The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

โดย ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sonchai.thz, 2021-12-28 04:16:45

รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์
รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา

โดย ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนยะลา กรมการพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

Keywords: งานวิจัย

139

1.5 กลยุทธ์
จากการวิจัย พบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข

มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา มีกลยุทธ์การพัฒนาด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนและ
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นศูนย์กลาง การพัฒนาโครงสร้าง
พ้นื ฐานอานวยความสะดวกแก่ประชาชน การพัฒนาดา้ นจดั การศึกษา ศาสนา การกีฬาและนันทนาการ
เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ศาสนา ศิลปะ
วัฒนธรรมขนมธรรมเนียมและภูมิปัญญาท้องถ่ิน ส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าหนึ่งตาบลหนึ่ง
ผลติ ภณั ฑ์ และดา้ นการทอ่ งเที่ยว

1.6 ทรพั ยากร ศักยภาพเด่น
จากการวิจัย พบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข

มั่นคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา มีทรัพยากร ศักยภาพเด่นด้านผู้นาชุมชน ท่ีมีความเข้มแข็ง
มีวสิ ัยทศั น์ มคี ณะกรรมการหมู่บา้ นรับผิดชอบงานดา้ นต่างๆ ในตาบลแต่ละหมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง มีการ
รวบรวมกลุม่ กล่มุ องค์กรตา่ งๆ ที่มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ ทาการเกษตร ข้าวนาปี
ยางพารา สวนผลไม้เช่น สวนลองกอง ทุเรียน มีทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมที่อุดมสมบูรณ์ มี
แหล่งท่องเท่ียวทางธรรมชาติ การท่องเที่ยงเชิงนิเวศ เชิงเกษตร การท่องเท่ียว ประเพณี และวิถีชีวิต
แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการท่องเท่ียวเชิงสุขภาพ มีผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP ผลิตภัณฑ์ชุมชนใน
ตาบล มีแหล่งกองทุนประเภทต่างๆ ที่เข้มแข็ง สามารถต่อยอดในการพัฒนาหมู่บ้านได้อย่าง มี
ประสทิ ธิภาพ

1.7 ทศิ ทางการพฒั นา
จากการวิจัย พบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข

ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ในพ้ืนที่จังหวัดยะลา ทิศทางการพัฒนาตาบล ให้ความสาคัญกับหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง ป้องกนั และแก้ไขปัญหายาเสพติด และการท่องเทย่ี ว

วัตถุประสงค์ท่ี 2 ศึกษากระบวนการและผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
ชุมชน ตาบลสันตสิ ุข ม่นั คง มง่ั คง่ั ย่ังยนื ในพนื้ ท่ีจังหวัดยะลา

2.1 กระบวนการการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติ
สุข มน่ั คง มัง่ ค่ัง ยง่ั ยืน ในพนื้ ทจี่ ังหวัดยะลา

2.1.1 ด้านโครงสร้างพน้ื ฐาน
จากการวิจัย พบว่า กระบวนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์

การพฒั นาชมุ ชน ตาบลสนั ติสุข ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ในพื้นท่ีจังหวัดยะลา ในด้านโครงสร้างพ้ืนฐาน เน้น
การทาเวทีประชาคมเพื่อรับฟังข้อมูลจากประชาชนในชุมชนจะมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาดังกล่าว
ข้างต้น โดยมี สมาชิกองค์การบริหารส่วนตาบลประสานผู้นาชุมชนเพ่ือชี้แจงรายละเอียด หัวข้อ
ระยะเวลา และสถานที่การจัดทาเวทปี ระชาคมให้ชดั เจน การประชาสัมพันธ์ให้ทุกคนทราบและเชิญเข้า
ร่วมประชาค การประชาคมตามกาหนดการและสรุปผลการประชาคม และการติดตามประเมินผลโดย
ต้องยดึ หลักการมีส่วนรว่ ม

140

2.1.2 ดา้ นเศรษฐกจิ
จากการวิจยั พบวา่ การขับเคลอื่ นกระบวนการการดาเนินงาน

ตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ในด้าน
เศรษฐกิจ ให้ความสาคัญกับการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยอาศัยกองทุน
พัฒนาบทบาทสตรซี งึ่ เปน็ แหล่งเงนิ ทุนหมุนเวยี นใหก้ ยู้ ืมในการประกอบอาชพี เป็นฟันเฟืองหลัก และการ
สง่ เสริมการนาภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นมาประยกุ ต์ใชใ้ นการพัฒนาผลติ ภณั ฑช์ ุมชน

2.1.3 ด้านการพฒั นาสังคม/คณุ ภาพชวี ิต
จากการวิจัย พบว่า กระบวนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์

การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ในด้านการพัฒนาสังคม/
คุณภาพชวี ิต ให้ความสาคัญกบั การศกึ ษา ทุนชมุ ชน ผนู้ าชุมชน การใหส้ วัสดิการและการช่วยเหลือกลุ่ม
เปราะบาง เชน่ มกี ารชว่ ยเหลือผู้สูงอายุ ผู้ยากไร้ ผพู้ ิการ ผปู้ ว่ ยตดิ เตียง

2.1.4 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและสง่ แวดลอ้ ม
จากการวิจัย พบว่า กระบวนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์

การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน ในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ในด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
ส่งแวดล้อม ให้ความสาคัญกับการรณรงค์และการปลุกจิตสานึกของชุมชนในการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การลดใช้สารเคมี การทาปุ๋ยหมัก น้าหมักชีวภาพ น้าหมัก
สมนุ ไพร การปลูกหญ้าแฝกลดการพงั ทลายของหน้าดนิ การปลกู ต้นไม้ทดแทน ก่ที าฝายชละลอนา้ เป็นต้น

2.1.5 ดา้ นการศกึ ษา ศิลปะ ศาสนาและวัฒนธรรม
จากการวิจัย พบว่า กระบวนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์

การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ในพื้นท่ีจังหวัดยะลา ในด้านการศึกษา ศิลปะ
ศาสนาและวัฒนธรรม ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการศึกษาควบคู่กับการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม
ทง้ั ศาสนาพทุ ธ และมุสลมิ ผ่านการจัดกจิ กรรมในวนั สาคญั และการส่งเสรมิ การศกึ ษา

2.2 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง
มั่งค่งั ย่งั ยืน ในพื้นท่ีจังหวดั ยะลา

จากการวิจัย พบว่า ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
ชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน ในพื้นที่จังหวัดยะลา ประกอบด้วย 1) การส่งเสริมการพัฒนา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) การพัฒนาและส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพ การผลิตและ
การตลาด เพ่ือเสริมสร้างรายได้ลดรายจ่าย มีเงินออม 3) การสนับสนุนการรวมกลุ่ม การจัดต้ังกลุ่ม
อาชีพ ส่งเสริมการเกษตรแบบผสมผสาน 4) การพัฒนาแหล่งกระจายสินค้า การสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ผลผลิตทางการเกษตร การพัฒนาและต่อยอดงานฝีมือ 5) การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว และ 6) การ
สนับสนนุ การเลีย้ งสัตว์เพอ่ื การบริโภค

วัตถุประสงค์ที่ 3 เสนอรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข
มั่นคง ม่งั ค่งั ยั่งยนื ในพ้ืนทจี่ งั หวัดยะลา

จากการวิจัย พบว่า รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข
ม่ันคง ม่ังคั่งย่ังยืน ในพ้ืนที่จังหวัดยะลา มี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ Start 3 ป. และรูปแบบ 5 ด้าน+ 6
กลยทุ ธ์

141

อภปิ รายผลการวจิ ยั

วตั ถปุ ระสงค์ท่ี 1 วเิ คราะห์ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน ใน
พ้ืนท่จี งั หวัดยะลา

