The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ในหลวงรัชกาลที่ 9 นับเป็นสมบัติอันมีค่าแก่พสกนิกรชาวไทย หนังสือเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการใช้ภาษาที่สะท้อนคุณลักษณะของ "ผู้นำ" จากพระราชดำรัสฯ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสื่อสารในฐานะผู้นำในทุกระดับ อันเป็นการยังประโยชน์แก่สังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงประเทศชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorabud, 2022-05-30 02:49:06

คู่มือภาษาสำหรับผู้นำ : ของขวัญจากในหลวงที่คนไทยลืมนึกถึง

พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ในหลวงรัชกาลที่ 9 นับเป็นสมบัติอันมีค่าแก่พสกนิกรชาวไทย หนังสือเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการใช้ภาษาที่สะท้อนคุณลักษณะของ "ผู้นำ" จากพระราชดำรัสฯ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสื่อสารในฐานะผู้นำในทุกระดับ อันเป็นการยังประโยชน์แก่สังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงประเทศชาติ

คู่มอื ภาษา
สาหรับผู้นา

ของขวัญจากในหลวงที่คนไทยลืมนึกถึง

Language Manual for Leaders

A forgotten gift from King Rama IX

สรบศุ ย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ

ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม ปีงบประมาณ ๒๕๖๔


ธ สถิตในดวงใจ ตราบนิรันดร์

น้อมรำลึกในพระมหำกรณุ ำธคิ ณุ หำทีส่ ดุ มไิ ด้
ข้ำพระพทุ ธเจ้ำ นำยสรบุศย์ รงุ่ โรจน์สวุ รรณ



คู่มอื ภาษาสาหรบั ผูน้ า

ของขวัญจากในหลวงท่ีคนไทยลืมนึกถึง

Language Manual for Leaders
A forgotten gift from King Rama IX

ผลผลติ จำกโครงกำรวิจยั ทนุ Basic Research
สนับสนนุ โดย กองทุนสง่ เสรมิ วทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวตั กรรม ปงี บประมำณ ๒๕๖๔

ลขิ สิทธ์ิ © สรบุศย์ รุ่งโรจนส์ ุวรรณ
[email protected]
พมิ พค์ รง้ั ท่ี ๑ กมุ ภำพนั ธ์ ๒๕๖๕

ออกแบบและรปู เล่ม สรบศุ ย์ รงุ่ โรจน์สุวรรณ
สำนักวชิ ำศิลปศำสตร์ มหำวิทยำลยั แม่ฟ้ำหลวง
๓๓๓ หมู่ ๑ ตำบลท่ำสดุ อำเภอเมอื งเชียงรำย จงั หวัดเชียงรำย ๕๗๑๐๐

พมิ พ์ท่ี ห้ำงหนุ้ สว่ นจำกดั นนั ทกำนต์ กรำฟฟคิ /กำรพิมพ์
๑๒๐ ซอย ๗ ถนนช้ำงเผอื ก ต.ศรภี ูมิ อ.เมืองเชียงใหม่ จงั หวัดเชียงใหม่ ๕๐๒๐๐
ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของสานกั หอสมุดแห่งชาติ

สรบุศย์ รงุ่ โรจนส์ ุวรรณ.
คูม่ ือภำษำสำหรบั ผู้นำ: ของขวญั จำกในหลวงทีค่ นไทยลืมนกึ ถึง = Language
manual for leaders: a forgotten gift from King Rama IX.— เชียงใหม่ :
นันทกำนต์ กรำฟฟคิ /กำรพมิ พ์, 2565.
88 หน้ำ.

1. ผูน้ ำ. 2. ภำวะผนู้ ำ. I. ชอ่ื เรอ่ื ง.

158.4
ISBN 978-616-588-638-3



กติ ตกิ รรมประกาศ

ผู้เขียนขอขอบคุณสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม (สกสว.) ที่สนับสนุนงบประมาณในการจัดทำหนังสือ “คู่มือภาษาสำหรับ
ผู้นำ : ของขวัญจากในหลวงที่คนไทยลืมนึกถึง” ซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของโครงการวิจัย
“ภำษำกับภำวะผู้นำ : กำรวิเครำะห์วัจนลีลำในพระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระ
บรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร เนื่องในโอกำสวันเฉลมิ
พระชนมพรรษำ” ทนุ วจิ ัยพ้ืนฐำน ปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ขอขอบคุณมหำวิทยำลัยแม่ฟ้ำหลวง ที่สนับสนุนด้ำนกำรปฏิบัติกำรต่ำง ๆ ท่ี
ช่วยใหก้ ำรจดั ทำหนังสือเลม่ นส้ี ำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี

ขอกรำบขอบพระคุณครู อำจำรย์ ที่ได้ประสิทธิ์ประสำทวิชำควำมรู้ทำง
ภำษำศำสตร์ ซึ่งเปน็ พ้นื ฐำนทีเ่ ข้มแข็งและสำคัญในกำรต่อยอดเพ่ือผลิตผลงำนวิชำกำร
และวจิ ัยท่ีเป็นประโยชนต์ ่อสงั คม

สุดท้ำย ขอขอบคุณครอบครัวที่ส่งมอบควำมเข้ำใจและกำลังใจให้ผู้เขียนมี
ช่วงเวลำคุณภำพในกำรสร้ำงสรรคง์ ำนวชิ ำกำรเพื่อส่วนรวม



คำนำ

หนังสือเรื่อง “คู่มือภำษำสำหรับผู้นำ : ของขวัญจำกในหลวงที่คนไทยลืมนึก
ถึง” เป็นผลผลิตชิ้นสำคัญจำกโครงกำรวิจัย “ภำษำกับภำวะผู้นำ : กำรวิเครำะห์วัจน
ลีลำในพระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดช
มหำรำช บรมนำถบพิตร เนื่องในโอกำสวันเฉลิมพระชนมพรรษำ” ได้รับทุนสนับสนุน
กำรวิจัยประเภททุนวิจัยพื้นฐำน (Basic Research) จำกสำนักงำนคณะกรรมกำร
ส่งเสริมวทิ ยำศำสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) ปงี บประมำณ พ.ศ. ๒๕๖๔

หนังสือเล่มนี้จัดทำขึ้นด้วยวัตถุประสงค์หลัก ๔ ประกำร ประกำรแรก เพ่ือ
ประโยชน์ในกำรนำไปประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ แบบอย่ำงของกำรใช้ภำษำสำหรบั ผทู้ ่ีมีบทบำทใน
กำรเปน็ ผู้นำสงั คมระดับต่ำง ๆ ประกำรท่สี อง เพอื่ เพิ่มพูนองคค์ วำมรู้ดำ้ นภำษำไทยแก่
วงกำรวิชำกำรด้ำนภำษำศำสตร์และภำษำไทย และให้นักวิชำกำรได้ศึกษำตอ่ ยอดองค์
ควำมรู้ให้กว้ำงขวำงและลึกซ้ึงย่ิงขึน้ ประกำรทส่ี ำม เพอ่ื อนุรักษภ์ ำษำไทยซ่ึงเป็นสมบัติ
อันล้ำค่ำของชำติ และควรค่ำแก่กำรรักษำไว้ให้คงอยู่คู่ชำติไทยตลอดไป และประกำร
สุดท้ำย เพื่อเทิดพระเกียรติพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดช
มหำรำช บรมนำถบพติ ร ผทู้ รงพระคุณอนั ประเสรฐิ และเปน็ ท่ีรกั ยิ่งของปวงชนชำวไทย
เนอื่ งในโอกำสวนั พระรำชสมภพ ๙๕ ปี ๕ ธันวำคม ๒๕๖๕

คุณงำมควำมดีทุกประกำรที่เกิดจำกหนังสือเล่มนี้ ผู้วิจัยขอถวำยเปน็ พระรำช
กุศลแด่ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถ
บพิตร และขอมอบแดบ่ พุ กำรแี ละครอบครวั ขอ้ ผดิ พลำดและบกพรอ่ งใด ๆ ในหนงั สือ
เลม่ นี้ ผู้วจิ ยั ขอน้อมรับไวเ้ พ่อื แกไ้ ขในโอกำสต่อไปด้วยควำมขอบคุณ

สรบุศย์ รงุ่ โรจนส์ ุวรรณ
มกรำคม ๒๕๖๕



สารบญั หนำ้

กิตตกิ รรมประกำศ ๕
คำนำ ๖
สำรบญั ๗
สำรบญั ภำพ ๘
สำรบัญตำรำง ๙
ตอนที่ ๑ ภมู ิหลงั ๑๐
๑ ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๔ : ปัญหำและเหตแุ หง่ ปญั หำ ๑๕
๒ ผูน้ ำกับควำมน่ำเชอ่ื ถือ ๑๙
๓ ภำษำกับผนู้ ำ ๒๙
๔ ทำไมต้องศกึ ษำพระรำชดำรสั ของในหลวงรัชกำลท่ี ๙ ๓๘
ตอนที่ ๒ การใช้ภาษาของผู้นา ๓๙
๕ คุณลักษณะของสำรท่สี ่งเสริมบทบำทหน้ำทข่ี องผนู้ ำ ๔๐
๖ ควำมออ่ นนอ้ มถอ่ มตน (humbleness) ๔๗
๗ ควำมน่ำเช่อื ถือ (reliability) ๕๖
๘ ควำมเปน็ ปึกแผน่ (solidarity) ๖๕
ตอนที่ ๓ บทส่งท้าย ๖๖
๙ บทสรปุ และข้อแนะนำ ๘๒
รำยกำรหนังสอื อำ้ งอิง ๘๖
ดชั นี



สารบญั ภาพ หนำ้
๒๘
ภำพท่ี
๑ กรอบแนวคิดแสดงควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งภำษำกบั ภำวะผนู้ ำ ๖๙
ยุคใหม่
๒ คำเรียกและบทบำทหนำ้ ที่ของคำเรียกในพระบำทสมเดจ็
พระบรมชนกำธเิ บศ มหำภมู พิ ลอดุลยเดชมหำรำช
บรมนำถบพติ ร



สารบัญตาราง

ตำรำงที่ หน้ำ
๑ กำรวิเครำะหเ์ ปรียบเทยี บปำฐกถำกรณีเหตกุ ำรณใ์ นแคว้น ๒๑
ไครเมีย ประเทศยเู ครน ของประธำนำธบิ ดีสหพนั ธรฐั รัสเซีย
และสหรฐั อเมริกำ (Tchaparian, 2016) ๒๒
๒ เคร่ืองมอื ทำงวำทศลิ ป์ (rhetorical devices) ในสุนทรพจน์ ๒๔-๒๕
ของประธำนำธบิ ดีบำรัค โอบำมำ (Fengjie, Jia & Yingying, 2016)
๓ ภำพตวั แทนของประธำนำธบิ ดบี ำรัก โอบำมำและประธำนำธบิ ดี ๒๖
โดนัล ทรมั ป์ ผำ่ นกำรใชส้ รรพนำมและอุปลกั ษณ์ (Mettomӓki,
2017) ๒๗
๔ เปรียบเทยี บกำรใชค้ ำสรรพนำมในพระรำชดำรัสของสมเดจ็ ๓๒-๓๓
พระบรมรำชนิ ีนำถอลิซำเบธที่ ๒ ในเหตกุ ำรณ์สิ้นพระชนมข์ องเจำ้
หญงิ ไดอำนำ่ และวกิ ฤตกำรณร์ ะบำดของไวรัสโควดิ -๑๙ ๓๖
๕ มโนคติ (ideology) เก่ียวกบั ผ้อู พยพจำกพระรำชดำรัสของสถำบัน
พระมหำกษตั รยิ ์ ๓ รำชวงศ์ในสแกนดิเนเวีย (Kjeldsen, 2019)
๖ ควำมสอดคลอ้ งกบั กระบวนทัศน์หลงั สมัยใหม่นิยม ในวำทศลิ ปข์ อง
พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธเิ บศ มหำภมู ิพลอดลุ ยเดชมหำรำช
บรมนำถบพิตร (ทิสวสั ธำรงสำนต,์ ๒๕๖๑)
๗ โครงกำร/แนวคิดในกำรพฒั นำประเทศท่พี บในพระรำชดำรสั
เนอ่ื งในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษำ พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำ
ธิเบศ มหำภมู พิ ลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพติ ร วนั ที่ ๔ ธนั วำคม
(ดัดแปลงจำก ชนิดำ ชิตบัณฑิตย์, ๒๕๕๐ และ สำนกั งำน
คณะกรรมกำรพเิ ศษเพื่อประสำนงำนโครงกำรอันเน่ืองมำจำก
พระรำชดำร,ิ ๒๕๕๙)



ตอนที่ ๑
ภมู หิ ลงั



๑. ประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๖๔ : ปญั หาและเหตแุ ห่งปัญหา

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ได้ทรงมี
พระราชดำรัสพระราชทานแก่คณะบุคคลต่าง ๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคลเนื่องใน
โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน
พระราชวังดสุ ิต เมือ่ วนั พุธที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ ใจความตอนหน่ึงว่า

“ทกุ ๆ สิ่งมชี วี ติ และประเทศไทยกเ็ ป็นประเทศท่ีมชี วี ติ . ระเบยี บการอะไรก็
เปลี่ยนแปลงได้ แล้วถ้าเปล่ียนโดยวธิ พี ูดกนั รู้เร่ือง คือเจรจากนั อยา่ งถกู หลักวชิ าท่แี ท้
ทส่ี ูงกวา่ หลักวชิ าในตำรา กจ็ ะหมดปัญหา. แต่ไมใ่ ช่วา่ เปลี่ยนไปแลว้ ก็เปลย่ี นอย่าง
ตายตัวไปเลย. เม่อื สถานการณ์ไม่อำนวย ก็เปลี่ยนไดโ้ ดยตอ้ งไมท่ ะเลาะกนั อยา่ งหนกั
จนกระทง่ั ใหเ้ สียหาย จนทำให้ประเทศไทยกลับเป็นประเทศท่ีลา้ หลงั ”

(พระราชดำรัส ๒๕๓๔ : ๕๑)

เนื้อหาใจความของพระราชดำรัสข้างต้น สะท้อนให้เห็นถึงแนวพระราชดำริ
เกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนาประเทศ ที่ต้องอาศัยความรักสามัคคีและความร่วมแรง
ร่วมใจ หันหน้าเข้าหากันของคนในชาติ ในการปฏบิ ตั ิกจิ การงานต่างๆ เพ่อื ความลุล่วง
และเพื่อประโยชน์ของประชาชนชาวไทยทุกคน ทรงนำเสนอแนวทางสันติวิธีด้วยการ
หันหนา้ เข้าหากนั เพือ่ ถกเถยี ง (แต่ไม่ทะเลาะ) แสดงความคิดเห็นทแี่ ตกต่างแบบ “พูด
กันรู้เรื่อง” ด้วยการพิจารณาเหตุและปัจจัยตามความเป็นจริงของบริบทสถานการณ์
ที่อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปตามยุคตามสมัย โดยไม่ยึดหลักหรือแนวทางเดิม ๆ แบบ
ตายตัวโดยมองวา่ ไม่สามารถเปลีย่ นแปลงได้ เนื่องจากแนวทางหรอื หลักการที่ยดึ หรอื
ใช้อยู่ในปัจจุบัน อาจไม่สอดคล้องกับสถานการณ์หรือบริบทของสังคมที่เปลี่ยนแปลง
แตกตา่ งไปแลว้ น่นั เอง

แม้ว่าพระราชดำรัสนี้จะทรงพระราชทานไว้ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ หรือ
๓๐ ปีก่อนแต่ก็หาได้ล้าสมัยไม่ เพราะสังคมไทยในปัจจุบันก็ยังคงมีความขัดแย้งทาง

๑๐

ความคดิ ทนี่ ำไปสู่ความแตกแยก ไม่สมานสามคั คีของคนในชาติ และย่งิ ทวีความรุนแรง
ยากท่ีจะประสานรอยร้าวได้ ความไมร่ ว่ มมือร่วมใจกันเพอ่ื พฒั นาประเทศไทยนเ้ี อง ทำ
ใหป้ ระเทศของเราถอยหลังกลบั ไปสู่อดีต กลายเป็นวังวนแหง่ ความถดถอยในทุกมิติ ทั้ง
ดา้ นการเมอื ง เศรษฐกิจ และสังคม

หากพิจารณาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์ของประเทศไทยในช่วงสั้น ๆ
ประมาณสองทศวรรษทผี่ ่านมา จะเห็นได้ว่าสังคมไทยเรม่ิ เกิดความขดั แยง้ ทางความคิด
สืบเนื่องมาจากประเด็นทางการเมือง นำไปสู่การประท้วงของกลุ่มประชาชนบนท้อง
ถนน เกิดการแสดงตนแบ่งเป็นฝ่ายต่าง ๆ ตั้งแต่การแบ่งสีเสื้อ เหลือง-แดง ความ
ขัดแยง้ กระจายบานปลายไปสู่ระดบั ที่เล็กทส่ี ุดในสงั คมคือ ครอบครวั ทท่ี ำงาน เกดิ การ
ต่อสู้ทางความคิด การทะเลาะเบาะแว้งระหว่าง สามี-ภรรยา พ่อ-แม่-ลูก พี่-น้อง
เจา้ นาย-ลูกน้อง เพยี งเพอ่ื ตอ้ งการแสดงจดุ ยืนและเช่ือมั่นในความคดิ เฉพาะของตนเป็น
สำคัญ โดยมิได้เปิดโอกาสให้ความคิดขั้วตรงข้ามเข้ามาแสดงบทบาทในพื้นที่ทาง
ความคิดของตวั เองเลยแมแ้ ต่นอ้ ย

