The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ในหลวงรัชกาลที่ 9 นับเป็นสมบัติอันมีค่าแก่พสกนิกรชาวไทย หนังสือเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการใช้ภาษาที่สะท้อนคุณลักษณะของ "ผู้นำ" จากพระราชดำรัสฯ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสื่อสารในฐานะผู้นำในทุกระดับ อันเป็นการยังประโยชน์แก่สังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงประเทศชาติ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sorabud, 2022-05-30 02:49:06

คู่มือภาษาสำหรับผู้นำ : ของขวัญจากในหลวงที่คนไทยลืมนึกถึง

พระราชดำรัสเนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ในหลวงรัชกาลที่ 9 นับเป็นสมบัติอันมีค่าแก่พสกนิกรชาวไทย หนังสือเล่มนี้นำเสนอรูปแบบการใช้ภาษาที่สะท้อนคุณลักษณะของ "ผู้นำ" จากพระราชดำรัสฯ เพื่อเป็นแบบอย่างในการสื่อสารในฐานะผู้นำในทุกระดับ อันเป็นการยังประโยชน์แก่สังคมตั้งแต่ระดับครอบครัวจนถึงประเทศชาติ

(๕๐) แต่ว่าเวลาพดู ถึงเยาวชนกย็ งั พดู ถึงคนท่ีอยูในวัยศึกษา วยั ศึกษาสำหรบั
ธรรมดา อายุประมาณ ๑๘ ก็จบโรงเรียนมัธยมหรือเตรียมอดุ ม เขา้
อุดมศึกษา ถ้านบั ๑๘ หรอื ๒๐ เปน็ เกณฑ์วา่ เปน็ ผู้ใหญเ่ ป็นเด็กกัน
ปัญหาก็ไปอีกทางหนึง่ แต่โดยมากท่ีพูดกนั โดยคลมุ เครือวา่ เยาวชน ก็
นับไปถึงผู้ท่ีศกึ ษาในมหาวทิ ยาลัย กเ็ ป็นเยาวชนกนั ไปถึง ๒๕ ถา้
วิเคราะห์ศัพท์เช่นนี้ เมอ่ื อายุถงึ ๒๕ แลว้ ก็เปน็ ผู้ใหญ่ ก่อนอายุ ๒๕ ก็
เป็นเด็ก

(๕๑) คอื วา่ ไปซอื้ จากท่โี รงฆ่าสัตว์หรอื จากที่เขานำไปจะฆา่ เพื่อท่ีจะเป็นเนื้อ
บริโภคนนั้ ก็ชว่ ยชวี ติ เขา หมายความวา่ ช่วยชวี ิตสตั ว์น้ัน เม่อื ชว่ ยชวี ิต
แลว้ เปน็ อย่างไร เขามีชีวิตตอ่ ไปสำหรับมาแจกกบั ชาวนา ต้องดูว่าสตั ว์
น้นั จะเหมาะสมหรือเปล่าสำหรับการทำงาน ถ้าเหมาะสมแลว้ ก็ไปให้
ชาวนาท่เี ขามคี วามตอ้ งการและทำงานได้เปน็ การผอ่ นแรงอย่างดี ก็
นับว่ามีประโยชนส์ มบรู ณ์ คือวา่ สัตว์ตวั น้ันไมต่ ้องตายแลว้ กส็ ามารถท่ี
จะมีชีวิตท่ีมีประโยชนต์ อ่ โลก และชาวนาทุกคนท่ไี ดร้ ับไปก็มเี ครื่องผ่อน
แรงท่ีจะทำให้ทำมาหากนิ ได้ดี เป็นความสขุ สรา้ งตวั ได้ ถ้าเป็นเช่นนั้นก็
นบั วา่ ดี

นอกจากการยกตัวอย่างโดยใช้คำบ่งชี้ที่แสดงตัวอย่างดังทีแ่ สดงแล้วนั้น จาก
การศึกษาพระราชดำรัสพบว่า ทรงเลือกใช้วิธีการเล่าเรื่องจากประสบการณ์ตรงของ
พระองคเ์ อง เพอื่ แสดงตวั อยา่ งของเหตุการณ์แก่ผู้ฟัง ดงั แสดงในตัวอย่างท่ี (๕๒)

(๕๒) เมอื งไทยนเ่ี คราะห์ดี ไม่ค่อยเป็นอย่างนี้ แต่ถา้ ไมร่ ะวงั ก็จะเปน็ ท่ีไดเ้ หน็
เพราะไปอยู่หวั หนิ นาน นานเกินไป ทำใหไ้ ปเผชิญพายุ พายุทผ่ี า่ นเขา้
ปราณฯ ความเรว็ ลม ๖๐ กโิ ลเมตรต่อช่ัวโมง แลว้ กม็ าพดั ผ่านหัวหนิ วัน
นน้ั เวลา ๑๐ นาฬิกา ทะเลเป็นบ้า นำ้ ท่วมท่บี ้าน คือทว่ี ังไกลกงั วล น้ำ
ท่วมเพราะหตุว่า ถนนท่ีผ่านตลาดกนั้ นำ้ ไว้ นำ้ ก็มาเอ่ออย่ขู ้างบน แลว้

๕๑

เมือ่ เออ่ นำ้ กท็ ่วมชาวบา้ น สดุ ท้ายก็ไปฟันถนนส่วนท่ีกัน้ ๒ ข้างของผวิ
จราจร นำ้ กไ็ หลลงมา เข้ามาในเขตวงั ไกลกงั วล แลว้ เทลงทะเล

นอกจากวิธีการเล่าเรื่องจะช่วยให้ผู้ฟังเห็นภาพตัวอย่างที่ชัดเจนมากที่สุดวิธี
หนึ่งแล้ว ในมุมมองของผู้ฟังทีม่ ีต่อผู้พูดซึ่งเปน็ ผู้นำของพวกเขา การเล่าประสบการณ์
ของผู้นำโดยตัวผู้นำเองเป็นการสร้างความเชื่อมั่นว่าผู้นำเข้าใจ เข้าถึง และจริงจังต่อ
ปัญหาและเหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้นึ ในองค์กรหรือสงั คมอยา่ งแทจ้ รงิ และอยใู่ กลช้ ดิ เป็นที่พึ่ง
ให้สมาชิกขององค์กรและชุมชน เป็นการเสริมความเข้มแข็งทางความเชื่อที่มีต่อผู้นำ
ทางออ้ มอกี ดว้ ย

๗.๓ การสรา้ งความเช่ือมโยงของเนื้อหาอย่างมีคุณภาพ

อำจเรียกได้ว่ำปัจจัยสำคัญหนึ่งของกำรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือในตัวผู้นำ คือ
กำรพูดให้รู้เรื่อง รูปแบบกำรใช้ภำษำที่แสดงไว้ใน ๗.๑ และ ๗.๒ เป็นกำรเพิ่มเติม
เนื้อหำของสำรด้วยกำรให้รำยละเอียดเพื่อให้ผู้ร่วมในสถำนกำรณ์กำรสื่อสำรเข้ำใจ
ตรงกัน อย่ำงไรก็ดี เพื่อให้เกิดประสิทธิภำพสูงสุดในกำรสื่อสำร กำรนำสำรจำกผู้ส่ง
สำรไปสู่ผู้ฟังนับเป็นประเด็นที่ท้ำทำยอย่ำงย่ิง หำกผู้พูดหรือผู้ส่งสำรไม่สำมำรถทำให้
ผฟู้ งั เขำ้ ใจเนื้อหำของสำรได้ กำรสื่อสำรนัน้ ๆ กเ็ ปน็ กำรสือ่ สำรที่ล้มเหลว

ควำมสำมำรถในกำรร้อยเรียงเนื้อหำของสำรที่ประกอบด้วยเหตุกำรณ์และผู้
รว่ มในเหตกุ ำรณ์ทห่ี ลำกหลำยให้เกิดควำมสอดคล้องมีควำมเป็นเหตุเป็นผล จึงนับเป็น
ทกั ษะท่ีสำคัญมำกสำหรับผู้นำ และเป็นเคร่อื งมือสำคัญท่ีแสดงว่ำผู้นำน้ันมีวำทศิลป์ใน
กำรจูงใจและสร้ำงควำมยอมรับนบั ถือจำกสมำชิกในองค์กรหรือสังคมมำกน้อยเพยี งใด
เครื่องมือทำงภำษำที่แสดงควำมสอดคล้องและควำมเห็นเหตุเป็นผลของเนื้อหำ คือ
คำเชื่อมแสดงควำมสมั พันธ์ประเภทต่ำง ๆ ไดแ้ ก่ คำเชื่อมแสดงเง่ือนไข “ถ้ำ” คำเช่ือม
แสดงเหตุผล เช่น “เพรำะ” “เพรำะว่ำ” “ก็เพรำะ” “เพรำะเหตุว่ำ” “เนื่องจำก”

๕๒

คำเชื่อมแสดงกำรสรปุ เช่น “สรุป” “นับว่ำ” “เพรำะฉะนั้น” “ฉะนั้น” “ในที่สุด” ดัง
แสดงในตัวอย่ำงพระรำชดำรสั (๕๒) – (๖๕)

คำเชอ่ื มแสดงเงือ่ นไข
(๕๒) ถ้าจะคิดทำอะไร ก็ต้องมีคนอื่นช่วยคิดช่วยทำด้วย ถ้าคิดอยู่คนเดียวมี

ข้อเสียหลายอย่าง ข้อเสียทมี่ ากทีส่ ุดก็คือคนคิดคนเดียวไม่สามารถท่ีจะ
คดิ ทำงานใหญ่ เชน่ การบรหิ ารประเทศ ทำแตผ่ ้เู ดียวไม่ได้
(๕๓) ถา้ คนดีเข้มแขง็ ในความดจี ะใหค้ นเลวมาทำให้คนดีเป็นคนเลวยาก

คำเช่อื มแสดงเหตผุ ล
(๕๔) ไมต่ ้องกลวั เพราะผูท้ ท่ี าในสิง่ ที่บริสุทธ์ิ แม้ถึงจะตายก็ตายดี ที่เขา

เรยี กวา่ ผู้น้นั ตายดกี ็หมายความว่าเขาไปดี เขาไม่ต้องเป็นห่วงอะไรเลย
เขาทาแต่ความดี
(๕๕) เวลาน้าทว่ มเสรจ็ นา้ มนั ไม่เหลือจะให้ปลกู ขา้ ว เพราะว่าถา้ น้าทว่ มแลว้
ข้าวเสยี ก็ต้องปลกู ใหม่ เม่ือปลกู ใหม่น้าก็ไม่มีแลว้
(๕๖) อยา่ งน้ีก็ถือเป็นศาสนาไดท้ ัง้ น้นั ในเมืองไทยนีใ้ ครจะถือปฏิบัติตาม
ศาสนาใดก็ได้ทั้งนัน้ เคยช้ีแจงอยูเ่ สมอว่าเมอื งไทยน้อี ยู่ได้ก็เพราะไมม่ ี
การกีดกันว่าคนโนน้ ศาสนาโน้นคนน้ีศาสนานี้
(๕๗) ถ้าคนใดทำหนา้ ที่เฉพาะของตวั โดยไม่มองไม่แลคนอ่นื งานก็ดำเนินไป
ไมไ่ ด้ เพราะเหตวุ ่างานทุกงานจะต้องพาดพงิ กัน จะต้องเกยี่ วโยงกัน
(๕๘) แลว้ ถ้าจะทาได้ ใหน้ า้ ท่ีอยแู่ ถวน้ี (จุดท่ี ๒๐ ทางตะวันตกของอยุธยา)
ลงมาแถวน้ี (ทางแม่นา้ ท่าจีน) ทัง้ น้ี เพื่อบรรเทาความเดอื ดรอ้ น
เน่ืองจากนา้ ทเี่ ออ่ ขึ้นไป ฉะน้ันต้องหาวธิ ที าให้น้าท่ลี งมาจากทางเหนือ
ออกไปสู่ทะเลได้ จงึ เกดิ “โครงการแก้มลงิ ” “โครงการแก้มลิง” น้ี
จะตอ้ งอธบิ ายนดิ หน่อย

๕๓

คำเชอ่ื มแสดงกำรสรุป
(๕๙) สรุปแล้วบคุ คลนัน้ มาถาม มาขอโอวาท ไม่ให้ เพราะว่าของเขาดีกวา่ .