จากการวจิ ยั พบว่า ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน ใน
พื้นที่จังหวัดยะลา มีทรัพยากร ศักยภาพเด่นด้านผู้นาชุมชนท่ีมีความเข้มแข็ง มีวิสัยทัศน์ มี
คณะกรรมการหมบู่ า้ นรับผดิ ชอบงานด้านต่างๆ ในตาบลแต่ละหมู่บ้านอย่างเข้มแข็ง มีการรวบรวมกลุ่ม
กลุ่มองค์กรต่างๆ ที่มีความเข้มแข็งในการรวมกลุ่มประกอบอาชีพ ทาการเกษตร ข้าวนาปี ยางพารา
สวนผลไม้เช่น สวนลองกอง ทุเรียน มีทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่ีอุดมสมบูรณ์ มีแหล่ง
ท่องเท่ียวทางธรรมชาติ การท่องเที่ยงเชิงนิเวศเชิงเกษตร การท่องเท่ียว ประเพณี และวิถีชีวิต แหล่ง
ทอ่ งเที่ยวเชงิ เกษตร และการทอ่ งเท่ยี วเชงิ สุขภาพ มีผลติ ภณั ฑส์ นิ คา้ OTOP ผลติ ภณั ฑช์ ุมชนในตาบล มี
แหล่งกองทุนประเภทต่างๆ ท่ีเข้มแข็ง สามารถต่อยอดในการพัฒนาหมู่บ้านได้อย่าง มีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับ ทวีสินธุ์ ต้ังเซ่ง (2564)68 ซ่ึงทาการศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน
3 จังหวัดชายแดนใต้ เชื่อมโยงมาตรฐานการท่องเท่ียวโดยชุมชนประเทศไทย โดยกล่าวว่า การบริหาร
จัดการสามารถเชื่อมโยงมาตรฐานการท่องเที่ยวโดยชุมชนประเทศไทย เป็นการสร้างเศรษฐกิจฐานราก
ให้กับพื้นท่ี 3 จังหวัดชายแดนใต้ ภายใต้ความเชื่อมโยงของการพัฒนาคน การพัฒนาแหล่งท่องเท่ียว
และการบริหารจัดการกลุ่ม โดยเร่ิมจากการพัฒนาศักยภาพให้กับสมาชิกในชุมชน จากน้ันดาเนินการ
พัฒนาแหล่งท่องเท่ียวให้มีความหลากหลายภายใต้อัตลักษณ์ของทรัพยากรชุมชน ถัดไปชุมชนจะต้อง
ดาเนินสร้างระเบียบและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพเพราะส่งผลต่อความย่ังยืน และการสร้าง
มูลค่าเพิ่มจากการท่องเท่ียวด้วยการยกระดับการให้บริการ และดาเนินงานอย่างต่อเน่ือง ซ่ึง
Malisuwan, C. & Radenahmad, M.69 ให้ความสาคัญกับการพัฒนาและยกระดับอาหารพื้นบ้านใน
พื้นท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เน่ืองจากเป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ซ่ึงเป็นต้น
ทางแหล่งผลิตด้านอาหารที่นาไปสู่การต่อยอดเชิงพาณิชย์แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่สามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ ผ่านงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาและยกระดับตารับอาหารเพ่ือสุขภาพเชิงสร้างสรรค์
ภายใต้แบรนด์ Bis Meal สู่ครัวโลก ซึ่งศักยภาพดังกล่าวในพ้ืนที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลให้
เกิดการขับเคล่ือนการพัฒนาโดยอาศัยแผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน โดยมีวิสัยทัศน์ ท่ีระบุว่า
“เกษตรกา้ วหนา้ การค้าชายแดน การท่องเที่ยวเช่ือมโยงสู่อาเซียนบนพื้นฐานความเข้มแข็งของชุมชน”
ให้ความสาคัญกับเกษตรก้าวหน้า ภาคการเกษตรมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของกลุ่ม
จงั หวัด โดยอาศัยพืชเศรษฐกิจหลักทส่ี าคญั อาทิ ยางพารา ปาล์มนา้ มัน มะพร้าว ประมงชายฝั่ง ปศุสัตว์
และไม้ผล เป็นต้น ซ่ึงในปี 2565 กลุ่มจังหวัดจะเป็นแหล่งผลิตภาคเกษตรและอุตสาหกรรมแปรรูปที่
สาคัญโดยการสง่ เสริม และวิจัยเพือ่ คิดคน้ นวตั กรรมพฒั นาเทคโนโลยกี ารผลิตการและการแปรรูปให้เป็น
ผลิตภัณฑ์ที่สามารถสร้าง มูลค่าเพิ่มและสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจท่ียั่งยืนให้กับกลุ่มจังหวัด
ภาคใตช้ ายแดน

68ทวสี นิ ธุ์ ตั้งเซง่ . 2564. แนวทางการพฒั นาการทอ่ งเท่ียวโดยชมุ ชน 3 จังหวดั ชายแดนใต้ เชื่อมโยงมาตรฐานการทอ่ งเท่ียวโดย
ชุมชนประเทศไทย. วารสารการพฒั นาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 2 (พ.ค. 2564), 183-193.

69Malisuwan, C., Radenahmad, M. (2021). Developing and Improving Creative Healthy Food Recipes under
the Bis Meal Brand to the World Kitchen. Linguistica Antverpiensia, (2), pp. 3918-3930.

142

การค้าชายแดน หลังปี 2565 มูลค่าการค้าชายแดนของกลุ่มจังหวัดจะขยายตัว โดยอาศัยศักยภาพของ
จังหวดั ยะลาและจังหวัดนราธิวาสซึ่งเป็นท่ีตั้งของเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ด่านชายแดนไทย-มาเลเซีย
เขตพัฒนาพเิ ศษเฉพาะกจิ เมอื งชายแดนโดยพัฒนาใหม้ คี วามพรอ้ มดา้ นโครงสรา้ งพื้นฐานสิ่งอานวยความ
สะดวกที่สามารถรองรบั การขนสง่ และการคา้ ทง้ั ในและตา่ งประเทศเพ่ือดึงดูดนักลงทุนให้เข้ามาลงทุนใน
พนื้ ท่ีก่อให้เกดิ การสร้างงาน สรา้ งรายไดแ้ ละการขยายตัวทางเศรษฐกจิ ในกลุ่มจังหวัดการท่องเท่ียว หลัง
ปี 2565 กลุม่ จงั หวดั ภาคใตช้ ายแดนมีโครงสรา้ งพนื้ ฐานและส่ิงอานวย ความสะดวกด้านการท่องเท่ียวท่ี
เพียงพอและได้มาตรฐาน มีเส้นทางการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงกับแหล่งท่องเที่ยว ระดับประเทศและ
อาเซียน การบริการนักท่องเที่ยวท่ีได้มาตรฐานสากล การบริหารจัดการการท่องเท่ียวที่เป็น มิตรกับ
สิ่งแวดล้อม มีระบบการตลาดและประชาสัมพันธ์ที่ทันสมัยความเข้มแข็งของชุมชน อัตลักษณ์ที่สาคัญ
ประการหน่ึงของกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน คือ การเป็นสังคมพหุวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายท้ัง
ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ดังน้ัน การสร้างความเข้มแข็งของชุมชนจึงมุ่งเน้นท่ีการพัฒนา
ชีวิตความเป็นอยู่ของคนในชุมชน ท้ังในด้านทักษะฝีมือแรงงาน การยกระดับคุณภาพการศึกษา การ
ขยายโอกาสในการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ การพัฒนาสขุ ภาวะของคนทุกวัย การส่งเสริมเศรษฐกิจชุมชนให้มี
ความเข้มแข็ง ตลอดจนการสร้างความเข้าใจ และการยอมรับเพ่ือให้เกิดการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ภายใต้สังคมพหวุ ฒั นธรรม (กลมุ่ งานบริหารยุทธศาสตร์กล่มุ จังหวัดภาคใต้ชายแดน, 2562)70

วัตถุประสงค์ที่ 2 ศึกษากระบวนการและผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
ชุมชน ตาบลสนั ตสิ ุข มัน่ คง มง่ั คั่ง ยัง่ ยนื ในพน้ื ที่จังหวัดยะลา

