ การบรกิ ารภาครัฐ ฯลฯ

(5) อืน่ ๆ ท่ีสภาสันตสิ ุขตาบลกาหนดเป็นการเฉพาะ
3) สภาสันติสขุ ตาบลรายงานผลการประชมุ ประจาเดอื น (รายงานการประชุมสภาสันติ
สุขตาบล)ใหศ้ นู ย์ปฏิบตั ิการอาเภอและหน่วยงานทเ่ี ก่ียวข้องภายใน 5 วัน นับถัดจากวันประชุมสภาสันติ
สขุ ตาบล เพ่ือนาเข้าท่ีประชมุ ประจาเดือนศนู ยป์ ฏิบัติการอาเภอ หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ดาเนินการ
ในส่วนทเ่ี กยี่ วขอ้ งต่อไป
6) การขับเคลื่อนงานสภาสนั ตสิ ขุ ตาบล
ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) และบัณฑิตอาสาฯประชาสัมพันธ์โครงการ ผ่านผู้นา
กลมุ่ องค์กร อาสาสมคั รรวมทงั้ ประชาชนในหมูบ่ ้านตาบล ไดท้ ราบโดยท่ัวกัน
กรณีมีปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัติงานของสภาสันติสุขตาบลให้นายอาเภอวินิ จฉัยช้ี
ขาดและให้ถอื ว่าคาวนิ ิจฉัยของนายอาเภอเป็นที่สนิ้ สดุ
การปฏบิ ตั งิ านตามอานาจหน้าทข่ี องสภาสนั ตสิ ขุ ตาบลตอ้ งเป็นไปเพอ่ื ประโยชน์สุขของ
ประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ีดีให้คานึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนและกากับ
ดูแลการปฏบิ ตั งิ านตามแผนหมบู่ ้าน แผนตาบล และแผนของหนว่ ยงานราชการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ระดบั อาเภอ (ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารอาเภอ)

1.ให้ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอ (ศปก.อ.) ทาหน้าท่ีนิเทศ ติดตามและประเมินผล
ใหค้ วามชว่ ยเหลอื เสนอแนะ การดาเนินการสภาสนั ตสิ ุขตาบล ใหม้ ีประสิทธิภาพ ประสทิ ธผิ ล

2.ให้ศูนย์ปฏิบัติการอาเภอ (ศปก.อ) สนับสนุน ให้ความช่วยเหลือกิจกรรม
โครงการท่ีสภาสนั ตสิ ขุ ตาบลเสนอ หรือมีความจาเปน็ ทจ่ี ะต้องให้ทางศูนย์ปฏิบัติการอาเภอประสานการ
ช่วยเหลอื จากหนว่ ยงานหรือสว่ นราชการอืน่ ๆ

3.ศนู ย์ปฏิบตั ิการอาเภอ (ศปก.อ) ประสานการช่วยเหลือ ขอรับการสนับสนุน
จากหน่วยงานระดับจังหวัดหรือหน่วยงานเี่ กี่ยวข้อง เพอ่ื ให้การแกไ้ ขปญั หา ใหก้ บั สภาสันติสขุ ตาบล

4.รวบรวมสรุปผลการดาเนินงานของสภาสันติสุขตาบลในแต่ละเดือน เพ่ือ
นาเขา้ เป็นวาระการประชมุ ศูนยป์ ฏบิ ัติการอาเภอ

5.รายงาน ผลการดาเนินงานให้ทางจังหวั ดทราบแล ะดา เนินการในส่วน ท่ี
เก่ยี วขอ้ งต่อไป

6.อ่นื ๆตามที่สภาสนั ติสุขตาบลร้องขอ
ระดับจงั หวัด/กอ.รมน.จว.

1.ประสานงาน อานวยการ สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การให้ความชว่ ยเหลอื สภา
สนั ติสขุ ตาบลตามรายงานและการร้องขอของศูนยป์ ฏบิ ตั ิการอาเภอ ให้เป็นไปตามความต้องการของ
ประชาชนในพ้นื ท่ี หรือตามแผนงานทีเ่ ก่ยี วข้อง

73

2.ติดตามและประเมินผลการดาเนินงานของสภาสันติสุขตาบล ตลอดจนการ
สรา้ งขวัญและกาลังใจใหก้ ับสภาสนั ตสิ ขุ ตาบลและประชาชนในพนื้ ท่ี

3.รายงานผลการดาเนินงานให้ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้
(ศอ.บต.) และกองอานวยการรักษาความม่ันคงภายในภาค 4 ส่วนหน้า (กอ.รมน.ภาค4สน.) เพ่ือทราบ
และดาเนนิ การในส่วนทเ่ี ก่ยี วข้อง

4.อน่ื ๆตามท่ีศูนย์ปฏิบัติการอาเภอรอ้ งขอ
ระดบั ศอ.บต./กอ.รมน.ภาค 4 สน.

1.สง่ เสรมิ สนับสนนุ ติดตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งานของสภาสนั ตสิ ขุ ตาบล
2.สนับสนุนการช่วยเหลือตามท่ีจงั หวดั /กอ.รมน.จว.รอ้ งขอ
3.สร้างขวญั และกาลงั ใจ สรา้ งความเข้าใจในสว่ นทเ่ี กี่ยวข้องใหก้ ับสภาสนั ติสขุ
ตาบลเพ่อื ขยายผลไปสู่ประชาชนในพน้ื ทีต่ ่อไป
4.อนื่ ๆตามทจ่ี ังหวัดและ กอ.รมน.จว.รอ้ งขอ

แนวทางการขับเคล่ือนสภาสันติสุขตาบลในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น เป็นการ
พิจารณากาหนดโครงการ กิจกรรม และกรอบงบประมาณภายใต้แผนด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหา
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้มอบหมายให้ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.) เป็น
ผู้รับผิดชอบหลักในการขับเคลื่อนโครงการตาบลมั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน โดยให้ตาบลเป็นศูนย์กลางในการ
บริหารราชการระดับพ้ืนท่ีนั้น จึงได้กาหนดแนวทางการขับเคลื่อนสภาสันติสุขตาบลในพ้ืนที่ จังหวัด
ชายแดนภาคใต้ประกอบด้วย ๕ ภาคส่วนภาคีหลัก ได้แก่ ส่วนราชการ ปกครอง พัฒนาชุมชน เกษตร
ส่วนท้องถิ่น อบต. ส่วนท้องที่ กานัน ผู้ใหญ่ ผู้นาตัวแทนแต่ละศาสนาและภาคประชาสังคม โดยได้
กาหนดกลุ่มภารกิจ และหน่วยงานภาคีที่รับผิดชอบภายในสภาสันติสุขตาบล เพื่อให้ทุกภาคส่วนได้มี
ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา มีหน่วยงานภาคีในการหนุนเสริมการดาเนินการอย่างเป็นระบบ ในการ
ขับเคล่ือนโครงการ เสรมิ สร้างความเข้มแข็งให้กับหมู่บ้าน ชุมชน และตาบลจังหวัดชายแดนภาคใต้และ
ได้มีการสะท้อนปัญหาและความต้องการในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่โดยประชาชนเพื่อ
ประชาชน ซึ่งภาครัฐและภาคส่วนต่าง ๆ หนุนเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมตั้งแต่กระบวนการค้นหา
ปญั หา กาหนดแผนพฒั นา และตดิ ตามการดาเนินงานของภาคราชการและหน่วยงานที่เก่ียวข้องภายใน
พ้ืนท่ี ทั้งน้ี เพื่อให้การขับเคลื่อนแผนงานตาบลมั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน ภายใต้แผนแม่บทประเด็นด้านความ
ม่ันคง มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล จึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีเพ่ือปรับปรุงพัฒนาโครงสร้างภาค
ประชาชนให้มคี วามเข้มแข็ง

74

ภาพที่ 2.4 องคป์ ระกอบ โครงสรา้ งและกลุ่มภารกจิ ของสภาสันตสิ ุข

2.6 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนท่ีใน
ระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 256260

โดยท่ีมาตรา 53/1 แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติม
โดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 กาหนดให้จังหวัดจัดทา
แผนพฒั นาจงั หวัดใหส้ อดคล้องกับแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในระดับชาติและความต้องการของ
ประชาชนในท้องถ่ินในจังหวัด ประกอบกับตามยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 ถึง พ.ศ. 2580 ประเด็น
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ข้อ 4.2 กาหนดให้ภาครัฐ
บริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายและเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุก
ประเด็น ทุกภารกิจ ทุกพื้นท่ี จึงสมควรกาหนดแนวทางเพื่อบูรณาการในการจัดทาแผนและประสาน
แผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีหมู่บ้าน ชุมชน ตาบล และอาเภอให้เกิดความเชื่อมโยงสอดคล้องกับทิศทางการ
พฒั นาในระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัด ภาค และประเทศไปในทิศทางเดียวกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความ
คมุ้ ค่า นาไปสู่ความม่ันคง มัง่ คัง่ และย่งั ยนื

อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.
2534 และในฐานะที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540 มาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 แห่ง
พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 และมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบยี บบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงมหาดไทย จงึ ออกระเบียบไว้ ดงั น้ี

60 กระทรวงมหาดไทย.(2562) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ในระดับอาเภอ
และตาบล พ.ศ. 2562 กรงุ เทพมหานคร :กระทรวงมหาดไทย

75

ข้อ 1 ระเบียบน้ีเรียกว่า “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน
แผนพฒั นาพนื้ ทใ่ี นระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562