แต่เขาขออีกเลยบอกเขาว่าถา้ อยากให้ใหโ้ อวาทคืออยากรับโอวาท เอา
จะบอกให้ ใหฟ้ ังดี ๆ
(๖๐) ส่วนโครงการท่ีเขยี นมาคนื วันนัน้ กไ็ ด้ผลประโยชน์ตามทเี่ ขาเขยี นไวแ้ ต่
เดิม ในโครงการน้ันผลประโยชน์ ๑,๒๐๐ ไร่ คูณ ๒ แตเ่ ขา้ ใจวา่ ถ้าทำ
ดี ๆ ตอ่ ไป ผลประโยชน์อันนั้นก็นา่ จะไดป้ ระมาณ ๒๐,๐๐๐ ไร่ ซงึ่ คิด
พิจารณาดูแลว้ ก็ร้สู กึ วา่ นบั วา่ คุ้มในการทำ
(๖๑) แต่ทป่ี ระเทศเราไดช้ ื่อว่าลา้ หลงั อย่างทีเ่ รยี กอย่างสุภาพวา่ เป็นประเทศ
กำลังพฒั นา กเ็ พราะว่าถา้ เปรียบกับประเทศพฒั นาแลว้ คนของเขาที่
ทำงานเขาทำงานอยา่ งดุเดอื ดกวา่ แล้วกท็ ำอย่างเปน็ ธุรกิจ ธรุ กจิ อยา่ ง
เขม้ งวด คนไหนเอาเปรยี บได้ก็เอาเลย เพราะฉะนั้นถา้ ใชร้ ะบบ ขาดทนุ
คือกำไร นี้ก็คงใชไ้ ม่ได.้
(๖๒) ถา้ สามารถท่จี ะเกบ็ นำ้ ที่ลงมาท่วม สกดั ไว้ไม่ให้ลงมาท่วม ก็จะบรรเทา
การท่วมและลดความเสียหาย ฉะน้ันการหาทางทจี่ ะเกบ็ น้ำทีล่ งมาทว่ ม
เอาไว้ได้สำหรบั ให้เปน็ นำ้ ท่ีให้คณุ ท่ชี ่วยใหม้ รี ายได้ กจ็ ะเป็นการทวีคูณ

ในสถานการณ์การสื่อสารทั้งทางเดียวและสองทาง เช่น การกล่าวสุนทรพจน์
การบรรยาย หรือการอภิปราย ล้วนเป็นรูปแบบการสื่อสารที่ต้องเชื่อมโยงเนื้อหา
หลายส่วน ดังนั้นความสัมพันธ์ระหว่างสารที่นำมาเชื่อมโยงจึงมีรูปแบบที่หลากหลาย
ด้วย ลักษณะดังกล่าวส่งผลต่อความจำเป็นในการสร้างรูปภาษาที่มีโครงสร้างซับซ้อน
นำไปสู่การผสมผสานการเชื่อมโยงเหตุการณ์ด้วยคำเชื่อมที่หลากหลาย ดังแสดงใน
ตวั อย่างท่ี (๖๓) – (๖๕)

๕๔

(๖๓) ถ้าคนใดทำหน้าที่เฉพาะของตัวโดยไม่มองไม่แลคนอื่น งานก็ดำเนินไป
ไม่ได้ เพราะเหตุว่างานทุกงานจะต้องพาดพิงกัน จะต้องเกี่ยวโยงกัน
ฉะนั้นแต่ละคนจะตอ้ งมคี วามร้ถู งึ งานของผู้อืน่ แลว้ กช็ ่วยกนั ทำ

(๖๔) อย่างผ้วู ่าฯ จงั หวัดน่านตะกี้ มาเสนอ ๓ เขือ่ นน้ีกเ็ ป็นประโยชน์ดีมาก
สามารถทจ่ี ะจี้ตรงจดุ ท่ีถูกต้อง เพราะวา่ ถ้ามี ๓ เขื่อนนี้ ก็จะสามารถที่
จะเกบ็ นา้ เอาไวไ้ ด.้ ก็จะบรรเทาความเดือดรอ้ นของบรเิ วณทถ่ี กู นา้ ท่วม
ดา้ นล่าง เน่อื งจากการปล่อยนา้ จากเขื่อนพระนางเจา้ ฯ

(๖๕) ประโยชน์ของตวั เองน้กี ็อย่ทู ป่ี ระโยชนข์ องสังคมดว้ ย เพราะเราอยใู่ น
สงั คม ถา้ ไมร่ ู้จักควบคมุ ความรู้ทีม่ ีในทางวตั ถุกอ็ าจเกิดความเดอื ดร้อน
ตอ่ ผอู้ ืน่ ในท่สี ดุ ก็เปน็ ความเดอื ดรอ้ นต่อตนเอง

ในกรณีที่ผู้ส่งสารหรือผู้นำมีความกังวลเกี่ยวกับการใช้ภาษาที่มีโครงสร้าง
ซับซ้อนดังแสดงในตัวอย่างที่ (๖๓) – (๖๕) อาจพิจารณาการใช้โครงสร้างประโยคที่มี
ความซับซ้อนน้อย กล่าวคือ ประกอบด้วยคำเชื่อมเพียง ๑ หรือ ๒ คำเท่านั้น และใช้
ประโยคสน้ั ๆ ทดแทน

๕๕

๘. ความเปน็ ปึกแผ่น (solidarity)

อมรำ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (๒๕๕๘) กล่ำวว่ำ ควำมเป็นปึกแผ่นเป็นคุณลักษณะ
หนึ่งที่พบในภำษำที่แสดงอำนำจ โดยได้นิยำมคำว่ำ “ควำมเป็นปึกแผ่น” ว่ำคือ
ควำมสัมพนั ธ์ท่แี น่นแฟน้ ระหวำ่ งคนที่มีควำมรูส้ กึ ร่วมกันในเรือ่ งใดเรือ่ งหนึ่ง (หนำ้ ๓๕)
อำจเป็นเรื่องของอุดมกำรณ์หรือควำมประพฤติปฏิบัติที่เหมือนกัน และควำมเป็น
ปึกแผ่นนี้มักเกิดจำกกำรเป็นสมำชิกของกลุ่มหรือสังคมเดียวกัน ซึ่งอำจมีสถำนภำพท่ี
เทำ่ เทยี มหรือต่ำงกนั ได้

กำรใชภ้ ำษำทส่ี ะทอ้ นควำมเปน็ ปึกแผ่นมักพบในภำษำกำรเมืองมำกทส่ี ดุ ทั้งน้ี
อำจเนื่องจำกกำรเมืองเป็นเรื่องส่วนรวม ผู้ที่สำมำรถรักษำสถำนภำพอยู่แวดวง
กำรเมืองได้อย่ำงยำวนำนเช่นนักกำรเมืองที่ได้รับกำรเลือกตั้งหลำยสมัย รวมถึง
นักกำรเมืองระดบั ผูน้ ำประเทศ เช่น ประธำนำธิบดี นำยกรัฐมนตรี ลว้ นมีวัจนลีลำหรือ
กลวิธีในกำรใช้ภำษำทีเ่ ช่ือมโยงกับคุณลกั ษณะควำมเปน็ ปึกแผน่ ทง้ั สนิ้

อนงค์นำฏ นุศำสตร์เลิศ และนัฐวุฒิ ไชยเจริญ (๒๕๕๘) พบว่ำ ควำมเป็น
ปกึ แผ่นพบในภำษำกำรเมืองไทย ในกิจกรรมกำรปรำศรัยหำเสียง หรอื กำรออกรำยกำร
วิทยุโทรทัศน์ของนักกำรเมือง กำรแสดงควำมเป็นปึกแผ่นของนักกำรเมืองมี
วตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อสร้ำงควำมน่ำเช่ือถืออันจะนำมำซ่ึงแรงสนับสนนุ ของประชำชนในกำร
เลือกนักกำรเมืองเข้ำสู่อำนำจในกำรบริหำรประเทศ (หน้ำ ๖๙) รูปภำษำท่ี
นกั กำรเมอื งใช้เพื่อแสดงควำมเปน็ ปกึ แผน่ ไดแ้ ก่ คำสรรพนำมและคำเรียกขำน ในกรณี
ทผี่ ู้พดู และผฟู้ งั มสี ถำนภำพทำงสงั คมต่ำงกนั

๘.๑ การแสดงความมีตัวตนของ “สว่ นรวม”

ในทำงอ้อม กำรใชค้ ำเรยี กเพ่ือลดสถำนภำพทำงสังคมอำจช่วยสร้ำงควำมเป็น
ปึกแผ่นได้ในระดับหนึ่ง อย่ำงไรก็ดี ผู้เขียนมองว่ำหำกเน้นย้ำผู้ฟังให้เกิดควำมรู้สึกถึง
“ควำมเป็นพวกพ้อง” ด้วยกำรควบรวมตัวของผู้นำซึ่งเป็นผู้ส่งสำรเข้ำกับสมำชิกใน

๕๖

สังคมที่เป็นผู้รบั สำรหรือผู้ฟัง น่ำจะเป็นกลวิธีทำงตรงที่สะท้อนถึงควำมเปน็ ปึกแผ่นได้
อยำ่ งเปน็ รูปธรรมมำกกว่ำ ลกั ษณะดงั กลำ่ วจะทำให้เห็นว่ำ ผู้นำมคี วามใส่ใจในองค์กร
หรือสังคมองค์รวม ไม่ทำงานโดยมุ่งเน้นบางกลุ่มหรือพวกพ้องของตนเท่าน้ัน
นอกจากนี้ ยังเป็นการสร้างความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กรหรือสังคมแก่หมู่สมาชิก อัน
เป็นปัจจัยหลักของความเป็นปึกแผ่นที่เข้มแข็งและนำไปสู่ความสามัคคีของบรรดาหมู่
สมาชิกอีกด้วย จากการศึกษาพระราชดำรสั พบว่า ทรงเลือกใช้คำประเภทต่าง ๆ เพ่ือ
สร้างความมีตัวตนของสมาชิกว่าเป็นส่วนสำคัญของส่วนรวม และให้เล็งเห็น
ความสำคัญของการดำเนินกิจกรรมหรือปฏิบัติงานเพื่อ “ส่วนรวม” ซึ่งผู้นำสามารถ
นำไปประยกุ ต์และใช้บริบทของตนเองได้ดังต่อไปน้ี