จากการวจิ ัย พบวา่ ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข
ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน ในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สอดคลอ้ งกบั งานวจิ ัยของสวุ ฒุ ิ วรวิทยพ์ นิ ิต และคณะ (2560)71 ท่ีทาการศึกษา เร่ือง
การพฒั นารูปแบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี
วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน และความต้องการในการจัดต้ังศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรตาม
แนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และพัฒนารูปแบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรตาม
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โดยทดลองใช้รปู แบบการจดั การศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง และประเมินและปรับปรุงรูปแบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรตาม
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ผลการวิจัยพบว่า ศูนย์การเรียนรู้วิถีเมืองเพชรมีบทบาทในการให้ความรู้
และพัฒนาคุณภาพชีวิตของราษฎรในพ้ืนท่ีและนอกพื้นท่ี ซึ่งรูปแบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้วิถีเมือง
เพชรตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีพัฒนาข้ึน คือ “PETCH Model” มี 5 องค์ประกอบย่อย
ได้แก่ Participation (การมีส่วนร่วม) Evolution enough (ความพอเพียง) Technology (การนาเอา
เทคโนโลยีและหลกั วทิ ยาศาสตรม์ าปฏิบัติ) Community (ชุมชน) และ Harmony (ความกลมกลืน) ผล
การทดลองใช้รปู แบบการจัดการศนู ยก์ ารเรยี นรวู้ ิถีเมอื งเพชรตามปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

70กลมุ่ งานบรหิ ารยุทธศาสตร์กลมุ่ จังหวดั ภาคใตช้ ายแดน. (2562). (ร่าง) แผนพัฒนาจังหวัดภาคใต้ชายแดน พ.ศ. 2562-2565.
ยะลา : สานักงานจงั หวดั ยะลา.

71สุวุฒิ วรวทิ ย์พินิต, วรรณวีร์ บุญคุ้ม และนรินทร์ สังข์รักษา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศูนย์การเรียนรู้ วิถีเมือง
เพชรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(2). 1657-1674.

143

พบว่า รูปแบบการพัฒนาจะต้องดาเนินการควบคู่ไปกับภูมิปัญญาเป็นความรู้ด้ังเดิมอันประกอบไปด้วย
คุณธรรม ซ่ึงสอดคล้องกับวิถีชีวิตด้ังเดิมของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วน ๆ หากแต่ทุกอย่างมี
ความสัมพันธ์กับการทามาหาเลี้ยงชีพและในงานวิจัยของ ณัฏฐชัย จันทชุม และคณะ (2561)72 ท่ี
ทาการศึกษา การพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษารูปแบบของชุมชน
ต้นแบบในการใช้ชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางในการพัฒนาสู่การเป็นชุมชนต้นแบบ และปัจจัย
สนับสนุนที่นาไปสู่ความสาเร็จ กรณีศึกษาบ้านปลาบู่ ตาบลหนองแสง อาเภอวาปีปทุม จังหวัด
มหาสารคาม กลุ่มเป้าหมาย ประกอบด้วย ตัวแทนจากผู้นาชุมชน กลุ่มองค์กรชุมชน เครือข่ายจาก
ภาครัฐและเอกชนที่เก่ียวข้องทาการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพจากการสังเกต การสัมภาษณ์แบบ
เจาะลึก และการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบชุมชนต้นแบบของบ้านปลาบู่ ไดนาปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง มาเป็นแนวคิดในการดาเนินชีวิตบนความจาเป็นข้ันพื้นฐานของมนุษย์ “ปัจจัยสี่”
และได้พัฒนาโดยมีความพอเพียงท่ีครอบคลุมทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ความพอเพียงระดับครัวเรือน (การ
บริโภคเท่าที่ จาเป็นตามความต้องการ การลดรายจ่าย การทาบัญชีครัวเรือน นั่นคือ สามารถพ่ึงตนเอง
ได้) ความพอเพียงระดับชุมชน (การรวมกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์
ร่วมกันในการพัฒนาอาชีพ/ลงทุนร่วมทากิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน) และความพอเพียงในระดับที่สร้าง
เครือขายร่วมกับองค์กรภายนอกท่ีเก่ียวข้องท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
ต่อไป และแนวทางการพัฒนาส่ชู ุมชนต้นแบบ ประกอบด้วย การเสริมสร้างศักยภาพของผู้นาและชุมชน
ทอ้ งถ่ิน กิจกรรมสนบั สนุนปัจจัยในการดารงชวี ิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างโอกาสใน
การพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในพ้ืนท่ี และปัจจัยสนับสนุนที่นาไปสู่ความสาเร็จ ได้แก่
การมผี ูน้ าการเปล่ียนแปลงในชมุ ชนการเป็นองค์กรชุมชนเพือ่ การพัฒนาอยา่ งย่งั ยืน และการเป็นหุ้นส่วน
ในการทางานร่วมกบั องค์กร/เครอื ขา่ ยที่เกยี่ วข้องทัง้ ภาครฐั และเอกชน

วัตถุประสงค์ที่ 3 เสนอรูปแบบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข
มน่ั คง ม่งั คั่ง ย่งั ยนื ในพื้นท่ีจังหวัดยะลา

จากการวิจัย พบว่า มี 2 รูปแบบ คือ รูปแบบ Start 3 ป. และรูปแบบ 5 ด้าน+ 6 กล
ยุทธ์ ซึง่ ทัง้ 2 รูปแบบเริม่ ตน้ จากปัญหาของชมุ ชน สอดคล้องกับ (John Taylor Gatto, 2017 อ้างถึงใน
เพ็ญประภา ภัทรานุกรม, 2560 : 140)73 ที่ระบุถึงการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนว่า กระบวนทัศน์ใน
การพฒั นาประเทศภายใต้ “ประเทศไทย 4.0” เป็นนโยบายที่มุ่งเน้นการวางรากฐานการพัฒนาประเทศ
ในระยะยาว เป็นจุดเริ่มต้นในการขับเคลื่อนทุกภาคส่วนของสังคมไปสู่ภาวะที่มั่งค่ัง ม่ันคง และย่ังยืน
ตามวิสัยทัศน์รัฐบาลเป็นรูปแบบที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจัย การ
พัฒนาและการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อมๆ กัน โดยการผนึกกาลังของทุกภาคส่วนภายใต้ แนวคิด
“ประชารัฐ” ด้วยเหตุนี้การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนภายใต้ “ประเทศไทย 4.0” จึงมีความสาคัญใน
การพฒั นาประเทศ

72ณัฏฐชัย จันทชุม, ธีรดา นามไห และวรรณชนก จันทชุม. (2561). การพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียง. วารสาร
มหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. 12(2). 387-396