ความขัดแย้งรุนแรงในครั้งนั้น นำไปสู่การปฏิวัติรัฐประหารโดยคณะมนตรี
ความมั่นคงแห่งชาติ (คมช.) ซึ่งประกอบด้วยผู้นำเหล่าทัพ เมื่อวันที่ ๑๙ กันยายน
๒๕๔๙ ต่อมามีการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๕๐ และเข้าสู่
กระบวนการเลือกตั้งตามกติกาใหม่ที่หวังว่าจะนำพาความสงบมาสู่สังคม อย่างไรก็ดี
ปญั หาความขัดแยง้ กย็ ังไม่จบส้ิน เพราะการแก้ไขรฐั ธรรมนูญไม่ไดม้ ุ่งแกท้ ่คี วามขัดแย้ง
ทางความคิด แต่เป็นไปเพียงเพื่อต้องการลม้ ลา้ งอำนาจทางการเมืองของกลุ่มการเมอื ง
เดมิ เท่าน้ัน ความขัดแย้งภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ หลงั การเลอื กตั้ง นำพาให้ประเทศไทย
ต้องมีนายกรัฐมนตรี ถึง ๓ คนในปีเดียว คือ นายสมัคร สุนทรเวช นายสมชาย วงศ์
สวัสดิ์ และนายอภสิ ทิ ธิ์ เวชชาชีวะ

ต่อมาในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๔ เกิดการประท้วงของกล่มุ ประชาชนข้วั ตรง
ข้ามสลับกันไปมากับการขึ้นดำรงตำแหน่งทางการเมืองของฝ่ายบริหารแบบซ้ำซาก
จนกระทั่งในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ภายหลังการเลือกตั้ง ขั้วอำนาจเดิมก่อนการรัฐประหาร
กลับเข้าสู่อำนาจใหม่อีกครั้ง แต่เนื่องด้วยปัญหาการขับเคลื่อนนโยบายจึงเกิดการลุก

๑๑

ฮือของกลุ่มคนที่ไม่เห็นด้วยอย่างกว้างขวาง และท้ายที่สุดประเทศไทยก็กลับเข้าสู่วัง
วนเดิม ๆ เกิดการทำรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ซึ่ง
ประกอบด้วยผู้นำเหล่าทัพอีกเช่นเคย คสช.เข้ามาบริหารประเทศ โดยหัวหน้าคณะ
พล.อ.ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา ซึง่ ตอ่ มาไดร้ ับเลือกจากสภานิติบัญญัติแห่งชาติ ให้ข้ึนดำรง
ตำแหน่งนายกรัฐมนตรี และอยู่ในตำแหน่งจนยาวนานตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๕๗ จนถึง พ.ศ.
๒๕๖๒

รัฐบาลได้ดำเนินการให้มีการร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.
๒๕๖๐ และจัดการเลือกตั้งเมื่อปี พ.ศ.๒๕๖๒ ภายหลังการเลือกตั้ง พล.อ.ประยุทธ์
จนั ทรโ์ อชา ได้กลบั มาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรอี กี ครงั้ จนถึงปัจจุบนั

สิ่งหนึ่งที่คณะรัฐประหารมักอ้างเป็นเหตุผลสำคัญในการกระทำการปฏิวัติ
รัฐประหารน้ันคือ การทุจริต ฉ้อราษฎร์บังหลวงของรฐั บาล และความขัดแย้งของคนใน
ชาติ ประเด็นปัญหาสังคมไทยทั้ง ๒ ดังกล่าวถูกนำมาใช้เป็นวาทกรรมเพื่อสร้าง
ความชอบธรรมในการยึดอำนาจ และเป็นวัตถุประสงค์หลักในการดำเนินนโยบายของ
คณะรฐั ประหารภายหลังการยดึ อำนาจ อย่างไรก็ดี ตลอดสองทศวรรษที่ผ่านมา ไม่ว่า
จะเป็นคณะรัฐประหาร หรือรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งโดยพรรคการเมืองที่จัดตั้ง
รัฐบาล โดยมีคณะรัฐมนตรีและนายกรัฐมนตรีเป็นหัวเรือในการขับเคลื่อนการบริหาร
ประเทศ ก็ยังไม่มีคณะบุคคลใดที่สามารถแสดงใหเ้ ห็นถึงความจริงจังและจริงใจในการ
ดำเนินการเพอ่ื นำไปสูก่ ารสร้างความปรองดองของคนในชาติเลยแมแ้ ต่คณะเดยี ว

ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมา มีการตั้งคณะกรรมการปรองดองหลากหลายคณะ
เพื่อแกป้ ัญหาดังกลา่ ว ไดแ้ ก่

พ.ศ. ๒๕๕๓ คณะกรรมการอสิ ระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพ่ือการ
ปรองดองแหง่ ชาติ (คอป.)

พ.ศ. ๒๕๕๔ คณะกรรมการประสานและตดิ ตามผลการดำเนนิ งานตาม
ขอ้ เสนอแนะของคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและคน้ หา
ความจริงเพอื่ การปรองดองแห่งชาติ (ปคอป.)

พ.ศ. ๒๕๕๔ กรรมาธกิ ารวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้าง

๑๒

ความปรองดองแห่งชาติ (กมธ.ปรองดอง)
พ.ศ. ๒๕๕๗ ศนู ยป์ รองดองสมานฉันทเ์ พอ่ื การปฏิรปู
พ.ศ. ๒๕๕๘ คณะกรรมการศกึ ษาแนวทางการสรา้ งความปรองดอง

สภาปฏิรปู แห่งชาติ
พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการบริหารราชการแผ่นดินตามกรอบการปฏริ ูป

ประเทศ ยทุ ธศาสตร์ชาติ และการสรา้ งความสามัคคปี รองดอง
(ป.ย.ป.)
พ.ศ. ๒๕๖๐ คณะกรรมการเตรยี มการเพอื่ สรา้ งความสามัคคปี รองดอง

อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติเพื่อให้เกิดความปรองดอง ยังแทบไม่เห็นการดำเนนิ
นโยบายตามแนวทางที่คณะกรรมการเหล่าน้ันเสนออย่างเปน็ รูปธรรมเลย มเี พยี งกรณี
การจ่ายเงินเยยี วยาผไู้ ดร้ ับผลกระทบจากการชมุ นมุ ทางการเมือง ชว่ งปี ๒๕๔๘-๒๕๕๓
โดย คอป. เพียงกรณีเดียวเท่านั้น นอกจากนี้ ผลการศึกษาแนวทางการสร้างความ
ปรองดองโดย กมธ.ปรองดองยังนำไปสู่การเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมซึ่ง
เปน็ ตน้ เหตแุ หง่ การรัฐประหารในปี พ.ศ. ๒๕๕๗ อีกดว้ ย

นอกจากน้ี เมอ่ื มเี หตุการณ์ความขัดแย้งโดยกลุ่มคนที่เหน็ ต่างจากคณะรัฐบาล
หรอื ผมู้ ีอำนาจกจ็ ะไม่ไดร้ ับการประสานงานเพ่ือพดู คยุ เจรจาอย่างสนั ติ เพื่อหาทางออก
ลดช่องว่างทางความคิดท่แี ตกต่าง และสร้างหรือค้นหาแนวทางในการสร้างสงั คมท่ีสงบ
และเปน็ สขุ แตก่ ลับกลายเปน็ การแสดงความคิดเหน็ ตอบโต้กนั ไปมาอย่างไมส่ น้ิ สุด ไม่
มีฝา่ ยใดยอมลดลาวาศอก และพดู คุยเจรจาแบบ “พูดกนั รู้เรื่อง” อย่างแท้จรงิ

บอ่ ยครงั้ ที่รฐั กำหนดใหก้ าร “บังคบั ใช้กฎหมาย” เปน็ เคร่อื งมอื ในการยุตคิ วาม
ขัดแย้ง โดยไม่ใส่ใจใน “เนื้อหา” ของความขัดแย้ง ท่ามกลาง “บริบทของสังคมที่
เปลี่ยนแปลงไป” ทำให้กฎหมายซึ่งเป็นเครื่องมือในการกำกับให้สังคมมีความสงบสุข
กลับกลายมาเป็น “เชื้อเพลิง” อย่างดีในการโหมกระพือความขัดแย้งของคนในชาติ
ของพี่น้องชาวไทยท่ีนับว่าเป็นคนในครอบครัวเดียวกันเอง การไม่สามารถก้าวข้าม
ปัญหาดังกล่าว เนื่องด้วย “อัตตาของผู้นำ” นี้เอง ทำให้ประเทศไทยจมอยู่ในปลักของ

๑๓

ปัญหาเดิม ๆ ซ้ำ ๆ ซาก ๆ จนพัฒนาให้เกิดชุดความคิดในหมู่คน ที่ส่วนนหน่ึงมนี ัยเชิง
เรียกร้องความเสมอภาคเท่าเทียม และอีกด้านหนึ่งมีนัยเชิงแบ่งแยกกลุ่มพวกด้วย
แนวคดิ เรอ่ื งชนช้ัน อันนำไปสปู่ มท่ีเปราะบางทางความคิดซ่ึงนบั วันจะหย่ังรากลึกลงใน
จติ ใจของคนไทยและแกไ้ ขไดย้ ากขึ้นเรื่อย ๆ

ในบรบิ ทสงั คมที่ข้อมูลขา่ วสารสามารถส่งถงึ กนั ได้อย่างง่ายดายและรวดเร็วใน
หลายกรณีไม่สามารถสืบค้นที่มาและตัวตนที่แท้จริงของเผยแพร่ข่าวสารได้ ทำให้เกิด
การไหลลื่นของข้อมูลทั้งที่เป็นจริงและเป็นเท็จ ยากแก่การกลั่นกรอง ประกอบกับ
แนวคิดอดุ มคตเิ รอ่ื ง “อิสรภาพและเสรภี าพ” ในฐานะที่เป็น “สทิ ธิพืน้ ฐาน” ของความ
เป็นมนุษย์ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวาง ทำให้ผู้คนติดกับดักของการใช้และเสพ
ข่าวสารอย่างไมล่ ืมหลู ืมตา กลา่ วคือ ขาดวิจารณญาณในการตัดสนิ ความผิด ถกู ดี ชั่ว
และเหมาะสมของเนื้อหาของสาร รวมไปถึงแสดงทัศนะของตนเองที่อยู่บนความเชื่อ
แบบตื้น ๆ โดยขาดการพิจารณากลั่นกรองด้วยเหตุด้วยผลและด้วยความเหมาะสม
บริบทของสังคมและแนวคิดความเชื่อของผู้คนในสังคมไทยปัจจบุ ันจึงเป็นปัจจัยสำคญั
อกี ประการหนงึ่ ทีช่ ่วยสง่ เสริมความขดั แยง้ ทางความคดิ ใหท้ วคี วามรนุ แรงย่ิงขึน้

เมอื่ พิจารณาบริบทของสถานการณป์ ระเทศไทยในปัจจบุ ันท่ีพัฒนามาจากเหตุ
ปัจจัยทั้งหลายดังกล่าวก็พบว่านำไปสู่ปัญหาของสังคมคือเรื่องความขัดแย้งทาง
ความคิด ในทางวิชาการน้นั ไม่อาจปฏิเสธได้วา่ ความคิดมคี วามเชอ่ื มโยงอย่างแนบแน่น
กับ “ภาษา” แนวคิดมักถูกถ่ายทอดออกมาในรูปแบบของภาษา ในขณะเดียวกัน
ภาษาก็เป็นเครื่องมือที่ส่ือความคิดและใช้ในการชี้นำสังคมได้ ผู้เขียนเชื่อว่าหากเรา
ตระหนักถึงคุณวิเศษและความสำคัญของการใช้ภาษา ก็น่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ช่วยขดั
เกลาความคิดความเชื่อ และนำไปสู่การปฏิบัติต่อกันด้วยความสุจริตและมีเมตตา
สุดท้ายจะนำไปสู่การประนีประนอม ปรองดอง อันเป็นองค์ประกอบสำคัญในการ
นำพาประเทศไทยไปออกจากวงั วนแหง่ ความขัดแย้งไดใ้ นท่สี ดุ

๑๔

๒. ผนู้ ำกับความนา่ เชอื่ ถอื

มนุษย์มีธรรมชาติและพื้นฐานในการพึ่งพาอาศัยและอยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ
เปน็ สังคม ความเป็นสัตว์สังคมนำไปสู่การประกอบสร้างกิจกรรมรปู แบบต่าง ๆ ที่เปิด
โอกาสให้เราได้ปฏิสัมพันธ์เพื่อแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ความ
ต้องการต่อกัน ในขณะที่แต่ละบุคคลเองก็มีพื้นฐานของความแตกต่างในระดับปัจเจก
ทั้งในเชิงความคิด บุคลิกภาพ และมุมมองต่อโลก เมื่อต้องมาปฏิสัมพันธ์บนพื้นที่ทาง
สงั คมกห็ ลกี เลย่ี งไม่ได้ท่จี ะตอ้ งมคี วามขดั แยง้ เหน็ ด้วย หรอื เห็นตา่ ง การควบคมุ ให้หมู่
คณะหรือสังคมหนึ่ง ๆ สามารถดำเนนิ กจิ กรรมร่วมกันไดอ้ ย่างราบรนื่ หรือมีปัญหาน้อย
ที่สุดจึงเป็นเรื่องสำคัญและจำเป็น ในประวัติศาสตร์ของมนุษยชาตินั้น มนุษย์ได้สร้าง
เครื่องมือสำคัญ ๒ ประการเพื่อเป็นเครื่องกำกับและควบคุมการดำเนินกิจกรรมทาง
สังคมตนเอง ซึ่งได้แก่ กฎหมายหรือกฎระเบียบ และ ผู้นำ ในขณะที่ “กฎหมาย” เป็น
กรอบที่คนในสังคมกำหนดเป็นแนวทางที่ควรหรือไม่ควรปฏิบัติ เพื่อยังให้สังคมนั้น ๆ
สามารถดำเนินกิจกรรมทางสังคมได้อย่างราบรื่น “ผู้นำ” ก็เป็นเครื่องมืออีกชิ้นหนึ่งที่
สำคญั ไมแ่ พก้ ัน ในการชี้นำหรอื นำพาใหค้ นในสงั คมก้าวเดินไปส่เู ปา้ หมายรว่ มกนั

กฎหมายเป็นบทบัญญัติที่ไร้ชีวิตที่อาจถูกกำหนดให้มีขึ้น แก้ไขเปลี่ยนแปลง
หรอื ยกเลิกไดห้ ากบริบทของสงั คมมีความเปลยี่ นแปลงไปตามเหตปุ ัจจยั ในขณะทผ่ี ู้นำ
หมายถึง ตวั บคุ คล ทไี่ ดร้ บั การคดั เลือกหรือยอมรบั โดยกลุ่มหรือคณะบคุ คลในสังคมแต่
ละระดับ ให้ทำหน้าที่เป็นผู้กำหนดทิศทางและกำกับดูแลความเรียบร้อยของสังคมน้ัน
ผู้นำในควำมเข้ำใจและควำมสนใจของบุคคลทั่วไปและนักวิชำกำรมักเป็นผู้นำที่มี
อำนำจหน้ำที่ในทำงกำรเมืองและสังคม (Gallup International, 2017) นอกจำกน้ี
“ผูน้ ำ” ยังเปน็ บุคคลทเ่ี ปน็ ท่รี จู้ ักหรอื จดจำในทำงประวัตศิ ำสตร์ เปน็ ผู้สร้ำงแรงบนั ดำล
ใจหรือกำรเปลี่ยนแปลงให้กับสังคม ผู้นำไม่จำเป็นต้องเป็นผู้ยิ่งใหญ่หรือมีควำมโดด
เด่นมำตั้งแต่เกิด แต่สำมำรถพัฒนำตนเองจนสร้ำงผลกระทบให้แก่สังคมได้ โพลลีลลี
(Polelle, 2008) จัดกล่มุ ผูน้ ำออกเป็น ๙ กลุ่ม ไดแ้ ก่ นักกำรเมือง (เชน่ ประธำนำธิบดี
วินสตัน เชอร์ชิลล์ แห่งสหรัฐอเมริกำ) ผู้นำทำงศำสนำ (เช่น พระเยซู ศำสดำของ

๑๕

ศำสนำคริสต์) ทหำรหรือนักรบ (เช่น นโปเลียน โบนำปำร์ต) นักคิด (เช่น คำร์ล มำกซ์
นักวิทยำศำสตร์ (เช่น กำลิเลโอ) ผู้หญิง (เช่น โจน ออฟ อำร์ก) นักประดิษฐ์หรือ
เจ้ำของกิจกำร (เช่น โทมัส เอดิสัน) นักกำรทูต (เช่น นำยกรัฐมนตรีแห่งปรัสเซีย อ็อท
โท ฟ็อน บิสมำรค์ ) และศลิ ปนิ (เชน่ ลิโอนำโด ดำ วนิ ชี)

บุคคลที่จะเป็นผู้นำได้นั้นต้องมี “ภำวะผู้นำ” ซึ่งเป็นคุณสมบัติเฉพำะทีบ่ ุคคล
ทั่วไปจะให้กำรยอมรับนับถือและพร้อมที่จะปฏิบัติตำมคำสั่งหรือคำแนะนำเพื่อไปสู่
เป้ำหมำยท้ังในระดับบุคคล ชุมชน และสงั คม มีมมุ มองเกี่ยวกับภำวะผ้นู ำในลักษณะท่ี
หลำกหลำยตำมแนวคิดที่เปลี่ยนแปลงไป (ณัฐณภรณ์ เอกนรำจินดำวัฒน์, ๒๕๖๔:
หน้ำ ๓๑-๓๕) ดงั นี้

ยุคแรก แนวคิดพฤติกรรมนิยม (Behavior approach) แบ่งผู้นำออกเป็น ๒
กลุ่ม คือ ผู้นาที่มีพฤติกรรมมุ่งงานกับผู้นาที่มีพฤตกิ รรมมุ่งความสัมพันธ์ แนวคิดนี้
ใหค้ วำมสนใจกบั กำรศึกษำว่ำ ผ้นู ำที่ประสบควำมสำเร็จมีพฤตกรรมที่แตกตำ่ งจำกผู้นำ
ที่ไมป่ ระสบควำมสำเร็จอยำ่ งไร