คำกลุ่มแรกที่แสดงความเป็นส่วนรวม คือ คำสรรพนามที่อ้างถึง สมาชิก
ทั้งหมดในองค์กรหรือสังคม เช่น “เรา” “พวกเรา” “เราทุกคน” “พวกเราทุกคน”
“พวกเราทัง้ หลาย” เป็นต้น ดงั แสดงในตัวอย่างท่ี (๖๖) – (๗๑)

(๖๖) ทกุ อยา่ งเป็นธรรมดาที่มีท้ังคณุ และโทษ ถ้าเราใช้ดี ๆ ก็เป็นคุณ ถา้ เรา
ใช้ไมด่ กี ็เป็นโทษ

(๖๗) เรามบี า้ นเมืองแล้ว เราตอ้ งรกั ษาไว้ไมใ่ ชท่ าลาย ใครอยากทาลาย
บ้านเมอื ง กเ็ ชิญทาลาย เราสู้

(๖๘) พวกเราก็เหมือนกัน แตล่ ะคนก็มหี น้าที่ อาจจะมีส่วนในการทาให้ถว่ ง
ความก้าวหนา้ ของกายใหญ่คือประเทศชาตกิ ็ได้

(๖๙) ถา้ เราทุกคนทาหนา้ ทดี่ ี ๆ และพยายามที่จะสมานสามคั คีกันให้ดี
ชว่ ยกัน เราก็ไมต่ าย แลว้ ข้อพสิ ูจน์กค็ ือทุกคนทยี่ นื อยใู่ นท่ีน้กี ย็ ังไม่ตาย
กไ็ ม่ใช่ “ตายแลนด์”

(๗๐) ประเทศไทยนีท่ าไมยังอยูไ่ ด้ กเ็ พราะพวกเราทกุ คนสร้างความดี คือ
ปฏิบตั ิในส่งิ ท่ีสุจริต โดยบรสิ ทุ ธใ์ิ จและต้ังใจดี อาจมีผดิ พลาดบ้าง แตว่ ่า
ไมไ่ ด้ตัง้ ใจผิดพลาด ต้ังใจทาดี กเ็ ปน็ การสร้างกาลงั ของบ้านเมอื งให้
ทนทาน

๕๗

(๗๑) ขอให้พจิ ารณาถึงความเสียหายถึงสว่ นรวมบา้ งดว้ ย พวกเราทั้งหลายมี
หนา้ ทีด่ ว้ ยกนั ท้ังน้นั ทจ่ี ะชท้ี างใหผ้ ูห้ ลงทางได้กลับคนื มาสทู่ างทถี่ ูกที่
เหมาะสม

นอกจำกนี้ อำจพิจำรณำใชค้ ำสรรพนำมหรือคำอนื่ ที่หมำยถึงองค์กรหรือสังคม
โดยรวม ดังเช่นตัวอย่ำงที่พบในพระรำชดำรสั ทีท่ รงใช้คำสรรพนำม “เรำ” หรือคำอื่น
เช่น “ประเทศชำติ” “ประเทศของเรำ” “ประเทศไทย” “เมอื งไทย” หรือ “ส่วนรวม”
แทนประเทศไทยองคร์ วม เป็นต้น ดงั แสดงในตัวอยำ่ งที่ (๗๒) – (๗๘)

(๗๒) ต่างประเทศที่เป็นมหามิตรกับเรา ที่เรยี กวา่ เปน็ คสู่ ญั ญาทไ่ี ด้ชว่ ยกนั
รักษาความปลอดภยั ใหบ้ รเิ วณในแถบนี้ของโลกหรือพวกท่ีเรยี กวา่ มา
ช่วยเราหลายพวก

(๗๓) ความจรงิ เมืองไทยน่ียังดี ไม่ใชอ่ วดวา่ เราร่ารวย ไมใ่ ช่อวดว่าเราเป็น
มหาอานาจนะ ไม่ใช่วา่ เราเปน็ ประเทศทห่ี รูหรา แตว่ า่ เราพออยู่ได้

(๗๔) ถ้างบประมาณแผ่นดินสูง เขากป็ ลมื้ บอกวา่ ประเทศชาติเจรญิ รุ่งเรือง
เพราะว่าใช้เงินมาก อันนีเ้ ศรษฐกจิ อยใู่ นตาราวา่ ถา้ ย่ิงหมนุ มากย่งิ ดี ยงิ่
แพงยิ่งดี

(๗๕) มีสภาพการไมเ่ หมือนกับประเทศของเรา ยกตัวอย่างในเมอื งไทยเดีย๋ วน้ี
แตง่ ตวั ชุดสากลแบบนก้ี ร็ ้อนไมเ่ หมาะสมกบั ภมู ิอากาศของประเทศไทย

(๗๖) ตัวอยา่ งมาจากแหลง่ ท่ีมีสภาพการไม่เหมือนกบั ประเทศของเรา
ยกตัวอย่างในเมืองไทย เด๋ยี วนี้ แตง่ ตัวชดุ สากล

(๗๗) เมตตาซึ่งกันและกันน้นั เป็นความคิดหรือเป็นจติ ใจท่ีดี เอาจติ ใจทีด่ นี ี่มา
เป็นสามัคคีกท็ าให้สว่ นรวมอยไู่ ด้ และความจริงประเทศชาตกิ ็จะอยู่ได้
กเ็ พราะสามัคคีท่ีมาจากใจท่ดี ี

(๗๘) เพื่อที่ทุกคนจะได้ทาหน้าที่ของตน เปน็ ประโยชนต์ ่อส่วนรวม ซง่ึ แตล่ ะ
ท่านก็เปน็ ส่วนหน่งึ ของส่วนรวม

๕๘

๘.๒ การตอกยำ้ เปา้ หมาย

การมีเป้าหมาย เป็นปัจจัยสำคัญในการการสร้างความชัดเจนให้กับสมาชิกใน
องค์กรหรือสังคมให้พร้อมจะร่วมหัวจมท้ายในการดำเนินกิจกรรมหรือโครงการเพื่อ
พัฒนาองค์กรและสังคม ผู้นำควรพิจารณาสร้างความชัดเจนด้วยการเน้นย้ำถึง
เป้าหมายที่พึงประสงค์ให้สมาชกิ ทราบ การทราบและมีเป้าหมายร่วมกันจะทำให้การ
ใหค้ วามรว่ มมอื ของสมาชกิ เปน็ ไปอยา่ งมีความหมาย และสร้างความเป็นปึกแผน่ ความ
สามัคคีในองค์กรหรือสังคมนั้น ๆ ได้ ตัวอย่างของคำแสดงเป้าหมายในบริบทของ
“ประเทศไทย” ที่พบในพระราชดำรัส ที่แสดงถึงเป้าหมายในมุมมองของ
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศ มหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร คือ
“ความสุข” “ความสงบ” “ความสงบเรียบร้อย” “ความเจรญิ ” “ประโยชน์” ดังแสดง
ในตัวอยา่ งท่ี (๗๙) – (๘๔)

(๗๙) ทำงานเพอื่ อะไร ก็ทำเพ่ือความสขุ ทุกคนกต็ ้องการความสุข
(๘๐) ขอให้ทกุ ทา่ นได้คน้ ควา้ ไดส้ นใจและปฏิบตั ิอย่างดีท่ีสดุ เพื่อความสงบ

ของสงั คม เพื่อความเข้าใจในทางทีถ่ ูกของประชาชนท่วั ๆ ไป
(๘๑) ทุกคนชว่ ยรกั ษาความเรียบร้อยดว้ ยเหตผุ ล เพอ่ื ความเปน็ อยู่ของ

ประเทศไทย . ถ้าในทปี่ ระชมุ นี้แสดงใหเ้ หน็ วา่ มีความสงบเรียบร้อยและ
มีความปลาบปลม้ื ก็ขอใหป้ ระเทศไทยมีความสงบเรยี บรอ้ ย มีความ
ปลาบปลืม้ ได้ตลอดไป
(๘๒) แตว่ า่ ถ้าคดิ จะทำอะไรที่สุขสำราญแก่ตวั เองแลว้ ก็ไม่คิดถึงผู้อ่ืนคอื ไปก้าว
กา่ ยเสรีภาพของผ้อู ่ืน ไปเบยี ดเบียนคนอ่ืนซึ่งเปน็ การเบียดเบยี นส่วนรวม
ความสขุ สำราญนั้นก็จะไมเ่ กิดขน้ึ อย่างถาวร ... ถ้าใช้ความพิจารณาที่
รอบคอบในข้อนข้ี ้อเดยี ว กจ็ ะทำให้กิจการกิจกรรมและสงิ่ ที่ปรารถนามี
ความเจรญิ งอกงามดี มีความสุข มีความเจรญิ โดยแท้ จะไมม่ ีความ
วนุ่ วายใด ๆ

๕๙

(๘๓) สามคั คีน้ีถา้ หากว่ามที กุ ฝา่ ยท่ีมหี นา้ ที่แตกต่างกนั กส็ ามารถท่ีจะผนึกงาน
ของตนให้เป็นหนึง่ หมายถงึ วา่ ให้เปน็ เพ่อื ประโยชน์ของส่วนรวม ซ่ึงใน
ทีน่ สี้ ่วนรวมก็คอื ประเทศชาติ ซงึ่ เราก็ได้ก่อตัง้ มาตง้ั แต่บรรพบุรษุ

(๘๔) ใครทาอะไร มีหน้าท่ีอะไรก็ขอให้ทาได้อยา่ งดี และชว่ ยกนั รว่ มมอื กัน
ทาเพ่ือความสงบสุข และความเจรญิ ของประเทศและประชาชน

จากตัวอย่างการใช้คำแสดงเป้าหมายซ้ำ ๆ ในพระราชดำรัส เป็นการตอกย้ำ
ให้ผู้ฟังได้ตระหนักถึงความสำคัญของแนวความคิดหรือข้อเสนอแนะที่ผู้พูดกำลัง
ต้องการนำเสนอวา่ เป็นไปเพ่อื ม่งุ ไปสเู่ ป้าหมายและความสำเรจ็ ท่สี ำคัญร่วมกัน และยัง
เป็นการปลุกขวัญและกำลังใจของผู้ฟังให้เห็นความสำคัญของการรวมพลังกันปฏิบัติ
ภารกจิ น้ัน ๆ อกี ดว้ ย