144

อย่างไรก็ดีนโยบายด้านการขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนของประเทศไทยน้ันได้ดาเนินการมายาวนาน
หากแต่เป็นแนวทางการพัฒนาแบบเดิม ๆ ท่ีไม่สามารถตอบโจทย์ปัญหาในชุมชนที่มีความซับซ้อนมาก
ข้นึ ตามสภาพการเปล่ียนแปลงของสงั คมได้ ผลการพัฒนาจึงยังไม่เปน็ ทีพ่ อใจของชุมชนโดยทั่วไปมากนัก
ภาพของชุมชนท่ีไม่สามารถพึ่งตนเองและเป็นเพียงผู้ที่รอรับความช่วยเหลือไม่เคยหายไปจากสังคม
หลายพ้ืนที่พบว่ายิ่งช่วยเหลือ (หรือพัฒนา) ประชาชนยิ่งอ่อนแอต้องพึ่งพารัฐมากขึ้นเรื่อย ๆ เกิดการ
วิพากษ์วจิ ารณก์ ารพฒั นาโดยรัฐว่า รัฐไม่ได้ส่งเสริมให้ชุมชนพัฒนาสติปัญญา ศีลธรรม และจิตวิญญาณ
แตเ่ ป็นการพัฒนาที่ทาให้ชาวบ้านเป็นพลเมือง แรงงาน หรือผู้บริโภคที่ยอมจานน เป็นพลเมืองที่ว่าง่าย
หากแต่การพัฒนาท่ียั่งยืนน้ันจะต้องก่อให้เกิดการเรียนรู้ในชุมชน ในลักษณะธรรมชาติ มีความใกล้ชิด
สนิทสนม มกี ารถา่ ยทอดแลกเปล่ยี นประสบการณ์และการเรียนรู้ซึ่งกันและกันของสมาชิกในชุมชน มิใช่
เป็นการขยายอานาจหรือการสร้างความสัมพันธ์เชิงอานาจระหว่างนักพัฒนาหรือเจ้าหน้าท่ีรัฐและ
ชาวบ้าน แตต่ ้องใหช้ ุมชนได้คิดและแสดงออกตามที่ชุมชนต้องการอย่างแท้จริง การพัฒนาชุมชนจึงต้อง
เป็นเรอื่ งของการจัดการศกั ยภาพและทรัพยากรในชุมชนเพ่ือแก้ไขปัญหาและขับเคลื่อนชุมชนโดยคนใน
ชุมชนเอง กระบวนการเรียนรู้ที่จัดขึ้นจากประสบการณ์จริงซ่ึงเป็นทักษะที่จาเป็นในการดารงชีวิตเพ่ือ
แก้ไขปญั หาสังคมและชุมชน และเมื่อชุมชนใดมีความรู้และทักษะท่ีเหมาะสมในบริบทของชุมชนตนเอง
ก็จะทาให้ชุมชนนั้นสามารถผ่านพ้นวิกฤติและก้าวไปสู่การพัฒนาชุมชนได้ตามนโยบายการพัฒนา
ประเทศและในงานวิจัยของ วิศรา ว., & จันทราปัตย์ ส. (2019)74 การวิจัยคร้ังน้ี เพ่ือศึกษาการวาง
ยทุ ธศาสตร์เพอ่ื การพัฒนาท่ีย่ังยืนของชุมชนเกษตรรายย่อย การขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ และผลท่ีเกิดข้ึน
จากการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ โดยใช้การวิจัยปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม ดาเนินการระหว่างเดือน
สิงหาคม 2555 ถึงเดือนกรกฎาคม 2560 ใน 2 ชุมชนที่ได้จากการเลือกแบบสมัครใจ ได้แก่ชุมชนบ้าน
ผาคบั และชุมชนบ้านผักเฮือก ในตาบลบ่อเกลือใต้ อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน ผลการวิจัยพบว่า ชุมชน
ได้วางยุทธศาสตร์รวม 5 ยุทธศาสตร์ ท่ีเกี่ยวโยงและเก้ือกูลกัน ได้แก่ 1) การใช้ประโยชน์และการจัดการที่ดิน
และน้าเพื่อการเกษตรกรรมอย่างเป็นระบบ 2) การสร้างความมั่นคงด้านอาชีพเกษตรกรรมและรายได้ 3) การ
สร้างความม่ันคงและปลอดภัยด้านอาหารและโภชนาการ 4) การพัฒนาศักยภาพการตลาดผลิตผลและ
ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และ 5) การพัฒนาขีดความสามารถของครัวเรือนเกษตรและองค์กรชุมชน การ
ขับเคล่ือนยุทธศาสตร์กระทาโดยชุมชนกับภาคีจากภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรพัฒนา
เอกชน และสถาบันการศึกษา รวม 24 แห่ง ที่ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเมื่อวันท่ี 7 มีนาคม 2556 เป็นเวลา
สองปี ซ่ึงพบว่าในการขบั เคล่อื น ภาคีตา่ งๆ ยังคงทาตามความถนัดและความสนใจของตน และตามงบประมาณ
กับเวลาที่มีให้ ความรว่ มมือคงเป็นเพียงเฉพาะกจิ แตก่ ส็ ร้างการเปล่ยี นแปลงทด่ี ีขน้ึ ในชุมชน บนพื้นฐานของการ
พึ่งตนเองและปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เม่ือบันทึกข้อตกลงสิ้นสุดลง ชุมชนทั้งสองยังคงมุ่งขับเคลื่อน
ยุทธศาสตร์ด้วยการพ่ึงตนเองเปน็ หลัก จึงพบศักยภาพของชุมชนเองในการสร้างการเปล่ียนแปลงตามเป้าหมาย
ผู้วิจยั จงึ มีข้อเสนอแนะใหช้ ุมชนนอ้ มนาปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาเป็นแนวคิดและแนวปฏิบัติอย่างมั่นคง
และเขม้ แข็งต่อไป เพอ่ื นาไปสู่ความสามารถพึ่งตนเองในระดบั ตา่ งๆ อย่างเปน็ ขน้ั ตอน และความยงั่ ยนื ในอนาคต

73เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2560). วิจัยเพื่อท้องถ่ิน : บทบาทมหาวิทยาลัยในการขับเคล่ือนการพัฒนาชุมชนอย่างย่ังยืน.
วารสารร่มพฤกษ์ มหาวทิ ยาลัยเกริก. 35,3 (ก.ย. 2560), 137-156.

74วิศรา ว., & จันทราปัตย์ ส. (2019). การวางและขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชน เพื่อผลในการพัฒนาที่ย่ังยืนของชุมชนเกษตร
รายยอ่ ยในตาบลบอ่ เกลือใต้ อาเภอบอ่ เกลือ จังหวัดนา่ น. วารสารแกน่ เกษตร, 47(2), 347-360.

145

ขอ้ เสนอแนะ

การวิจัยเร่ือง “รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข ม่ันคง ม่ังค่ัง
ย่ังยืน ในพ้ืนที่จังหวัดยะลา” มีข้อเสนอแนะ 3 ประเด็น คือ ข้อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ ข้อเสนอแนะเชิง
นโยบาย และข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครัง้ ต่อไป รายละเอยี ดดังน้ี

1. ข้อเสนอแนะเชิงปฏบิ ตั ิ
1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินสามารถนารูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การ

พฒั นาชุมชนตาบลสันติสุข มนั่ คง มงั่ คงั่ ยงั่ ยนื ไปพฒั นาพ้นื ท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้
1.2 ศูนย์อานวยการบริหารสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ ควรเชือ่ มโยงหนว่ ยงาน และให้

การสนับสนุน เพื่อใหก้ ารขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืนบรรลุ
เป้าหมาย

2. ขอ้ เสนอแนะเชิงนโยบาย
2.1 มหาวทิ ยาลยั ในพน้ื ทค่ี วรกาหนดนโยบายหรือกรอบการวิจัย การบริการวิชาการท่ี

เชื่อมโยงการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน จากโจทย์ปัญหา
ของชมุ ชน

2.2 จังหวัดยะลา ควรทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดโดยอาศัยข้อมูลจากแผนพัฒนาตาบล
เปน็ ฐานข้อมลู ในการวางกรอบนโยบายในการขบั เคลื่อนการพัฒนาพนื้ ท่ี

3. ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ัยครั้งตอ่ ไป
3.1 ควรศึกษาวิจัยปัจจัยส่งเสริมศักยภาพพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เพื่อความ

มั่นคง มง่ั คง่ั ยง่ั ยืน
3.2 ควรศึกษาวจิ ัยสมรรถนะผู้นาการเปลีย่ นแปลงในพื้นท่ีสามจงั หวดั ชายแดนภาคใต้

[พมิ พค์ ำ

อำ้ งอิง1จำ4ก6

เอกสำรหรือ

ขอ้ มูลสรุป

ของประเด็น

บรรณานกุ รม ที่น่ำสนใจ

คุณสำมำรถ

กกรรมมกกาารรพ2พฒั5ัฒ5นน4า)าช.ชมุ ุมชชนนไ,ดกใ้ หาร้คขาับจาเคกลัด่ือคนวากมรขะอบงวแนผกนารชแุมผชนนชใุมนชคนู่มือ(กสาารนจักัดเเสกร็บิมขส้อรม้าูลงคกวชาชม.เ2ข้มคแ(ขปวเใข็องีดำอ้ก2งชกคสกไ็5วุมลำดำ5ร่อมชใ้ งนใ0ไนหว-ท้้ ี่
กรมการพฒั นาชุมชน , 2553)
ใชแ้ ทบ็
กระทรวงมหาดไทย.(2562) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสานแผนเคพรื่อัฒงมนือ า