ยุคที่สอง หลังทศวรรษที่ ๑๙๖๐ มีกำรศึกษำปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของ
ผู้นำและพบว่ำ ประสิทธิผลของผู้นำขึ้นอยู่กับปัจจัยหลำยประกำรและมีควำมซับซ้อน
ผ ู้น ำที่ดีจึงต้องส ำมำร ถปรับพฤติกร รมให ้เห มำะสมกับสถำน กำรณ์หร ือบริบทท่ี
เปลี่ยนไป จึงเกิดแนวคิดทฤษฎีผู้นาตามสถานการณ์ (Situation approach) และ
เกิดกำรศึกษำปัจจัยที่หลำกหลำยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้นำ รวมถึงกำรปรับ
พฤติกรรมของผนู้ ำใหเ้ หมำะสมกับควำมเปล่ยี นแปลง

ยุคที่สาม หลังจำกปี ค.ศ. ๑๙๘๐ ซึ่งเป็นยุคที่สังคมมีกำรเปลี่ยนแปลงอย่ำง
รวดเร็วและมีกำรแข่งขันที่รุนแรง ได้เกิดแนวคิดเกี่ยวกับผู้นำสมัยใหม่ขึ้น (New
Leadership) โดยภำวะผู้น ำที่เป็นที่นิยมศึกษำได้แก่ ผู้น าการเปลี่ยนแปลง
( Transformational Leadership) แ ล ะ ผ ู ้ น า ท ี ่ ม ี บ า ร ม ี ( Charismatic
Leadership) จุดเด่นที่แตกต่ำงของผู้นำยุคใหม่ คือ กำรเป็นผู้มีวิสัยทัศน์/พันธกิจ มี
ควำมสำมำรถในกำรสร้ำงแรงจูงใจและแรงบันดำลใจ และเป็นผู้ไม่พยำยำมรักษำ
อำนำจ แตม่ อบอำนำจให้ผู้อน่ื เพอ่ื เสรมิ สรำ้ งควำมเช่อื มัน่ ให้แกผ่ ้ใู ตบ้ ังคบั บญั ชำ ผนู้ ำที่

๑๖

เรียกว่ำเป็นผู้นำแห่งกำรเปลี่ยนแปลงหรือผู้นำที่มีบำรมี มักเห็นได้จำกภำวะผู้นำ
ท่ำมกลำงวิกฤตกำรณ์ทำงสังคมและกำรเมืองต่ำง ๆ (Bryman 1992, Davis and
Gardner 2012: 918)

เดวิสและกำร์ดเนอร์ (Davis & Gardner, 2012: 919) เสริมว่ำ ผู้นำที่มีบำรมี
มีพื้นฐำนมำจำกควำมสัมพันธ์ระหว่ำงตัวผู้นำกับผู้ตำม (follower) ควำมสัมพันธ์ที่ดี
ดังกล่ำวนี้เป็นเครื่องมือที่ส่งผลต่อแรงจูงใจที่ผู้นำต้องกำรมอบให้ และในท้ำยที่สุดจะ
ขบั เคล่ือนใหผ้ ู้ตำมเช่อื มนั่ และปฏบิ ัตติ ำมสิง่ ทีผ่ นู้ ำมงุ่ หวงั

สิ่งหนึ่งที่เห็นได้จากแนวคิดเกี่ยวกับลักษณะของ “ภาวะผู้นำ” ในทุกยุคทุก
สมัยคือ ผู้ได้รับบทบาท “ผู้นำ” คือ ผู้ที่ได้รับการยอมรับว่ามีความรูค้ วามสามารถมาก
เพียงพอที่จะนำพาสังคมไปสู่ความเจริญรุ่งเรืองได้ นอกจากความรู้ความสามารถส่วน
บุคคลแล้ว ต้องมีทักษะในการบริหารงานและบริหารคนด้วย เพราะหากไม่สามารถ
บรหิ ารจัดการใหก้ ลุ่มคนในสังคมปฏิบตั ิตามแนวทางท่ีวางไว้ได้อย่างราบรื่น สังคมน้ันๆ
ก็ไม่สามารถพัฒนาให้ก้าวหน้าไปได้ ปัจจัยสำคัญที่จะทำให้คนในสังคมปฏิบัติตาม
แนวทางของผู้นำไดน้ ั้น ตอ้ งเริม่ จากการสร้างความเล่ือมใสศรทั ธาของผ้คู นต่อผนู้ ำ เมื่อ
บุคคลเกิดความศรัทธาแล้วก็จะมีความเชื่อมั่นในแนวทางที่ผู้นำกำหนดหรือสร้างขึ้น
และพร้อมที่จะร่วมก้าวเดินไปตามแนวทางเดียวกันด้วยความมุ่งมั่นโดยเชื่อว่าผู้นำจะ
นำพาพวกเขาไปสเู่ ป้าหมายไดจ้ รงิ

การสร้างความศรทั ธาอันจะนำไปสู่ความนา่ เช่ือถือในตัวผนู้ ำนั้นต้องทำอย่างไร
การศรัทธาในสิ่งสิ่งหนึ่ง (หรือคนคนหนึ่ง) คือการที่เราตระหนักว่าสิ่งหรือบุคคลนั้นมี
คุณค่าต่อตัวเรา ตัวอย่างที่ชัดเจนที่สุดตัวอย่างหนึ่งในบรบิ ทสังคมพุทธแบบไทย ๆ คือ
ความเชื่อความศรัทธาในความศักดิ์สิทธิ์ของพระเครื่อง เราศรัทธาในพระเครื่องจน
นำมาเลี่ยมทองหอ้ ยคอติดตัวเพราะเรามองว่าพระเครื่องนัน้ มคี ุณค่า หรือที่มักเรยี กกนั
ว่า “พุทธคุณ” สามารถช่วยปกป้องเราจากอันตราย หรือรวมถึงช่วงส่งเสริมให้เรามี
ความเจริญรุ่งเรืองประสบความสำเร็จในชีวิต ความศรัทธาในตัวของผู้นำก็ไม่ต่างกัน
เราเชื่อมัน่ ศรัทธาในหัวหน้าหรือผู้นำสงั คมเพราะเราเหน็ ว่าเขามีคุณค่าต่อตัวเรา ทั้งใน

๑๗

เรื่องประโยชนใ์ นทางหน้าทีก่ ารงาน เช่น ช่วยส่งเสริมสนับสนุนใหง้ านของเราก้าวหน้า
ช่วยแกป้ ัญหาหรือสอนงานใหเ้ ราได้ หรือทำใหช้ วี ิตความเปน็ อยู่ของเราดีข้ึนไดน้ ่ันเอง

ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่า คุณสมบัติสำคัญประการหนึ่งของการเป็นผู้นำที่ดี คือ
ความสามารถในการสร้างความเชื่อมั่นและศรัทธาให้กับคนภายใต้การปกครอง ด้วย
การประพฤติปฏิบัติให้บรรดาสมาชิกในสังคมเห็นว่า ตัวของผู้นำนั้นมีคุณค่า และเกิด
ประโยชนต์ อ่ พวกเขาและสังคมโดยรวม

ผู้นำในหนังสือเล่มนี้ หมายรวมถึง ผู้นำในทุกระดับชั้นของสังคม ตั้งแต่ผู้นำ
ครอบครัว ผู้นำชมุ ชน ผนู้ ำองคก์ ร ผู้นำท้องถิน่ ผ้นู ำทางการเมอื ง ผ้นู ำทางความคิด ไป
จนถึงผูน้ ำระดับประเทศ ภายใต้สงิ่ ที่สังคมบัญญัตเิ รยี กดว้ ยภาษาท่แี ตกตา่ งกนั เช่น พ่อ
แม่ ผู้ใหญ่บ้าน เจ้าอาวาส ประธานชุมชน หัวหน้าห้อง หัวหน้าฝ่าย คณบดี อธิการบดี
หัวหน้ากอง ผู้อำนวยการ ประธานกรรมการ CEO นายอำเภอ ปลัดจังหวัด ผู้ว่า
ราชการจงั หวัด ผู้บังคับการ ผู้บัญชาการ อธิบดี รัฐมนตรี ประธานสภา นายกรัฐมนตรี
ฯลฯ

๑๘

๓. ภาษากับผูน้ ำ

ผู้มีความสามารถในการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความคิดมักถูกเรียกว่า เป็นผู้มี
วาทศิลป์ นักปรัชญาและนักวิชาการต่างให้ความเห็นกับคำว่า “วาทศิลป์” ว่าเป็น
ศาสตร์และศิลป์ ที่ถูกใช้เป็นเครื่องมือในการโน้มน้าวใจผู้ฟัง ให้เกิดความเชื่อ และ
ตัดสินใจกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่ผู้พูดต้องการ จึงไม่อาจเป็นการกล่าวเกิน
จริงว่า “ภาษา” คือปัจจัยสำคัญในการสร้างศรัทธาและความเชื่อถือในตัวผู้ใช้ การใช้
ภาษาอย่างชาญฉลาดจะชว่ ยนำพาใหผ้ ู้นำบรรลตุ ามเปา้ หมายที่ตอ้ งการ ในขณะที่ผู้นำ
ที่ขาดทกั ษะหรือไมใ่ ส่ใจกบั รูปแบบหรือศลิ ปะในการใช้ภาษา จะไม่สามารถทำให้ผู้ตาม
หรอื ลูกน้องยอมรับและพร้อมทจ่ี ะปฏบิ ัติตามแนวคิดของตนอยา่ งจรงิ ใจ

การใช้ภาษาถือเป็นทักษะอย่างหนึ่ง การเป็นทักษะมีความหมายโดยนัยว่า
เปน็ สิง่ ท่สี ามารถฝึกฝนได้ แม้วา่ ภาษาจะเป็นคณุ สมบัติประจำตนที่มนษุ ยท์ ุกคนมีตั้งแต่
ยังเล็ก เราสามารถใช้ภาษาในการสื่อสารกับผู้อื่นได้ แต่การใช้ภาษาอย่างมี
ประสิทธิภาพเพื่อให้เกิดประสิทธิผลตามที่มุ่งหวังนั้น ต้องมีการฝึกฝน สังเกต และ
เลือกใช้ใหเ้ หมาะสมตามสถานการณด์ ว้ ย

ในฐานะของผู้นำหรือในมุมมองของผู้ที่ต้องการใช้ภาษาเป็นเครื่องมือให้ได้มา
ซึ่งสิ่งที่ตนคาดหวัง อะไรคือองค์ประกอบสำคัญที่เราควรให้ความใส่ใจ ในการ
เสริมสร้างทักษะทางภาษาหรือสร้างวาทศลิ ป์ นักคิดและนักวิชาการในอดีตไดน้ ำเสนอ
แนวคิดและชี้ให้เห็นถึงตัวอย่างของผู้ที่มีวาทศิลป์ไว้จำนวนไม่น้อย การศึกษาในทาง
วิชาการเกี่ยวกับเรื่องวาทศิลป์มักมุ่งเนน้ ไปที่การใช้ภาษาของชนชั้นผู้นำ เช่น ราชวงศ์
นักการเมือง ผู้นำทางความคิด บุคคลที่ประสบความสำเร็จในหน้าที่การงาน เช่น นัก
ธุรกจิ ผูเ้ ขยี นได้รวบรวมและสรปุ ประเด็นสำคัญไวด้ งั น้ี

ในทางทฤษฎี มกี ารนำเสนอคุณสมบัติหรือองค์ประกอบของความมีวาทศิลป์ที่
สำคญั ๒ กลุ่ม ไดแ้ ก่ ทฤษฎวี าทวทิ ยาของอรสิ โตเติล วาทศิลป์แบบอรสิ โตเตลิ แนวใหม่

ทฤษฎีวาทวิทยาของอริสโตเติล (Aristotle’s Rhetorical Theory) เป็น
ทฤษฎีที่ได้รับการกล่าวถึงมากที่สุดในวงการการศึกษาเกี่ยวกับวาทศิลป์ และเป็น

๑๙

ต้นแบบที่พัฒนาไปสู่ทฤษฎอี ืน่ ๆ ทฤษฎีนี้ได้กำหนดองค์ประกอบของวาทศิลป์วา่ มี ๓
สว่ น คือ ๑) Ethos หมายถงึ คุณสมบัติเชิงคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ทส่ี ร้างความน่าเชือ่ ถือใน
บุคคลหนึ่งในจติ ใจของผู้รับสาร เชน่ คำโฆษณายาสีฟนั โดยทันตแพทย์ท่มี ีประสบการณ์
สูง และเป็นที่รู้จักระดับโลกอาจทำให้เราเชื่อถือในสรรพคุณของยาสีฟันนั้นมากกว่า
การใช้คนทั่วไปมาเป็นพรีเซนเตอร์ ๒) Pathos หมายถึงคุณภาพของการนำเสนอสาร
ที่มีผลต่อความรู้สึกของผู้รับสาร เช่น การใช้ข้อมูลการวิจัยหรือข้อมูลสถิติทาง
การแพทย์ประกอบการโฆษณาว่า หากใช้ยาสีฟันยี่ห้อหนึ่งแล้วจะช่วยทำให้ฟันขาว
แข็งแรง ก็จะมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของลูกค้า หากเปรียบเทียบกับยาสีฟันยี่ห้อ
อื่นที่มีเพียงการกล่าวอ้างว่ายาสีฟันยี่ห้อนี้ยี่ห้อนั้นดี และ ๓) Logos หมายถึง การใช้
ตรรกะในการโต้แย้ง การใช้ภาษาทีถ่ า่ ยทอดร้อยเรียงข้อเท็จจริง หลกั ฐาน ข้อเสนอแนะ
อยา่ งเปน็ เหตุเป็นผล จะช่วยทำใหส้ ารนั้นมีความน่าเช่ือถือมากยิ่งข้ึน ตรงกันข้าม หาก
ผู้ส่งสารกล่าวนอกประเด็น หรือไม่แสดงเหตุผลอย่างเป็นตรรกะ ก็จะกลายเป็นการ
ลดทอนความนา่ เช่อื ถอื ในตัวเองลง

ตัวอย่างการศึกษาวิจัยที่ใช้แนวคิดนี้ ได้แก่ งานของ ทชาพาเรียน
(Tchaparian, 2016) ท่ีวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบปาฐกถาของประธานาธบิ ดีวลาดิมีร ปูติน
แห่งสหพันธรัฐรสั เซีย และนายบารัก โอบามา แห่งสหรัฐอเมรกิ า ที่กล่าวเกี่ยวกับกรณี
เหตุการณ์ความขัดแย้งในแคว้นไครเมีย ประเทศยูเครน เมื่อต้นปี ค.ศ. 2514 โดย
รัสเซียมีจุดยืนที่จะส่งกองกำลังทหารเข้าไปปราบปรามในประเทศยูเครน ในขณะท่ี
สหรัฐอเมริกาเห็นว่าเรื่องดังกล่าวเป็นการก้าวก่ายกิจการภายในประเทศยูเครน ดัง
แสดงในตารางที่ ๑

๒๐

ตารางท่ี ๑ การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บปาฐกถากรณเี หตุการณใ์ นแควน้ ไครเมีย ประเทศยเู ครน

ของประธานาธบิ ดีสหพนั ธรฐั รสั เซยี และสหรัฐอเมรกิ า (Tchaparian, 2016)

ลาดบั กรอบการวเิ คราะห์ นายวลาดิมรี ปตู นิ นายบารกั โอบามา

๑ Ethos – ควำม ๑. แสดงควำมเหน็ ใจควำม ๑. แสดงควำมเหน็ อกเหน็

นำ่ เช่อื ถือ/ควำมชอบ ยำกลำบำกของชำวไครเมีย ใจและควำมปรำรถนำดี

ธรรมในเชิงจรยิ ธรรม ๒. แสดงว่ำรสั เซียพร้อมเขำ้ ต่อชำวไครเมยี

ไปช่วยเพือ่ นำสวสั ดภิ ำพ ๒. ไม่ว่ำประเทศใดกต็ ำม

กลบั คนื มำ จำกรฐั บำลกลำง ไม่ควรเข้ำไปก้ำวกำ่ ย

ของยเู ครน ตำมทไ่ี ครเมีย กจิ กำรภำยในของยูเครน

รอ้ งขอ

๒ Pathos – คณุ ภำพของ ๑. สรำ้ งควำมม่นั ใจวำ่ รัสเซยี รสั เซยี พยำยำมสร้ำงภำพ

เนื้อหำที่กระทบตอ่ จติ ใจ ทำเพ่ือชำวไครเมยี วำ่ เหตกุ ำรณน์ ไี้ มใ่ ชเ่ รื่อง

ผฟู้ งั ๒. ยกตวั อย่ำงทหำรรัสเซยี ท่ี ใหญ่ (ทำให้รสั เซยี ถกู มอง

ตำยเพือ่ ปกป้องยเู ครนไว้ ในแง่ลบ และสรำ้ งมุมมอง

ในช่วงสงครำมโลกครง้ั ที่ ๒ ทำงบวกต่อชำตติ ะวนั ตก

ใหก้ บั ชำวยเู ครน)

๓ Logos – ควำม ชำตติ ะวนั ตกเปน็ สำเหตุให้ กำรบุกยึดไครเมยี ของ

นำ่ เช่อื ถือและเปน็ เหตุ เกดิ ปัญหำเศรษฐกิจและ รัสเซยี เปน็ เหมือนกำร

เป็นผลของสำร สงั คมในไครเมยี จนนำไปสู่ ประกำศสงครำม

เหตกุ ำรณ์ในปจั จุบนั

จะเห็นได้ว่า การวิเคราะห์ตามแนวทฤษฎีวาทวิทยานี้เป็นการอธิบายเนื้อหา
ของปาฐกถาผู้นำว่าได้สร้างประเด็นที่สอดคล้องกับองค์ประกอบทั้ง ๓ ด้านของทฤษฎี
เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ และความชอบธรรมในความคิดของตนเองอย่างไร โดยไม่ได้
เจาะลกึ หรือพิจารณาถึงรูปภาษาหรือถ้อยคำท่ผี ้นู ำใชใ้ นการนำเสนอสาร

ทฤษฎีวาทวิทยาของอริสโตเติลได้ถูกพัฒนาต่อมาโดยมีการต่อยอดลง
รายละเอียดในแง่มุมของตัวภาษา เป็นวาทศิลป์แบบอริสโตเติลแนวใหม่ (Neo-
Aristotle Rhetoric) ที่มุ่งนำเสนอเครื่องมือทางภาษาใน ๓ ระดับ ได้แก่ เครื่องมือ
ระดับเสียง (phonological devices) เครื่องมือระดับคำ (lexical devices) และ

๒๑

เครื่องมือระดับวากยสัมพันธ์ (syntactic devices) ซึ่งนักวิจัยบางท่านจัดว่าเป็น
วาทศลิ ป์ยุคใหม่ (Modern Rhetoric)

การศึกษาในยุคหลังน้ีใหค้ วามสำคัญกับรปู ภาษา ทางเลือกในการใช้เครื่องมอื
ทางภาษาเป็นสำคัญ เช่นตัวอย่างการวิเคราะห์เครื่องมือทางวาทศิลป์ (rhetorical
devices) ในสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีบารัก โอบามา โดย เฟิงจีและยิงยิง
(Fengjie, Jia & Yingying, 2016) ดงั แสดงในตารางท่ี ๒

ตำรำงที่ ๒ เคร่อื งมือทำงวำทศลิ ป์ (rhetorical devices) ในสนุ ทรพจน์

ของประธำนำธิบดบี ำรัก โอบำมำ (Fengjie, Jia & Yingying, 2016)

เครือ่ งมือ ประเภทย่อย ตวั อยา่ ง

๑. ดา้ นเสียง กำรซ้ำเสยี ง “Instinctively, they knew that it was safer

(phonological (Alliteration) and smarter to stay at home.”

devices) เสียงตน้ หรอื

พยำงค์ต้น “I believe we can provide the jobs to the

jobless, home to the homeless.”