๘.๓ การนำเสนอวิธีการ

หำก “เป้ำหมำย” เปรียบเสมืองจุดหมำยปลำยทำงของกำรเดินทำงแล้ว
“วิธีกำร” ก็คงไม่ต่ำงกับพำหนะและเข็มทิศ ที่จะนำพำให้เรำไปสู่จุดหมำยปลำยทำง
กำรชีน้ ำวธิ กี ำรในกำรดำเนนิ งำนหรือปฏิบัติงำนโดยผู้นำเป็นกระบวนกำรสำคัญที่จะนำ
องค์กรหรือสังคมไปสู่เป้ำหมำย “ร่วมกัน” นั่นเอง หำกกำหนดแต่เพียงเป้ำหมำย ผู้
ปฏิบัติอำจมีแนวทำงที่แตกต่ำงกันที่อำจจะนำไปสู่ควำมขัดแย้งในกำรปฏิบัติงำน หรือ
หำกแยกกันปฏิบตั ติ ำมแบบแผนของตน กจ็ ะทำให้องค์กรหรือสงั คมโดยรวมไม่สำมำรถ
ก้ำวไปสู่เป้ำหมำยร่วมกันได้อย่ำงมีเอกภำพ ดังนั้น กำรนำเสนอวิธีกำรเพื่อเป็น
แนวทำงชน้ี ำในเบ้ืองต้นจึงมีควำมสำคัญในบทบำทของควำมเป็นผู้นำ เช่นเดียวกับต้น
หนเรือท่กี ำหนดวำ่ เรอื ต้องหนั ไปทำงทิศทำงใดจงึ จะไปสเู่ ปำ้ หมำยรว่ มกนั ไดน้ ่นั เอง

พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถ
บพิตร ทรงเลือกใช้คำกริยำและคำวิเศษณ์ ที่มีควำมหมำยแสดงถึงวิธีกำรที่น่ำสนใจ
ดังต่อไปนี้

๖๐

คำกลุ่มแรกคือ คำที่มีควำมหมำยถึง “ควำมร่วมแรงร่วมใจ” คำในกลุ่มน้ี
ประกอบด้วยคำกริยำและคำวิเศษณ์ เช่น “ร่วมมือ” “ร่วมกัน” “ร่วมแรงกัน”
“รวมกัน” “ด้วยกัน” “ช่วย” “ช่วยกัน” “ช่วยเหลือ” “ช่วยเหลือกัน” “สำมัคคี”
ดังแสดงในตวั อยำ่ งที่ (๘๕) – (๙๓)

(๘๕) มหี น้าท่ีอะไรก็ขอให้ทาไดอ้ ยา่ งดี และช่วยกัน รว่ มมือกัน ทาเพ่ือความ
สงบสุข และความเจรญิ ของประเทศและประชาชน

(๘๖) คนไทยทกุ คนก็คงเป็นห่วงว่า ประเทศไทยจะอยูห่ รือจะไป ฉะนัน้ เปน็
การยืนยันวา่ เมืองไทยยังพอที่จะไปได้ ก็เพราะความต้งั ใจร่วมกนั ของ
ทกุ คนในชาติ

(๘๗) คนจะตง้ั อยใู่ นความสามคั คี ช่วยร่วมแรงกัน เพื่อปฏิบัตงิ านทเ่ี ปน็
ประโยชน์ เป็นประโยชน์ต่ออะไร ตอนน้ีก็ต้องบอกวา่ เปน็ ประโยชน์ต่อ
ส่วนรวม

(๘๘) ในประเทศทีเ่ กิดเรื่องอย่างรุนแรงแสนสาหสั มีประวัติศาสตร์มาเป็น
เวลานับร้อย ๆ ปี ว่ามีการแตกแยกกัน แม้จะสามารถรวมกันเป็น
ประเทศได้ และทาใหป้ ระชาชนในประเทศนัน้ มสี นั ตสิ ขุ ช่ัวระยะหนง่ึ ก็
กลับมาแตกแยกกัน

(๘๙) ในทส่ี ุดกเ็ ป็นคนไทยดว้ ยกนั ถา้ ถึงเวลาทีจ่ ะปอ้ งกันประเทศหรือถงึ เวลา
ท่ีจะช่วยสงเคราะห์ประชาชนทปี่ ระกอบขึน้ มาเปน็ ประเทศ เราก็
ช่วยกนั ทา

(๙๐) ปฏิบตั ิเพื่อหาน้าให้แกร่ าษฎรเปน็ ส่ิงทีไ่ ม่ใชง่ ่าย ตอ้ งชว่ ยกนั ทา
(๙๑) แก้ปัญหาภัยธรรมชาติ แก้ปญั หาภยั ที่ไม่ได้เป็นธรรมชาติ เชน่ จราจรคับ

ค่งั ไดค้ ิดเองส่วนหนง่ึ แต่วา่ มอี กี ส่วนหนึ่งท่ีเป็นส่วนใหญ่ ที่คนอ่ืนได้
ชว่ ยคดิ คนอ่นื ได้ช่วยปฏบิ ัติ ซ่งึ จะวา่ ไป เราคดิ ๑๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ คนอน่ื
คิด ๙๐ เปอร์เซน็ ต์

๖๑

(๙๒) อยา่ งลกู เสือท่ฝี ึกตัวให้ดี ชว่ ยเหลือราชการ ช่วยเหลือผู้อืน่ ช่วยเหลือ
เพื่อนมนุษย์ ก็มีความสนุกสนานไมน่ ้อย

(๙๓) เวลาน้นั กย็ นื ยนั มาเรือ่ ยวา่ เมอื งไทยอยู่ได้ เพราะว่าเข้าใจถงึ กาลงั
สามคั คีน้ที ่มี ีอยู่ สามคั คีท่ีถูกต้อง ไมใ่ ช่สามัคคีเฮโลกันไป สามคั คีนี้
บางทีก็ใช้ในทางผดิ กไ็ ด้ ถา้ ใชใ้ นทางผดิ ก็มีหวงั ทมี่ ีการปะทะกนั ขอให้
สามัคคี จะเป็นในหมู่คณะใดก็ต้องมีความสามัคคี โดยเฉพาะถา้ หมู่
คณะใหญ่ก็ต้องประเทศที่ตง้ั ข้ึนมาเปน็ สว่ นรวม

คำแสดงวิธีกำรกลุ่มที่สอง คือคำที่แสดง “ลักษณะของวิธีกำรกระทำ” เป็น
กำรอธิบำยขยำยควำมว่ำทำอย่ำงไร ทำด้วยแนวคิดอะไร เช่น “แข็งแรง” “เข้มแข็ง”
“เศรษฐกจิ พอเพียง” “พอเพียง” “พฒั นำ” ดงั แสดงในตวั อย่ำงที่ (๙๔) – (๙๙)

(๙๔) คนเรากแ็ บง่ เป็นสองอย่างท่ีสาคญั คอื กาลังกาย เพราะวา่ ถา้ ร่างการไม่
แข็งแรง เราก็จะทางานทาการอะไรไม่ได้ แล้วกาลงั ใจก็ลดถอยไป

(๙๕) คนอายุ ๙๐ กเ็ ป็นผ้เู ฒ่าแลว้ ไม่มใี ครที่จะว่า กเ็ คยไปพบคนอายุ ๙๐
กว่าแล้ว ทา่ นผนู้ ้นั กบ็ อกว่าแลว้ แต่ใจ ถา้ มจี ติ ใจเข้มแข็งก็สามารถทจ่ี ะ
ทางานทาการได้ดี ไม่เลอะ ไม่เลือน ไมผ่ ดิ ไม่พลาด แล้วกท็ าประโยชน์
ไดอ้ ีกมาก

(๙๖) เศรษฐกจิ พอเพยี งนี้ ก็มีเปน็ ข้ัน ๆ แตจ่ ะบอกวา่ เศรษฐกจิ พอเพียงนีใ้ ห้
พอเพยี งเฉพาะตวั เองร้อยเปอรเ์ ซน็ ตน์ ีเ่ ปน็ ส่ิงที่ทาไม่ได.้ จะตอ้ งมกี าร
แลกเปลย่ี น ต้องมีการช่วยกัน ถา้ มกี ารช่วยกนั แลกเปล่ยี นกนั ก็ไมใ่ ช่
พอเพียงแล้ว

(๙๗) ความพอเพียงในความคิดกค็ ือ แสดงความคิดของตวั ความเห็นของตัว
และปล่อยให้คนอ่นื พดู บ้าง และมาพิจารณาว่าที่เขาพูดกับทเ่ี ราพดู อัน
ไหนพอเพยี ง อนั ไหนเข้าเร่ือง

๖๒

(๙๘) โครงการตา่ ง ๆ หรือเศรษฐกจิ ทใี่ หญ่ ต้องมีความสอดคลอ้ งกนั ดี ท่ไี ม่ใช่
เหมอื นทฤษฎใี หม่ ท่ีใชท้ ่ีดนิ เพียง ๑๕ ไร่ และสามารถท่ีจะปลูกข้าวพอ
กนิ . กิจการน้ใี หญ่กวา่ แต่ก็เปน็ เศรษฐกจิ พอเพียงเหมอื นกนั

(๙๙) เรากนิ ขา้ วหรือกินฝุน่ ดี เขากบ็ อกว่ากินข้าวดี เขาก็เหน็ ดว้ ยทจ่ี ะพฒั นา
ใหม้ ีข้าวกิน ให้เพาะปลูกทาข้าวโพด ทาอะไรให้ดี เขาก็เห็นด้วย กเ็ ลย
เปน็ อนั วา่ เขาพอใจแลว้

คำแสดงวิธกี ำรกลุ่มสุดท้ำยน้ัน เป็นกลุ่มคำทีม่ ีควำมหมำยเก่ียวข้องกบั “หลัก
คุณธรรมจริยธรรม” ที่ทรงเห็นว่ำสำมำรถนำมำประยุกต์ใช้ในกำรประกอบกิจกำรงำน
เพื่อให้ประสบผลสำเร็จตำมเป้ำหมำยคือ เกิดประโยชน์และควำมสุขได้ เช่น คำว่ำ
“ธรรม” “ธรรมะ” “วิริยะ” “อุตสำหะ” “ซื่อสัตย์สุจริต” “เมตตำ(กรุณำ)”
“พยำยำม” “อดทน” “ซื่อสัตย์” “ยุติธรรม” “เป็นธรรม” “ควำมเพียร” ดังแสดงใน
ตัวอย่ำงท่ี (๑๐๐) – (๑๑๔)

(๑๐๐) เรือ่ งทสี่ าคัญก็คอื การทามาหากนิ ของประชาชนคนไทย ซงึ่ ต้องให้มี
ความสะดวกสบาย มีความปลอดภยั มกี ารปกครองท่ีมีความเป็น
ธรรม.