ข้อ 2 ระเบียบนี้ใหใ้ ช้บงั คับต้ังแตว่ นั ถัดจากวันประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเปน็ ตน้ ไป
ข้อ 3 บรรดาระเบียบ ข้อบังคับ หนังสือส่ังการหรือคาสั่งอ่ืนใดในส่วนท่ีกาหนดไว้แล้วใน
ระเบียบนหี้ รือซึ่งขัดหรือแยง้ กบั ระเบยี บน้ีใหใ้ ชร้ ะเบียบนี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“แผนพัฒนาในระดับพื้นที่” หมายความว่า แผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล
แผนพฒั นาทอ้ งถ่นิ แผนพฒั นาอาเภอ และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรอื หน่วยงานอื่นท่ีดาเนินการใน
พืน้ ที่อาเภอ
“การจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี” หมายความว่า การจัดทาแผนและ
ประสานแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพัฒนาอาเภอและ
แผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น รวมท้ังองค์กรภาคเอกชนและประชาชนท่ีดาเนินการใน
พ้ืนท่ีให้มีความเชื่อมโยงและสอดคล้องในทุกระดับเป็นแผนเดียวกัน เพ่ือให้สะท้อนปัญหาและความ
ตอ้ งการของประชาชนในพืน้ ท่ี และสอดคลอ้ งกบั แนวทางตามแผนพัฒนาจงั หวดั แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด
และแผนพฒั นาภาค ที่เป็นการบูรณาการการทางานของทุกหนว่ ยงานในพืน้ ท่ี
“หมู่บ้าน” หมายความวา่ หมู่บ้านตามกฎหมายวา่ ด้วยลักษณะปกครองทอ้ งท่ี
“ชุมชน” หมายความว่า ชุมชนที่ไม่มีตาแหน่งกานัน ผู้ใหญ่บ้าน และอยู่ในพ้ืนที่ความ
รบั ผิดชอบขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ
“องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน” หมายความว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล องค์การ
บริหารส่วนตาบล เมืองพัทยา และราชการส่วนท้องถิ่นอื่นตามท่ีมีกฎหมายกาหนดแต่ไม่รวมถึง
กรุงเทพมหานคร
“คณะกรรมการชุมชน” หมายความว่า คณะกรรมการของชุมชนที่อยู่ในพื้นท่ีความรับผิดชอบ
ขององคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ ในเขตเทศบาลและเมืองพัทยา
“คณะกรรมการหมู่บ้าน” หมายความว่า คณะกรรมการหมู่บ้านตามกฎหมายว่าด้วยลักษณะ
ปกครองท้องที่ และคณะกรรมการกลางหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเองตามกฎหมายว่าด้วยจัด
ระเบียบบรหิ ารหมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
“แผนพัฒนาอาเภอ” หมายความวา่ แผนพัฒนาท่ีรวบรวมรายการโครงการและแผนงานต่าง ๆ
ของอาเภอท่ีสะท้อนถึงปัญหาและความต้องการของประชาชน ตลอดจนความต้องการของทุกภาคส่วน
ในพื้นที่อาเภอโดยแผนพัฒนาอาเภอจาเป็นต้องจัดทาเพ่ือให้เป็นเครื่องมือในการดาเนินงานตาม
วตั ถุประสงคแ์ ละทศิ ทางการพฒั นาของอาเภอในอนาคต
“แผนความตอ้ งการระดับอาเภอ” หมายความว่า รายการเก่ียวกับโครงการและแผนงานต่าง ๆ
ที่จาเป็นต้องดาเนินการในพื้นที่อาเภอในแต่ละปีงบประมาณที่ระบุถึงปัญหาและความต้องการของ
ประชาชนในพ้ืนที่อาเภอและเป็นไปตามลาดับความสาคัญ ท่ีมาจากแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน
แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น ที่ดาเนินการในพื้นท่ี
โดยจดั กลุม่ ของปัญหาและความตอ้ งการออกเปน็ หมวดหมู่และส่งไปยังจังหวัดหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เพื่อประกอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดหรือแผนปฏิบัติ
ราชการประจาปีของส่วนราชการ

76

“แผนปฏิบัติงานประจาปีของอาเภอ” หมายความว่า แผนพัฒนาที่รวบรวมโครงการหรือ
กิจกรรมของส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นของรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการ
จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ต้องดาเนินการในพ้ืนที่อาเภอ และรายงานให้คณะกรรมการ
บริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการทราบ

“แผนพัฒนาท้องถ่ิน” หมายความว่า แผนพัฒนาท้องถ่ินตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่า
ดว้ ยการจดั ทาแผนพฒั นาขององคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น

“แผนพัฒนาตาบล” หมายความว่า แผนพัฒนาท่ีรวบรวมรายการแผนงานหรือโครงการหรือ
กจิ กรรม ท่ีจาเป็นต้องทาเพอื่ การพฒั นาแก้ไขปญั หาและความตอ้ งการของประชาชนในพ้ืนท่ีระดับตาบล
ที่มาจากแผนพฒั นาหมูบ่ ้าน แผนชมุ ชน แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน
ทด่ี าเนนิ การในพ้นื ท่ี

“แผนพัฒนาหมูบ่ ้าน” หมายความว่า แผนพัฒนาท่ีกาหนดแผนงานหรือโครงการ หรือกิจกรรม
ท่ีมาจากกระบวนการเรียนรู้เพ่ือจัดการตนเองที่คณะกรรมการหมู่บ้านและประชาชนในหมู่บ้านร่วมคิด
วิเคราะห์ปัญหา ศักยภาพความพร้อมของหมู่บ้าน ภายใต้เวทีประชาคมหมู่บ้าน และข้อมูลที่คนใน
หมู่บ้านจัดเก็บ รวมถึงข้อมูลจากแผนชนิดต่าง ๆ ที่มีอยู่ในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นแผนท่ีส่วนราชการ
หน่วยงาน องค์กรต่าง ๆ ให้การสนับสนุน หรือจัดทาข้ึน เพ่ือรวบรวมให้เป็นกรอบแนวทางการป้องกัน
แก้ไขปญั หา และพัฒนาหมู่บา้ นใหส้ อดคล้องกับปญั หาและความต้องการท่ีแทจ้ รงิ ของหมบู่ า้ น

“แผนชุมชน” หมายความว่า แผนชุมชนตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา
แผนพฒั นาขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่นิ

“การจัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน” หมายความว่า การจัดทาเวทีประชาคมร่วมกัน
ระหว่างประชาชน คณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นท่ี
ดาเนินการในพ้ืนที่ เพื่อรวบรวม วิเคราะห์ปัญหา และความต้องการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อใช้
ประกอบการจดั ทาแผนพฒั นาหมบู่ ้าน แผนพฒั นาท้องถนิ่ และแผนของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นท่ี
ดาเนินการในพืน้ ท่ี

ข้อ 5 ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบน้ี และมีอานาจตีความ วินิจฉัยปัญหา
กาหนดหลกั เกณฑ์และวิธีปฏบิ ัตเิ พ่อื ดาเนินการให้เป็นไปตามระเบียบน้ี

หมวด 1
การจดั ทาแผนและประสานแผนพัฒนาหม่บู ้านและแผนชมุ ชน
ข้อ 6 ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้เป็นไปตามแนวทาง
ดังน้ี
(1) จัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือรวบรวมข้อมูลปัญหาความต้องการต่างๆ ของ
หมู่บ้านและชุมชน ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ความมัน่ คงและความสงบเรยี บร้อย และการบรหิ ารจัดการ หรอื อ่ืน ๆ
(2) บูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้นาข้อมูลจากเวทีประชาคมหมู่บ้าน
และชุมชน ข้อมูลความจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) มาใช้เป็น
ขอ้ มลู พ้นื ฐานในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน พร้อมท้ังจัดลาดับความสาคัญ เพ่ือรองรับ
การพัฒนาและแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ รวมทั้งตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนที่จะแก้ไขปัญหา และ
พฒั นาระดบั หมบู่ ้านและชุมชนของรฐั บาล

77

(3) ส่งแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนตาม (2) ให้ ก.บ.ต. และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน

เพ่ือเป็นข้อมลู ในการจัดทาแผนพฒั นาตาบล และแผนพฒั นาท้องถ่ิน

(4) ประสานจัดทาโครงการเก่ียวกับการพัฒนาหมู่บ้านและชุมชน เพ่ือขอรับการสนับสนุน

งบประมาณจากหนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก์ รปกครองสว่ นท้องถิ่น และหนว่ ยงานอน่ื ๆ

(5) ตดิ ตามผลการดาเนนิ งานตามแผนพฒั นาหม่บู า้ นและแผนชมุ ชนใหเ้ ป็นปัจจบุ นั

(6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชนทุกปี เพ่ือให้แผนงานหรือโครงการ

ระดับหมู่บ้านและชุมชน เป็นปัจจุบัน และมีความสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการพัฒนา

ของประชาชนในหมู่บ้านและชุมชนในการจัดทาแผนตามวรรคหน่ึง ให้คณะกรรมการหมู่บ้าน เป็น

องค์กรหลักท่ีรับผิดชอบในการบูรณาการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน หรือให้คณะกรรมการชุมชน หรือ

หนว่ ยงานอืน่ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งช่วยดาเนินการบูรณาการจัดทาแผนพฒั นาหมบู่ า้ นและแผนชมุ ชนก็ได้

ข้อ 7 ให้นายอาเภอและผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดาเนินการพัฒนาศักยภาพ

คณะกรรมการหมู่บ้าน และคณะกรรมการชุมชน หรือหน่วยงานอ่ืนที่เกี่ยวข้องในการบูรณาการและ

ประสานงานในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน

ข้อ 8 เพ่ือให้เกิดการบูรณาการในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้อาเภอและ

องคก์ รปกครองส่วนท้องถน่ิ เปน็ หน่วยงานหลกั รว่ มกนั ในการจดั ทาแผนพฒั นาหม่บู า้ นและแผนชุมชนให้

สานกั งานพฒั นาชุมชนอาเภอ เปน็ หนว่ ยงานสนับสนนุ ในการจดั ทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชมุ ชน

ทงั้ นี้ แนวทางการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้เป็นไปตามท่ีกระทรวงมหาดไทย

กาหนด

หมวด 2

การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาตาบล

ขอ้ 9 ในตาบลหนง่ึ ใหม้ คี ณะกรรมการบรหิ ารงานตาบลแบบบูรณาการ ขน้ึ คณะหนงึ่ เรียกโดย