พยำงคท์ ้ำย “They are full of dancing, clapping,

screaming and shouting that may seem

jarring to the untrained ear.

๒. ด้านคา อปุ มำ “America, which stood as a beacon of

(lexical devices) (Simile) freedom and opportunity to so many who

had come before.”

(เปรยี บเทยี บสหรัฐอเมริกำกบั สถำนคี วบคุม

กำรจรำจร “beacon” เพอ่ื ตอ้ งกำรสื่อว่ำ

สหรฐั อเมริกำเปน็ ควำมหวังและเปน็ ผู้ให้โอกำส

และนำทำง เป็นกำรเชือ่ มโยงเข้ำกบั โอกำสท่ี

ครอบครัวของเขำไดร้ ับจนไดเ้ ดินทำงมำถึงปัจจบุ นั )

อปุ ลักษณ์ “On behalf of the great state of Illinois,

(Metaphor) crossroads of a nation, land of Lincoln, let

๒๒

๓. ดา้ น me express my deep gratitude for the
วากยสัมพนั ธ์ privilege of addressing this convention.”
(syntactic (เปรยี บเทยี บมลรัฐอลิ ลนิ อยส์กบั ทำงแยก
devices) (“crossroads”) เพ่อื ให้ส่อื ว่ำมลรฐั ดงั กลำ่ วเปน็ จดุ
เชอื่ มตอ่ ทำงภมู ิศำสตร์ทส่ี ำคญั เปรยี บเทียบกับตัว
ของเขำเองทีจ่ ะเข้ำมำเช่ือมโยงชำวอเมรกิ ันเข้ำ
ดว้ ยกนั )
นำมนยั “They don’t want their tax money wasted
(Metonymy) by a welfare agency or the Pentagon.”
(เพนทำกอน (Pentagon) คอื ตกึ บัญชำกำร
กระทรวงกลำโหม ถกู นำมำอำ้ งถงึ รัฐบำล
สหรฐั อเมรกิ ำซ่ึงเปน็ ผูบ้ รหิ ำรกำรนำเงินภำษี
ประชำชนมำใช)้
อนนุ ำมนัย “They are full of dancing, clapping,
(Synecdochy) screaming and shouting that may seem
jarring to the untrained ear.”
(คำว่ำ “untrained ear” ถูกนำมำใชเ้ พ่ือหมำยถงึ
กลุม่ คนทีไ่ มค่ อ่ ยเข้ำรว่ มกจิ กรรมของโบสถ์ และไม่
สำมำรถปรบั ตัวเองเขำ้ กบั บรรยำกำศทต่ี อ้ งมีกำรใช้
เสียงเช่น เต้นรำ ปรบมือ ร้องตะโกนตำ่ ง ๆ ซ่ึงเป็น
กิจกรรมหนงึ่ ในโบสถ์ได)้
กำรใชส้ งิ่ ตรงขำ้ ม “We need to show our kids that you’re
(Antithesis) not strong by putting other people
down—you’re strong by lifting them up
โครงสรำ้ งขนำน “There is more work to be done, more
(Parallelism) justice to had, more barriers to break.”
(ใช้โครงสรำ้ งคขู่ นำน “more…to be…” เพือ่ เนน้
ยำ้ ส่งิ ท่ีตอ้ งทำเพมิ่ ขึน้ )

๒๓

นอกจากนี้ยังมีการเช่ือมโยงใหเ้ ห็นว่า รูปภาษาหรือเครื่องมือทางวาทศิลป์นัน้
ถูกนำไปใช้เพื่อสะท้อนมุมมองของผู้นำอย่างไร เช่น กรณีการศึกษาเปรียบเทียบภาพ
ตัวแทน (representations) ของประธานาธิดีบารัก โอบามา และประธานาธิบดีโดนลั
ทรัมป์ ผ่านการใช้คำสรรพนามและอุปลักษณ์ในสุนทรพจน์วันเข้ารับตำแหน่ง
ประธานาธบิ ดี (inaugural speech) ดังแสดงในตารางท่ี ๓

ตำรำงท่ี ๓ ภำพตวั แทนของประธำนำธบิ ดบี ำรัก โอบำมำและ ประธำนำธบิ ดีโดนลั ทรัมป์

ผ่ำนกำรใช้สรรพนำมและอุปลักษณ์ (Mettomӓki, 2017)

รูปภาษา ประธานาธบิ ดบี ารัก โอบามา ประธานาธิบดีโดนลั ทรัมป์

สรรพนาม we, our (inclusive) หมำยถงึ ทุกคน เพอ่ื we, our (inclusive) หมำยถึง ประเทศ

เน้นและกระต้นุ ควำมรสู้ ึกควำมเปน็ พวกพอ้ ง you-they (ชำวอเมรกิ ัน-นกั กำรเมือง)

เดียวกนั ของอเมริกันชน you (exclusive) คนทไ่ี มไ่ ด้อยูใ่ นทชี่ ุมนุม

we-they (คนรุ่นเก่ำ-คนร่นุ ใหม)่ เพื่อเนน้ ให้ ในวนั กล่ำวสนุ ทรพจน์

เกดิ ควำมร่วมมอื กันไปสู่เปำ้ หมำยเดยี วกัน I-you (ทรมั ป์-ชำวอเมรกิ ัน)

you หมำยควำม ถึงโลกมสุ ลิม โดยมี we-they (ชำวอเมริกัน-ชำวต่ำงประเทศ)

ควำมหมำยแฝงในเชิงลบ (negative พบวำ่ ประธำนำธิบดีทรัมปใ์ ชส้ รรพนำม

connotation) แบ่งแยกคนออกเป็นกลุ่มๆ ตลอดเวลำ ทำ

ใหเ้ กดิ ควำมรสู้ กึ แบ่งฝักแบ่งฝ่ำยตลอดกำร

กล่ำวสุนทรพจน์

อุปลกั ษณ์ อปุ ลักษณท์ ปี่ รำกฏในคำปรำศรยั ของ ประธำนำธิบดที รัมป์ใชอ้ ุปลกั ษณป์ ระเภทท่ี

ประธำนำธบิ ดโี อบำมำสว่ นใหญเ่ ปน็ อุปลกั ษณ์ มงุ่ แสดงควำมเห็นอกเหน็ ใจ (Empathetic

ประเภททม่ี งุ่ แสดงควำมเหน็ อกเหน็ ใจ Purpose) เช่นกนั แต่ใช้ในบริบทเชงิ ลบ

(Empathetic Purpose) ซึ่งเปน็ อปุ ลักษณท์ ่ี (negative context) ซงึ่ เปน็ บริบททไ่ี ม่

ใช้กระตุน้ ควำมรู้สกึ ร่วมเชิงบวกของผูฟ้ ังใหม้ ี ปกติของกำรใช้อุปลกั ษณป์ ระเภทน้ี ดงั

ควำมหวงั ดงั แสดง แสดง

“…We remain a young nation, but in “…But for too many of our citizens,

the words of the Scripture, the time a different reality exists: mothers

has come to set aside childish things. and children trapped in poverty in

The time has come to reaffirm our our inner cities, rusted out factories

๒๔

enduring spirit; to choose our better scattered like tombstones across
history; to carry forward that precious the landscape of our nation…”
gift, that noble idea, passed on from
generation to generation: the God-
given promise that all are equal, all
are free, and all deserve to pursue
their full measure of happiness...”

นอกจากผู้นำสังคมที่เป็นนักการเมืองแล้ว ยังมีบางประเทศในโลกที่มีระบอบ
การปกครองท่มี สี ถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสญั ลักษณะ และเป็นศนู ย์รวมจิตใจของคน
ในชาติ โดยส่วนมากสถาบันพระมหากษัตริย์จะมีบทบาทในการดำรงรักษาไว้ซึ่งอัต
ลักษณ์และเอกลักษณ์ของชาติที่สืบทอดต่อเนื่องมายาวนานในทางประวตั ิศาสตร์ และ
เป็นผู้ยึดโยงให้คนในชาติเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน มีการศึกษาวาทศิลป์ของราชวงศ์
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบทวีปยุโรป ซึ่งพระมหากษัตริย์หรือสมเด็จ
พระบรมราชินีนาถรวมถึงพระบรมวงศานุวงศ์จะได้มีพระราชดำรัสในโอกาสหรือ
สถานการณ์สำคัญ รวมทัง้ ในวิกฤตการณ์ทางสังคม เพ่อื ใหแ้ นวคิดเป็นกำลังใจแก่พสก
นิกร ตัวอย่างเช่น การศึกษาเปรียบเทียบพระราชดำรัสของสมเด็จพระบรมราชินีนาถ
อลิซาเบธที่ ๒ แห่งสหราชอาณาจักร ในเหตุการณ์สิ้นพระชนม์ของเจ้าหญิงไดอานา
และวิกฤตการณ์ระบาดของไวรัสโคโรนา (โควิด-๑๙) โดยคาสซาโบวา (Kassabova,
2020) ดงั แสดงในตารางที่ ๔

๒๕

ตารางที่ ๔ เปรยี บเทยี บการใชค้ ำสรรพนามในพระราชดำรสั ของสมเดจ็ พระบรมราชินีนาถ

อลซิ าเบธท่ี ๒ ในเหตกุ ารณส์ ้นิ พระชนม์ของเจ้าหญิงไดอานา

และวิกฤตการณร์ ะบาดของไวรัสโควิด-๑๙ (Kassabova, 2020)

เหตุการณ์ การใช้คำสรรพนามบรุ ษุ ที่ ๑ “I” (แทนพระองคเ์ อง)

การสิน้ พระชนม์ของ ทรงใช้สรรพนำมบรุ ุษท่ี ๑ เอกพจน์ “I” ในปริมำณคอ่ นขำ้ งมำกในพระ

เจา้ หญงิ ไดอานา รำชดำรสั ถงึ เหตกุ ำรณก์ ำรสน้ิ พระชนมข์ องเจำ้ หญงิ ไดอำนำ (“I want

to pay tribute to Diana myself.”) ทัง้ นี้ อำจเนอื่ งจำกสมเด็จพระ

บรมรำชินีต้องกำรแสดงวำ่ พระองคม์ คี วำมสมั พันธเ์ กย่ี วข้องกับเจ้ำหญงิ

โดยตรง ทงั้ ยงั ทรงยอมรบั และตระหนกั ในคณุ คำ่ ของเจำ้ หญิงไดอำนำ (“I

admired and respected her…”)

วกิ ฤตการณ์ระบาด ทรงใชส้ รรพนำม “I” ในชว่ งตน้ และใช้คำ “fellow feeling” เพ่อื ทรง

ของไวรัสโควดิ -๑๙ แสดงควำมเหน็ อกเห็นใจทุกคนในฐำนะส่วนพระองคเ์ อง กอ่ นทจี่ ะ

เปล่ียนไปใช้สรรพนำมบุรุษท่ี ๑ พหพู จน์ “We” และ “us” ทห่ี มำย

รวมถึงพระองคเ์ องและพสกนกิ ร เพอื่ แสดงใหค้ วำมเป็นอันหน่งึ อัน

เดยี วกนั และมสี ว่ นร่วมในวกิ ฤตกำรณ์น้ี (“I am speaking to you at

what I know is an increasingly challenging time…This time

we join with all nations across the globe in a common

endeavour, using the great advances of science and our

instinctive compassion to heal. We will succeed – and that

success will belong to every one of us.)

นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยเกี่ยวกับวาทศิลป์ของราชวงศ์ในกลุ่มประเทศ
สแกนดิเนเวีย ๓ ประเทศ ได้แก่ ราชอาณาจักรเดนมาร์ก ราชอาณาจักรนอร์เวย์ และ
ราชอาณาจักรสวีเดน เกี่ยวกับกรณีผู้อพยพระหว่างปี ค.ศ. ๑๙๗๒-๒๐๑๗ โดย เคล
เซน (Kjeldsen, 2019) ซึ่งแสดงให้เห็นวา่ ทุกราชวงศ์ทรงมีทัศนคติในเชิงบวกต่อกลุ่มผู้
อพยพในสแกนดิเนเวีย และทรงเรียกร้องให้ประชาชนเปิดใจยอมรับในความแตกต่าง
เหน็ ใจ และชว่ ยเหลอื ผอู้ พยพ ดงั แสดงในตารางที่ ๕

๒๖

ตำรำงท่ี ๕ มโนคติ (ideology) เกยี่ วกบั ผู้อพยพจำกพระรำชดำรสั

ของสถำบันพระมหำกษตั รยิ ์ ๓ รำชวงศ์ในสแกนดเิ นเวีย (Kjeldsen, 2019)

สมเด็จพระราชาธิบด/ี สมเดจ็ มโนคติ

พระบรมราชินีนาถ

สมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถมากาเรเธอร์ Denmark: A Rooted Nation, From Scolding

(ราชอาณาจกั รเดนมาร์ก) the Danes to Making Demands of Immigrants

สมเด็จพระราชาธิบดีคารล์ กุสตาฟ Norway: A Rights Nation. We are Multicultural

(ราชอาณาจกั รสวีเดน)

สมเดจ็ พระราชาธิบดโี อลาฟ Sweden: An Immigrant Nation. We Have

(ราชอาณาจกั รนอร์เวย)์ Been Formed by Immigrants and the Outside

World

จากการศึกษางานวิจัยเก่ียวกับการใช้ภาษาของผู้นำดังกล่าว จะเห็นได้ว่า
ภาษาเป็นเครื่องมือสำคัญชิ้นหนึ่งที่ผู้นำหยิบยกมาให้เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี
ระหว่างตัวผู้นำเองกับสมาชิกในสังคม เพราะหากเกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างกัน
แลว้ ก็จะนำมาซึง่ ความศรัทธาเช่ือมน่ั ในตวั ผ้นู ำ ทำใหผ้ ้นู ำสามารถบริหารสถานการณ์
และสังคมให้เป็นไปในทิศทางที่ต้องการ ดังนั้นการสร้างศรัทธาจึงเป็นปัจจัยที่สำคัญ
ที่สุดที่จะส่งเสริมให้ผู้นำในยุคใหม่ประสบความสำเร็จในบทบาทหน้าที่ของตน ในการ
ขับเคลื่อนชุมชนและสังคมให้ก้าวเดินไปสู่เป้าหมายได้อย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพ ดัง
แสดงในกรอบแนวคดิ ในภาพท่ี ๑

๒๗

ภำษำทใ่ี ช้
คุณลักษณะ
ควำมสัมพันธท์ ด่ี รี ะหวำ่ งผ้นู ำและประชำชน
ควำมศรัทธำและกำรสนบั สนุนจำกประชำชน
กำรเปลยี่ นแปลง/กำรพฒั นำ
ผูน้ ำยุคใหม่
ภำพที่ ๑ กรอบแนวคดิ แสดงควำมสมั พันธร์ ะหวำ่ งภำษำกบั ภำวะผนู้ ำยคุ ใหม่

๒๘

๔. ทำไมต้องศกึ ษาพระราชดำรัสของในหลวงรัชกาลที่ ๙

ประวัติศำสตร์ไทยถูกแบ่งเป็นยุคสมัยตำมศูนย์กลำงกำรปกครองหรือ
อำณำจักร โดยบำงตำรำเรียกว่ำ “ยุค” โดยแบ่งเป็น ๔ ยุคสำคัญ ได้แก่ สุโขทัย
อยุธยำ ธนบุรี และรัตนโกสินทร์ กลุ่มชนชั้นผู้นำในสังคมในสังคมไทยทุกยุคทุกสมัย
ประกอบด้วยชนชัน้ กษตั ริยแ์ ละขุนนำง ยคุ สมัยหรอื รัชสมยั เปลย่ี นแปลงไปตำมกษัตริย์
ผู้ปกครองบ้ำนเมือง ในขณะเดียวกันในบำงยุคเช่นอยุธยำนั้น ชนชั้นขุนนำงเข้ำมำมี
บทบำทมำกขึ้นและมีกำรช่วงชิงรำชบัลลังก์และสถำปนำตนเองขึ้นเป็นกษัตริย์ดังเช่น
กำรสถำปนำรำชวงศ์ต่ำง ๆ ในอำณำจักรอยุธยำตลอดชว่ งระยะเวลำ ๔๑๗ ปีมีกษัตริย์
สับเปลี่ยนหมุนเวียนขึ้นปกครองใน ๕ รำชวงศ์ คือ รำชวงศ์อู่ทอง รำชวงศ์สุพรรณภูมิ
รำชวงศ์สุโขทัย รำชวงศ์ปรำสำททอง และรำชวงศ์บ้ำนพลูหลวง กำรก้ำวเข้ำสู่ชนช้ัน
ผู้นำของสังคมไทยเกิดจำกปัจจัยสำคัญ ๓ ประกำร คือ (๑) กำรประกอบคุณงำมควำม
ดีด้วยกำรสร้ำงชำติหรือกู้ชำติ (๒) กำรสืบทอดรำชสมบัติ และ (๓) กำรแย่งชิงอำนำจ
(พนู ศกั ด์ิ ศักดำนุวัฒน์, มปป., สถำบนั พระปกเกล้ำ, ๒๕๕๒)