พนื้ ท่ีในระดบั อาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 กรุงเทพมหานคร :กระทรวงมหาดไทย. กำรวำด เพื่อ

กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน. (2562). (ร่าง) แผนพัฒนาจังหวัดเปภล่ียานคกใำรต้
จดั รูปแบบ
ชายแดน พ.ศ. 2562-2565. ยะลา : สานกั งานจงั หวดั ยะลา.
กกอลุ่งมแงผานนบพงาร.ศนิห.าแ2รผ5ย6นุท2ยธทุศ–าธ2สศ5ตา6รส5์กตลร(ฉมุ่์ กบจรงัับมหทกวบดัาทรภวพานคัฒ)ใ.นตยา้ชะชาลยมุ าแชด:นนสพา. น(.2ศัก5.ง6า22น5)จ6. ัง0แหผ-วนดั2พย5ัฒะ6ลน4า,า.ก(กลรุ่มุงจเทังพหมวัดหภานาคคใรต,2้ชอขขม5าำออ้ำ้ ง5]งคยอกว9ิแงลำท)ม่อดี่ดคงนึงำ
กอสิน กัมปนยุทธ์, “กลยุทธ์และแนวทางในการเข้าถึงและปฏิบัติการในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาใน

พ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ของกาลังพลศูนย์สันติสุข”, รายงานวิจัย, (วิทยาลัยการทัพบก,

2554).

โกวิทย์ พวงงาม, การปกครองทอ้ งถ่ินไทย, (กรุงเทพฯ : วิญญชู น, 2550), 18.

ไกรฤทธ์ิ จันทร์แช่มช้อย, “แนวคิดและนโยบายในการเสริมสร้างสันติสุขในจังหวัดชายแดนภาคใต้”,

วทิ ยานพิ นธศ์ ิลปะ ศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑติ วทิ ยาลัย : มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง, 2552.

คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สานักงาน. “ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี พ.ศ.

2561 – 2580”. 2561.

คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.), เอาชนะความรุนแรงด้วยพลังสมานฉันท์,

(กรงุ เทพมหานคร: คณะกรรมการอสิ ระเพอื่ ความสมานฉันทแ์ ห่งชาติ, 2548), หนา้ 5.

ชูชพี พุทธประเสริฐ, การพัฒนาองค์กรเทคนิคการบรหิ ารเพื่อการศกึ ษา (เอกสารการสอน), หนา้ 192.

วัฒนา วงศ์เกียรติรัตน์ และคณะ, การวางแผนกลยุทธ์: ศิลปะการกาหนดแผนองค์การสู่ความเป็นเลิศ,

(กรงุ เทพมหานคร:สถาบันเพมิ่ ผลผลิตแหง่ ชาติ , 2548),หนา้ 79.

ณัฏฐชัย จันทชุม, ธีรดา นามไห และวรรณชนก จันทชุม. (2561). การพัฒนาชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจ

พอเพียง. วารสารมหาวิทยาลัยราชภฏั มหาสารคาม. 12(2). 387-396.

ดนัย มู่สา และ คณะ,“การจัดทานโยบายเสริมสร้างสันติสุขในพ้ืนท่ีจังหวัดชายแดนภาคใต้ และการ

แปลงไปสกู่ ารปฏิบัติ”, รายงานวิจยั , (สานักงานกองทุนสนบั สนุนการวิจัย (สกว.)), 2555), หน้า

คานา.

ดร.ขนิฏฐา กาญจนรังสีนนท์.

ถวิลวดี บุรีกุล, การมีส่วนร่วม แนวคิด ทฤษฎีและกระบวนการ, (กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า,

2548), 5.

ถวิลวดี บรุ กี ุล, การมีส่วนรว่ ม แนวคดิ ทฤษฎีและกระบวนการ, 3-4.

147

ทวีสินธ์ุ ต้ังเซ่ง. 2564. แนวทางการพัฒนาการท่องเท่ียวโดยชุมชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ เช่ือมโยง
มาตรฐานการทอ่ งเท่ียวโดยชุมชนประเทศไทย. วารสารการพฒั นาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 9, 2
(พ.ค. 2564), 183-193.

ธงชยั สนั ติวงษ์, การวางแผนเชงิ กลยุทธ์, (กรงุ เทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานชิ , 2547), หน้า 24.
ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์, กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็ง ประชาคม ประชาสังคม,(ขอนแก่น:

โครงการจัดต้ังมูลนิธิเสริมสร้างชุมชนเข็มแข็ง ชมรมนักวิชาการสาธารณสุขภาค
ตะวันออกเฉยี งเหนอื , 2543), 149-163.
นรินทร์ชัย พัฒนพงศา, การมีส่วนร่วม หลักการพื้นฐาน เทคนิคและ กรณีตัวอย่าง,พิมพ์ ครั้งที่2,
(เชียงใหม่: สริ ลิ ักษณก์ ารพิมพ์, 2547), 23-27.
นนั ทพล วทิ ยานนท์, “รปู แบบการจัดการศึกษาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานเพ่ือสันติสุขในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้”, วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณทิต, สาขาวิชาการบริหารการศึกษา (ภาคพิเศษ), (บัณฑิต
วิทยาลยั : มหาวิทยาเกษตรศาสตร์, ๒๕๕๖).
นายอัสมัน แวกามา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ กลุ่มงานสังคมจิตวิทยาเพื่อความม่ันคง
กองส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาเพ่ือความมั่นคง (กสม.) ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต) , การมีส่วนร่วมของส่วนราชการและประธานสภาสันติสุขตาบลต่อ
การขับเคลื่อนสภาสันติสุขตาบลในพ้ืนท่ีจังหวัดขายแตนภาคใต้ กิจกรรมการประชุมเชิง
ปฏิบัติการถอดบทเรียนการขับเคลื่อนสภาสันติสุขดาบลในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
ประจาปี 2563 ศูนยอ์ านวยการบริหารจงั หวดั ชายแดนภาคใต้ (ศอ.บต.).
แนวทางปฏบิ ตั ริ องรับการดาเนินการตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทาแผนและประสาน
แผนพัฒนาพื้นท่ีในระดับอาเภอและตาบล พ.ศ. 2562 กระทรวงมหาดไทย 0 2221 9200
www.pad.moi.co.th.
บุญเกียรติ ชีวะตระกูลกิจ, การจัดการเชิงยุทธศาสตร์สาหรับ CEO, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร :
สขุ มุ และบตุ ร, 2547), หนา้ 35
บญุ เลิศ เยน็ คงคาและคณะ, การจดั การเชิงกล, พิมพ์คร้ังที่ 5, (กรุงเทพมหานคร: BK การพิมพ์, 2549),
หน้า 98.
พิทักษ์สิทธิ์ ชีวรัฐพัฒน์, “การกาหนดนโยบายการแก้ไขปัญหาความไม่สงบจังหวัดชายแดนภาคใต้”,
ดษุ ฎนี พิ นธ์ปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต, บัณฑติ วิทยาลัย : มหาวิทยาลยั รามคาแหง, 2559.
เพ็ญประภา ภัทรานุกรม. (2560). วิจัยเพื่อท้องถิ่น : บทบาทมหาวิทยาลัยในการขับเคลื่อนการพัฒนา
ชุมชนอย่างยงั่ ยืน. วารสารรม่ พฤกษ์ มหาวิทยาลยั เกรกิ . 35,3 (ก.ย. 2560), 137-156.
ไพรตั น์ เตชะรินทร์, ทบทวนการพฒั นาชนบทไทย, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพด์ ีแอนดเ์ อส,2525), 7
ราชบัณฑติ ยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542,(กรุงเทพมหานคร : นานมีบุคส พับ
ลิเคสชัน่ , 2546), หน้า 667.
เลม่ 134 ตอนท่ี 40 ก. ราชกิจจานุเบกษา. 6 เมษายน 2560. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับ
ช่วั คราว) พุทธศักราช 2557 แกไ้ ขเพมิ่ เติม (ฉบับที่ 1)..