(๑๐๑) คนไหนที่มคี วามร้ใู นธรรมะ มีเหตุผลโดยธรรมะ ธรรมะจะนาใหไ้ ป
ประสบแตค่ วามดี

(๑๐๒) ถ้าเรามีการบรหิ ารท่เี รียกว่าแบบคนจน แบบที่ไม่ติดกบั ตารามาก
เกินไป ทาอยา่ งมคี วามสามัคคนี แ่ี หละคือเมตตากัน

(๑๐๓) เมตตากรุณานีบ้ างทีก็เป็นการตกั เตือนช่วยกนั แต่อย่างน่มุ นวล
(๑๐๔) ความเมตตานั้นดูเหมือนว่าเปน็ เรอื่ งทก่ี ินไม่ได้ แต่ความเมตตานก้ี ็

นามาสู่ความเอื้อเฟ้ือซงึ่ กันและกัน
(๑๐๕) ข้อสาคัญทีส่ งั คมไทยยังอยู่ก็เพราะวา่ สว่ นมากผทู้ ม่ี ีงานทา ทัง้ ในทาง

ด้านราชการ และเอกชน ได้พยายามทาไปในทศิ ทางเดยี วกัน ถึงทา
ใหป้ ระเทศไทยยังอยู่

๖๓

(๑๐๖) ความพยายามของท่าน ความอดทนของท่าน ความตงั้ ใจดีของทา่ น
เป็นพรอนั ประเสรฐิ

(๑๐๗) แม้จะมจี ิตใจดี เท่าไหร่ ๆ กจ็ ะอดกลั้นไมไ่ หวที่จะตาหนติ ิเตยี น หรือถงึ
ข้นั ทจ่ี ะลงไม้ลงมือ จดั การกบั ผทู้ ่เี หน็ แก่ตัวนน้ั ฉะนั้น สาคัญทส่ี ุดก็
ต้องอดทนและรักษาความสขุ ของตน

(๑๐๘) ถา้ ทางานนัน้ ดว้ ยความร่าเรงิ ดว้ ยความอดทน ดว้ ยความเพียร งาน
นัน้ จะสาเร็จ โดยทคี่ วามเม่ือยความเหน่อื ยมาขดั ขวางไม่ได้

(๑๐๙) ถ้าแต่ละคนทาใหด้ ี ทาอย่างเข้มแขง็ ซื่อสัตย์สจุ ริต ประเทศชาติก็ย่อม
ตอ้ งปลอดภัยและก้าวหน้าไปอยา่ งดี

(๑๑๐) งานทตี่ วั ทาไม่เสยี หาย ถ้าทาด้วยความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต ด้วยความรู้
ในทางหลกั วชิ า และทาดว้ ยความตัง้ ใจจรงิ งานจะสาเร็จด้วยดี

(๑๑๑) แต่ละคนทมี่ ีจุดประสงคใ์ นชีวิตก็ขอให้สาเรจ็ โดยดี หมายถงึ ว่าส่งิ ใดท่ี
ทาถกู ต้องท่ียุตธิ รรม และกท็ ่ีเปน็ ประโยชน์ที่แท้จรงิ โดยชอบศีลชอบ
ธรรม

(๑๑๒) ขอให้พรเหลา่ นนั้ สะท้อนไปถึงทา่ นทกุ คน ให้มีความยตุ ธิ รรมให้มี
ความเจริญในสิง่ ทด่ี ีงามในสิ่งท่ีปรารถนา ทาให้ส่วนรวมมีความ
ปึกแผ่น มีความมั่นคง

(๑๑๓) ธนาคารโคกระบือนี้ได้จดั ใหป้ ัญหาน้ีลุลว่ งไปได้หลายแห่งแลว้ ใหช้ าว
กสกิ รได้มสี ัตว์พาหนะ ได้มีสตั ว์สาหรบั ใช้งานในราคาท่ีเปน็ ธรรม ก็
โดยอาศัยท่ีมีผู้บริจาคโคกระบือเปน็ ตัวหรือเงิน

(๑๑๔) แตเ่ ร่ืองทส่ี าคัญกค็ ือการทามาหากินของประชาชนคนไทย ซ่งึ ต้องใหม้ ี
ความสะดวกสบาย มีความปลอดภัย มีการปกครองท่มี ีความเปน็
ธรรม

๖๔

ตอนท่ี ๓
บทส่งท้าย

๖๕

๙. บทสรปุ และข้อแนะนำ

สำระสำคัญที่ผู้เขียนต้องกำรนำเสนอในหนังสือเล่มนี้คือ กำรถอดรหัสกำรใช้
ภำษำ จำกพระรำชดำรสั ของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธเิ บศ มหำภมู ิพลอดุลเดช
มหำรำช บรมนำถบพิตร ซึ่งทรงเป็น “ผู้นำ” พระองค์สำคัญของโลก ที่ทรงประสบ
ควำมสำเร็จในกำรบำบัดทุกข์ บำรุงสุข ให้กับพสกนิกรชำวไทยตลอดระยะเวลำแห่ง
กำรครองรำชย์ ซึ่งเป็นที่ยอมรับในเชิงประจักษ์ในระดับนำนำชำติ และผลพวงของ
ควำมสำเร็จดังกล่ำวก็นำมำซึ่งปรำกฏกำรณ์ควำมรัก ควำมศรัทธำและเชื่อมั่นของปวง
ชนชำวไทยที่มีต่อพระองค์ท่ำนเสมอมำ อำจกล่ำวได้ว่ำ พระองค์ทรงเป็นหนึ่งในผู้นำ
ในอุดมคติของโลก ดังนั้น กำรศึกษำพระรำชจริยวัตรแล้วนำมำเป็นแบบอย่ำงในกำร
ประพฤติปฏบิ ัตแิ มเ้ พียงส่วนน้อย ก็จะยงั ประโยชนใ์ หก้ ับสังคมไทยได้อยำ่ งมติ ้องสงสัย

ในมุมมองของกำรใช้ภำษำ ผู้เขียนได้ทำกำรสรุปประเด็นสำคัญที่บุคคลผู้มี
บทบำทหนำ้ ท่ีของกำรเป็น “ผนู้ ำ” ในภำคสว่ นและระดบั ตำ่ ง ๆ ของสังคมควรให้ควำม
ตระหนัก และน้อมนำไปประยุกต์ใช้เพ่ือเป็นเครื่องมือในกำรสร้ำงควำมเข้ำใจ ควำม
สำมัคคีปรองดอง และควำมสงบเรียบร้อยในบริบทที่ท่ำนมีส่วนเกี่ยวข้อง ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว องคก์ ร ชุมชน สงั คม และประเทศชำติ ตอ่ ไป ดังน้ี

๙.๑ ความออ่ นนอ้ มถ่อมตน : การลดทอนความร้สู ึกเชงิ อานาจและ
ค่านยิ มความเกรงกลวั

๙.๑.๑ ต้นแบบความอ่อนน้อมถอ่ มตนจากพระราชดารัส
ตำมมำตรำ ๒ ของรัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย พุทธศักรำช ๒๕๕๐
(รัฐธรรมนูญฉบับสุดท้ำยภำยใต้พระปรมำภิไธย) ประเทศไทยมีกำรปกครองระบอบ
ประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดังนั้นในบริบทของสังคมไทย
พระมหำกษัตริย์ถูกกำหนดให้เป็นประมุข หรือผู้นำสูงสุดของประเทศในทำงกฎหมำย
โดยทรงใช้พระรำชอำนำจทำงอ้อมผ่ำนรัฐสภำ คณะรัฐมนตรี และศำล ตำมมำตรำ ๓

๖๖

(รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย ๒๕๕๐, หน้ำ ๒) โดยมีประธำนรัฐสภำ
นำยกรัฐมนตรี และประธำนศำลฎีกำเป็นผู้รับสนองพระบรมรำชโองกำรต่ำงๆ
นอกจำกนี้ และยังทรงสถำนะในตำแหน่งจอมทัพไทย (ตำมมำตรำ ๑๐) ทรงมีพระรำช
อำนำจทีจ่ ะสถำปนำฐำนนั ดรศกั ดแ์ิ ละพระรำชทำนเครือ่ งรำชอสิ รยิ ำภรณ์ (มำตรำ ๑๑)
ทรงเลือกและแต่งตั้งองคมนตรีตำมพระรำชอัธยำศัย (มำตรำ ๑๒) และไม่มีผู้ใดจะ
ละเมิด กล่ำวหำ หรือฟ้องร้องพระองค์ได้ (มำตรำ ๘) (รัฐธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักร
ไทย ๒๕๕๐, หน้ำ ๓) เป็นต้นนี้ พอจะแสดงให้เห็นว่ำ สถำนะของพระมหำกษัตริย์
ไทยนนั้ ยงั เป่ียมไปดว้ ยอำนำจถงึ แม้จะทรงอยภู่ ำยใต้กฎหมำยรฐั ธรรมนญู

ในทำงสังคม มีกำรก ำหนดธรรมเนียมปฏิบัติมำกมำยที่เกี่ยวข้องกับ
พระมหำกษัตริย์ รวมถึงธรรมเนียมปฏิบัติของข้ำรำชกำรและประชำชนต่อ
พระมหำกษัตริย์ เช่น กำรเข้ำเฝ้ำทูลละอองทุลีพระบำทในโอกำสต่ำง ๆ โดยเฉพำะ
อย่ำงยิ่งกำรกำหนดรูปแบบทำงภำษำที่ประชำชนใช้กับพระมหำกษัตริย์หรือที่เรียกว่ำ
“รำชำศัพท์” ซึ่งหมำยควำมถึงคำที่ใช้กรำบบังคมทูล (รำชบัณฑิตยสถำน, ๒๕๕๖:
หน้ำ ๙๙๗) กำรกำหนดคำที่ใช้กับพระมหำกษัตริย์นี้แสดงให้เห็นถึงกำรจัดระดับชน
ช้นั ทำงสงั คม โดยพระมหำกษัตริยเ์ ปน็ ผู้ทรงอยู่ในระดับชั้นสงู สุดทำงสงั คม มีพระบรม
วงศำนุวงศ์อยู่ในระดับรองลงมำ ตำมที่แสดงในลำดับกำรเลือกใช้คำรำชำศัพท์ตำม
ฐำนันดรศักดิ์ และประชำชนในฐำนะคนสำมัญในอยู่ระดับท้ำยซึ่งใช้คำกลุ่มเดียวกัน
รว่ มกัน อำจแตกตำ่ งกนั ไปตำมสถำนกำรณแ์ ละมุมมองทผ่ี ใู้ ช้ภำษำมีต่อกนั เท่ำนั้น

ในทำงตรงกันข้ำม ไมม่ กี ำรกำหนดหรือธรรมเนียมท่ีชัดเจนวำ่ พระมหำกษัตริย์
จะใช้คำพูดอย่ำงไรกับสำมัญชน ในฐำนะชนชั้นผู้นำของประเทศทรงได้รับกำรเปิด
กว้ำงในกำรเลือกใช้ภำษำตำมพระรำชอัธยำศัยหรือแม้กระทั่งกำรที่จะทรงมีพระรำชำ
นญุ ำตใหส้ ำมญั ชนใชค้ ำสำมัญกบั พระองค์ได้ ด้วยแนวปฏบิ ตั ดิ งั กลำ่ ว กำรใช้ภำษำของ
พระมหำกษัตริย์จึงเป็นดัชนีชี้วัดให้เห็นถึงแนวคิดหรือทัศนคติของพระองค์ที่มีต่อ
พระองคเ์ อง ค่สู นใจ และผู้ฟงั อ่ืน ๆ