บทบำทและหน้ำทข่ี องสถำบันกษตั ริย์ในอดีต คอื กำรเป็นผู้นำด้ำนกำรศึกและ
กำรปกครอง สถำนะของพระมหำกษัตริย์เปลี่ยนแปลงไปตำมยุคสมัย ในยุคสุโขทัย
พระมหำกษัตริย์เปรียบเสมือน “พ่อ” ที่ปกครอง “ลูก” คือ รำษฎร เป็นแนวคิดกำร
ปกครองแบบครอบครัว ที่ประชำชนมีควำมใกล้ชิดกับสถำบันเนื่องจำกรัฐสุโขทัยยัง
เป็นเพียงรัฐเล็ก ๆ ต่อมำในสมัยอยุธยำ อำณำจักรไทยและอำณำจักรใกล้เคียงมีกำร
ปะทะเพื่อแย่งชิงดินแดนและทรัพยำกรอย่ำงต่อเนื่อง ทำให้อำณำจักรต้องกำรขยำย
อำนำจและสร้ำงควำมเป็นปึกแผ่น จึงได้แนวคิด “กษัตริย์คือสมมติเทพ” เข้ำมำเพื่อ
ประกอบสร้ำงให้พระมหำกษัตริย์มีอำนำจสมบูรณ์ (absolute power) เป็นเจ้ำชีวิต
เป็นเจ้ำของแผ่นดิน (สถำบันพระปกเกล้ำ : ๒๕๕๒, หน้ำ ๖) ทำให้สถำบันกษัตริย์
กลำยเปน็ ศนู ยก์ ลำงของสงั คมและชำตไิ ทยไปโดยปริยำย

ระบอบกำรปกครองแบบสมมติเทพหรือสมบูรณำญำสิทธิรำชย์ยังคงสืบทอด
ต่อมำจนถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนปลำย ในรัชสมัยของพระบำทสมเด็จพระปกเกล้ำ

๒๙

เจ้ำอยหู่ วั เกิดกำรเปล่ียนแปลงระบอบกำรปกครองโดยคณะรำษฎร์ เม่ือปี พ.ศ. ๒๔๗๕
โดยกำหนดให้ “รัฐธรรมนูญ” เป็นกฎมำยสูงสุดในกำรปกครองประเทศโดยอำนำจ
สูงสุดเป็นของประชำชน เกิดระบบกำรเลือกตั้งตัวแทนของประชำชนเข้ำมำบริหำร
กิจกำรบ้ำนเมือง ในขณะที่บทบำทหน้ำที่ของพระมหำกษัตริย์และสถำบันกษัตริย์ถูก
กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ โดยทรงใช้พระรำชอำนำจผ่ำนผู้แทนปวงชน โดยรัฐบำล
คณะรัฐมนตรซี ่ึงมผี บู้ รหิ ำรสูงสุดคือนำยกรฐั มนตรี จำกกำรเปลยี่ นแปลงดังกล่ำวทำให้
เกิดกลุ่มชนชั้นผู้นำใหม่ภำยหลังกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองนอกเหนือจำก
พระมหำกษัตริย์ กลุ่มข้ำรำชกำรกำรเมืองและข้ำรำชกำรประจำมีอำนำจมำกข้ึน
เนื่องจำกมีบทบำทในกำรบริหำรประเทศและมีสิทธิในกำรเข้ำถึงทรัพยำกรต่ำง ๆ ได้
“ผู้นำ” ในยุคใหม่จึงกลำยเป็นบุคคลหรือประชำชนทั่วไปที่มีควำมสำมำรถในกำรเข้ำ
มำมีบทบำทในทำงกำรเมืองกำรปกครอง

อย่ำงไรก็ดี ถึงแม้ว่ำอำนำจของสถำบันกษัตริย์หรือพระมหำกษัตริย์จะถูก
กำหนดโดยรฐั ธรรมนญู ให้มบี ทบำทและหนำ้ ท่ีท่ีจำกดั แตด่ ว้ ยปจั จัยทำงวัฒนธรรมและ
ประวัติศำสตร์ที่ผูกพันกับสถำบันพระมหำกษัตริย์ มำอย่ำงยำวของไทย ทำให้
พระมหำกษัตริย์ไทยยุคหลังกำรเปลี่ยนแปลงกำรปกครองยังคงได้รับกำรเคำรพนับถือ
และเทดิ ทูนในฐำนะศนู ยร์ วมใจของคนในชำติ

พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถ
บพิตร เปน็ พระมหำกษตั ริย์ยุครัตนโกสินทร์ ลำดบั ท่ี ๙ แหง่ รำชวงศ์จักรี ทรงครองรำช
สมบัตินำนถึง ๗๐ ปี ยำวนำนท่สี ุดในประวัติศำสตร์ไทย ทรงเปน็ ผนู้ ำในฐำนะประมุข
ของประเทศไทยที่มีกระบวนทัศน์แตกต่ำงจำกแนวคิดเดิมซึ่งแสดงจำกผลงำนด้ำน
ทัศนศิลป์ วำทศิลป์ และวรรณศิลป์ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งในด้ำนวำทศิลป์ จำกกำรศึกษำ
พระรำชดำรัสในโอกำสต่ำงๆ ทิสวัส ธำรงสำนต์ (๒๕๖๑) พบว่ำ พระองค์ทรงปฏิเสธ
องค์ควำมรู้ด้ำนกำรพัฒนำที่ต้องมีเพียงทุนนิยมเพียงด้ำนเดียว แต่ผสมผสำนแนวคิด
เดิมกับแนวคิดใหม่คือ ปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียง ใช้ร่วมกัน ในทำงกฎหมำยทรง
ปฏิเสธอำนำจของพระองค์เองในฐำน “องค์อธิปัตย์” ด้วยกำรทรงมีแนวพระรำชดำริ

๓๐

เกี่ยวกับกรณีกฎหมำยอำญำมำตรำ ๑๑๒ ที่ห้ำมประชำชนแสดงควำมคิดเห็นเชิงหม่นิ
พระบรมเดชำนุภำพ โดยทรงเชอ่ื ในเสรภี ำพและควำมเทำ่ เทยี มกันของมนุษย์มำกกว่ำ

นอกจำกนี้ พระรำชกรณียกิจด้ำนกำรพัฒนำแสดงให้เห็นเป็นที่ประจักษ์ว่ำ
กำรทรงงำนเป็นเครื่องมือเปลี่ยนแปลงสังคม ปรับเปลี่ยนแนวคิดและวิถีชีวิตของ
ประชำชนให้มีควำมกินดีอยู่ดีขึ้น เกิดควำมยั่งยืนภำยใต้จุดเด่นและศักยภำพ
โดยเฉพำะในดำ้ นกำรเกษตรของไทย นอกจำกน้ี พระรำชดำรัสทส่ี ำคัญหลำยต่อหลำย
ครั้งก็นำไปสู่โครงกำรพัฒนำระดับประเทศเพื่อแก้ปัญหำที่เกิดขึ้นซ้ำซ้อน เช่น
กำรจรำจร น้ำท่วม น้ำแล้ง เป็นต้น ด้วยโครงกำรต่ำง ๆ กว่ำ ๔,๐๐๐ โครงกำร ที่ช่วย
พลิกฟื้นชีวิตควำมเป็นอยู่ของประชำชนในทุกภูมิภำค นอกจำกควำมกินดีอยู่ดีของ
ประชำชนแล้ว แม้ในช่วงที่ประเทศไทยมีวิกฤตกำรเมือง เช่น เหตุกำรณ์ ๑๔ ตุลำคม
พ.ศ. ๒๕๑๖ และเหตุกำรณ์เดือนพฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๓๕ ก็ทรงมีพระมหำกรุณำธิคุณ
เสด็จฯ ออกเพื่อระงับควำมขัดแย้ง (ยอดชำย ชุติกำโม, ๒๕๕๒) ไม่ใช่แต่เพียงใน
ประเทศเท่ำนั้น ทรงได้รับรำงวัลและเหรียญรำงวัลประกำศเกียรติคุณมำกกว่ำ ๓๐
รำงวัล โดยเฉพำะอย่ำงย่ิง รำงวัลควำมสำเร็จสูงสดุ ด้ำนกำรพัฒนำมนุษย์ จำกองค์กำร
สหประชำชำติ เมื่อวันที่ ๒๖ พฤษภำคม พ.ศ. ๒๕๔๙ สิ่งเหล่ำนี้เป็นเครื่องแสดงให้
เห็นว่ำ ลำพังเพียงกำรดำรงพระรำชอิสริยยศเป็นพระมหำกษัตริย์ คงไม่สำมำรถทำให้
พระองค์ทรงได้รับควำมรัก ควำมศรัทธำและควำมเคำรพยกย่องได้ หำกไม่ได้ทรง
บำเพ็ญพระองค์เพื่อประโยชน์สุขแก่ประชำชนและสังคมอย่ำงแท้จริง ควำมรักและ
ศรัทธำของคนไทยที่มีต่อพระองค์ ควำมร่วมแรงร่วมใจดำเนินงำนตำมโครงกำรใน
พระรำชดำริ และกำรน้อมนำแนวพระรำชดำริมำให้ในกำรดำรงชีวิตและปฏิบัติหน้ำท่ี
ของประชำชนและรำชกำรนับเป็นหลักฐำนเชิงประจักษ์อีกชิ้นหนึ่งที่สนับสนุนได้ว่ำ
พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศ มหำภมู ิพลอดลุ ยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ทรง
เปน็ ผูน้ ำแหง่ กำรเปล่ียนแปลงทม่ี ีบำรมีท่สี ำคัญพระองคห์ นึง่ ของโลก

หำกพิจำรณำจำกกำรบำเพญ็ พระรำชกรณีกจิ เพื่อประโยชนส์ ุขของปวงชนชำว
ไทยและควำมรักควำมศรัทธำของคนไทยที่มีต่อพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ
มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร รวมถึงกำรน้อมนำพระรำชดำรัสและ

๓๑

พระบรมรำโชวำทไปปฏิบัติเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั้งในระดับบุคคล ชุมชน และ
ประเทศชำติแล้ว อำจกล่ำวได้ว่ำ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพล
อดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตรนับเป็นผู้นำที่เป็นที่ศรัทธำของพสกนกิ รอีกพระองค์
หนึ่ง และพระรำชดำรัสจึงนับเป็นมรดกชิ้นสำคัญที่พระองค์ท่ำนทรงถ่ำยทอดไว้เพื่อ
เปน็ แบบอยำ่ งของกำรเปน็ ผ้นู ำอย่ำงแท้จรงิ

มีกำรศึกษำเกี่ยวกับพระรำชดำรัสและพระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเด็จ
พระบรมชนกำธเิ บศ มหำภมู ิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพติ รอยูจ่ ำนวนไม่น้อย

ในดำ้ นสงั คมศำสตร์ ทสิ วสั ธำรงสำนต์ (๒๕๖๑) ไดว้ ิเครำะห์วำทศิลป์จำกพระ
รำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรม
นำถบพิตร เน้นใช้กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่นิยม (postmodernism’s paradigm)
และพบว่ำพระรำชดำรัสแสดงให้เห็นว่ำทรงมีแนวคิดตำมกระบวนทัศน์ดังกล่ำว ซึ่ง
แสดงให้เห็นอัตลักษณ์ทำงควำมคดิ ทีม่ องปรำกฏกำรณต์ ่ำง ๆ ตำมธรรมชำติและควำม
เป็นจริง สำมำรถเปลี่ยนแปลงได้ และไม่ยึดติดกับกรอบหรือแนวควำมคิดหรือแนว
ปฏบิ ัติแบบเดมิ โดยยกตวั อยำ่ งพระรำชดำรสั เก่ียวกับเศรษฐกจิ พอเพียง และประมวล
กฎหมำยอำญำมำตรำ ๑๑๒ (คดีหมิ่นสถำบันพระมหำกษัตริย์) ประกอบ ดังแสดงใน
ตำรำงท่ี ๖

ตำรำงท่ี ๖ ควำมสอดคล้องกบั กระบวนทศั นห์ ลังสมยั ใหม่นยิ ม ในวำทศิลป์ของพระบำทสมเดจ็

พระบรมชนกำธเิ บศ มหำภูมพิ ลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพติ ร (ทิสวสั ธำรงสำนต์, ๒๕๖๑)

วาทศลิ ป์ กระบวนทศั น์หลงั สมยั ใหม่

๑. กรณี “เศรษฐกิจพอเพียง”

๑.๑ ทรงใช้คำวำ่ “เศรษฐกิจพอเพียง” มำนยิ ำม ๑.๑ ปฏิเสธสิ่งที่เคยถกู สถำปนำไวเ้ ดมิ

“ควำมเจรญิ ม่งั ค่ัง ร่ำรวย” ในแบบทีส่ อดคลอ้ ง (นิยำมของควำมม่งั คง่ั ร่ำรวย) โดยสร้ำง

กับพ้ืนฐำนเศรษฐกจิ ของประเทศและประชำชน ควำมหมำยขึน้ ใหม่ (deconstruct

ไทย ในทีป่ ระเทศประสบกบั ปัญหำทำงเศรษฐกจิ meaning) ให้สอดคลอ้ งกับสถำนกำรณท์ ่ี

เปล่ยี นแปลงไป

๓๒

๑.๒ “เศรษฐกจิ พอเพียง” เป็นแนวคดิ ทนี่ ำเสนอ ๑.๒ ปฏเิ สธกำรกำรใหค้ วำมหมำยท่เี บ็ดเสรจ็

วธิ ีกำรใหม่ในกำรพฒั นำ โดยเปน็ เศรษฐกิจแบบ เด็ดขำด แตเ่ ชอื่ วำ่ สงิ่ ต่ำงๆ เกิดจำกกำร

ยังชีพ ซึง่ เหมำะสมกับบริบทของสงั คมไทย ประกอบสร้ำง (construct) และสำมำรถถกู

มำกกว่ำระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นยิ มทม่ี ุ่งเน้น ร้อื เพอื่ สร้ำงชุดควำมหมำยอนื่ ไดไ้ มร่ ูจ้ บ และ

กำรผลิตและอุตสำหกรรมเป็นตัวขับเคล่ือนกำร มองว่ำกำรหยัง่ รคู้ วำมจริงมีหลำยวิธี เป็น

พฒั นำเทำ่ นั้น กำรปฏิเสธวำทกรรมกำรพฒั นำบนพ้ืนฐำน

ของกำรผลิตและอสุ ำหกรรมตำมแนว

เศรษฐกจิ ทนุ นยิ ม ทรงนำเสนอทำงเลือกคอื

เศรษฐกิจพอเพียง แทนที่

๒. กรณปี ระมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๑๒

๒.๑ ทรงปฏิเสธกำรใช้ประมวลกฎหมำยอำญำ ๑.๓ ปฏเิ สธกำรเป็นศูนย์กลำงในฐำนะองค์

มำตรำ ๑๑๒ ซ่ึงตงั้ อยู่บนพ้ืนฐำนควำมเช่อื ท่วี ำ่ ประธำน (subject) หรอื องค์อธปิ ตั ย์ เชอ่ื ใน

พระมหำกษตั รยิ เ์ ป็นเทวรำชำ ห้ำมมใิ หผ้ ้ใู ดดู ควำมเป็นอสิ ระของมนษุ ย์ในสงั คม

หมน่ิ ทรงเป็นประมขุ ของรฐั ท่มี ีสถำนะเท่ำเทียม

กบั พสกนิกร ทรงปฏิเสธควำมเป็นอธิปัตย์ และ

เชอ่ื ในหลักกำรกระจำยอำนำจ

๒.๒ ทรงเปิดโอกาสใหก้ บั การเห็นแยง้ ทอ่ี ยู่ ๑.๔ กำรนำสิง่ ทีไ่ มม่ ีควำมสมั พนั ธใ์ ห้เข้ำมำมี

ภายใตเ้ หตุผลและความถกู ตอ้ ง ควำมสัมพนั ธก์ นั พร้อมกับเปิดพืน้ ทใ่ี ห้กับสิ่ง

ท่ไี มม่ พี ื้นท่ี หรอื ทีเ่ รียกว่ำ “สนุ ทรยี ศำสตร์

ทำงกำรเมือง” (Aesthetics of Politics)

ในทำงภำษำและวฒั นธรรม กำรวเิ ครำะหเ์ นื้อหำของพระรำชดำรัสและพระบรม
รำโชวำทสำมำรถจำแนกออกได้เป็น ๒ ประเด็นหลัก ได้แก่ กำรใช้ภำษำ คำสอนท่ี
สอดแทรกในเนอ้ื หำ

ธเนศ เวศร์ภำดำ (๒๕๔๙) ศึกษำพระรำชดำรัสและพระบรมรำโชวำทพบว่ำ
ประกอบดว้ ยแนวคดิ สำคัญ ๓ ประกำร ไดแ้ ก่ คณุ ธรรม ควำมรู้ และหนำ้ ที่ ในเชิงภำษำ
ทรงใช้ภำษำเรียบง่ำย มีสัมพันธภำพ แสดงเหตุและผล และยังมีควำมงำมทำง
วรรณศิลป์ด้วย (หน้ำ ๑๕๗) รุ่งรัตน์ พรรัตนกำจำย (๒๕๔๔) พบว่ำ พระรำชดำรัสใน