148

วิชัย ชูเชิด, “การกาหนดยุทธศาสตร์ระยะยาวในการแก้ปัญหาการก่อความไม่สงบในพื้นท่ีสามจังหวัด
ชายแดนภาคใต้”, วารสารอินโดจีนศึกษา, ปีที่ 5 ฉบับที่ 6 (มกราคม 2547 – ธันวาคม
2548), หนา้ 159-178.

วิศรา ว., & จันทราปัตย์ ส. (2019). การวางและขับเคล่ือนยุทธศาสตร์ชุมชน เพื่อผลในการพัฒนาที่
ย่ังยืนของชุมชนเกษตรรายย่อยในตาบลบ่อเกลือใต้ อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน. วารสารแก่น
เกษตร, 47(2), 347-360.

วุฒิสาร ตันไชย, การกระจายอานาจและการปกครองท้องถ่ิน, (กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส,2545), 105-
112

ศรีวงค์ สุมิตร, ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ, (กรุงเทพมหานคร: คณะเศรษฐศาสตร์
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั , 2542), หน้า78.

ศาสตราจารย์ นายแพทยป์ ระเวศ วะสี.
ศูนย์ประสานการปฏิบัติท่ี 5 กองอานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร ยุทธศาสตร์การ

พัฒนาจงั หวัดชายแดนภาคใต้ พ.ศ. 2563 – 2565 หน้า 8
ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้, โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับหมู่บ้าน ชุมชน

และตาบล จงั หวดั ชายแดนภาคใต้ ภายใตแ้ ผนตาบลม่นั คง ม่งั คง่ั ยัง่ ยืน , 2563)
สมลักษณา ไชยเสริฐ พ.ต.อ.หญิง,“การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของประชาชนในคณะกรรมการ

ตรวจสอบและติดตามการบริหารงานตารวจสถานีตารวจนครบาล,” (บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนดสุ ติ , 2549), 142-149.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการพ.ศ.2551
2555” http://opdc.go.th//special.php?spc_id=2&content_id=2549 (สืบค้นเมื่อวันที่
7 กรกฎาคม 2559)
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ,“แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการ พ.ศ.
2551- 2555.” http://opdc.go.th//special.php?spc_id=2&content_id=156,
(สืบค้นเมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2559).
สานักมาตรฐานการศึกษา สานักงานสภาสถาบันราชภฏั กระทรวงศึกษาธิการ สานักมาตรฐานอุดมศึกษา
ทบวงมหาวิทยาลัย, ชุดวิชาการวิจัยชุมชน, (นนทบุรี : เอสอาร์ปร๊ินต้ิงแมสโปรดักส์, 2545),
118.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564).กรงุ เทพฯ.2560
สานักงานจังหวัดยะลา. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดยะลา พ.ศ. 2561 – 2565 ฉบับทบทวน. ยะลา :
ศาลากลางจงั หวดั ยะลา.
สานักนโยบายและแผน สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย แผนยุทธศาสตรกระทรวงมหาดไทย พ.ศ.
2560 – 2564
สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักงานปลัดกระทรวงการคลัง , คมู่ อื การจดั ทาแผนยุทธศาสตร์
สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน “กรมการพัฒนาชุมชน แนวทางการบูรณาการแผนชุมชนระดับ
ตาบล สาหรบั ศอช.ต.” กรมการพฒั นาชมุ ชน , กรงุ เทพมหานคร 2556.

149

สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “กรมการพัฒนาชุมชน กับ การขับเคล่ือน
กระบวนการแผนชมุ ชน”, 2553 กรุงเทพมหานคร. 19 – 22.

สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “การขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน”,
2553 กรงุ เทพมหานคร. 6.

สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “การขับเคล่ือนกระบวนการแผนชุมชน”,
2553 กรุงเทพมหานคร.

สานักเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน “แนวทางการบูรณาการแผนชุมชนระดับ
ตาบล สาหรับ ศอช.ต.” , 2556 กรุงเทพมหานคร . 2.

สรุ ชาติ บารงุ สุข, “ยุทธศาสตร์ คอื อะไร” มติชนสดุ สัปดาห์, (12 สิงหาคม 2554), หนา้ 2.
สุวิชัย ศุภรานนท์, ยุทธศาสตร์การแข่งขัน, (กรุงเทพมหานคร : บริษัท ซี เอ็ดยูเคช่ันจากัด, 2549),

หน้า 13.
สวุ ุฒิ วรวิทยพ์ ินิต, วรรณวีร์ บุญค้มุ และนรินทร์ สังข์รักษา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศูนย์

การเรียนรู้ วิถีเมืองเพชรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. Veridian E-Journal,
Silpakorn University. 10(2). 1657-1674.
สวุ ฒุ ิ วรวทิ ยพ์ นิ ติ , วรรณวีร์ บญุ คุ้ม และนรินทร์ สังข์รักษา. (2560). การพัฒนารูปแบบการจัดการศูนย์
การเรียนรู้ วิถีเมืองเพชรตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. Veridian E-Journal,
Silpakorn University. 10(2). 1657-1674.
หนงั สือระเบยี บวาระชมุ ชน : กรมการพัฒนาชมุ ชน ปี 2551.
อคิน ระพีพัฒน์, การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา, (กรุงเทพฯ : ศูนย์การศึกษานโยบาย
สาธารณสขุ , 2547), 320.
อรทัย ก๊กผล, การบริหารปกครองสาธารณะ: การบริหารรัฐกิจในศตวรรษที่ 21,พิมพ์คร้ัง2, (ปทุมธานี:
โรงพิมพม์ หาวิทยาลัยธรรมศาสตรศ์ ูนยร์ งั สิต , 2556), 98-100.
อรทัย ก๊กผล, คู่คิด คู่มือการมีส่วนร่วมของประชาชน สาหรับนักบริหารท้องถิ่น,(กรุงเทพฯ: จรัญสนิทวงศ์
การพิมพ,์ 2552), 17-28.
Cohen. J., M. and Uphoff, N. T., Rural development participation:Concept and
measures for project design, implementation and evaluation (New York:
Cornell University, 1977)
David Fred R., Strategic management, 6ed,p.11.
Greenley, Gordon E, StategicManamement, (United Kingdom : Prentice-Hall, 1989),
p.159.
Maassen, P. A. M. & Van Vaght, F. A, “Strategic Planning” in therncyclopedia of Higher
Education Vol.2 :AnalyticalPerspectives.pp. 1483-1494, (Oxford : Pergamon Press,
1992), p.968
Malisuwan, C., Radenahmad, M. (2021). Developing and Improving Creative Healthy
Food Recipes under the Bis Meal Brand to the World Kitchen. Linguistica
Antverpiensia, (2), pp. 3918-3930.

150

Morison, J. L., Renfro, W.L. & Boucher, Wayne I, Future Research and the strategic
planning process: Implementations for Higher Education, (Washington :
ASHE, 1987), p. 165.

United Nation, Popaler Participation In Decision Making For Development,อ้างถึงในสิริพัฒน์ ลาภ
จิตร,“ปจั จยั ที่ส่งผลตอ่ การตัดสินใจมสี ว่ นร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงานองค์การ
บรหิ ารส่วนตาบลอาเภอวารินชาราบ จงั หวดั อุบลราชธานี”, 35.