ยอ่ ว่า ก.บ.ต. โดยประกอบดว้ ย

(๑) ปลัดอาเภอผูร้ ับผดิ ชอบประจาตาบลทีน่ ายอาเภอมอบหมาย ประธานกรรมการ

(2) ปลดั องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในตาบล กรรมการ

(3) ข้าราชการทีป่ ฏบิ ัตงิ านในตาบลทน่ี ายอาเภอแตง่ ต้ังจานวนไม่เกนิ สามคน กรรมการ

(4) กานัน ผใู้ หญบ่ า้ นในตาบล กรรมการ

(5) ผู้ทรงคณุ วุฒิทีน่ ายอาเภอแต่งตงั้ จานวนไม่เกินห้าคน กรรมการ

(6) พฒั นากรผรู้ ับผดิ ชอบตาบล กรรมการและเลขานุการ

ในการแตง่ ต้ังผทู้ รงคุณวุฒติ าม (5) ใหค้ านงึ ถงึ ผมู้ ีความรู้ความสามารถเก่ียวกับการพัฒนาชุมชน

ในระดบั ตาบล หรือมีประสบการณ์ในการจดั ทาแผนพฒั นาในระดบั ตาบล

องค์ประชุมและการประชุมของ ก.บ.ต. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการท่ีมีอานาจดาเนินการ

พิจารณาทางปกครองตามกฎหมายวา่ ดว้ ยวธิ ปี ฏบิ ัตริ าชการทางปกครอง มาใชบ้ ังคับโดยอนโุ ลม

ข้อ 10 ให้ ก.บ.ต. มีอานาจหน้าท่ี ดงั ตอ่ ไปนี้

(1) รวบรวมข้อมูลขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่ ข้อมูล

ความจาเปน็ พืน้ ฐาน (จปฐ.) ขอ้ มูลพ้ืนฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค) และข้อมูลอ่ืน ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน

การจัดทาแผนพฒั นาตาบล

78

(2) รวบรวมแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน และแผนพัฒนาท้องถิ่นในตาบล เพื่อใช้

ประกอบการจดั ทาแผนพัฒนาตาบล

(3) จดั ทาแผนพฒั นาตาบล ให้นาข้อมูลจาก (1) และ (2) มาวิเคราะห์หรือสังเคราะห์กล่ันกรอง

ประมวลผล เพื่อกาหนดทิศทางการพัฒนาตาบล และจัดลาดับความสาคัญของแผนงานหรือโครงการ

ระดบั ตาบล รวมทง้ั จดั ทาแผนงานหรือโครงการในการแก้ไขปัญหาในพ้ืนที่ ที่มีความคาบเก่ียวตั้งแต่สอง

หมู่บ้านหรือสองชุมชนข้ึนไป เพื่อรองรับการพัฒนาและตอบสนองนโยบายสาคัญเร่งด่วนในการแก้ไข

ปญั หาและพัฒนาในตาบล

(4) จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับตาบลท่ีสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาขององค์กร

ปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ระดับตาบล และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องค์กรปกครอง

สว่ นทอ้ งถน่ิ พจิ ารณาบรรจุไวใ้ นแผนพัฒนาทอ้ งถ่ิน

(5) จัดส่งแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.อ. ใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความ

ต้องการระดบั อาเภอ

(6) ทบทวนการจัดทาแผนพัฒนาตาบลทุกปี เพ่ือให้แผนงานหรือโครงการระดับตาบลเป็น

ปจั จุบัน

ข้อ 11 ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบลและ

ดาเนินการพฒั นาศักยภาพ ก.บ.ต. ในการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาตาบลท้ังน้ี แนวทางในการ

จัดทาแผนพัฒนาตาบล ใหเ้ ป็นไปตามทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาหนด

หมวด 3

การจดั ทาแผนและประสานแผนพฒั นาอาเภอ

ข้อ 12 ในอาเภอหน่ึง ให้มคี ณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ ขนึ้ คณะหน่งึ เรยี ก

โดยยอ่ วา่ ก.บ.อ. โดยประกอบดว้ ย

(1) นายอาเภอ ประธานกรรมการ

(2) ปลดั อาเภอหัวหนา้ กลุ่มงานหรือปลดั อาเภอ รองประธานกรรมการ

หัวหน้าฝา่ ยบรหิ ารงานปกครอง

(3) พฒั นาการอาเภอ กรรมการ

(4) ท้องถ่ินอาเภอ กรรมการ

(5) หวั หนา้ สว่ นราชการ รฐั วิสาหกิจ หรือหน่วยงานอื่นของรัฐ ในระดบั อาเภอ กรรมการ

ทน่ี ายอาเภอแตง่ ต้ังจานวนไมเ่ กินสบิ สองคน

(6) ผู้แทนผบู้ รหิ ารองค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ในอาเภอซงึ่ คัดเลอื กกนั เอง กรรมการ

ประเภทละหนงึ่ คน ยกเว้นองค์การบรหิ ารส่วนจงั หวดั และเมอื งพัทยา

(7) ผู้ทรงคณุ วุฒทิ นี่ ายอาเภอแต่งต้ังจานวนไมเ่ กนิ ห้าคน กรรมการ

(8) ปลดั อาเภอผรู้ ับผิดชอบสานกั งานอาเภอ กรรมการและเลขานุการ

(9) ขา้ ราชการสานกั งานสง่ เสริมการปกครองทอ้ งถ่ินจังหวัด กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ

ที่ทอ้ งถ่นิ จังหวัดมอบหมายจานวนหนึง่ คน

(10) ข้าราชการในสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ

ที่นายอาเภอแตง่ ตงั้ จานวนหนง่ึ คน

กรรมการตาม (5) (6) และ (7) มีวาระอยู่ในตาแหนง่ คราวละหา้ ปี

79

ในการแต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิตาม (7) ให้นายอาเภอแต่งต้ังโดยคานึงถึงผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถ
เกี่ยวกับการพัฒนาระดับอาเภอ ด้านการศึกษา หรือมีประสบการณ์ในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ
รวมทัง้ ดา้ นภาคประชาสังคมและเอกชน

องค์ประชุมและการประชุมของ ก.บ.อ. ให้นาหมวด 5 คณะกรรมการที่มีอานาจดาเนินการ
พิจารณาทางปกครองตามกฎหมายว่าดว้ ยวิธีปฏบิ ัติราชการทางปกครอง มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม

ขอ้ 13 ให้ ก.บ.อ. มีอานาจหนา้ ที่ ดังตอ่ ไปนี้
(1) วางแนวทางปฏิบัติและอานวยการการบริหารงานแบบบูรณาการในอาเภอ รวมท้ังกาหนด
กรอบแนวทางปฏิบัติในการประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ของภาคส่วนต่าง ๆ ในพื้นท่ีอาเภอให้เป็นไปตาม
หลกั การ นโยบายและกฎหมายทีเ่ กยี่ วข้อง
(2) จัดทาแผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดทิศทางการพัฒนา
อาเภอ การประสานและรวบรวมข้อมูลจากปัญหาและความต้องการของประชาชนแผนพัฒนาหมู่บ้าน
แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนาของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่นที่
ดาเนนิ การในพนื้ ทอ่ี าเภอ
(3) จัดทาแผนปฏิบัติงานประจาปีของอาเภอ โดยรวบรวมโครงการหรือกิจกรรมของส่วน
ราชการรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงมหาดไทย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับการจัดสรร
งบประมาณรายจ่ายประจาปีที่ต้องดาเนินการในพื้นที่อาเภอ และรายงานให้ คณะกรรมการบริหารงาน
จังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) ทราบ
(4) ประสานกับทุกภาคส่วนในพื้นที่ รวมท้ังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อนาแผนพัฒนา
อาเภอไปสู่การปฏิบัติ รวมท้ังกากับ ติดตามผล และให้คาแนะนาหน่วยงานต่าง ๆ ที่ดาเนินงานพัฒนา
พนื้ ทีร่ ะดับอาเภอในด้านต่าง ๆ เพือ่ การพฒั นาและการแก้ไขปญั หาในพน้ื ท่ีอย่างยั่งยืน
(5) ตรวจสอบความซา้ ซอ้ นของแผนงานหรอื โครงการของหน่วยงานต่าง ๆ และองค์กรปกครอง
ส่วนท้องถ่ินท่ีดาเนินการในพื้นท่ีอาเภอ หากตรวจพบความซ้าซ้อนของแผนงานหรือโครงการให้ ก.บ.อ.
เรง่ แจ้งข้อเท็จจริง พร้อมท้ังเสนอความเห็นประกอบไปยังหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาดาเนินการ
ต่อไป
(6) ปฏิบัติหน้าท่ีอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)
มอบหมาย
(7) แต่งตง้ั คณะอนกุ รรมการเพ่อื ปฏบิ ตั หิ น้าที่ตา่ ง ๆ ตามท่ี ก.บ.อ. มอบหมาย
คณะอนุกรรมการตาม (7) อย่างน้อยต้องประกอบด้วย ผู้แทนจากส่วนราชการภายในอาเภอ
ผแู้ ทนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และผแู้ ทนภาคประชาสงั คม
ข้อ 14 ให้ ก.บ.อ. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดมาเป็น
แนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ โดยกาหนดให้แผนพัฒนา
อาเภอมรี ะยะเวลาสอดคลอ้ งกบั หว้ งเวลาของแผนพัฒนาจงั หวัด
การกาหนดโครงร่างแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้เป็นไปตามท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด
ขอ้ 15 ให้ ก.บ.อ. นาแผนพัฒนาอาเภอ ตามข้อ 14 เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้ความ
เหน็ ชอบ

80

เม่ือผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความเห็นชอบแผนพัฒนาอาเภอตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้ ก.บ.อ.
ประกาศใช้แผนพัฒนาอาเภอและจัดส่งแผนพัฒนาอาเภอให้หน่วยงานราชการและรัฐวิสาหกิจรวมทั้ง
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่ เพ่ือให้ทุกภาคส่วนนาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาพ้ืนที่ระดับ
อาเภอในทิศทางการพฒั นาอาเภอเดยี วกัน