๖๗

พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถ
บพิตร ทรงใช้คำเรียก (address term) และคำแสดงลกั ษณะเบยี่ งบัง (hedged word)
เพ่อื แสดงถงึ “ควำมออ่ นนอ้ มถ่อมตน” ของพระองค์

คำเรยี กที่พบในพระรำชดำรัสมี ๓ กลมุ่ หลกั ได้แก่ คำแทนตัวผ้พู ดู (speaker)
คำเรียกผู้ฟังและคนอื่น (addressee and other) กำรใช้คำเรียกของพระบำทสมเด็จ
พระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร เป็นกำรแสดง
“ควำมอ่อนน้อมถ่อมตน” อย่ำงไรและเพื่ออะไร ต่อประเด็นนี้ ผู้เขียนมีควำมเห็นว่ำ
กำรใช้คำเรียกแทนพระองคเ์ องดว้ ยคำสุภำพ “ขำ้ พเจ้ำ” และคำสำมัญ “เรำ” เป็นกำร
ลดชอ่ งวำ่ งสถำนะทำงสังคมระหว่ำงพระเจ้ำแผน่ ดนิ ที่อยู่สูงสุดกับประชำชนที่มีสถำนะ
ต่ำที่สุดในสังคม อันเป็นกำรแสดงควำมใกล้ชิดผู้ซึ่งเฝ้ำทูลละอองธุลีพระบำทรวมถึง
ประชำชนทุกหมู่เหล่ำ ซึ่งแสดงให้เห็นว่ำทรงเป็นพระมหำกษัตริย์ที่ไม่ทรงถือพระองค์
โดยเฉพำะอย่ำงยง่ิ กำรใช้คำสรรพนำม “เรำ” แทนพระองคเ์ อง

นอกจำกนี้ ทรงใช้คำเรียกผู้ฟังและผู้อื่นทั้งที่เป็นคำสรรพนำม เช่น “ท่ำน”
“ท่ำนทั้งหลำย” และคำแสดงตำแหน่งหน้ำที่ เช่น “ท่ำนนำยก” “ท่ำนประธำนสภำ”
“ผู้ว่ำฯ เชียงใหม่” “สมเด็จพระเทพฯ” “รัฐมนตรี” ซึ่งเป็นกำรยกย่องให้เกียรติผู้ฟัง
และผู้ที่ถูกกล่ำวอ้ำงถึง รวมถึงกำรกล่ำวถึงประชนชนในหลำยสำขำอำชีพ เช่น
“เกษตรกร” “ทหำร” “นักธุรกิจ” “ผู้ใหญบ่ ้ำน” “เยำวชน” “ชำวไทย” “ประชำชน”
อันแสดงให้เห็นว่ำทรงตระหนักถึงควำมสำคัญของพสกนิกรทุกหมู่เหล่ำที่เป็นผู้มีส่วน
ร่วมในกำรพัฒนำประเทศให้เจริญก้ำวหน้ำและยั่งยืนต่อไป โดยสรุป บทบำทหน้ำที่
ของคำเรียกในพระบำทสมเดจ็ พระบรมชนกำธิเบศ มหำภมู พิ ลอดุลยเดชมหำรำช บรม
นำถบพิตร คือเป็นเคร่อื งมอื ในกำรลดชอ่ งวำ่ งของสถำนะทำงสงั คมระหว่ำงพระองค์เอง
กับพสกนิกรดว้ ยกำรใช้คำเรียก ดังแสดงในภำพที่ ๒

๖๘

สถานภาพทางสังคมสงู >> พระมหำกษตั ริย์

ลดสถำนะ

คำเรียกแทนพระองค์ “ขา้ พเจา้ ” “เรา”

คำเรยี กผูฟ้ งั และผอู้ ืน่ (แสดงความยกยอ่ ง)
“ทา่ น” ตำแหน่ง อาชพี

เพิม่ สถำนะ
ต่ำ >> ประชำชน

ภำพท่ี ๒ คำเรยี กและบทบำทหนำ้ ท่ีของคำเรียกในพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธเิ บศ
มหำภูมิพลอดลุ ยเดชมหำรำช บรมนำถบพติ ร

นอกจำกคำเรียกแล้ว พระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ
มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ยังมีลักษณะของควำมอ่อนน้อมถ่อมตน
ผ่ำนกำรทีท่ รงใช้คำแสดงลักษณะเบีย่ งบัง กล่ำวคือทรงเลือกใช้คำที่ลดควำมหนักแน่น
ชัดเจน หรือมั่นพระทัยต่อสำรที่ทรงสื่อ รวมไปถึงพระรำชวินิจฉัยที่เป็นข้อแนะนำใน
กำรปฏิบัติ คำแสดงลักษณะเบี่ยงบังที่พบเป็นคำช่วยกริยำ “อำจ” “อำจจะ” “อำจ
ตอ้ ง” “อำจจะตอ้ ง” “น่ำจะ” “นำ่ จะต้อง” “ควร” “ควรจะ” เปน็ ตน้

อมรำ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์ (๒๕๕๘) อธิบำยว่ำ คำแสดงลักษณะเบี่ยงบังเป็นกล
ยุทธ์ทำงภำษำอย่ำงหนึ่งที่นักวิชำกำรนิยมใช้ กำรลดควำมเชื่อมั่นในข้อมูล ข้อสรุป
หรือขอ้ เสนอแนะของนักวชิ ำกำรเหมือนจะเปน็ ลักษณะท่ีขัดแย้งกบั กำรเป็นนักวิชำกำร
ที่เป็นผู้มีควำมรู้และได้รับควำมเชื่อถือจำกสังคม เนื่องจำกข้อมูลที่ใช้ในกำรสรุป
ปรำกฏกำรณ์ต่ำง ๆ จะต้องมำจำกข้อเท็จจริงที่น่ำเชื่อถือตำมกระบวนวิธีศึกษำวิจัย
จึงแทบจะเป็นไปไม่ได้หรือไม่มีเหตุผลใดที่นักวิชำกำรจะลดควำมนำ่ เชื่อถือของผลงำน
ของตนลง ดังนั้นคำแสดงลักษณะเบี่ยงบังจึงไม่น่ำจะมีวัตถุประสงค์เพื่อกำรดังกล่ำว
หำกแตเ่ ป็นกำรแสดงควำมอ่อนน้อมถอ่ มตนอีกวิธีกำรหนึง่ แทนทีจ่ ะลดควำมน่ำเชื่อถือ

๖๙

ของสำร กลับเป็นกำรลดอัตตำตวั ตนของผู้พดู ผเู้ ขียนและเปิดพื้นท่ีให้ผู้ฟังหรือผู้อ่ำนได้
มีสิทธิในกำรเห็นต่ำงและแสดงข้อมูลหลักฐำนหักล้ำงอย่ำงเปิดกว้ำง เช่นเดียวกับใน
กรณีนี้ ผู้วิจัยเห็นว่ำกำรใช้คำแสดงลักษณะเบี่ยงบังเป็นลักษณะกำรใช้ภำษำที่เสริม
และตอกย้ำให้เห็นถึงคุณลักษณะควำมอ่อนน้อมถ่อมตนของพระรำชดำรัสของ
พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ได้
อกี ประกำรหน่ึง

โดยสรุป กำรแสดงควำมอ่อนน้อมถ่อมตนนับเป็นคุณสมบัติที่สำคัญลำดับต้น
ของกำรเป็นผู้นำที่ได้รับควำมเลื่อมใสศรัทธำจำกประชำชน นอกจำกลักษณะเชิง
พฤติกรรมแล้ว คำว่ำ “อ่อนน้อมถ่อมตน” นี้ยังแสดงให้เห็นในพระรำชจริยวัตรด้ำน
ภำษำในพระรำชดำรัสในวโรกำสวันเฉลิมพระชนมพรรษำ ซึ่งเป็นวโรกำสที่มีลักษณะ
พิเศษที่พระรำชดำรัสของพระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดช
มหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงมีพระรำชกระแสด้วยภำษำทเี่ ป็นธรรมชำติ (ไมไ่ ด้เกดิ จำก
กำรเตรยี มบทสุนทรพจน์หรือกำรอำ่ น) จึงอำจกล่ำวไดว้ ำ่ “ควำมอ่อนนอ้ มถ่อมตน” ที่
แสดงด้วยรูปภำษำที่เป็นคำเรียกและคำแสดงลักษณะเบี่ยงบังดังกล่ำวเป็นสิ่งที่แสดง
ควำมเปน็ ตวั ตนท่ีแท้จริงของพระองค์

๙.๑.๒ ขอ้ แนะนาในการใชภ้ าษาเพื่อแสดงความออ่ นนอ้ มถอ่ มตน
ผู้นำทีด่ ีพึงตระหนักถงึ บทบำทหน้ำที่ของควำมเป็นผู้นำ มำกกว่ำตำแหน่งและ
อำนำจ หำกผู้นำคำนึงถึงแต่ตำแหน่งและอำนำจก็จะไม่เห็นผู้ใต้บังคับบัญชำหรือผู้อื่น
อยู่ในสำยตำ และไม่มองว่ำพวกเขำเหล่ำน้ันมคี วำมสำคัญทีจ่ ะช่วยเกื้อหนุนให้งำนของ
ผู้นำประสบควำมสำเร็จตำมเป้ำหมำยที่ตั้งไว้ ในทำงกลับกัน กำรคำนึงถึงบทบำทและ
หนำ้ ทที่ มี่ ำพร้อมกบั ควำมเปน็ ผ้นู ำนนั้ จะทำให้ผูน้ ำใหค้ วำมสำคัญกับงำนและบุคคลท่ีมี
ส่วนร่วมในงำนเป็นสำคัญ และมองว่ำสถำนะทำงสังคมเป็นเพียงเปลือกนอกที่ถูก
กำหนดขนึ้ ตำมโครงสร้ำงของสังคมเท่ำน้นั
ในแง่มุมของกำรใช้ภำษำ ก็สำมำรถสะท้อนมุมมองของผู้นำได้เช่นกันว่ำ ผู้นำ
คนนั้นเป็นผู้นำประเภทที่ให้ควำมสำคัญกับงำนหรืออำนำจ ข้อค้นพบที่ได้จำก