๓๓

ช่วงเวลำ ๙ ปี ตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๑-๒๕๓๙ นั้นมีกำรย้อนกลับไปกล่ำวถึงเรื่องเดิมที่เคย
กล่ำวไปแล้ว และโครงสร้ำงของพระรำชดำรัสประกอบด้วย คำนำ เนื้อเรื่อง และ
บทสรุป อย่ำงเป็นระบบ นอกจำกนี้ยังปรำกฏกำรเปล่ียนเรื่องพูดโดยไม่มีลกั ษณะทำง
ภำษำใดที่เป็นสัญญำณของกำรเปลี่ยนเรื่อง ในขณะที่มัลลิกำ ตัณฑนันทน์ และคณะ
(๒๕๔๓) สรปุ วำ่ เน้อื หำในพระรำชดำรัสและพระบรมรำโชวำทของพระบำทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหำภูมิพลอดุลยเดช ระหว่ำงปี พ.ศ. ๒๕๑๑-๒๕๔๐ นั้น ประกอบไปด้วยคำ
สอนในประเดน็ หลัก ๔ ประเดน็ คือ บทบำทหน้ำท่ีควำมสำคัญ ควำมรูพ้ น้ื ฐำน กำรนำ
ควำมรูไ้ ปใชป้ ฏิบัตงิ ำน แนวทำงปฏบิ ัติตน

วินี เชียงเถียร (๒๕๔๒) ศึกษำพระรำชดำรัสในโอกำสเฉลิมพระชนมพรรษำ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๙๓-๒๕๔๒ ที่สัมพันธ์กับบริบทของบ้ำนเมือง พบว่ำ ในช่วงต้นนั้น
กระแสพระรำชดำรัสเนอื่ งในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษำ วนั ท่ี ๔ ธนั วำคมเปน็ กำรรำยงำน
เหตุกำรณ์ต่ำงๆ และทรงอ่ำนจำกต้นฉบับ ทำให้สำนวนภำษำเรียบง่ำย สั้น กะทัดรัด
ต่อมำเริ่มพระรำชทำนพระรำชดำรัสโดยไม่มีกำรเขียนไว้ล่วงหน้ำ ทำให้กำรใช้ภำษำมี
ควำมหลำกหลำยขึ้น และใช้วิธีกำรโน้มน้ำวใจด้วยกำรอ้ำงเหตุผลต่ำง ๆ เพื่อให้ผู้ฟัง
คล้อยตำมและนำไปปฏิบัติ ในด้ำนเนื้อหำมีกำรสอดแทรกคุณธรรมที่สอดคล้องกับ
บรบิ ทของบำ้ นเมือง ประกอบกับวสิ ัยทศั น์ในกำรพฒั นำประเทศ

นอกจำกน้ี Intravisit (2005) ยังได้สรุปลักษณะเนื้อหำ (genre) ท่ี
พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภมู ิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ทรง
ใช้ในพระรำชดำรัสเกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง ระหว่ำงปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ถึง พ.ศ. ๒๕๔๓
ว่ำมีประเด็น (theme) หลัก 5 กลุ่ม ได้แก่ สุนทรพจน์พิธี (epideictic practice)
เหตุกำรณ์ปัจจุบัน (current event) ค ำสอน (teaching) เศรษฐกิจพอเพียง
(sufficiency economy) เร่ืองเล่ำ (narrative) และภำษำ (language) ในแง่รปู ภำษำ
ปรำกฏกำรใช้คำหลักบำงคำตลอดพระรำชดำรัส เช่น “เศรษฐกิจพอเพียง”
(sufficiency economy) “คนดี” (good citizen) และ “ควำมเป็นไทย” (Thai
identity) และทรงใช้อุปลักษณ์ (metaphor) เพื่อแสดงให้เห็นภำพพจน์ เช่น “ขุด
ทอง” “แผ่นดินทอง” เปน็ ตน้

๓๔

โดยสรุป หำกพิจำรณำจำกมุมมองกำรใช้วำทศิลป์แบบตะวันตก พบว่ำพระ
รำชดำรัสมีลักษณะสำคัญ ๓ ประกำรคือ ๑) มีควำมเป็นสำธำรณะ (public) คือเป็น
สำรที่มีกลมุ่ ผู้ฟงั เป็นสังคมหรือกลุ่มคนโดยรวมคือคนไทยทั้งชำติ ๒) มีควำมโน้มน้ำวใจ
(persuasion) กล่ำวคือ สำรที่ถูกส่งออกไปมีวัตถุประสงค์เฉพำะอย่ำงมีนัยสำคัญใน
กำรสร้ำงผลกระทบต่อกำรสร้ำงควำมเข้ำใจ เห็นพ้อง และชี้นำพฤติกรรมของสังคม
และ ๓) มีควำมยึดโยงกับบริบท (contextual) หมำยควำมว่ำ พระรำชดำรัสเป็นกำร
ใช้ภำษำเฉพำะในสถำนกำรณ์หนึ่ง ๆ โดยคำนึงถึงประสบกำรณ์และควำมเข้ำใจ
เกีย่ วกับ/ของผ้ฟู งั เฉพำะกลมุ่

เปน็ ท่ที รำบกันดีว่ำ พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศ มหำภมู พิ ลอดุลยเดช
มหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงบำเพ็ญพระรำชกรณียกิจนำนัปกำร อันเป็นไปเพื่อ
ประโยชน์ในกำรพัฒนำประเทศ ตลอดพระชนม์ชีพ จนเกิดโครงกำรในพระรำชดำริ
หลำยพันโครงกำร โครงกำรท่ีเกิดประโยชน์จำนวนไม่น้อยเป็นโครงกำรท่ีได้รับกระแส
พระรำชดำรัสที่พระรำชทำนทุกวันที่ ๔ ธันวำคม ของทุกปี เนื่องในวันเฉลิมพระ
ชนมพรรษำ อำจกลำ่ วไดว้ ่ำ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมพิ ลอดุลยเดช
มหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงใชพ้ ระรำชดำรัสในวันสำคญั ดงั กลำ่ ว เปน็ เครือ่ งมอื ในกำร
ผลักดันให้เกิดกำรพัฒนำประเทศอย่ำงมีประสิทธิภำพ ผู้เขียนได้รวบรวมและสรุป
เฉพำะโครงกำร/แนวคิดในกำรพัฒนำที่สำคัญที่สัมพันธ์กับพระรำชดำรัสเนื่องในวัน
เฉลมิ พระชนมพรรษำไวด้ ังแสดงในตำรำงที่ ๗

๓๕

ตำรำงท่ี ๗ โครงกำร/แนวคดิ ในกำรพฒั นำประเทศทพ่ี บในพระรำชดำรสั

เนื่องในวันเฉลมิ พระชนมพรรษำ พระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศ มหำภมู ิพลอดลุ ยเดชมหำรำช

บรมนำถบพิตร วนั ท่ี ๔ ธนั วำคม (ดัดแปลงจำก ชนดิ ำ ชิตบณั ฑิตย์, ๒๕๕๐ และ

สำนักงำนคณะกรรมกำรพเิ ศษเพอื่ ประสำนงำนโครงกำรอนั เนอื่ งมำจำกพระรำชดำริ, ๒๕๕๙)

แนวคดิ /โครงการ พ.ศ. การนาเสนอ/การพัฒนา

๑. แนวคิดเรอ่ื ง ๒๕๑๗ เป็นปแี รกทที่ รงมีพระรำชดำรัสเรอ่ื งปรชั ญำเศรษฐกิจ

“เศรษฐกจิ พอเพียง” พอเพยี ง

(การแก้ปญั หาความ ๒๕๔๐ เกิดวกิ ฤตกำรณก์ ำรเงนิ เอเชยี (ต้มยำกุ้ง) ทรง

ยากจนและวกิ ฤติศรษฐกิจ) พระรำชทำนแนวคดิ ปรชั ญำเศรษฐกจิ พอเพยี งอกี ครง้ั

๒๕๕๐ - มกี ำรบรรจปุ รชั ญำเศรษฐกจิ พอเพียงในรฐั ธรรมนญู

แหง่ รำชอำณำจกั รไทย พ.ศ. ๒๕๕๐

- มหี ลำยประเทศนำแนวคดิ นีไ้ ปใช้ เช่น รำชอำณำจกั ร

ภูฏำน รำชอำณำจกั รเลโซโท รำชอำณำจกั รฮชั ไมต์

จอร์แดน รัฐฉำน สำธำรณรัฐแหง่ สหภำพเมยี นมำ)

๒. โครงการ ๒๕๓๖ ทรงมพี ระรำชดำริตัง้ แต่ พ.ศ. ๒๕๓๒ เป็นเขอื่ นดนิ

เขือ่ นปา่ สกั ชลสทิ ธ์ิ ควำมจุ ๙๖๐ ล้ำนลูกบำศกเ์ มตร เพิ่มพ้ืนทช่ี ลประทำน

(การแก้ปญั หานา้ ท่วม ๑๔๔,๕๐๐ ไร่ พืน้ ท่สี ว่ นขยำย ๓๐,๐๐๐ ไร่ และช่วย

น้าแล้ง) บรรเทำอุทกภยั สองฝง่ั แมน่ ำ้ ปำ่ สกั เขตจังหวัดลพบรุ ี

สระบรุ ี และภำคกลำงตอนล่ำง

๓. โครงการแก้มลงิ ๒๕๓๘ เกิดอทุ กภยั เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ภำยหลงั พระรำชทำน

(การแกป้ ญั หาน้าท่วมและ แนวพระรำชดำรเิ รือ่ งแก้มลิง เกดิ กำรหำทกี่ กั เก็บนำ้

อนุรกั ษน์ า้ และสิ่งแวดล้อม) เพือ่ รองรบั นำ้ ช่วั ครำว ช่วยลดควำมรุนแรงของปญั หำ

น้ำท่วม น้ำเม่อื ถูกระบำยสู่คคู ลองจะไปบำบดั นำ้ เนำ่

เสียใหเ้ จอื จำงและผลกั นำ้ เสยี ใหร้ ะบำยออกไป

๔. โครงการคลองลัดโพธ์ิ ๒๕๔๙ ลอกคลองทีต่ ้นื เขนิ ทีต่ ดั คลองคดเค้ียวยำว ๑๘

(การบรหิ ารจดั การนา้ ) กโิ ลเมตร ด้วยระยะทำงเพียง ๖๐๐ เมตร ใหน้ ำ้ ไหลลง

อำ่ วไทยทบี่ ำงกะเจ้ำ อำเภอพระประแดง จังหวดั

สมทุ รปรำกำรไดร้ วดเรว็ ขึน้ แกป้ ัญหำน้ำทว่ ม

๓๖

จะเห็นได้ว่า ผลสืบเนื่องจากพระราชดำรสั โดยเฉพาะอย่างย่ิงในพระราชดำรัส
เนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษา ก่อให้เกิดคุณประโยชน์นานัปการต่อการแก้ปัญหา
และพัฒนาประเทศไทย พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพติ ร มิได้ทรงอาศัยสถานะของการเป็นผูน้ ำในการสงั่ การหรอื บังคับ
ให้เกิดโครงการตา่ ง ๆ ดังกล่าว (และโครงการพัฒนาอื่นๆ อีกนับพันโครงการ) หากแต่
ทรงเข้าใจปญั หาจากที่ได้ทรงบำเพ็ญพระราชกรณยี กจิ เขา้ ถึงประชาชนอยา่ งแทจ้ รงิ ทำ
ให้ทรงสามารถอธิบายปัญหา และนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด พร้อมกับ
ทรงสามารถส่ือสารเพื่อให้เกิดความเขา้ ใจร่วมกนั และนำมาซ่ึงความรว่ มมือร่วมใจของ
พสกนิกรทกุ หม่เู หลา่ ในการดำเนินกจิ กรรมทีเ่ ป็นประโยชนต์ อ่ สงั คมและประเทศชาติได้
ผ้เู ขยี นยังคงรำลึกถึงเหตกุ ารณใ์ นโอกาสวนั เฉลมิ พระชนมพรรษาของทุกปี ท่ปี ระชาชน
คนไทยตั้งตาตั้งตารอฟังพระราชดำรัสของพระองค์ถ่ายทอดสดผ่านทางโทรทัศน์และ
วิทยุอย่างใจจดใจจ่อและตั้งใจ แสดงให้เห็นว่าพระราชดำรัสในโอกาสดังกล่าว เป็น
วรรณกรรมที่ทรงพลัง สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานของประเทศ และเปน็ ส่ิงยดึ โยง
ประชาชนคนไทยเข้าดว้ ยกนั ได้อยา่ งชดั เจน และในฐานะทท่ี รงเป็นผู้นำและศนู ย์รวมใจ
ของชาติ จึงทรงเปน็ แบบอย่างท่ีเหมาะสมทส่ี ุดในบริบทสังคมปัจจุบัน ในการท่ีคนไทย
จะน้อมนำมาเป็นแบบอย่างในทุกด้าน ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้เขียนคือด้านภาษาน้ัน
พระราชดำรัสของพระองค์น่าจะเป็นของขวัญชิ้นสำคัญที่ทรงพระราชทานไว้ตลอด
ระยะเวลาที่ทรงครองราชย์ เพื่อให้คนไทยโดยเฉพาะผู้ที่มีบทบาทหน้าที่ในการเป็น
“ผู้นำ” ในทุกระดับชั้นของสังคม ได้ศึกษา โดยผู้เขียนได้พยายามถอดรหัสทางภาษา
จากพระราชดำรัสดังกล่าว เพื่อนำเสนอเป็นแนวทางการใช้ภาษา และสร้างความ
ตระหนักถงึ ความสำคัญของการใช้ภาษาเพ่ือสรา้ งความเข้าใจ ความสมัครสมานสามัคคี
ปรองดองของคนในชาติ

๓๗

ตอนที่ ๒
การใช้ภาษา

ของผู้นำ

๓๘

๕. คุณลักษณะของสารทีส่ ่งเสรมิ บทบาทหนา้ ที่ของผูน้ ำ

พระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นพระราชดำรัสที่
ได้รับความสนใจจากคนไทยทั่วทั้งประเทศ กับทั้งยังเป็นพระราชดำรัสที่เป็นต้นทาง
ความคิดในการทำงานบริหารเพื่อแก้ไขปัญหาสำคัญของประเทศของรัฐบาลในหลาย
โอกาส และยังเป็นแนวทางในการดำเนนิ ชวี ิตให้กับพสกนิกรชาวไทย จงึ นบั วา่ พระราช
ดำรสั ดงั กลา่ วเปน็ วรรณกรรมอันทรงคุณค่าทห่ี ากสามารถนำมาประยกุ ต์ต่อยอดแล้วจะ
เกิดประโยชน์กับสังคมไทยโดยรวม จากการวิเคราะห์รูปภาษาและคุณลักษณะที่
สอดคลอ้ งกบั คุณสมบัติของการเปน็ ผนู้ ำ คอื การสร้างใหเ้ กดิ ความศรทั ธาและเช่ือมั่นใน
ตัวผู้นำ ผเู้ ขยี นพบวา่ ลักษณะการใชภ้ าษาในพระราชดำรัสน้ันแสดงคุณลักษณะสำคัญ
๓ ประการ ได้แก่ ความอ่อนน้อมถ่อมตน ความน่าเชอื่ ถือ และความเปน็ ปกึ แผ่น ซ่ึง
ในส่วนตอ่ ไปจะอธบิ ายถึงความสมั พนั ธ์ระหวา่ งคุณลักษณะท้ัง ๓ กับลกั ษณะของผู้นำที่
ดี และจะไดแ้ สดงตัวอย่างของรปู ภาษาทส่ี ะท้อนคณุ ลักษณะเหลา่ นี้ เพ่อื เปน็ ตวั อยา่ งให้
ผู้อา่ นได้นำไปพจิ ารณาปรับใช้ในการส่ือสารภายใตบ้ ทบาทของการเปน็ ผู้นำ ตามความ
เหมาะสมตอ่ ไป

๓๙

๖. ความอ่อนน้อมถอ่ มตน (humbleness)

ควำมอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นพฤติกรรมที่แสดงออกถึงมุมมองและกำรวำงตัว
ของผู้พูดที่ใหเ้ กียรติผู้ฟัง ไม่ว่ำผู้ฟังจะเป็นผูท้ ี่มีสถำนทำงสังคม อำยุ หรือคุณสมบัตอิ นื่
ใดทเ่ี หนอื หรอื ต่ำกว่ำตน ควำมออ่ นนอ้ มถ่อมตนประกอบไปด้วยมุมมอง ๒ ดำ้ น ได้แก่
กำรให้เกียรติหรือยกย่องคู่สนทนำหรือผู้อื่น และกำรถ่อมตัวหรือปรับระดับพฤติกรรม
ให้สอดคล้องหรือเข้ำกับคู่สนทนำ ในด้ำนภำษำ ภำษำไทยเป็นภำษำที่ให้ควำมสำคัญ
กับสถำนภำพของคู่สนทนำ ดังจะเห็นได้จำกกำรมีคำที่ใช้กับบุคคลต่ำงสถำนะ ซึ่งผู้ใช้
ต้องเลือกใช้ตำมสถำนกำรณ์และมมุ มองของตน เช่น กำรใช้คำสรรพนำมทีแ่ ตกต่ำงกัน
ในกำรแสดงระดับควำมเป็นทำงกำรและควำมสนิทสนมระหว่ำงคู่สนทนำ เช่น
ข้ำพเจ้ำ-ท่ำน (ทำงกำร) ผม-คณุ (ปกต)ิ กู-มึง (สนทิ สนม) อำตมำ-โยม (พระ-ฆรำวำส)