ข้อ 16 ให้ ก.บ.อ. จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับอาเภอในความรับผิดชอบขององค์กร
ปกครองสว่ นท้องถิน่ และจดั ทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน

ข้อ 17 ให้ ก.บ.อ. จัดส่งแผนความต้องการระดับอาเภอ ให้ ก.บ.จ. หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
เ พื่ อ เ ป็ น ข้ อ มู ล ใ น ก า ร จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า จั ง ห วั ด แ ล ะ แ ผ น ป ฏิ บั ติ ร า ช ก า ร ป ร ะ จ า ปี ข อ ง จั ง ห วั ด ห รื อ
แผนปฏิบตั ริ าชการของหน่วยงาน นัน้ ๆ

ข้อ 18 ให้อาเภอเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และ
ดาเนนิ การพัฒนาศักยภาพของ ก.บ.อ. ในการจัดทาแผนและประสานแผนพฒั นาอาเภอ

ทั้งน้ี การจดั ทาแผนพฒั นาอาเภอ ให้เป็นไปตามแนวทางทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาหนด
ข้อ 19 ให้องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดพิจารณาโครงการท่ีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินขอรับการ
ประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือโครงการที่
คณะกรรมการบริหารงานจังหวดั แบบบรู ณาการ (ก.บ.จ.) เพ่ือบรรจุไว้ในแผนพัฒนาขององค์การบริหาร
ส่วนจังหวัด พร้อมทั้งตรวจสอบโครงการดังกล่าวเพ่ือไม่ให้โครงการซ้าซ้อนกับแผนพัฒนาจังหวัดและ
แผนปฏบิ ัตงิ านของส่วนราชการหรือหน่วยงานอื่น และให้จัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนาเพื่อจัดส่ง
ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กีย่ วขอ้ งพิจารณาดาเนินการ
ข้อ 20 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้ความสาคัญกับการสร้างและพัฒนาศักยภาพในการ
จัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินให้เป็นไปตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าดว้ ยการจัดทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ

หมวด 4
การบรู ณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี
ข้อ 21 เพ่ือให้เกิดการบูรณาการและประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี ให้ดาเนินการตาม
แนวทาง ดงั นี้
(1) จัดทาเวทีประชาคม เพ่ือให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการระดมความคิดเห็นของประชาชน
เพอื่ ใหไ้ ดม้ าซ่งึ ปญั หา และความต้องการจากประชาชนในพน้ื ที่
(2) ให้มีการประสานแผนในระดับพื้นท่ี โดยการรวบรวมและจัดลาดับความสาคัญของปัญหา
และความต้องการของประชาชนในพ้ืนท่ี ผ่านกลไกการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชนแผนพัฒนา
ตาบล แผนพัฒนาท้องถิน่ และแผนความตอ้ งการระดับอาเภอ เพ่ือให้แผนมีความเช่ือมโยงสอดคล้องกัน
ในทุกระดบั เปน็ แผนเดยี วกัน
(3) ในกรณแี ผนงานหรอื โครงการ หรอื พ้นื ที่ มีความซ้าซอ้ นกนั ในการจัดทาแผนระดับอาเภอกับ
แผนพัฒนาท้องถ่ิน ให้หารือร่วมกันระหว่างคณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการกับองค์กร
ปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง
(4) บูรณาการการงบประมาณ และประสานความร่วมมือเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ
ให้เป็นไปตามแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ี โดยการแสวงหาความร่วมมือ และการบูรณาการจากทุกภาค
สว่ น

81

ข้อ 22 ในการดาเนินการตามข้อ 21 (1) ให้นายอาเภอกาหนด วัน เวลา และสถานที่ในการ
จัดทาเวทปี ระชาคมรว่ มกนั ของหมู่บา้ น ชมุ ชน และองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินในพ้ืนที่และอาจประสาน
ใหส้ ว่ นราชการหรอื หนว่ ยงานอน่ื ทีด่ าเนนิ การในพ้นื ที่เข้าร่วมเวทีประชาคมด้วยก็ได้

การจัดทาเวทีประชาคมตามวรรคหนึ่งในเขตขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้
นายกเทศมนตรีหรอื นายกเมอื งพทั ยากาหนด วัน เวลา และสถานทใ่ี นการจัดทาเวทปี ระชาคมของชุมชน
และเมืองพัทยาและอาจประสานส่วนราชการหรือหน่วยงานที่ดาเนินการในพื้นท่ีเข้าร่วมเวทีประชาคม
ดว้ ยก็ได้

ข้อ 23 ปฏิทินการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาตามระเบียบนี้ ให้เป็นไปตามท่ี
กระทรวงมหาดไทยกาหนด

ข้อ 24 ให้จังหวัดจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด โดยนา
แผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนพัฒนาท้องถ่ินระดับจังหวัดมาประกอบการ
จัดทาแผนพัฒนาท่บี รู ณาการรว่ มกันการสนับสนุนการดาเนนิ การ

ข้อ 25 การดาเนินการของคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ก.บ.ต. และ ก.บ.อ.
หรือการดาเนินการอ่ืนใดท่ีเป็นไปภายใต้ระเบียบน้ี ให้หน่วยงานหลักซึ่งรับผิดชอบในการจัดทาแผนใน
แต่ละระดบั และหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้องสนับสนนุ งบประมาณตามความเหมาะสม

ข้อ 26 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย กรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชนและกรม
ส่งเสริมการปกครองท้องถ่ิน รวมท้ัง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สนับสนุนทางวิชาการวัสดุอุปกรณ์
และพฒั นาบุคลากรท่เี ก่ยี วข้องตามความเหมาะสม

ข้อ 27 จงั หวัด สว่ นราชการ รัฐวสิ าหกจิ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน พิจารณานาโครงการ
หรือกิจกรรมที่อยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงานโครงการระดับตาบล
แผนงานหรือโครงการระดับหมู่บ้านและชุมชน ไปประกอบการจัดต้ังคาของบประมาณหรือจัดทา
งบประมาณรายจ่ายประจาปีตามอานาจหน้าท่ี โดยให้ความสาคัญเป็นลาดับต้น เนื่องจากเป็นแผนงาน
โครงการที่ผ่านกระบวนการประชาคมของประชาชนในพื้นท่ี

หมวด 6
การกากบั ดแู ล
ข้อ 28 ให้นายอาเภอมีหน้าที่กากับดูแล และให้คาแนะนาในการประสานแผนพัฒนาหมู่บ้าน
แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น แผนพัฒนาอาเภอ ท่ีดาเนินการในพ้ืนท่ีอาเภอ เพ่ือให้
การดาเนนิ การตามระเบยี บนเี้ กดิ ผลสมั ฤทธ์ิ
ข้อ 29 เพื่อให้การประสานแผนพัฒนาในระดับพื้นท่ีเกิดผลสัมฤทธ์ิ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มี
อานาจหนา้ ทกี่ ากบั ดูแล และให้คาแนะนาที่เป็นประโยชน์ตามหลักเกณฑ์ ดงั น้ี
(1) บูรณาการการจัดทาแผนพัฒนาในระดับพื้นที่กับทุกภาคส่วน และสอดคล้องเช่ือมโยงกับ
แผนพัฒนาจงั หวัด
(2) ประเมินประสทิ ธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบ ท่ีเกิดขึ้นจากการประสานแผนพัฒนาใน
ระดบั พนื้ ท่ี
(3) การมสี ว่ นร่วมของประชาชน และการบริหารกิจการบ้านเมืองทด่ี ี
(4) พิจารณาให้หน่วยงานใดเป็นผู้ดาเนินการ ในกรณีท่ีมีความซ้าซ้อนกันในเร่ืองงบประมาณ
ระยะเวลาดาเนินการ ผดู้ าเนินการ หรอื โครงการ

82

ข้อ 30 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอกากับดูแล และให้คาแนะนาเพ่ือให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินและการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นให้
สอดคล้องกับแผนพัฒนาในระดับจังหวัด เพ่ือให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายว่าด้วยการจัดต้ังองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น และกฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กร
ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ

ข้อ 31 ให้สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย ร่วมกับกรมการปกครอง กรมการพัฒนาชุมชน
และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ติดตามและประเมินผลคุณภาพแผนพัฒนาหมู่บ้าน แผนชุมชน
แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน และแผนพัฒนาอาเภอ เป็นประจาทุกปี เพื่อปรับปรุงคุณภาพให้
สอดคลอ้ งกบั ความต้องการและปญั หาของประชาชนในพน้ื ที่

บทเฉพาะกาล
ขอ้ 32 ในวาระเรม่ิ แรก ให้คณะกรรมการบรหิ ารงานอาเภอ (กบอ.) ท่ีนายอาเภอแต่ละอาเภอมี
คาส่ังแต่งต้ังตามหนังสือกรมการปกครอง ด่วนที่สุด ท่ี มท 0305.1/ว 9745ลงวันท่ี 18 เมษายน 2562
เร่ือง การจดั ทาแผนพัฒนาอาเภอ 5 ปี (พ.ศ. 2561 - 2565) ฉบับทบทวนในปี พ.ศ. 2562 ปฏิบัติหน้าที่
คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ตามระเบียบน้ีไปพลางก่อน จนกว่าจะมีการ
แตง่ ตัง้ คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ.) ตามระเบียบน้ี แต่ทั้งนี้ ต้องไม่เกินสาม
ปนี ับแต่วันทีร่ ะเบยี บนี้ใช้บงั คบั

ประกาศ ณ วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2562
พลเอก อนุพงษ์ เผ่าจนิ ดา

รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงมหาดไทย

2.7 แนวทางปฏิบัติในการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา
แผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 (ฉบับปรับปรุง
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564) 61

1. การจดั ทาแผนพัฒนาหมบู่ า้ นและแผนชุมชน
1.1 กลไกการจดั ทาแผนพฒั นาหมู่บ้านและแผนชุมชน
- แผนพัฒนาหมู่บ้าน กรณีหมู่บ้านที่มีกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ให้คณะกรรมการ

หมบู่ า้ นเปน็ องคก์ รหลกั ทร่ี ับผดิ ชอบในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้าน ซึ่งการจัดต้ังคณะกรรมการหมู่บ้าน
เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การเป็นกรรมการหมู่บ้าน การปฏิบัติหน้าที่
และการประชุมของคณะกรรมการหมู่บ้าน พ.ศ. 2551

61 แนวทางปฏบิ ตั ริ องรบั การดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยวา่ ดว้ ยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพื้นที่ใน
ระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 กระทรวงมหาดไทย 0 2221 9200 www.pad.moi.co.th.