๗๐

กำรศึกษำนช้ี ใ้ี ห้เห็นประเด็นกำรเลือกใช้ถ้อยคำทสี่ ่อแสดงถึงกำรเปน็ ผู้นำท่ีมีควำมอ่อน
น้อมถ่อมตน ได้แก่ กำรใช้คำสรรพนำมแสดงควำมเป็นกันเองกับผู้อื่น ซึ่งเป็นเสมือน
กำรแสดงตนว่ำกำลังลดสถำนภำพทำงสังคมลงให้ใกล้เคียงกับผู้ใต้บังคับบัญชำหรือ
ผู้อื่นที่มีสถำนะต่ำกว่ำ ผู้นำอำจเลือกใช้คำสรรพนำมหรือคำเรียก เช่น “ผม” “เรำ”
หรอื “พี่” เพ่อื ให้สำมำรถเข้ำถึงผู้ฟังและเป็นกำรเปิดพ้ืนที่ใหผ้ ู้ฟังได้เข้ำมำมีบทบำทใน
กำรปะทะสังสรรค์ โต้แย้ง หรือแสดงควำมคิดเห็นเพื่อประโยชน์ต่อกำรปฏิบัติภำรกิจ
ดว้ ย วัฒนธรรมของไทยมักถือเรื่องอำวโุ สและสถำนภำพทำงสังคมเป็นเรื่องใหญ่ ผู้น้อย
มักมีควำมรู้สึกเกรงกลัวหรือเกรงใจหำกต้องแสดงควำมคิดเห็นที่แตกต่ำงจำกผู้ใหญ่
ดังนั้น กำรลดสถำนะและเปิดพื้นที่ด้วยกำรแสดงท่ำทีผ่ำนกำรใช้คำสรรพนำมและคำ
เรียกดังกล่ำว จะเป็นกำรทะลำยกำแพงแห่งควำมเกรงกลัวและเกรงใจ และยังส่งเสริม
ใหเ้ กิดบรรยำกำศในกำรสอ่ื สำรทีเ่ ปน็ มติ รอกี ด้วย

ในอีกทำงหน่งึ กำรให้เกียรตผิ ูใ้ ตบ้ งั คบั บัญชำและผอู้ น่ื ทร่ี ่วมสนทนำดว้ ย ก็เป็น
อีกวิธีหนึ่งในกำรลดช่องว่ำงของสถำนภำพทำงสังคมให้แคบลงไปอีก กำรแสดงควำม
อ่อนน้อมถ่อมตนด้วยกำรให้เกียรติผู้อื่นผ่ำนกำรใช้ภำษำอย่ำงง่ำยที่สุดคือกำรใช้คำ
เรียกท่แี สดงควำมใหเ้ กยี รติ เช่น ใช้คำสรรพนำม “คุณ” หรอื “ทำ่ น” รวมถึงกำรใช้คำ
เรยี กตำแหนง่ หนำ้ ทีก่ ำรงำน และกำรใชค้ ำวำ่ “คณุ ” หรือ “ทำ่ น” ประกอบหน้ำคำอ่ืน
เช่น “คุณสุทธิชัย” “ท่ำนหัวหน้ำฝ่ำย” หรือแม้แต่ในบำงกรณีอำจใช้คำเรียกญำติเพื่อ
แสดงให้เห็นว่ำตัวผู้นำนั้นไม่ได้ให้ค่ำกับแนวคิดแบบอำนำจนิยมจนเกินเหตุ เช่น กำร
เรียกผู้อื่นว่ำ “พี่” “น้อง” หรือใช้คำเรียกญำติประกอบหน้ำชื่อหรืออำชีพ เช่น “พี่
วิชัย” “น้องแมบ่ ำ้ น” หรอื “พ่ยี ำม” เป็นต้น

นอกจำกกำรใช้คำเรียกแล้ว ผู้นำอำจพิจำรณำเลือกใช้คำช่วยกริยำแสดงกำร
เบี่ยงบัง เช่น คำว่ำ “อำจจะ” “น่ำจะ” “ควร” เพื่อลดควำมแข็งกร้ำวของสำรท่ี
ตอ้ งกำรจะส่ือ ทำใหผ้ ู้รบั สำรร้สู กึ วำ่ ไม่ไดก้ ำลังถกู บังคับ หรือทำใหก้ ลัว หรือกำลังถูกส่ัง
ให้ทำอยู่ ซึ่งเป็นกำรสร้ำงบรรยำกำศที่ดีในกำรทำงำนและสร้ำงสัมพันธ์อันดีระหว่ำง
เพื่อนร่วมงำน รวมถึงเป็นกำรเปิดพื้นที่ให้ผู้อื่นได้ร่วมแสดงควำมเห็นได้อีกด้วย เช่น
ตัวอยำ่ งประโยค “ผมเหน็ ว่ำเรอ่ื งน้ีคณุ สมชำยนา่ จะลองเอำกลับไปพิจำรณำใหม่อีกคร้ัง

๗๑

หนึ่งอย่ำงรอบด้ำนนะครับ” แทนที่จะพูดว่ำ “ผมว่ำคุณเอำกลับไปคิดใหม่เถอะ” จะ
เห็นได้ว่ำ กำรแทรกคำช่วยกริยำแสดงกำรเบี่ยงบังจะนำมำซึ่งกำรเปลี่ยนคำอื่น ๆ ท่ี
เป็นองค์ประกอบของประโยคให้ฟังลื่นหูขึ้น เช่น เปลี่ยนคำลงท้ำยจำก “เถอะ” เป็น
“นะครับ” เปน็ ต้น

โดยสรุป แกน่ หลกั สำคญั ของกำรทผ่ี นู้ ำจำเป็นต้องมคี วำมอ่อนนอ้ มก็คือ ลำพัง
เพียงผู้นำคนเดียวไม่อำจทำงำนให้บรรลุตำมเป้ำประสงค์ได้ หำกต้องอำศัยควำม
ร่วมมือจำกผู้ใต้บังคับบัญชำ ในขณะที่สถำนภำพทำงสังคมแตกต่ำงกัน ประกอบกับ
วัฒนธรรมแบบไทย ๆ ที่เน้นเรื่องอำวุโส กำรแสดงควำมอ่อนน้อมถ่อมตนของผู้ที่มี
สถำนะทำงสังคมหรืออำวุโสมำกกว่ำเป็นลำดับแรก จึงเป็นกำรแสดงท่ำทีให้เกียรติ
เพอื่ นร่วมงำน และเปดิ พืน้ ท่ีให้ผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชำเขำ้ มำร่วมมือรว่ มแรงทำงำนให้ กำรลด
ช่องว่ำงทำงสังคมดังกล่ำวจะทำให้ผู้ใต้บังคับบัญชำเกิดควำมรักและศรัทธำในตัวผู้นำ
และพร้อมจะปฏิบัติงำนให้ด้วยควำมเต็มใจ ผู้นำที่ดีพึงระลึกไว้เสมอว่ำ “กำรใช้
อำนำจ” ไม่อำจนำมำซึ่งควำมสำเร็จเสมอไป เพรำะอำนำจเป็นสิ่งที่สังคมอุปโลกน์ข้ึน
เท่ำนั้น วันหนึ่งอำนำจนั้นก็จะหมดไปจำกตัวเรำ แต่ควำมรักและควำมศรัทธำต่ำงหำก
ที่จะยังดำรงอยู่แม้ในยำมที่เรำหมดอำนำจ และควำมรักควำมศรัทธำดังกล่ำวอำจเป็น
ส่ิงทช่ี ่วยเหลือเรำในยำมยำก ดว้ ยกำรทำใหเ้ รำมีกัลยำณมิตรท่ีดีที่คอยชว่ ยเหลือเก้ือกูล
เรำในโอกำสตอ่ ๆ ไป

๙.๒ ความนา่ เช่ือถอื : การยึดโยงกับขอ้ เท็จจรงิ และสร้างความเขา้ ใจ
ทีต่ รงกัน

๙.๒.๑ ตน้ แบบความน่าเชือ่ ถอื จากพระราชดารสั
บุคลิกภำพและควำมประพฤติท่ีอ่อนน้อมของผู้นำอำจทำใหผ้ ู้พบเหน็ เกิดควำม
ประทับใจ แต่ควำมอ่อนน้อมถ่อมตนเพียงอย่ำงเดียวไม่อำจทำให้ผู้นำสำมำรถบริหำร
บรวิ ำรหรอื ลูกน้องของตนและทำใหเ้ กดิ ควำมเปลีย่ นแปลงของงำนอย่ำงก้ำวหน้ำและมี
ประสิทธิภำพได้ ควำมน่ำเชื่อถือท่ีบุคคลจะมอบให้กับหัวหน้ำหรือผู้นำน้ันเป็นขอ้ สรปุ

๗๒

ที่เกิดขึ้นจำกกลั่นกรองข้อมูลที่บุคคลได้รับจำกผู้นำว่ำ มีควำมชัดเจนและเป็นเหตุเปน็
ผลหรือไม่และมำกน้อยเพียงใด นอกจำกนี้กำรสื่อสำรให้ผู้ตำมมีควำมเข้ำใจที่ตรงกัน
จะทำให้เหน็ ทิศทำงในกำรปฏิบัตภิ ำรกจิ มีควำมชดั เจน และมุ่งไปสู่เป้ำหมำยร่วมกนั ได้
ไม่เกิดควำมขัดแย้งเพรำะเข้ำใจไม่ตรงกัน และไม่ต้องเสียเวลำในกำรกลับมำแก้ไข
ควำมไมเ่ ขำ้ ใจทผี่ ิดพลำดนัน้ บ่อย ๆ

ในงำนวจิ ัยนีไ้ ดส้ งั เครำะหค์ ุณลักษณะ “ควำมนำ่ เชื่อถือ” จำกรปู ภำษำทีพ่ บใน
พระรำชดำรัส โดยจำแนกเป็นกำรใช้ภำษำย่อย ๓ กลุ่ม ได้แก่ กำรนิยำม กำร
ยกตัวอยำ่ ง และกำรแสดงควำมสมั พันธ์ของเหตกุ ำรณ์

กำรนิยำม คือกำรให้คำจำกัดควำมหรือควำมหมำยแก่สิ่งใดสิ่งหนึ่ง อำจเป็น
แนวคิดหรือกรอบทำงควำมหมำยของสิ่งหนึ่งสิ่งใด ประโยชน์ของกำรนิยำมคือกำร
สร้ำงควำมชัดเจนในขอบเขตของสิ่งที่ถูกนิยำม เพื่อให้ผู้รับสำรเข้ำใจคำหรือแนวคิด
ตรงกัน กำรสร้ำงควำมชัดเจนทำงควำมคิดด้วยกำรให้นิยำมนี้ช่วยให้ผู้ส่งสำรมีควำม
ม่ันใจวำ่ เนอ้ื หำของสำรทต่ี นสือ่ นั้นไปถึงผูร้ บั สำรตรงตำมควำมต้องกำร

จำกกำรวิเครำะห์ข้อมูลพระรำชดำรัสพบว่ำ พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิ
เบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร ทรงใช้กำรนิยำมคำและแนวคิด
มำกมำยระหว่ำงทรงมีพระรำชดำรัส ดังแสดงได้จำกรูปภำษำที่เป็นตัวบ่งชี้กำรนิยำม
เช่น “คือ” “เป็น” “หมำยถึง” “หมำยถึงว่ำ” “หมำยควำมว่ำ” และ “แปลว่ำ” เป็น
ต้น

กำรนยิ ำมเปน็ กำรขยำยควำมของคำหรือแนวคิดในเชิงควำมหมำย กำรท่ีทรง
ใช้กลวิธีนีจ้ ำนวนมำกแสดงใหเ้ หน็ ว่ำทรงตระหนักถึงควำมเข้ำใจที่ถูกต้องร่วมกันของผู้
เฝ้ำทูลละอองทลุ ีพระบำทและผฟู้ ังอืน่ ๆ ตลอดเนื้อหำทีท่ รงมพี ระรำชดำรสั ถงึ