United Nation, Popular Participation In Decision Making For Development, (New York:
United Notwess Publication,1998) , อ้างถึงในสิริพัฒน์ ลาภจิตร,“ปัจจัยท่ีส่งผลต่อการ
ตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการบริหารงานองค์การบริห ารส่วนตาบล
อาเภอวารินชาราบ จังหวัดอุบลราชธานี,” (วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญารัฐประศาสนศาสตร
มหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย,2550), 31.

WHO and UNICEF, Report of the international conference on primary health care, (New
York: N.P.Press,1978), 41.

1

ภาคผนวก

2

ภาคผนวก ก

เครื่องมอื ที่ใช้ในการวิจยั

153

แบบสนทนากลุ่ม (Focus. Group)

“รูปแบบการขับเคลอื่ นยุทธศาสตรก์ ารพฒั นาชุมชนตาบลสันตสิ ขุ
ม่นั คง มั่งคั่ง ยั่งยืน ในพืน้ ท่ีจงั หวัดยะลา”

คาช้แี จง
1.แบบสัมภาษณ์น้ีเปน็ สว่ นหนง่ึ ของงานวจิ ยั ศนู ยศ์ กึ ษาและพัฒนาชมุ ชนยะลา มีวตั ถุประสงค์

เพื่อศกึ ษากระบวนการและผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง ม่ัง
ค่งั ย่งั ยืน ในพ้นื ทจ่ี ังหวัดยะลา

2.โปรดตอบแบบสัมภาษณ์ให้ครบทุกข้อ และขอความกรุณาท่านให้ความเห็นตามความจริง
คาตอบของท่านมีคุณค่ายิ่ งต่อการวิจัยในคร้ังนี้แ ละจะเป็นประโยชน์ ต่อกระบวนการและผลกา ร
ดาเนนิ งานตามยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชมุ ชน ตาบลสันติสขุ ม่ันคง ม่งั คง่ั ยง่ั ยนื ในพนื้ ทจ่ี งั หวัดยะลา

แบบสัมภาษณ์นี้ใช้เพ่ือศึกษากระบวนการและผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนา
ชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน ในพ้ืนท่ีจังหวัดยะลา ซ่ึงมีข้อคาถามเก่ียวข้องกับข้อมูลทั่วไป
ของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ ความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ และข้อเสนอแนะอื่น ๆ คาตอบ
ทัง้ หมดจะนาไปใชป้ ระโยชน์ในการวิจยั เทา่ น้ัน รายละเอยี ดของแบบสัมภาษณ์ประกอบดว้ ย 4 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป
ตอนท่ี 2 กระบวนการและผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข
มั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยนื ในพื้นทีจ่ งั หวัดยะลา
ตอนท่ี 3 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน
ในพ้นื ทจ่ี งั หวดั ยะลา
ตอนท่ี 4 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ

ขอขอบพระคณุ ท่านเป็นอย่างยิง่ ท่ที า่ นให้ความอนุเคราะหใ์ นการตอบแบบสัมภาษณ์

คณะวิจยั ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนยะลา

154

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป
1. ชอื่ – สกลุ ผู้ใหส้ ัมภาษณ์........................................................................................................................
2. ตาแหน่ง........................................................................................เบอร์โทร..........................................
3. ตาบลท่ีทา่ นสังกดั ...................................................................................................................................
4. อาเภอที่ท่านสังกดั .................................................................................................................................
5. รางวลั ท่ีท่านเคยไดร้ ับ............................................................................................................................
6. ประสบการณ์ท่ีท่านเกี่ยวข้อง

ด้านความม่นั คง
............................................................................................................................. .........................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
ดา้ นความม่งั คงั่
............................................................................................................................. .........................
........................................................................................ ............................................................................
............................................................................................................................. .......................................
ด้านความยั่งยืน
............................................................................................................................. .........................
.......................................................................................................... ..........................................................
............................................................................................................................. .......................................

ตอนที่ 2 กระบวนการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข ม่ันคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน
ในพื้นท่ีจังหวดั ยะลา

2.1 กระบวนการดาเนนิ งานในตาบลของทา่ นเปน็ อย่างไร
2.1.1 ดา้ นโครงสรา้ งพน้ื ฐาน

............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.1.2 ด้านเศรษฐกิจ
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................... ................................................................................
....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................... ..........................

155

2.1.3 ดา้ นการพฒั นาสังคม/คณุ ภาพชวี ติ
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................................. .......................
............................................................................................................ ........................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.1.4 ด้านทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.1.5 ดา้ นการศึกษา ศิลปะ ศาสนาและวัฒนธรรม
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
2.2 การวิเคราะห์ปัญหาชุมชนในตาบลของท่านมีจุดอ่อน จุดแข็ง โอกาส และอุปสรรคใน
การขับเคลื่อนการพฒั นาตาบล อย่างไร

2.2.1 ด้านโครงสรา้ งพนื้ ฐาน
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.2.2 ดา้ นเศรษฐกิจ
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................

2.2.3 ดา้ นการพัฒนาสงั คม/คณุ ภาพชวี ติ
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

156

2.2.4 ดา้ นทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ ม
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.2.5 ดา้ นการศึกษา ศลิ ปะ ศาสนาและวัฒนธรรม
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
2.3 การขับเคล่ือนการพัฒนาตาบลของท่านมีการจัดลาดับปัญหาและความต้องการของ
ชมุ ชน หรือไม่ อยา่ งไร (กรณมี ีการดาเนินการข้นั ตอนนี้ ทา่ นสามารถลาดับข้อมลู จาก2.2)
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................... ...............................................................................
2.4 ทา่ นมกี ารวางแผนการดาเนนิ งานและโครงการเพื่อการพฒั นาชมุ ชน หรอื ไม่ อย่างไร

2.4.1 ดา้ นโครงสร้างพนื้ ฐาน
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.4.2 ด้านเศรษฐกิจ
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................... ................................................................................

157

2.4.3 ด้านการพฒั นาสงั คม/คุณภาพชวี ิต
............................................................................................................................. ..............
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................
........................................................................................................................................... .........................

2.4.4 ด้านทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................

2.4.5 ดา้ นการศึกษา ศลิ ปะ ศาสนาและวัฒนธรรม
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................................................................................. ..................
....................................................................................................................................................................
2.5 จากข้อ 2.4 ท่านคิดว่าโครงการใดท่ีสามารถทาให้ตาบลของท่านประสบความสาเร็จ
และมกี ระบวนการดาเนนิ งานอย่างไร
............................................................................................................................. ..............
..................................................................................................................... ...............................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................... ................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
......................................................................................................................................... ...........................
........................................................................................................ ............................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................................................. .......
............................................................................................................................ ........................................
............................................................................................................................. .......................................

158

2.6 ในการดาเนนิ งานโครงการท่านมกี ารประเมินผลการดาเนินงาน หรือไม่ อยา่ งไร
............................................................................................................................. ..............
....................................................................................... .............................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................................ ........................
........ ..........................................................................................................................................................
2.7 ทา่ นมกี ารทบทวนเพื่อแก้ไขปญั หาและอปุ สรรคการดาเนนิ งานเพ่ือขบั เคลือ่ นการ
พฒั นาตาบลของท่าน หรือไม่ อย่างไร
...........................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
......................................................................................................................................................... ...........
........................................................................................................................ ............................................
............................................................................................................................... ....................................
...................................................................................................................................................................
ตอนที่ 3 ผลการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชน ตาบลสันติสุข มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ในพน้ื ทีจ่ ังหวัดยะลา
3.1 ท่านมีผลการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับการส่งเสริมการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง หรอื ไม่ อยา่ งไร
...........................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................. ......
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3.2 ท่านมีผลการดาเนินงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีการประกอบอาชีพ
การผลิตและการตลาด เพือ่ เสริมสร้างรายไดล้ ดรายจ่าย มีเงนิ ออม หรือไม่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3.3 ทา่ นมผี ลการดาเนนิ งานที่เกี่ยวข้องกบั การสนบั สนุนการรวมกลุ่ม การจัดตั้งกลุ่มอาชีพ
สง่ เสริมการเกษตรแบบผสมผสาน หรือไม่ อยา่ งไร
..............................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................ ....
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

159

3.4 ท่านมีผลการดาเนินงานที่เก่ียวข้องกับการพัฒนาแหล่งกระจายสินค้า การสร้าง
มูลค่าเพ่ิมใหก้ บั ผลผลติ ทางการเกษตร การพฒั นาและต่อยอดงานฝมี อื หรือไม่ อยา่ งไร

..............................................................................................................................................
.............................................................................................................................................. ......................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

3.5 ทา่ นมผี ลการดาเนินงานท่ีเก่ยี วขอ้ งกับพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ยี ว หรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
3.6 ท่านมีผลการดาเนินงานท่ีเก่ียวข้องกับการสนับสนุนการเลี้ยงสัตว์เพ่ือการบริโภค
หรอื ไม่ อย่างไร
..............................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 4 ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. ......................