83

- แผนชุมชน กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ที่ไม่มีกานัน ผู้ใหญ่บ้าน ให้
คณะกรรมการชุมชนรับผิดชอบจัดทาแผนชุมชน ให้ท่ีทาการปกครองอาเภอเป็นหน่วยงานหลัก
รับผิดชอบการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอสนับสนุนภารกิจ ได้แก่ การ
เป็นวิทยากรฝึกอบรมเพ่ิมศักยภาพคณะกรรมการหมู่บ้านด้านวิทยากรแผนชุมชน การสนับสนุนข้อมูล
และวเิ คราะหข์ ้อมูล จปฐ. และ กชช.2ค

1.2 กระบวนการและรปู แบบการจดั ทาแผนพัฒนาหม่บู ้านและแผนชมุ ชน
(1) คณะกรรมการหมู่บ้าน พิจารณากาหนดวันท่ีเหมาะสมในการจัดเวที

ประชาคมหมู่บ้าน และให้นายอาเภอรบั ทราบวันในการจัดทาเวทีประชาคมหมู่บ้านตามท่ีคณะกรรมการ
หมบู่ า้ นเสนอ โดยอาเภอแจ้งใหส้ ว่ นราชการ องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานอ่ืนท่ีดาเนินการ
ในพ้ืนท่ีเข้าร่วมเวทีประชาคมด้วย โดยข้ันตอนการดาเนินการจัดทาเวทีประชาคมให้ยึดถือแนวทาง
ปฏิบตั ขิ องกรมการปกครอง

(2) คณะกรรมการชุมชน พิจารณากาหนดวันที่เหมาะสมในการจัดเวที
ประชาคมชุมชน โดยขอความเห็นชอบจากผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เมื่อผู้บริหารองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นอนุมัติแล้ว ให้แจ้งคณะกรรมการชุมชน และส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืนที่
เกี่ยวข้องในพ้ืนท่ีเข้าร่วมเวทีประชาคมด้วย โดยขั้นตอนการดาเนินการจัดทาเวทีประชาคมให้ยึดถือ
แนวทางปฏิบัตขิ องกรมส่งเสรมิ การปกครองท้องถน่ิ

(3) รูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน ให้นาข้อมูลจากเวที
ประชาคมหมู่บา้ นและชมุ ชน ข้อมลู ความจาเป็นพน้ื ฐาน (จปฐ.) และข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน (กชช.2ค)
มาใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐานในการจัดทาแผนพัฒนาหมู่บ้านและแผนชุมชน พร้อมทั้งจัดลาดับความสาคัญ
แผนงาน/โครงการ ตามรูปแบบการจัดทาแผนพฒั นาหมู่บา้ นที่กรมการปกครองกาหนด และรูปแบบการ
จดั ทาแผนชุมชนท่กี รมส่งเสรมิ การปกครองท้องถ่นิ กาหนด

2. การจดั ทาแผนพัฒนาตาบล
2.1 กลไกการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้คณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบ

บูรณาการ (ก.บ.ต.) เป็นกลไกหลักในการจัดทาแผนพัฒนาตาบล โดยให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ
ดาเนนิ การจัดทาคาส่ังแต่งต้ัง ก.บ.ต. และให้นายอาเภอลงนามในคาส่ังแต่งตั้ง ซ่ึงการกาหนดคุณสมบัติ
ของกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.บ.ต. และตัวอย่างคาส่ัง ก.บ.ต. เป็นไปตามท่ีกรมการพัฒนาชุมชน
กาหนด

2.2 กระบวนการและรูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาตาบล
(1) ให้ ก.บ.ต. ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาตาบล จานวน 7,036 ตาบล ในส่วน

พื้นท่ีความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน จานวน 219 ตาบล (กรณีไม่มีกานัน ผู้ใหญ่บ้าน)
ให้ ค ณะ ก ร ร ม กา ร พั ฒ น า ท้อ ง ถิ่น ด า เ นิ น กา ร จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่น ใ ห้ ถื อ ว่ า เ ป็ น ก า ร จั ด ทา แ ผ น
เช่นเดยี วกับการจัดทาแผนพัฒนาตาบล

(2) รูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาตาบล ให้ ก.บ.ต. จัดทาแผนพัฒนาตาบลตาม
รปู แบบทีก่ รมการพัฒนาชมุ ชนกาหนด

3. การจัดทาแผนพฒั นาอาเภอ
3.1 กลไกการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบ

บูรณาการ (ก.บ.อ.) เป็นกลไกหลักในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ โดยให้อาเภอดาเนินการจัดทาคาสั่ง

84

แต่งตั้ง ก.บ.อ. และให้ผู้ว่าราชการจังหวัดลงนามในคาส่ังแต่งตั้ง ซ่ึงการกาหนดคุณสมบัติของกรรมการ
ผู้ทรงคุณวุฒิใน ก.บ.อ. และตัวอย่างคาส่งั ก.บ.อ. เปน็ ไปตามทก่ี รมการปกครองกาหนด

3.2 กระบวนการและรูปแบบการจดั ทาแผนพัฒนาอาเภอ
(1) ให้ ก.บ.อ. นากรอบทิศทางการพัฒนาอาเภอและยุทธศาสตร์การพัฒนา

จังหวัดมาเป็นแนวทางในการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ และแผนความต้องการระดับอาเภอ โดย
กาหนดให้แผนพัฒนาอาเภอมีระยะเวลาสอดคล้องกับห้วงเวลาของแผนพัฒนาจังหวัด ทั้งน้ี กาหนดให้
แผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอต้องดาเนินการในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม -
มถิ ุนายน

(2) แผนพัฒนาอาเภอให้เสนอผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ
ก่อนการประกาศใช้ โดยใหท้ ท่ี าการปกครองจงั หวัดยกร่างคาส่งั แต่งตงั้ คณะทางานกลั่นกรองแผนพัฒนา
อาเภอ เสนอให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดที่รับผิดชอบเรื่องแผนพัฒนาจังหวัดพิจารณาก่อนเสนอให้ผู้ว่า
ราชการจังหวัดเห็นชอบและลงนามในคาส่ังแต่งตั้ง ซึ่งมีรองผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน จ่าจังหวัด
เป็นคณะทางานและเลขานุการทาหน้าที่หลักในการปฏิบัติหน้าท่ีเลขานุการคณะทางานฯ และ
ผู้อานวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด สานักงานจังหวัด เป็นคณะทางาน
และเลขานุการร่วม โดยให้นายอาเภอเข้าช้ีแจงข้อมูลแผนพัฒนาอาเภอแต่ละอาเภอต่อคณะทางาน
กลั่นกรองแผนพัฒนาอาเภอในการประชุมคณะทางานและเม่ือคณะทางานฯ ได้พิจารณากล่ันกรอง
แผนพัฒนาอาเภอแล้ว จะนาเข้าการประชุม ก.บ.จ. เพ่ือทราบ ท้ังน้ี คาสั่งคณะทางานฯ เป็นไปตามท่ี
กรมการปกครองกาหนด และห้วงเวลาของการเสนอแผนพัฒนาอาเภอให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเห็นชอบ
ผ่านคณะทางานกลน่ั กรองแผนพฒั นาอาเภอใหด้ าเนินการใหแ้ ล้วเสร็จภายในเดอื นมิถนุ ายน

(3) รูปแบบการจัดทาแผนพัฒนาอาเภอ ให้ ก.บ.อ. จัดทาแผนพัฒนาอาเภอ
และแผนความตอ้ งการระดบั อาเภอตามรูปแบบทกี่ รมการปกครองกาหนด

4. การจดั ทาแผนพฒั นาท้องถิน่
กลไกการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ิน ให้คณะกรรมการพัฒนาท้องถ่ินรับผิดชอบ

จัดทาแผนพัฒนาท้องถิ่น โดยในการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินให้เป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วา่ ดว้ ยการจดั ทาแผนพฒั นาขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่นิ พ.ศ. 2548 และท่ีแกไ้ ขเพ่มิ เตมิ

5. การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด ให้สานักงานจังหวัดให้ความสาคัญกับปัญหาความ
ต้องการของประชาชนในพ้ืนที่และการประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนที่ โดยพิจารณาจัดทาแผนงาน/
โครงการ ทมี่ าจากแผนพฒั นาหมูบ่ ้าน แผนชมุ ชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถิ่น และแผนพัฒนา
อาเภอ บรรจุอยู่ในแผนพัฒนาจงั หวัดตามความเหมาะสม

6. การประสานแผนและหว้ งระยะเวลาในการจดั ทาแผนพฒั นา
6.1 แผนพัฒนาหมู่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) ดาเนินการจัดทา

แผนพัฒนาหมู่บ้าน ส่งให้ประธานคณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ประธาน ก.บ.ต.)
ณ ที่ทาการปกครองอาเภอ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ความรับผิดชอบ ระหว่างเดือน
มกราคม – กมุ ภาพันธ์

6.2 แผนชุมชน คณะกรรมการชุมชนดาเนินการจัดทาแผนชุมชนส่งให้ประธาน
คณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ประธาน ก.บ.ต.) และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
พนื้ ท่คี วามรับผดิ ชอบ ระหว่างเดือนมกราคม – กุมภาพนั ธ์