ในบทบำทของกำรเป็นผูน้ ำ ควำมออ่ นน้อมถ่อมตนเป็นคุณลักษณะทำงอ้อมที่
ส่งเสริมควำมเลื่อมใสศรัทธำของสมำชิกในสงั คมต่อผูน้ ำ จำกควำมประทับใจในกำรไม่
ถือตนว่ำเป็นผู้มีสถำนะทำงสังคมในระดับสูง กำรใช้ภำษำที่แสดงให้ถึงควำมออ่ นนอ้ ม
ถ่อมตนซึ่งผู้นำสำมำรถนำมำพิจำรณำปรับใช้เป็นแบบอย่ำง ตำมที่ปรำกฏพระรำช
ดำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถ
บพิตร ประกอบด้วย ๓ ประกำรสำคัญ คือ กำรลดสถำนะผู้พูด กำรยกย่องผู้ฟังและ
บคุ คลอ่นื และกำรแสดงควำมคดิ เห็นอยำ่ งเป็นมติ ร ดังรำยละเอียดตอ่ ไปน้ี

๖.๑ การลดสถานะผูพ้ ดู

วธิ กี ารแรกของการแสดงความอ่อนน้อมถ่อมตนคือ การลดสถานผู้พดู ถึงแมว้ ่า
ผู้นำจะมีสถานภาพทางสังคมที่สูงกว่าผู้อื่นในองค์กรหรือสังคมหนึ่ง ๆ แต่สถานภาพ
ดังกล่าวก็เป็นเพียงข้อกำหนดที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคมเท่านั้น ความสูงหรือต่ำของ
สถานะไม่ใช่เป็นตัวกำหนดการใช้ภาษาเพื่อแสดงสถานะเสมอไป ในมุมมองของการ
เป็นผู้นำแล้ว การพยายามลดสถานะของตัวผู้นำเองจะส่งผลใหช้ ่องว่างระหว่างสถานะ

๔๐

ของผู้นำและลูกน้องลดลงหรือแคบลง อันเป็นการเพิ่มความรู้สึกใกล้ชิด เป็นกันเอง
และลดความตึงเครยี ดในการมีปฏิสัมพันธไ์ ปในขณะเดียวกัน

การใช้ภาษาที่ช่วยลดสถานะของผู้นำที่เป็นพื้นฐานเบื้องต้นที่สุดคือ การ
เลอื กใชค้ ำสรรพนามแทนตวั ผพู้ ดู ในพระราชดำรสั ของสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศ มหา
ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร นั้น ทรงเลือกใช้คำสรรพนาม “ข้าพเจ้า”
และ “เรา” แทนพระองคเ์ อง ดังแสดงในตัวอยา่ งท่ี (๑) – (๕)

(๑) ข้าพเจ้าไมไ่ ดส้ นับสนนุ ไมไ่ ด้คัดคา้ นไสยศาสตร์ แต่ถ้าใครมาข่เู ข็ญว่าจะ
แยห่ รือจะตาย เราก็ต้องมาดูด้วยเหตผุ ล

(๒) ไม่ใชห่ น้าที่ของข้าพเจ้าคนเดียว เป็นหนา้ ทข่ี องทกุ คน ใครอยากได้ความ
เป็นปึกแผ่น ใครอยากได้ความปลอดภัย ตอ้ งทำใหเ้ กดิ ความเป็นปกึ แผน่
ใหเ้ กิดความปลอดภยั

(๓) ท่านมานัง่ อยู่ทีน่ ่ีเปน็ พน้ื ที่ทีเ่ กิดเร่อื ง เรอื่ งมอี ยวู่ า่ เรากาลังเดินออกกาลัง
อยรู่ อบๆ แถวๆ นี้ ท่ีทา่ นน่ังอยตู่ รงนี้ เราก็เดินรอบแต่ท่านทัง้ หลายไม่อยู่
เดินไปเดนิ มา รูส้ ึกมนั อึดอดั เข้าทุกที คนถ้าเหน็ ก็คงบอกวา่ หนา้ ซดี

(๔) ไมท่ ่วมเพราะไม่มีน้า ทล่ี าพนู เรามเี พอ่ื นอยทู่ นี่ ่นั ท่ีอาเภอลี้ เราถามวา่ ฝน
ลงไหม ไมล่ งก็เลยทาให้นึกว่าเดี๋ยวน้ี เราไมใ่ ชอ่ ายุ ๕๐ เรารับราชการมา
๕๐ ปี แต่วา่ คนอนื่ ก็อยู่อยา่ งเดมิ คนที่พบนี่สว่ นมากอายุตา่ กว่า ๖๐
นอกจากพวกพี่ ๆ (เสียงหวั เราะ) เด๋ียวน้ไี มม่ ีแล้ว รุ่นลุง รนุ่ ปา้ รุน่ ปู่ รนุ่ ตา
รุ่นยาย ไมม่ แี ล้ว

(๕) เราจาไดเ้ มอ่ื อายุ ๕ ขวบ มีลงิ เอากลว้ ยไปให้ มันกเ็ คี้ยว เคี้ยว เคย้ี ว แลว้
ใสใ่ นแก้มลิง ตกลง “โครงการแกม้ ลิง” น้ีมที เ่ี กิดเม่ือเราอายุ ๕ ขวบ

จำกตวั อย่ำงจะเหน็ ว่ำ แม้คำสรรพนำม “ขำ้ พเจ้ำ” จะเป็นคำทแี่ สดงควำมเป็น
ทำงกำรซึ่งอำจแสดงควำมห่ำงเหินระหว่ำงผู้พูดและผู้ฟัง แต่คำว่ำ “ข้ำพเจ้ำ” ไม่ได้
แสดงระดับสถำนภำพทำงสังคมที่แตกต่ำงระหว่ำงผู้พูดและผู้ฟัง ในขณะที่คำสรรพ

๔๑

นำม “เรำ” สำมำรถลดท้ังระดับควำมเป็นทำงกำรและสถำนภำพทำงสงั คมได้มำกกว่ำ
จำกกำรศึกษำพระรำชดำรัสพบว่ำ ทรงใช้คำว่ำ “เรำ” บ่อยครั้งกว่ำ “ข้ำพเจ้ำ” เพื่อ
แสดงควำมใกล้ชิดกบั ผู้มำเฝำ้ ทูลละอองธุลพี ระบำท

นอกจำกนี้ยังเป็นที่สงั เกตอีกว่ำ ทรงใช้คำสรรพนำมแทนพระองค์ในปริมำณที่
น้อยมำก กล่ำวคือทรงละประธำนของประโยคและเน้นกลำ่ วถงึ เหตุกำรณ์มำกกวำ่ ดงั
แสดงในตวั อยำ่ งที่ (๖) และ (๗) ประธำนคอื ตำแหน่งท่ีแสดงดว้ ย ( )

(๖) ในท่ีสดุ ปนี น้ี ้าก็ท่วมและ ( ) เกิดระลึกขน้ึ มาได้ วา่ มีโครงการนีอ้ ยู่ ( ) จงึ
ใหค้ นไปถ่ายรปู ...แต่เมอื่ ( ) ดูแลว้ ข้างนอก น้าข้ึนสูงไปมากกว่านน้ั ( )
จงึ บอกให้ผูว้ า่ ราชการจงั หวัด ส่ังหยดุ สูบนา้ ออกไป...

(๗) ( ) ต้องพดู เข้าในเร่อื งเลย เพราะ ( ) หนักใจวา่ แม้แตค่ นทีเ่ ปน็ ดอกเตอรก์ ็
ไมเ่ ข้าใจ ( ) อาจพูดไม่ชดั แต่เมื่อ ( ) กลับไปดทู ่ีเขยี นจากที่พดู ก็ชัดแล้ว
ว่าควรจะปฏิบตั เิ ศรษฐกจิ พอเพียงไมต่ อ้ งทั้งหมด

จำกตัวอย่ำง ผู้เขียนวิเครำะห์ว่ำ กำรละประธำนของประโยคที่หมำยถึงผู้พูด
นั้น เป็นกำรให้ควำมสำคัญที่กำรกระทำ (พระรำชกรณียกิจ) มำกกว่ำพระองค์เอง ซ่ึง
แสดงถึงกำรไม่ยึดติดในตัวเอง มุ่งเน้นผลงำนเป็นสำคัญ ลักษณะดังกล่ำวยิ่งส่งผลให้
ผู้ฟังเกิดควำมเลื่อมใสศรัทธำ สมควรที่ผู้นำควรนำไปใช้เป็นแบบอย่ำง อำจกล่ำวได้ว่ำ
วิธีกำรลดสถำนตัวเองด้วยกำรใช้คำสรรพนำมที่เป็นกันเอง และใช้ในปริมำณที่น้อย
หรืออำจละกำรใชค้ ำสรรพนำมดังกล่ำวเพื่อมุ่งเนน้ ภำระหน้ำท่ี จะเป็นปัจจัยแรกที่เพ่ิม
ควำมเลอ่ื มใสและศรัทธำในตวั ของผ้นู ำได้น่ันเอง

๖.๒ การเพิม่ สถานะผู้ฟงั และบคุ คลอ่นื

นอกจากลดสถานะของตวั ผ้พู ูดที่เปน็ ผ้นู ำลงแลว้ การเพ่ิมสถานะของผ้ฟู ังและ
บุคคลอื่นก็เป็นอีกวธิ กี ารหนึ่งที่ช่วงลดใหช้ ่องว่างระหว่างผู้นำและลูกน้องแคบลงย่งิ ข้นึ

๔๒

และวิธีการที่ง่ายที่สุดในการเพิ่มสถานะของผู้ฟังคือการกล่าวถึงผู้ฟัง และคนอื่นด้วย
ความยกยอ่ ง ดงั ต่อไปนี้

ก. ใช้คำสรรพนามกลุ่ม “ท่าน” เชน่ “ท่าน” “ทุกท่าน” และ “ทา่ นทัง้ หลาย”
แทนผ้พู ดู รายบุคคลหรอื สว่ นรวม ดังแสดงในตัวอยา่ งที่ (๘) – (๑๐)

(๘) ขอให้ทา่ นไดป้ ฏิบัติตามท่ีมีเจตนาท่ดี ีงามและมกี าลงั ไม่ทอ้ ถอย เพ่ือรกั ษา
ความสามัคคี เพ่ือรกั ษาความเปน็ อย่ขู องเราในประเทศไทย

(๙) ขอให้ทกุ ท่านไดค้ น้ คว้าได้สนใจและปฏิบตั ิอย่างดีที่สุดเพ่ือความสงบของ
สงั คม เพ่ือความเขา้ ใจในทางทีถ่ ูกของประชาชนทวั่ ๆ ไป

(๑๐) ขอให้ทา่ นท้งั หลายได้อาศยั ความยตุ ิธรรม และความเจรญิ ทางยตุ ธิ รรม
นี้ จงสามารถปฏบิ ตั ิงาน คิดสิง่ ใดใหด้ ี และให้มคี วามสาเร็จในกจิ การ
นัน้ ๆ ให้ทวั่ ถงึ กัน

ข. ใชค้ ำเรยี กตำแหนง่ ยศ รำชทินนำม และอำจประกอบกับ “ท่ำน” ดังแสดง
ในตวั อยำ่ งท่ี (๑๑) – (๑๖)

(๑๑) ขอขอบใจทา่ นทั้งหลายในพรท่ีได้ใหม้ า โดยที่ทา่ นนายกรฐั มนตรี ไดร้ ับ
ฉันทานุมตั ิของทา่ นท้ังหลายให้กล่าว

(๑๒) ที่จริงท่านประธานสภาอาจแย้งวา่ ทา่ นนายกฯ มีคณะรฐั มนตรเี ป็น
ลกู นอ้ ง ๔๐ คน ท่านประธานสภามีเปน็ รอ้ ย กค็ วรจะมากราบบงั คมทลู
มากกว่า

(๑๓) เราไม่พูดถึงองคมนตรี เพราะมีจานวนนอ้ ย แต่เดีย๋ วท่านผู้บญั ชาการ
ทหารสูงสดุ ทา่ นมีกองทัพ กองทพั บก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ มี
จานวนเป็นพนั เป็นหมน่ื ก็จะแย้งได้ว่าใครควรจะเปน็ คนกราบบงั คมทลู

(๑๔) ก็ทาฝนเทียมทนี่ ี่ แต่น้าทีท่ ่วมไม่ใชฝ่ นเทียม น้าท่ีท่วมท่เี ชียงใหมน่ ้ี มาถูก
กกั ที่เข่อื นพระราชา แถวตาก กด็ เู หมือนไม่ค่อยมที ่วม เร่ืองของผู้วา่ ฯ ก็

๔๓

มีแคน่ ี้ ของผู้วา่ ฯ เชียงใหม่ ลาพนู แล้ว ก็ลงมาถึงตากเลย... ผวู้ า่ ฯ ตาก
อยไู่ หม
(๑๕) มาอายุ ๑ ขวบท่ีสิงคโปร์ ตอนน้นั จาไม่ไดแ้ น่ แต่โดยที่สมเด็จพระบรม
ราชชนนีท่านทรงจาได้ กไ็ ปถามทา่ น เรือ่ งราวตา่ ง ๆ ทา่ นก็ทรงเล่าให้
ฟงั
(๑๖) สมเดจ็ พระเทพฯ ได้อุตสา่ หท์ าซีดรี อมพระราชดารสั วนั ที่ ๔ ธนั วาฯ
หลายฉบับ แล้วเอาซีดีรอมน้ีมาให้

ค. ใชค้ ำบง่ บอกอำชีพ ดงั แสดงในตวั อยำ่ งท่ี (๑๗) – (๒๑)
(๑๗) เดีย๋ วนโี้ ดยมากก็พูดกนั วา่ แรน้ แค้น ฝืดเคือง ตะกี้ก็ไปเจอพอ่ ค้าคนหนึ่ง

ถามวา่ เป็นอย่างไร เขาบอกวา่ แย่ เขาไม่ไดบ้ อกว่าแย่แท้ เขาบอกวา่ ฝืด
เพราะว่าเศรษฐกิจมันฝืด
(๑๘) ถ้าเงินบาทอยู่อยา่ งเด๋ยี วน้ี นกั ธรุ กจิ ทส่ี ง่ นอกเขาบอกเขาแย่ เพราะวา่
จะไมส่ ามารถผลติ สินคา้ เพื่อที่จะไปขายตา่ งประเทศ
(๑๙) นอกจากการป้องกันน้าทว่ ม ได้ทาโครงการเพิ่มเติมสาหรบั การทาเกษตร
ทปี่ ลอดภัยและพอเพยี ง โดยใชท้ ่ีไดค้ ืนมาต้งั กองทนุ เพ่ือให้เกษตรกรทา
การเพาะปลูกได้เปน็ กลุ่ม ๆ
(๒๐) ช่วยชวี ติ เขาหมายความวา่ ช่วยชวี ติ สตั ว์น้ัน เม่ือช่วยชีวิตแล้วเป็น
อยา่ งไร เขามชี ีวิตต่อไปสาหรับมาแจกกบั ชาวนา
(๒๑) อย่างเมือ่ ก้ีเดินผา่ นทหาร ตารวจ […] นกั เรียนที่เป็นนกั เรยี นในโรงเรยี น
ราษฎร์ โรงเรยี นรฐั บาล นักศึกษาจากมหาวิทยาลยั ต่างๆ ทกุ คนพากนั
อวยพรให้ทรงพระเจริญ

การกล่าวถึงผู้ฟังและผู้อื่นด้วยการยกย่องไม่ว่าจะเป็นการใช้คำสรรพนาม
แสดงการยกย่อง “ท่าน” ประกอบตำแหน่ง หรืออาชีพก็ดี ล้วนเป็นการเพิ่มสถานะ
ให้กบั ผูฟ้ งั ให้เข้ามามีพื้นที่อยู่ในขอบเขตพื้นท่ีของผู้พดู ทเ่ี ป็นผู้นำทั้งส้ิน นอกจากนี้ยัง

๔๔

เป็นการสร้างความรู้สึกเชิงบวก เช่น ความรู้สึกได้รับเกียรติจากหัวหน้า หรือการ
มองเห็นคุณค่าของหน้าที่การงานและตำแหน่งของตนเองแม้จะต่ำกว่า อันเป็นการ
สร้างเสริมกำลังใจให้กับคนทำงานและผู้ใต้บังคับบัญชา ในพระราชดำรัสพบว่า
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ทรง
กล่าวถึงผู้ฟังมากกว่าพระองค์เองอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งเป็นการแสดงว่าทรงให้
ความสำคัญกับผูฟ้ ังในฐานะเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของสังคม และเป็นปจั จัยสำคญั
ในการขับเคล่ือนให้สังคมกา้ วเดินต่อไปข้างหนา้ ได้ ผ้นู ำจึงควรตระหนักถึงความสำคัญ
ของการใช้กลวธิ ที างภาษาง่าย ๆ เหล่านี้ด้วย

๖.๓ การนำเสนอความคดิ เหน็ อย่างเปน็ มิตร

นอกจำกกำรกล่ำวถึงตนเองและผูอ้ ื่นแล้ว กำรแสดงควำมเป็นผูอ้ ่อนน้อมถ่อม
ตนยังอำจเกิดขึ้นได้ด้วยกำรแสดงควำมคิดเห็นที่มีควำมระแวดระวัง ไม่กล่ำวตรง ๆ
ในทำงภำษำเรียกว่ำ “กำรแสดงควำมเบ่ียงบงั ” (hedging) กลำ่ วคอื เบี่ยงบงั กำรตดั สนิ
เบี่ยงบังกำรใช้อำนำจ ส่งผลให้ลดทอนควำมแข็งกร้ำว โดยใช้คำที่ลดกำรแสดงควำม
แข็งกร้ำวทำงควำมคิด เช่น “อำจ” “อำจต้อง” “อำจจะ” “อำจจะต้อง” “น่ำจะ”
“ควร” เพื่อเปิดโอกำสให้ผู้ฟังมีพื้นที่ในกำรแสดงควำมคิดเห็นหรือแสดงควำมไม่เห็น
ด้วยกรณีท่ีมีขอ้ มลู เชิงประจักษ์ท่ีขัดแยง้ กับสิ่งทีเ่ รำพูด ในข้อมูลพระรำชดำรัสก็พบกำร
ใชค้ ำประเภทนเ้ี ชน่ กัน ดังแสดงในตัวอยำ่ งที่ (๒๒) – (๓๐)