............................................................................................................. .......................................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................................................................................................. ..
............................................................................................................................. .......................................

------------------------------------------------------------

160

แบบสนทนากลมุ่ (Focus. Group)

“รปู แบบการขบั เคล่อื นยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาชมุ ชนตาบลสันติสุข
มนั่ คง ม่ังคั่ง ย่ังยืน ในพ้ืนที่จังหวดั ยะลา”

คาชแ้ี จง
แบบสนทนากลุ่มนี้เป็นสว่ นหนงึ่ ของงานวิจัยศูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนยะลา มีวัตถปุ ระสงค์

เพื่อนาเสนอรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งค่ัง ย่ังยืน
ในพื้นที่จังหวัดยะลา ขอความกรุณาท่านในการพูดคุย ตอบคาถาม ให้ความเห็นตามความจริง คาตอบ
ของท่า นมีคุณค่ ายิ่งต่ อการวิ จัยในค รั้งน้ีแ ละจะเ ป็นประ โ ยช น์ ต่อ การ เสนอ รู ปแบบ การขับ เคลื่อ น
ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาชุมชนตาบลสนั ตสิ ขุ ม่นั คง ม่ังคัง่ ย่งั ยืน ในพน้ื ทีจ่ งั หวดั ยะลา

แบบสนทนากลมุ่ นใ้ี ช้เพื่อนาเสนอรูปแบบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข
มั่นคง มั่งค่ัง ยั่งยืน ในพ้ืนที่จังหวัดยะลา ซ่ึงมีข้อคาถามเก่ียวข้องกับข้อมูลท่ัวไปของสนทนากลุ่ม
ความคิดเห็นของผู้ตอบและข้อเสนอแนะอื่น ๆ คาตอบทั้งหมดจะนาไปใช้ประโยชน์ในการวิจัยเท่าน้ัน
รายละเอยี ดของแบบสมั ภาษณ์ประกอบดว้ ย 3 ตอน คอื

ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไป
ตอนที่ 2 นาเสนอรูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง
มัง่ คั่ง ยง่ั ยืน ในพ้ืนทจี่ งั หวัดยะลา
ตอนที่ 3 ข้อเสนอแนะอ่ืน ๆ

ขอขอบพระคุณท่านเปน็ อย่างยงิ่ ท่ีทา่ นให้ความอนเุ คราะห์ในการสนทนากลุ่ม

คณะวิจยั ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนยะลา

161

ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไป
1. ชื่อ – สกุลผู้ให้สมั ภาษณ์........................................................................................................................
2. ตาแหน่ง........................................................................................เบอร์โทร..........................................
3. ตาบลทที่ ่านสังกัด...................................................................................................................................
4. อาเภอท่ที ่านสงั กดั ............................................................................................................................. ....

ตอนที่ 2 นาเสนอรูปแบบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข ม่ันคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
ในพื้นท่ีจงั หวัดยะลา

รูปแบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสุข มั่นคง ม่ังคั่งยั่งยืน ในพ้ืนที่
จงั หวดั ยะลา ควรมีลักษณะเปน็ อยา่ งไร

...................................................................................... ..............................................................................
............................................................................................................................. .......................................
........................................................................................................................................... .........................
.......................................................................................................... .........................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................ ........................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................................ .......................
................................................................................................................ ....................................................

ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะ
............................................................................................................................. ......................

............................................................................................................................................................... .....
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
....................................................................................................................................................................

------------------------------------------------------------

162

ภาคผนวก ข

หนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเก็บขอ้ มลู วจิ ยั

163

164

165

166

ภาคผนวก ค

หนังสือขอความอนเุ คราะหบ์ ุคลากรรว่ มเป็นที่ปรึกษาวจิ ัย

167

168

ภาคผนวก ง

ภาพประกอบ

169

ภาพประกอบ

การดาเนินงานวิจยั เรอ่ื ง รปู แบบการขับเคลื่อนยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาชุมชนตาบลสันติสขุ
มน่ั คง ม่งั ค่ัง ยง่ั ยืน ในพื้นท่ีจงั หวัดยะลา

170

171

ภาพประกอบ
เครื่องมอื ท่ใี ชเ้ ก็บขอ้ มลู วิจัย ผ่านระบบออนไลน์

172

ภาคผนวก จ

คณะผู้จดั ทารายงานการวิจัยฉบบั สมบูรณ์

173

คณะผจู้ ัดทา

ประเภทเอกสาร รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์

ลักษณะเอกสาร โรเนียวอัดเล่มปกอัดสนั กาว

ชือ่ เอกสาร รูปแบบการขับเคล่ือนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนตาบลสันติสขุ

มน่ั คง มั่งค่ัง ยั่งยืน ในพ้ืนท่ีจังหวดั ยะลา

อาจารยท์ ป่ี รึกษา ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนิ เี พญ็ มะลสิ วุ รรณ

อาจารยป์ ระจาหลักสตู รนเิ ทศศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวทิ ยุกระจายเสยี ง

วิทยโุ ทรทศั น์และส่ือดจิ ิทัล คณะวิทยาการจดั การ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลา

คณะทางานวิจัย นายปญั ญา น่วมประวัติ ผอู้ านวยการศนู ย์ศึกษาและ

พัฒนาชุมชนยะลา

นายนรวีร์ จันทร์สิทธ์ิ นักวชิ าการพฒั นาชุมชนชานาญการ

นางสาวมณฑิรา จุทอง นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ

นายอภิเชษฐ เกดิ มี นกั จดั การงานทัว่ ไปชานาญการ

นายกิตติ ปานแก้ว นักทรัพยากรบุคคลชานาญการ

นางสาวสริ พิ ร สีลาภรณ์ นกั วิชาการพัฒนาชมุ ชนชานาญการ

นางสาวศริ กิ ุล ค้าชู นักทรพั ยากรบคุ คลชานาญการ

นายวรี กติ ต์ิ เพชรโชติ นกั ทรัพยากรบคุ คลชานาญการ

นางสาวมนกันต์ โล้วเจรญิ งาม นักทรพั ยากรบุคคลปฏบิ ตั ิการ

นางสาวสภุ านี เซ่งทอง นกั ทรพั ยากรบคุ คล

นางสาวณัฏฐธิดา มีเถอื่ น นกั ทรพั ยากรบุคคล

คณะทางานรว่ มวจิ ัย สานกั งานพฒั นาชุมชนจังหวัดยะลา

สานกั งานพฒั นาชมุ ชนอาเภอท้ัง 8 อาเภอ

พมิ พ์/รวบรวม/เรียบเรียง นายอทุ ยั พันธ์ สิงห์แก้ว นกั ทรัพยากรบุคคล

ปีที่พิมพ์ พ.ศ. 2564

แหล่งเผยแพร่ 1) สถาบันการพัฒนาชมุ ชน

2) ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนยะลา

3) สานักงานพฒั นาชุมชนจงั หวัดยะลา

จานวน 5 เล่ม

จดั พิมพ์โดย ศูนย์ศกึ ษาและพัฒนาชุมชนยะลา

โทรศัพท์ 0 7327 4498 โทรสาร 0 7327 4499


Click to View FlipBook Version