85

6.3 แผนพัฒนาตาบล คณะกรรมการบริหารงานตาบลแบบบูรณาการ (ก.บ.ต.)
ดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาตาบลส่งให้คณะกรรมการบริหารงานอาเภอแบบบูรณาการ (ก.บ.อ) ผ่าน
ทางสานักงานอาเภอ และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนาส่งให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ี
ความรบั ผดิ ชอบ ระหว่างเดอื น มนี าคม – เมษายน

6.4 แผนพฒั นาอาเภอ
(1) ให้ ก.บ.อ. จาแนกแผนงานหรือโครงการระดับอาเภอในความรับผิดชอบ

ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดทาบัญชีประสานโครงการพัฒนา ส่งให้องค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ ภายในเดอื นพฤษภาคม

(2) ให้ ก.บ.อ. จัดส่งแผนพัฒนาอาเภอที่ผู้ว่าราชการจังหวัดให้ความเห็นชอบ
แลว้ ให้หนว่ ยงานราชการและรัฐวสิ าหกจิ รวมท้งั องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ินในพื้นที่ เพ่ือให้ทุกภาคส่วน
นาไปใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาพ้ืนที่ระดับอาเภอในทิศทางการพฒั นาเดียวกัน

(3) ให้ ก.บ.อ. จัดส่งแผนความต้องการระดับอาเภอให้ ก.บ.จ. (ผ่านทาง
สานักงานจังหวัด) หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องเพื่อเป็นข้อมูลในการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและ
แผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดหรือแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานนั้น ๆ ภายในเดือน
มิถุนายน

6.5 แผนพฒั นาท้องถ่ิน ใหอ้ งค์การบรหิ ารส่วนจังหวัดพิจารณาโครงการที่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นขอรับการประสานโครงการตามบัญชีประสานโครงการพัฒนาขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นหรือโครงการของคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.) เพื่อบรรจุไว้ใน
แผนพัฒนาขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พร้อมทั้งตรวจสอบโครงการดังกล่าวเพื่อไม่ให้โครงการซ้ า
ซ้อนกับแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติงานของส่วนราชการหรือหน่วยงานอ่ืน และให้จัดทาบัญชี
ประสานโครงการพฒั นา เพอื่ จัดสง่ ให้หน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งพจิ ารณาดาเนนิ การ ในชว่ งเดือนกรกฎาคม

6.6 แผนพัฒนาจังหวัด จังหวัดโดยคณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณา
การ (ก.บ.จ.) นาแผนพัฒนาอาเภอและแผนความต้องการระดับอาเภอ รวมทั้งประสานข้อมูลแผนงาน/
โครงการที่เก่ียวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินกับคณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระดับ
จงั หวดั เพ่อื ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด และแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัด ระหว่าง
เดือนกรกฎาคม – ตุลาคม โดยนาหลักเกณฑ์ แนวทางและปฏิทินท่ีคณะกรรมการบูรณาการนโยบาย
พัฒนาภาค (ก.บ.ภ.) จะกาหนดในแตล่ ะปงี บประมาณมาพจิ ารณาประกอบดว้ ย

7. การประเมินแผนพัฒนา
7.1 แผนพัฒนาหมู่บ้าน ให้ท่ีทาการปกครองอาเภอดาเนินการประเมินผล

แผนพัฒนาหมู่บ้านตามแบบท่ีกรมการปกครองกาหนด และรายงานให้ท่ีทาการปกครองจังหวัด เพื่อ
รายงานให้กรมการปกครองทราบ

7.2 แผนชุมชน ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการประเมินผลแผนชุมชน
ตามแบบที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นกาหนด และรายงานให้สานักงานส่งเสริมการปกครอง
ท้องถิน่ จงั หวัดทราบ

7.3 แผนพัฒนาตาบล ให้สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอดาเนินการประเมินผล
แผนพัฒนาตาบลตามแบบที่กรมการพัฒนาชุมชนกาหนด และรายงานให้สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด
ทราบ

86

7.4 แผนพัฒนาอาเภอ ให้ที่ทาการปกครองจังหวัดดาเนินการประเมินผล
แผนพัฒนาอาเภอตามแบบท่กี รมการปกครองกาหนด และรายงานให้กรมการปกครองทราบ

8. การสนับสนนุ การดาเนินการ
8.1 การดาเนนิ การของคณะกรรมการหมู่บ้าน คณะกรรมการชุมชน ก.บ.ต. และ ก.บ.อ.

หรือการดาเนินการอื่นใดท่ีเป็นไปภายใต้ระเบียบฯ ให้หน่วยงานหลักซึ่งรับผิดชอบในการจัดทาแผนในแต่ละ
ระดับและหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งสนับสนุนงบประมาณตามความเหมาะสม

8.2 จังหวัด ส่วนราชการในพื้นท่ี รัฐวิสาหกิจในพ้ืนที่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
ในพ้ืนที่ พิจารณานาโครงการหรือกิจกรรมที่อยู่ในแผนพัฒนาอาเภอ แผนความต้องการระดับอาเภอ แผนงาน
โครงการระดบั ตาบล แผนงานหรือโครงการระดับหมบู่ า้ นและชุมชน ไปประกอบการจดั ต้งั คาของบประมาณหรือ
จัดทางบประมาณรายจ่ายประจาปีตามอานาจหน้าท่ี โดยให้ความสาคัญเป็นลาดับต้น เน่ืองจากเป็นแผนงาน
โครงการทีผ่ า่ นกระบวนการประชาคมของประชาชนในพ้ืนท่ี

9. การกากบั ดูแล
9.1 ให้นายอาเภอมีหน้าท่ีกากับดูแล และให้คาแนะนาในการประสานแผนพัฒนา

หมู่บ้าน แผนชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาท้องถ่ิน แผนพัฒนาอาเภอ ที่ดาเนินการในพื้นที่อาเภอ
เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินการตามระเบียบนี้เกดิ ผลสมั ฤทธิ์

9.2 เพ่ือให้การประสานแผนพัฒนาในระดับพ้ืนท่ีเกิดผลสัมฤทธิ์ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
มอี านาจหน้าทกี่ ากับดูแล และให้คาแนะนาท่เี ปน็ ประโยชนต์ ามหลักเกณฑ์ ดังนี้

(1) บูรณาการการจัดทาแผนพัฒนาในระดับพื้นที่กับทุกภาคส่วน และสอดคล้อง
เช่อื มโยงกับแผนพฒั นาจังหวดั

(2) ประเมินประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และผลกระทบ ที่เกิดข้ึนจากการประสาน
แผนพฒั นาในระดบั พนื้ ที่

(3) การมีสว่ นร่วมของประชาชน และการบรหิ ารกจิ การบ้านเมอื งท่ีดี
(4) พิจารณาให้หน่วยงานใดเป็นผู้ดาเนินการ ในกรณีท่ีมีความซ้าซ้อนกันในเรื่อง
งบประมาณ ระยะเวลาดาเนนิ การ ผู้ดาเนินการ หรอื โครงการ
9.3 ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดและนายอาเภอกากับดูแล และให้คาแนะนาเพื่อให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถ่ินดาเนินการจัดทาแผนพัฒนาท้องถ่ินและการประสานแผนพัฒนาท้องถ่ินให้สอดคล้องกับ
แผนพัฒนาในระดับจังหวัด เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และกฎหมายว่าด้วยการกาหนดแผนและขนั้ ตอนการกระจายอานาจใหแ้ ก่องคก์ รปกครองส่วนท้องถิ่น
แนวทางข้างต้นจะเห็นได้ว่ากระทรวงมหาดไทยพิจารณาแล้ว เพื่อให้การขับเคลื่อนการ
เชื่อมโยงและบูรณาการแผนพัฒนา ในระดับพ้ืนที่เกิดประสิทธิภาพ จึงได้กาหนดแนวทางปฏิบัติตามระเบียบ
กระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนพัฒนาพ้ืนที่ในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562
โดยให้ถอื เปน็ แนวทางปฏบิ ัติแนวทางปฏบิ ัติในการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทา
แผนและประสานแผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 (ฉบับปรับปรุง ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2564) เพอ่ื ให้หน่วยงานตา่ งๆ ในระดบั พ้นื ที่ใช้เปน็ แนวทางปฏบิ ัตใิ นการเชื่อมโยงปัญหาและความต้องการ
ของประชาชนผ่านกลไกการจัดทาแผนพฒั นาหมู่บา้ น/ชุมชน แผนพัฒนาตาบล แผนพัฒนาอาเภอและเชื่อมโยง
ไปสู่การจัดทาแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดและแผนพัฒนาภาค เพื่อประกอบการจัดตั้งคาของบประมาณ
ประจาปตี ามอานาจหน้าทีต่ อ่ ไป

87

2.8 งานวจิ ยั ท่เี กยี่ วข้อง

2.8.1 งานวจิ ยั ท่เี กย่ี วขอ้ งกับการสรา้ งสนั ตสิ ขุ
ดนัย มู่สา และ คณะ ได้วิจัยเร่ืองการจัดทานโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพื้นที่จังหวัด