(๒๒) ถ้าไมร่ ู้จักควบคุมความรู้ท่มี ีในทางวัตถุก็อาจเกิดความเดือดรอ้ นต่อผู้อ่ืน
(๒๓) เสรภี าพของเราอาจเปน็ การกาจัดเสรภี าพของคนอื่นก็ได้
(๒๔) คาว่าปรารถนาดนี ี้อาจจะไมด่ จี ริงก็ได้ แตว่ ่าถือวา่ ดีจรงิ เพราะเหตุวา่

ท่านท้งั หลายได้มาดว้ ยความสมคั รใจ และมาอย่างมิได้เช้ือเชญิ พดู อยา่ ง
นี้อาจจะไม่ค่อยสภุ าพนัก แต่ยนิ ดีตอ้ นรบั
(๒๕) แมบ้ างทีตัวเองอาจตอ้ งเหนด็ เหนือ่ ยหรือต้องต่อส้ใู นตัวเอง

๔๕

(๒๖) ต้องใช้เช้อื เพลงิ ใช้ไม้ ไม้ไม่มีตอ้ งไปตดั ป่า มันกย็ ุ่งกันใหญ่ มนั ก็โยงกัน
ไปๆ ในที่สดุ ก็อาจจะต้องขาย ขายก็ขายไม่ได้ เพราะวา่ บอกว่าให้ไป
แล้วหา้ มขาย ในที่สดุ อาจจะต้องไปสมคบกับใครให้มาขโมยไป

(๒๗) พยายามใหอ้ านาจฝ่ายดีของส่วนรวมขึน้ หน้าอานาจฝ่ายเลว อย่างนน้ั
น่าจะทาใหบ้ า้ นเมืองไปรอด

(๒๘) ผลประโยชนอ์ ันนนั้ ก็นา่ จะไดป้ ระมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ซงึ่ คิดพิจารณาดู
แลว้ ก็รู้สึกว่านับวา่ คุ้มในการทา

(๒๙) เมื่อผสมกนั เขา้ แล้วเป็นอนั ตราย ควรทจี่ ะควบคมุ การขายและการมีไว้
ในครอบครองวา่ มไี ว้เพ่ือจะใช้ประโยชนจ์ ริง ๆ

(๓๐) เคยยืนยันมาหลายคร้ังแล้วว่าควรจะใชค้ าว่าธนาคารโคกระบือ
เชน่ เดียวกับธนาคารข้าว

การใช้คำช่วยหน้ากริยาดังแสดงในตัวอย่างที่ (๒๒) – (๓๐) จะช่วยให้การ
นำเสนอความคิดเห็นของผู้นำมีความเป็นมิตร ลดทอนความรู้สึกของผู้ฟังว่าเป็นการ
บังคับให้ทำหรือให้เชื่อตาม อย่างไรก็ดี ในกรณีที่เป็นประเด็นสำคัญที่ต้องการกระตุ้น
เตือนใหผ้ ้ฟู งั เกิดความตระหนักในความสำคัญน้ัน กส็ ามารถใชค้ ำช่วยหน้ากริยาที่แสดง
ความจำเปน็ เช่น คำว่า “ต้อง” “จะต้อง” ดงั แสดงในตัวอย่างที่ (๓๑) – (๓๓)

(๓๑) คนไหนที่พูดภาษาไทยไม่ชัดก็เป็นคนไทยทุกคน แต่ก็ต้องร่วมมือกัน
เข้าใจกัน

(๓๒) เหตุผลมีอยู่ว่าการไมเ่ รยี บร้อยทาให้เกิดความเสยี หายแก่บา้ นเมือง
เสียหายแก่สว่ นรวมอยา่ งย่งิ ก็ในสมัยปัจจบุ นั น้ีเราไม่ใชอ่ ยู่สบาย ๆ
งา่ ย ๆ เราต้องระวังทุกฝกี ้าว เพราะว่ารอบบ้านเมืองของเรามีความ
ย่งุ เหยงิ มอี นั ตรายอยู่

(๓๓) หน้าทข่ี องแต่ละคนแตล่ ะคนก็มี และมีความสามารถแตกตา่ งกนั
จะต้องอาศัยผอู้ ื่นในสิ่งท่ีเราไม่แตกฉาน

๔๖

๗. ความนา่ เชอื่ ถอื (reliability)

กำรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือในตัวของผู้นำหรือบุคคลจำกกำรสื่อสำรระหว่ำงกัน
น้นั องค์ประกอบสำคัญนำ่ จะข้ึนอยู่กบั คุณภำพ ควำมถกู ตอ้ ง เปน็ จริงและมีตรรกะของ
สำรหรอื ข้อมูลที่นำเสนอ มำกกว่ำรูปลกั ษณภ์ ำยนอก ตำแหนง่ หนำ้ ที่ หรือควำมไพเรำะ
ในทำงภำษำของผนู้ ำหรือบุคคลนน้ั ๆ ปัจจัยเก่ียวกบั ควำมน่ำเช่ือถือของตวั ผู้พูด (เช่น
เป็นคนดี มศี ีลธรรม มีควำมรคู้ วำมสำมำรถเฉพำะตน) รวมถึงสำนวนภำษำท่ีใช้ (เช่น พูด
เก่ง สำมำรถพูดจูงใจคนได้ เจ้ำสำบัดสำนวน) ดูเหมือนจะเป็นเพียงปัจจัยเบื้องต้นที่จะ
ทำใหผ้ ฟู้ ังเช่ือและคล้อยตำม แตห่ ำกสำรทน่ี ำเสนอขำดควำมถูกต้อง มีควำมโน้มเอียง
ไปทำงใดทำงหนึ่ง หรือขำดควำมชัดเจนแล้ว ท้ำยที่สุดผู้ฟังก็จะหมดควำมเชื่อถือในผู้
พูดและสิ่งที่พูด ดังนั้น ผู้นำควรพิจำรณำกำรนำเสนอสำรที่มีคุณภำพเป็นสำคัญ เพื่อ
สร้ำงศรัทธำและควำมนำ่ เชอ่ื ถือใหแ้ ก่ตนเอง

จำกกำรศึกษำพระรำชดำรัสในพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำ
ภมู ิพลอดลุ ยเดชมหำรำช บรมนำถบพติ ร พบวำ่ ทรงสร้ำงควำมนำ่ เชอ่ื ถือในกำรสื่อสำร
โดยทรงใช้วิธีกำรทำงภำษำที่สำคัญ ๓ ประกำร ได้แก่ กำรนิยำมสิ่งที่พูด กำรแสดง
ตัวอย่ำง และกำรแสดงควำมสมั พนั ธ์ของเหตุกำรณ์ ดังรำยละเอียดต่อไปนี้

๗.๑ การนยิ าม

การนิยาม คือ การอธิบายขยายความ เพื่อให้ความหมาย รายละเอียด หรือ
ส่วนประกอบ ของคำหรือเนื้อความที่ถูกนิยาม การอธิบายขยายความคำสำคัญหรือ
แนวคิดจะช่วยให้ผู้ฟังเข้าใจเนื้อหาและสามารถเห็นภาพได้ตรงหรือใกล้เคยี งกับที่ผ้พู ูด
ต้องการมากที่สุด ผู้พูดอาจละเลยการอธิบายความหมายของคำง่าย ๆ เพราะเห็นว่า
เป็นคำธรรมดา แต่ในบางบริบท ความหมายของคำนั้น ๆ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไป
การตระหนักรวู้ ่าผู้ฟงั จะได้รับเนื้อหาของสารตรงตามทผี่ ู้พูดตอ้ งการหรือไม่ จะช่วยให้ผู้
พดู เลง็ เห็นว่าควรให้ “นิยาม” กับคำหรอื แนวคดิ ส่วนใดบา้ ง

๔๗

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถ
บพติ ร ทรงนิยามคำและแนวคดิ โดยใช้คำกริยา “คอื ” “เปน็ ” “หมายถงึ ” “หมายความ
วา่ ” และ “แปลว่า” ดงั แสดงในตัวอยา่ งที่ (๓๔) – (๔๓)

(๓๔) เพิม่ พูนผลผลิตในหน้าแลง้ กไ็ ด้ผลสองเท่าตวั คือไม่ต้องใช้เงนิ แก้ไข
หรอื บรรเทาทุกข์ของประชาชน ซ้าจะไดใ้ หป้ ระชาชนทากินไดเ้ พ่ิมพูน
ข้นึ ไปเกอื บสองเทา่

(๓๕) ผู้ปกครองประเทศก็ต้องเปน็ คนมีความร้กู ่อน คอื ผทู้ ี่จะมาขู่ตอ้ งมี
ความรู้ ผูท้ ีร่ บั ฟังการข่กู ็ต้องมีความรู้ เพ่ือท่จี ะไม่ให้ความหนกั ใจใน
ระดับโลก

(๓๖) ออกไปเปน็ ฤาษอี ยูบ่ นยอดภูเขา แตว่ ่าการท่ขี ้นึ ไปอยู่บนยอดภูเขานน้ั ก็
อาจไดป้ ระโยชน์แกต่ วั เองเท่านนั้ ไม่ได้ประโยชน์เตม็ ท่ี เพราะไมไ่ ดช้ ่วย
ให้ส่วนรวมดขี ึ้น เป็นการขึ้นภเู ขาอยูค่ นเดยี ว

(๓๗) ขอให้ถอื ว่าการทาประโยชน์เปน็ ความสนกุ สนาน เป็นความบนั เทงิ ของ
ตวั เรา

(๓๘) ความรูท้ างวตั ถุนน้ั ก็จะต้องประสานดว้ ยความรู้ทางจิตใจ หมายถึงวธิ ที ่ี
จะคมุ้ กันปอ้ งกันรา่ งกายของตัวคือวตั ถุ ต่อสง่ิ ท่ีไมเ่ ปน็ วตั ถุ ตอ่ นามธรรม
ท่ีเปน็ จิตใจ คือความโลภ ความโกรธ ความหลง ความกระหาย

(๓๙) แตล่ ะคนท่มี ีจดุ ประสงค์ในชีวติ ก็ขอใหส้ าเร็จโดยดี หมายถึงวา่ สงิ่ ใดท่ี
ทาถกู ต้องทยี่ ตุ ิธรรม และก็ท่ีเป็นประโยชน์ทแ่ี ทจ้ รงิ โดยชอบศลี ชอบ
ธรรม

(๔๐) ศาสนาถือว่าการท่ีขึน้ ถงึ ยอดดว้ ยกันน้นั เปน็ บุญที่สงู ที่สุด หมายความ
วา่ การทเี่ ราจะชว่ ยซ่งึ กนั และกันให้บรรลถุ ึงความดีพร้อมกนั น้ันเป็นบญุ
ที่สูงสดุ ทกุ ศาสนาถือเชน่ นน้ั

(๔๑) วิธีท่จี ะปราบปรามก็ปราบปราม ๒ ทาง ทางหนึง่ ปราบปรามทางจิตใจ
หรอื วา่ ชี้แจงให้เขา้ ใจวา่ การทาท่ีทาระเบิดเล่นน้นั เป็นอานาจ เปน็ ส่งิ ท่ี

๔๘

สนกุ มีเสยี งดังดว้ ย แต่ว่าเมื่อเสียงดังก็หมายความวา่ มีอานุภาพทาให้
เกดิ อันตรายได้
(๔๒) ความพอเพียงนี้กแ็ ปลว่า ความพอประมาณและความมีเหตุผล
(๔๓) ความหมายของเศรษฐกิจพอเพยี งและทาไดเ้ พยี งเศษหนึ่งสว่ นส่ีก็พอน้ัน
ไม่ได้แปลว่าเศษหน่งึ ส่วนส่ีของพื้นที่ แต่เป็นเศษหนึง่ สว่ นสีข่ องการ
กระทา

กล่ำวโดยสรุป กำรให้นิยำมด้วยกำรอธิบำยควำมหลังกริยำ “คือ” “เป็น”
“หมำยถึง “หมำยควำมว่ำ” และ “แปลว่ำ” นั้น จะช่วยทำให้ผู้ฟังเข้ำใจและเห็นภำพ
ของสิ่งที่ผู้พูดต้องกำรนำเสนอได้ตรงกับควำมตั้งใจที่แท้จรงิ ของผู้พูด ซึ่งเป็นกำรทำให้
กำรสื่อสำรเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพโดยที่ผู้ส่งสำรมั่นใจได้ว่ำ ผู้รับสำรจะได้สำรที่
ต้องกำรจะสื่อตรงกัน

๗.๒ การให้ตวั อย่าง

การกล่าวโดยปราศจากตัวอย่างมักทำให้เกิดความไม่ชัดเจนในสารที่ต้องการ
จะสื่อบ่อยครั้ง และอาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดและนำไปปฏิบัติอย่างไม่ถูกต้อง
เน่อื งจากผู้ฟังอาจจะไมเ่ ขา้ ใจหรือไม่เหน็ ภาพเดยี วกันกบั ผู้พดู หรือผูส้ ่ังการ ดังน้ัน การ
ให้ตัวอย่างท่ีชัดเจนและเพียงพอ จะช่วยสร้างความเข้าใจและความชัดเจนในสาร และ
จะนำไปสูค่ วามนา่ เชอื่ ถอื ของผพู้ ดู (ซง่ึ ในที่น้กี ค็ อื ผู้นำ) ได้

ในการนี้ ผู้นำอาจเลือกใช้คำที่เป็นตัวบ่งชี้แสดงตัวอย่าง ตามที่แสดงในพระ
ราชดำรัสได้แก่คำว่า “เช่น” “อย่างเช่น” “ยกตัวอย่าง” “เป็นตัวอย่าง” “ได้แก่”
“ประกอบด้วย” “เชน่ น/ี้ นัน้ ” ดงั แสดงในตัวอยา่ งที่ (๔๓) – (๕๑)

(๔๔) คนมาอยู่ในภมู ปิ ระเทศ ในภูมิประเทศทั้งหลายนั่นคนก็ยอ่ มต้องแก้ไข
หรือเพมิ่ เตมิ ธรรมชาติใหเ้ ปลี่ยนแปลงไป โดยมากก็พยายามที่จะให้

๔๙

เปลย่ี นแปลงไปสาหรบั ใหเ้ ป็นประโยชน์แก่ตน เช่น ตรงไหนมนี ้าก็กั้นน้า
เอาไวส้ าหรับเกบ็ ไวใ้ ช้ ทาเป็นอ่างเก็บน้าบ้าง ทาเปน็ คลองส่งนา้ ไปในท่ีท่ี
ต้องการนา้ ใชบ้ า้ ง
(๔๕) คนล้ม ก็ลม้ กนั หมดเหมือนกนั อย่างเชน่ ในขณะนี้ทา่ นยนื อยใู่ กล้ชิดกัน
ถ้าผู้หนง่ึ ผูใ้ ดจะลม้ ลงหรืออาละวาดก็เดือนรอ้ นกันหมดเพราะว่าคนที่อยู่
ขา้ งๆ กจ็ ะต้องรับความเดือดร้อน
(๔๖) นายกฯ ได้กล่าววา่ ทรงทาอะไร ๆ ดี ๆ คลา้ ย ๆ ทาอยคู่ นเดยี ว ความ
จรงิ ทุกสงิ่ ทุกอยา่ งที่ได้ทา คนอื่นทาด้วย ยกตัวอย่าง การปฏิบตั ิตาม
ทฤษฎใี หม่ เปน็ การกระทาของหลายคน ของเจา้ หนา้ ท่ีการพัฒนาส่วน
หน่ึง และของประชาชนเองท่ีทาตามทฤษฎใี หม่ ทฤษฎีใหม่น้เี ปน็ ทฤษฎี
ทไ่ี ดก้ ล่าวออกมา หรือไดแ้ สดงออกมาเมอ่ื ประมาณปี ๒๕๓๗ พิมพล์ งไป
ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ เปน็ ๓ ขัน้ และพยายามท่ีจะทาใหส้ ้นั ทส่ี ดุ การ
ทาใหส้ ้ันทสี่ ุดยอ่ มเข้าใจยาก
(๔๗) ถา้ เท้าเขาสามัคคีกันกเ็ ดนิ ได้ ถา้ หากวา่ ไมส่ ามคั คีกันกอ็ าจจะทะเลาะกัน
แลว้ ก็ไม่สาเร็จกิจในการเดนิ อันนกี้ ็เปน็ ตัวอยา่ งว่าทาไมต้องสามัคคี
ทาไมต้องสามัคคี สาหรับในสง่ิ ที่อาจจะก้าวหนา้ กวา่ หรือลึกซ้งึ กว่าสัก
เล็กนอ้ ย ก็คือผทู้ ่ีขับรถ ก่อนทีจ่ ะขบั รถตอ้ งหัดขับรถ
(๔๘) การขึน้ สวรรคห์ รอื การสาเรจ็ กค็ ือการบรรลุความสุขสุดยอดนั่นเอง แต่
ในการดาเนินถงึ ขัน้ สูงสุดยังมีข้ันอนื่ ๆ ซ่ึงสาคัญมากอย่รู ะหวา่ งทาง
ไดแ้ ก่ความสขุ ของส่วนรวม ของสังคม รวมท้งั การปกครองประเทศ การ
ปกครองส่วนรวมและการปกครองสว่ นตัว ในชีวติ ธรรมดา ๆ ทกุ วนั ๆ
ซึ่งกเ็ ปน็ ส่วนหนึง่ ของศาสนาเหมอื นกนั
(๔๙) ชีวิตท่สี อนใหร้ ู้ เพราะวา่ ทุกวันท่เี ราผา่ น เราก็ได้เห็น เราก็ได้ฟัง เราก็ได้
ปฏิบตั ิ เพราะว่าเราเป็นคนประกอบด้วยร่างกายแลว้ ก็จติ ใจ ฉะนั้น
ร่างกายและจติ ใจนี้ก็ต้องทางานไปเรอื่ ย เม่ือทางานไปเร่ือยกเ็ รียกวา่
เรียนร้ทู ุกวนั

๕๐


Click to View FlipBook Version