ชายแดนภาคใต้ และการแปลงไปส่กู ารปฏบิ ตั ิผลการวิจยั พบว่า ในความเหมาะสมของกระบวนการจัดทา
นโยบาย มีการใช้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนอย่างหลากหลาย แต่ยังไม่ครอบคลุมทุกภาคส่วนท่ีเป็น
ตวั แสดงหลักอย่างแทจ้ ริง และยังจากัดอยู่เฉพาะกระบวนการในข้ันของการก่อตัวของปัญหาเท่านั้น แต่
ยังไม่ทาอย่างต่อเน่ืองครบทุกข้ันตอน อย่างไรก็ตาม เนื้อหาสาระของนโยบายในภาพรวมมีความ
เหมาะสมและสอดคลอ้ งกบความต้องการ อตั ลกั ษณ์ วิถีชีวิตของประชาชนในพ้ืนท่ี และมีลักษณะเชิงรุก
อยา่ งชดั เจน ในส่วนความเหมาะสมของกระบวนการแปลงนโยบายไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ยงั ใชก้ ารมีสว่ นร่วมใน
ระดับต่า มีลักษณะเชิงรูปแบบเป็นส่วนใหญ่ และการปฏิบัติบางเร่ือง อาทิ เรื่องการพัฒนาการศึกษา
และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ยังมีบางประเด็นท่ีไม่สอดคล้อง ในขณะท่ีสถานการณ์รุนแรงรายวัน ทาให้
เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติจาต้องยึดติดอยู่กับการแก้ปัญหาความรุนแรงรายวันทางยุทธวิธีมากกว่ามุ้งแก้ปัญหา
เชิงรุกทางยุทธศาสตร์ในภาพรวมท่ีเชื่อมโยงกัน และพบว่า มีปัญหาและอุปสรรคสาคัญในการแปลง
นโยบายไปสู่การปฏิบัติ คือ ๑) การเบิกจ่ายงบประมาณล่าช้าและไม่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของ
พื้นที่ ๒) ยังขาดการบูรณาการในเร่ืองของโครงสร้างองค์กรและเจ้าหน้าที่ท่ีเกี่ยวข้อง ๓) ยังไม่มีการ
ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลอย่างเป็นระบบ ๔) แผนเตรียมการดาเนินการท่ียังมีเนื้อหาบางส่วน
ไม่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และแนวคิดพ้ืนฐานของนโยบายและ ๕) ปัจจัยทางการเมืองที่มีการ
เปล่ียนแปลงแต่ละครั้ง ทาให้การแก้ไขปัญหาไม่ต่อเน่ือง ท้ายสุดคณะผู้วิจัยได้มีข้อเสนอแนะใน ๔ ด้าน
สาคัญ คือ ๑) ด้านกระบวนการและความเหมาะสมของกระบวนการจัดทานโยบาย ๒) ด้าน
กระบวนการและความเหมาะสมของการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติ ๓) ด้านข้อเสนอแนะ รูปแบบ
กระบวนการจัดทาและการแปลงนโยบายสู่การปฏิบัติโดยได้นาเสนอตัวแบบกระบวนการเครือข่าย
นโยบาย (Policy Networking Process Model–PNP) ซ่ึงเป็นตัวแบบสาหรับการจัดทาและการแปลง
นโยบายลักษณะดงั กลา่ ว และ ๔) ด้านการนาผลวจิ ยั ไปใช้และการศึกษาวจิ ัยต่อยอด62

นันทพล วิทยานนท์ ได้วิจัยเร่ือง รูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
เพ่ือสันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลการวิจัยพบว่า ตัวช้ีวัดความสุขของประชาชนประกอบด้วย
๑๐ มิติได้แก่ท่ีอยู่อาศัยครอบครัวสุขภาพการศึกษาสังคมการสนับสนุนทางสังคมการมีงานทาและมี
รายได้สิทธิและความเป็นธรรมความม่ันคงส่วนบุคคลรวมถึงการเมืองและธรรมาภิบาลรูปแบบท่ีได้จาก
การวิจัยมีความเหมาะสมและสอดคล้องกับตัวชี้วัดความสุขประกอบด้วย แนวคิดพ้ืนฐาน หลักการ
เป้าหมาย การจัดการศึกษาวัตถุประสงค์ ลักษณะสาคัญ องค์ประกอบของรูปแบบ แนวทางการ
บริหารงานวิชาการ การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ การบริหารทั่วไปตลอดจนเง่ือนไข
ความสาเรจ็ 63

62 ดนัย มู่สา และ คณะ,“การจัดทานโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการแปลงไปสู่การปฏิบัติ”,
รายงานวจิ ัย, (สานักงานกองทนุ สนับสนนุ การวจิ ยั (สกว.)), ๒๕๕๕), หนา้ คานา.

63 นันทพล วิทยานนท์, “รูปแบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อสันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ”,
วทิ ยานิพนธ์ดุษฎีบัณทิต, สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา (ภาคพิเศษ), (บัณฑิตวทิ ยาลยั : มหาวิทยาเกษตรศาสตร์, ๒๕๕๖).

88

2.8.2 งานวจิ ยั ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับจังหวัดชายแดนภาคใต้
วิชัย ชูเชิด ได้ศึกษาเร่ือง การกาหนดยุทธศาสตร์ระยะยาวในการแก้ปัญหาการก่อความ

ไม่สงบในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า เป้าหมายในการกาหนดยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาในพื้นท่ี
3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ มงุ่ เน้นไปทก่ี ารดารงรักษาไว้ซึ่งความม่ันคงความสงบเรียบร้อยและความมีเสถียรภาพ
ของพน้ื ที่ 3 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ และรักษาไว้ซ่ึงความม่ันคงปลอดภัยของประชาชนในพ้ืนที่ ดงั น้ัน จึงมีความ
จาเป็นที่จะต้องกาหนดความเร่งด่วนของวัตถุประสงค์ทางยุทธศาสตร์ในการเข้าไปแก้ปัญหาดังน้ี 1) การสร้าง
และดารงรักษาไวซ้ ่งึ ความเป็นเอกภาพของรัฐชาตอิ นั ประกอบไปดว้ ยผนื แผน่ ดนิ ประชาชน อานาจอธิปไตยและ
ระบบการปกครองซึ่งรัฐบา จะต้องสร้างและดารงไว้ซ่ึงความสานึกของความเป็นรัฐชาติไทยร่วมกันของคนไทย
ทัง้ ประเทศ โดยเฉพาะคนไทยในพ้นื ท่ี 3 จังหวดั ชายแดนภาคใต้ ซึ่งถึงแม้จะมีความแตกต่างกันมากมายอย่างไร
ก็ตามทุกคนก็คือคนไทยที่เท่าเทียมกันและมีเสรีในการดาเนินวิถีชีวิตของตนเอง 2) การสร้างความเข้าใจ
แลกเปล่ียนความคิดเห็นซึ่งกันและกันและเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาระหว่างเจ้าหน้าท่ีของรัฐ กลุ่มนักวิชาการ
นกั การเมอื งท้องถิ่น ผ้นู าทางศาสนา และองค์กรเอกชนท่ีมีแนวความคิดในการพัฒนาและเปล่ียนแปลงสังคมใน
พืน้ ท่ี 3 จังหวัดท่แี ตกต่างไปจากฝ่ายรัฐบาล รวมทั้งการนากลุ่มหัวรุนแรงท่ีต้องการแบ่งแยกดินแดนโดยใช้กอง
กาลังติดอาวุธเข้ามาร่วมกันในการแก้ปัญหาด้วยสันติวิธี 3) การปรับเปลี่ยนระบบการบริหารราชการของรัฐใน
พนื้ ทใี่ ห้เหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมของสามจงั หวัดชายแดนภาคใต้ โดยพิจารณาถึงความพิเศษเฉพาะของพ้ืนท่ี
เป็นรากฐาน 4) การส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือกับประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคและในสังคมโลก ในการ
แก้ปัญหาขา้ มชาติ ยทุ ธศาสตร์ในการสร้างและดารงไวซ้ ึง่ ความเปน็ เอกภาพของรัฐชาติไทย64

กอสิน กัมปนยุทธ์ ได้ทาการศึกษา กลยุทธ์และแนวทางในการเข้าถึงและปฏิบัติการใน
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในพื้นท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ของกาลังพลศูนย์สันติสุข พบว่ายุทธศาสตร์ท่ีจะนาไปสู่
ความสาเร็จในการแก้ปัญหาได้อย่างย่ังยืนที่แท้จริงคือยุทธศาสตร์ตามแนวทางพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยูห่ ัวฯ “เขา้ ใจเข้าถึงพฒั นา” ซ่ึงเป็นที่ยอมรับแต่ในความเป็นจริงการปฏิบัติหรือการดาเนินการตามยุทธศาสตร์
ยงั ขาดความเขา้ ใจขาดน้าหนักขาดความจริงจังและขาดความต่อเนื่องจึงยังไม่มีผลการปฏิบัติที่เป็นรูปธรรมเท่าท่ีควร
ส่วนการดาเนินการท่ีสาคัญอีกประการหนึ่งซึ่งถือว่ายังไม่ได้ดาเนินการอย่างจริงจังมีประสิทธิภาพและค่อนข้างจะ
ได้ผลน้อยตลอดห้วงท่ีผ่านมาคือการปฏิบัติการข่าวสารโดยเฉพาะการประชาสัมพันธ์ข้อเท็จจริงของเหตุการณ์และ
สถานการณ์การก่อเหตุรุนแรงความโหดร้าย/เลวร้ายในวิธีการก่อเหตุของกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงและความพยายามใช้
ความอดทนและแนวทางสนั ติในการแกป้ ญั หาของฝาุ ยภาครัฐทั้งการประชาสัมพันธ์ภายในประเทศและต่างประเทศซึ่ง
เปูาหมายเหล่าน้สี ่วนใหญ่ได้รับข้อมูลข่าวสารในเชิงลบมากกว่าเชิงบวกดังน้ันข้อมูลข่าวสารที่จะเกื้อกูลต่อการแก้ไข
ปัญหาสถานการณ์ความไม่สงบในจชต.ท้ังในระยะส้ันและระยะยาวจาเป็นต้องมีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สู่
เป้าหมายต่างๆอย่างต่อเนื่องยาวนานและทั่วถึงในเชิงโครงสร้างองค์กรการแก้ปัญหาของฝุายรัฐยังมีการจัดองค์กร
และการแบ่งมอบภารกิจท่ีไม่เกื้อกูลต่อการดาเนินการทางยุทธศาสตร์พระราชทานเพราะทรัพยากรส่วนใหญ่ถูกใช้ไป
กับภารกจิ การรักษาความปลอดภยั และการพัฒนาอย่างไม่มีเอกภาพจึงทาให้เกิดผลต่อการแก้ปัญหาความม่ันคงน้อย
มากขณะท่ีความพยายามในการเข้าถึงและการทาความเข้าใจกับประชาชนโดยเจ้าหน้าที่มีน้อยมากเม่ือเปรียบเทียบ
กับจานวนบุคลากรของภาครฐั ท้ังหมดท่ีมาปฏบิ ตั ิงานในพ้นื ท่ีจชต.

64 วิชยั ชเู ชิด, “การกาหนดยุทธศาสตรร์ ะยะยาวในการแกป้ ญั หาการกอ่ ความไม่สงบในพ้นื ทีส่ ามจังหวัดชายแดนภาคใต้”,
วารสารอินโดจีนศกึ ษา, ปที ี่ 5 ฉบบั ที่ 6 (มกราคม 2547 – ธนั วาคม 2548), หน้า 159-178.

89

โดยเฉพาะการเข้าถึงส่วนท่ีต้องบ่มเพาะกลุ่มผู้ก่อความรุนแรงซ่ึงถือว่าเป็นจุดสาคัญที่ฝุายกลุ่มผู้
ก่อเหตุรุนแรงจะต้องดารงรักษาไว้ให้มีตลอดเวลาจนกว่าโครงสร้างของกลุ่มผู้ก่อความรุนแรงจะถูกทาลายจากกรณี
ปญั หาเชิงโครงสรา้ งดังกล่าวสง่ ผลอย่างชัดเจนต่อเอกภาพในการดาเนินการของทุกภาคส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเพราะ
การดาเนินการเป็นไปโดยขาดการบูรณาการ ความร่วมมือในการนาไปสู่เปูาหมายและแผนงานเม่ือนาไปสู่การปฏิบัติ
จึงขาดความประสานสอดคล้องขาดความหนุนเน่ืองและขาดความต่อเน่ืองอย่างเห็นได้ชัดจนบางกรณีนาไปสู่ความ
ขัดแย้งหรือเกิดปัญหาเง่ือนไขในพื้นที่จึงควรผลักดันงานพัฒนาต่างๆให้หน่วยงานภาครัฐอ่ืนๆเข้าดาเนินงานตาม
บทบาทหน้าท่ีของตนแทนที่ภาระทุกอย่างจะตกอยู่ท่ีฝ่ายทหารเพียงฝ่ายเดียวควรแสวงความร่วมมือและพัฒนา
กระบวนการมสี ่วนรว่ มของประชาชนในพ้ืนที่ให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการช่วยเหลือทางการอย่างแทจ้ ริง65

พิทักษ์สิทธิ์ ชีวรัฐพัฒน์ ได้ศึกษาเร่ือง การกาหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบ
จงั หวัดชายแดนภาคใต้ การวจิ ยั คร้งั นีม้ วี ัตถุประสงคเ์ พื่อ 1) ศึกษากระบวนการกาหนดนโยบายการแก้ไขปัญหา
ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ศึกษาปัญหาการกาหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ 3) นาเสนอแนวทางการกาหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้
ผลการวิจัยพบว่า 1) กระบวนการกาหนดนโยบายการแกไ้ ขปญั หาความไม่สงบจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ขั้นการกอ่
ตัวของนโยบาย พบว่า ปัญหาความไม่สงบเป็นปัญหาสาคัญเร่งด่วนสูงสุดในบรรดาปัญหาความมั่นคงเป็น
สงครามการก่อความไม่สงบใช้การต่อสู้ดว้ ยวธิ กี ารรนุ แรงเพอื่ การแบง่ แยกดินแดน เกิดภาวะเสียสมดุลทางสังคม
บางพื้นที่มีอานาจรัฐซ้อนรัฐ มีสาเหตุจากความภาคภูมิใจในประวัติศาสตร์การแบ่งแยกดินแดนปัญหา
ผลประโยชน์ในพ้ืนที่ นโยบายการแก้ไขปัญหาและการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ีรัฐส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม ขั้นการตระเตรียมข้อเสนอร่างนโยบายพบว่าสานักสภาความม่ันคงแห่งชาติมีบทบาทใน
การเสนอร่างนโยบายการมีส่วนร่วมในการแก้ไขยังไม่สมบูรณ์และเพียงพอ คลังการกาหนดเป็นนโยบายทบว่า
การเมืองตดั สินใจนโยบายจงั หวัดชายแดนภาคใต้โดยลาพังและไม่เลือกฟังเหรอนิคมนโยบายในการแก้ไขปัญหา
เฉพาะหนา้ 2) ปญั หาการกาหนดนโยบายพบว่ามีการมองปญั หาความไมส่ งบชายแดนภาคใต้แตกต่างกัน สมาชิก
สภาความม่ันคงแห่งชาติส่วนใหญ่มาจากนักการเมืองมีวาระและระยะเวลาจากัดในการบริหารประเทศ
นายกรฐั มนตรีเปน็ ผตู้ ดั สนิ ใจในขน้ั ตระเตรยี มร่างนโยบายและขนั้ ตอน กาหนดเป็นนโยบาย นโยบายขาดความ
ตอ่ เน่อื งมีเปูาหมายไม่ชัดเจนและการบังคบั ใชก้ ฎหมาย ๓) แนวทางการกาหนดนโยบาย พบว่า รัฐต้องเปิดพ้ืนที่
ให้ประชาชนในพื้นท่ีท้ังชาวไทยพุทธและมุสลิมสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระเสรี เข้าใจในแง่มุม
ประวัติศาสตร์รัฐปัตตานีให้ครอบคลุมทุกมิติ สามารถตรวจสอบการดาเนินการของรัฐผู้บริหารและเจ้าหน้าท่ี
ของรัฐใช้แนวทางสันติวิธี จัดให้มีนโยบายจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมเป็นการ
เฉพาะมีมิติท่ีมีความเชื่อมโยงทั้งภายในและภายนอกประเทศ และผลการวิจัยช้ีให้เห็นว่า 1) รัฐต้องให้
ความสาคัญต่อการบริหารหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเจ้าหน้าท่ีเข้ามาปฏิบัติงานต้องมีความรู้ความเข้าใจ
เก่ยี วกับประวตั ศิ าสตร์รฐั ปัตตานี ภาษาท้องถ่ิน ศาสนา สังคมและวัฒนธรรม 2) มีการทบทวนและปรับปรุง
นโยบายให้ทันต่อสถานการณ์ และตรงกับสภาพความเป็นจริง รวมทั้งเปิดโอกาสและเพิ่มช่องทางการมีส่วน
ร่วมในการแก้ปัญหาร่วมกับประชาชนในพ้ืนที่ท้ังชาวไทยพุทธและชาวมุสลิม ขณะเดียวกันต้องให้ความม่ันใจ
และความปอลดภัยกบั ประชาชนในการแสดงความคิดเห็นในการแก้ปัญหาจังหวดั ชายแดนภาคใต้

65 กอสนิ กมั ปนยุทธ,์ “กลยทุ ธแ์ ละแนวทางในการเขา้ ถึงและปฏบิ ตั ิการในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาในพ้นื ทจ่ี ังหวดั ชายแดน
ภาคใตข้ องกาลังพลศนู ยส์ นั ติสุข”, รายงานวจิ ยั , (วิทยาลยั การทพั บก, 2554).

90

3) รัฐจะต้องมีแผนแม่บทเป็นกรอบการดาเนินงานแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นการ
เฉพาะ 4) การลดเง่ือนไขในการก่อความไม่สงบโดยการยกระดับคุณภาพชีวิตสร้างบรรยากาศความสมานฉันท์
โดยการยกเลกิ กฎอยั การศกึ และใชก้ ฎหมายปกติ66

ไกรฤทธิ์ จันทร์แช่มช้อย ได้ศึกษาเรื่อง แนวคิดและนโยบายในการเสริมสร้างสันติสุขใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์นโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหา
ความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้ และศึกษาวิเคราะห์การมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ปัญหาความไม่
สงบ เพื่อเสนอแนะแนวคิดและนโยบายของรัฐในการเสริมสร้างสันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ผลการวิจัย
พบว่า นโยบายของรัฐบาลในการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นนโยบายที่ดีสามารถ
แก้ปัญหามาได้ถูกทางในระดับหนึ่ง แต่ในทางปฏิบัติอาจมีปัญหาบ้างโดยเฉพาะอย่างยิ่งนโยบายการยุบศูนย์
อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ซึ่งเป็นนโยบายที่ผิดพลาด รวมไปถึงนโยบายการใช้ความรุนแรงและ
การจับกุมโดยไม่ชอบด้วยกฎหมายและในส่วนการทางานของภาครัฐเองยังทางานไม่ค่อยบูรณาการกัน การมี
สว่ นร่วมของประชาชนต่อการแก้ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้น้ันก็ถือว่าดีขึ้นมากกว่าเดิมหลัง
จากการใหผ้ ้นู าชุมชนหรอื ผู้ท่ปี ระชาชนในชุมชนน้ันๆเคารพนับถือเข้ามามีส่วนร่วม แต่หากได้รับความร่วมมือ
จากประชาชนอย่างเต็มที่สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นท่ีจะลดน้อยลง แนวคิดและนโยบายของรัฐในการ
เสริมสร้างสันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงจะต้องเป็นแนวทางท่ียึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการ
แก้ปัญหา โดยควรให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความไม่สงบอย่างเต็มท่ี พร้อมกับการสร้าง
ความสมานฉนั ทร์ วมไปถงึ ความยตุ ธิ รรมในทกุ ๆ ด้าน67

66 พทิ กั ษ์สิทธิ์ ชวี รัฐพัฒน,์ “การกาหนดนโยบายการแก้ไขปญั หาความไม่สงบจงั หวดั ชายแดนภาคใต้”, ดุษฎนี ิพนธ์ปรัชญาดุษฎี
บัณฑิต, บัณฑติ วิทยาลยั : มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง, 2559.

67 ไกรฤทธิ์ จนั ทรแ์ ช่มช้อย, “แนวคดิ และนโยบายในการเสริมสร้างสันตสิ ขุ ในจังหวัดชายแดนภาคใต้”, วทิ ยานพิ นธ์ศลิ ปศาสต
รมหาบัณฑิต, บณั ฑิตวิทยาลยั : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, 2552.


Click to View FlipBook Version