นอกจำกกำรนยิ ำมแลว้ ทรงใช้กำรยกตวั อย่ำงเพื่อเพิ่มควำมชดั เจนของสิ่งหรือ
ปรำกฏกำรณ์ที่ทรงมีพระรำชดำรัสถึง กำรยกตัวอย่ำงเป็นให้หลักฐำนแก่ผู้ฟังซึ่งเป็น
กำรยืนยันให้เห็นและเข้ำใจได้อย่ำงชัดเจนว่ำ สำรที่ผู้ฟังได้รับเป็นสิ่งเดียวกับที่ผู้พูด
กำลังกล่ำวถึง ในพระรำชดำรัสพบกำรใช้ตัวบ่งชี้เพื่อแสดงกำรยกตัวอย่ำง ได้แก่
“อย่ำงเช่น” “ตัวอย่ำง” “ยกตัวอย่ำง” “เป็นตัวอย่ำง” “ได้แก่” “ประกอบด้วย”

๗๓

“เช่นนี้ “เช่นนั้น” เป็นต้น นอกจำกนี้กำรยกตัวอย่ำงของพระองค์จำนวนไม่น้อยเป็น
กำรที่ทรงเล่ำถึงเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ รวมถึงประสบกำรณ์ส่วนพระองค์ โดยทรงใช้
พรรณนำโวหำรในกำรอธิบำยเพื่อให้ผู้ฟังเห็นภำพและสำมำรถเข้ำใจตำมได้โดยง่ำย
นอกจำกนี้ เป็นท่ีนำ่ สงั เกตว่ำตวั อยำ่ งที่ทรงใช้นอกจำกจะเป็นกำรอธิบำยแล้ว ยังมีกำร
แสดงตรรกะด้วยกำรใช้เหตุผลประกอบ ให้ผู้ฟังได้คิดตำมและโน้มน้ำวให้เกิดควำม
เชอ่ื ถอื ในตัวอย่ำงที่ทรงยกข้นึ และท้ำยที่สดุ ทำให้เชอ่ื วำ่ สำรทท่ี รงสื่อมำน้นั เป็นสำรที่มี
คณุ ภำพ ถูกตอ้ งตำมหลกั เหตุผล

เมื่อกล่ำวถึงระดับคุณภำพของสำร องค์ประกอบทำงภำษำชนิดหนึ่งที่ช่วง
ส่งเสริมให้สำรมีคุณภำพคือควำมเชื่อมโยงของเนื้อควำมในกำรนั้น ๆ เครื่องมือทำง
ภำษำที่สำคัญที่ใช้ในกำรร้อยเรียงถ้อยคำเข้ำด้วยกันในระดับโครงสร้ำงที่ใหญ่กว่ำ
ประโยคก็คือคำเชื่อมตำ่ ง ๆ เช่น คำสนั ธำน (เช่น “และ” “หรอื ” “แต”่ ) คำเช่ือมหรือ
ตัวบ่งชี้อนุประโยค (เช่น “เพรำะ” “ถ้ำ” “จึง” “ในขณะที่”) คำเชื่อมเหล่ำนี้มีหน้ำท่ี
แสดงควำมสัมพนั ธ์ระหวำ่ งถ้อยคำหรอื ประโยคว่ำมีควำมคล้อยตำมกนั ขดั แย้งกัน เป็น
เหตุเป็นผล แสดงลำดับเหตุกำรณ์ ฯลฯ บุคคลที่มีควำมสำมำรถทำงกำรสื่อสำรที่ดจี ะ
สำมำรถเชื่อมโยงถ้อยคำได้อย่ำงสอดคล้อง ทำให้เนื้อควำมไม่ติดขัด และเข้ำใจง่ำย
กำรเลือกใช้คำเชื่อมนอกจำกต้องมีควำมเหมำะสมในเชิงควำมหมำยแล้ว ยังต้องใช้
ปริมำณที่พอเหมำะเพื่อที่ผู้รับสำรจะสำมำรถทำควำมเข้ำใจเนื้อหำของสำรได้อย่ำง
พอดี สำรที่มีควำมซับซ้อนมำกเกินไปอำจเกิดจำกกำรใช้คำเชื่อมเชื่อมต่อประโยคใน
ปรมิ ำณที่มำกเกนิ ไป สง่ ผลตอ่ ประสิทธิภำพในกำรส่ือสำร เช่น ฟงั ไม่ร้เู ร่ือง สบั สน หรือ
วกวน เปน็ ต้น

ผู้เขียนได้นำเสนอรูปภำษำท่ีเกี่ยวข้องกับประเด็นข้ำงต้นภำยใต้หัวข้อ “กำร
แสดงควำมสัมพันธ์ของเหตุกำรณ์” กำรแสดงควำมสัมพันธ์ของเหตุกำรณ์ที่มีคุณภำพ
ชว่ ยใหผ้ รู้ ับสำรเขำ้ ใจควำมเชื่อมโยงของเหตุกำรณ์ย่อยภำยในปรำกฏกำรณ์ และเข้ำใจ
เนอื้ หำในภำพรวมของสำรได้อย่ำงชัดเจน เม่ือเกิดควำมชดั เจนดังกล่ำวแลว้ ผ้รู ับสำรก็
จะรับทรำบถึงเจตนำของผู้ส่งสำร และสำมำรถนำควำมคิดเห็น ข้อเสนอแนะ คำสั่ง
ฯลฯ ที่ผู้ส่งสำรต้องกำรสื่อไปปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้องตำมวัตถุประสงค์ และหำกกำรนำ

๗๔

สิ่งที่ได้รับจำกสำรไปปฏิบัติเกิดผลดี สร้ำงควำมเจริญก้ำวหน้ำในกำรประกอบกิจกำร
งำนขึ้นเมอ่ื ใด ควำมเชอื่ ถอื และศรัทธำในตวั ผูส้ ่งสำรกจ็ ะเกดิ ขน้ึ เองโดยปริยำย

พระรำชดำรัสมีเนื้อหำที่กล่ำวถึงเหตุกำรณ์หรือปรำกฏกำรณ์ที่ทรงร้อยเรียง
ด้วยคำเชือ่ ม เป็นลักษณะประโยคซับซ้อน (complex sentence) ในเนื้อหำบำงตอน
มีกำรใช้คำเชื่อมมำกกว่ำ ๑ ชนิดรวมกัน แม้ในเชิงรูปภำษำจะแสดงให้เห็นถึงควำม
ซับซ้อนซึ่งอำจนำไปสู่ควำมซับซ้อนเชิงเนื้อหำด้วย แต่ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจำกกำรทรงมี
พระรำชดำรัสเนื่องในวันเฉลิมพระชนมพรรษำที่ผ่ำนมำนั้น สะท้อนให้เห็นว่ำมีผู้ให้
ควำมสนใจติดตำมรับฟังและรับชมทั่วประเทศ รวมถึงหน่วยงำนภำครัฐ เอกชน และ
ประชำชนได้มีโอกำสน้อมนำพระรำชดำรัสดังกล่ำวไปประยุกต์ใช้ในกำรพัฒนำ แก้ไข
ปัญหำ ประกอบอำชีพ และใช้เป็นแนวทำงในกำรดำเนินชีวิต ซึ่งต่อมำนำมำซึ่ง
ควำมสำเร็จและผำสุกจำนวนไม่น้อย ผู้เขียนคิดว่ำเหล่ำนี้คงสำมำรถเป็นหลักฐำนใน
เชิงประจักษ์ที่แสดงให้เห็นว่ำ พระรำชดำรัสแม้มีส่วนที่ซับซ้อนแต่ก็ไม่ได้เป็นอุปสรรค
ต่อควำมเขำ้ ใจและนำไปประยุกตใ์ ช้แต่ประกำรใด

โดยสรุป กำรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือของผู้นำ (พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิ
เบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช บรมนำถบพิตร) ที่สะท้อนให้เห็นจำกกำรใช้ภำษำ
แสดงออกจำกกำรท่ผี นู้ ำสนใจศกึ ษำหำข้อมูลตลอดเวลำ ทำให้มขี ้อมลู เพยี งพอ ชดั เจน
และถูกต้องที่จะนำมำใช้ในกำรอธิบำยขยำยควำมแนวคิด ข้อแนะนำ ในรูปแบบของ
กำรใหก้ ำรนยิ ำมและยกตัวอยำ่ ง นอกจำกนี้ทักษะในกำรเชอ่ื มโยงเน้ือหำ ถ้อยคำ หรือ
ปรำกฏกำรณ์ต่ำง ๆ เพื่อแสดงเป็นข้อมูลเชงิ ประจักษ์และชว่ ยให้เกิดควำมเข้ำใจก็เปน็
ทักษะทจี่ ำเปน็ และส่งเสริมใหผ้ ู้รับสำรเกิดควำมเขำ้ ใจท่ีถูกต้อง ชดั เจน และสำมำรถนำ
แนวคิดหรือข้อเสนอแนะไปปฏิบัติได้อย่ำงถูกต้องตำมวัตถุประสงค์ของผู้นำ และใน
ทำ้ ยทีส่ ดุ จะทำใหผ้ ้ตู ำมหรอื ประชำชนเกดิ ควำมศรทั ธำและเชอ่ื ม่นั ในตวั ผ้นู ำตำมมำ

๙.๒.๒ ข้อแนะนาในการใชภ้ าษาเพ่ือสรา้ งความนา่ เชือ่ ถือ
จำกกำรศึกษำพระรำชดำรัสพบว่ำ ปัจจัยที่ทำให้ผู้อื่นเชื่อถือในตัวของผู้นำก็
คอื กำรสรำ้ งควำมนำ่ เชือ่ ถอื ใหแ้ ก่ตัวเองกอ่ น สิ่งที่จะสรำ้ งใหผ้ ู้นำเป็นผมู้ คี วำมน่ำเช่ือถือ

๗๕

ก็คือขอ้ มลู และข้อเท็จจริงที่มีคุณภำพ ผูน้ ำท่มี ีควำมรับผิดชอบต่อภำระหน้ำท่ีคือผู้นำที่
ใส่ใจกบั รำยละเอียดและเนื้อหำของงำน มีควำมขวนขวำยในกำรเรียนรู้ ศกึ ษำหำข้อมูล
เกี่ยวกับงำน สภำพปัญหำ และแนวทำงแก้ไขอย่ำงจริงจัง แม้ว่ำผู้นำอำจไม่ใช่ผู้ที่มี
ควำมรู้และเชี่ยวชำญในทุกเรื่องทุกปัญหำ แต่ควำมใส่ใจและฉลำดที่จะใช้บทบำทของ
ตนเองรวมถึงองคำพยพที่มีอยู่ให้เป็นประโยชน์ก็เป็นคุณสมบัติที่ผู้นำพึ งมีไม่แพ้กัน
เพรำะควำมสนใจและกำรรู้จักใช้คนให้เหมำะสมกับงำนดังกล่ำว จะทำให้ผู้นำได้รับ
ทรำบข้อมูลเชิงลึก พร้อมทั้งข้อเท็จจริงต่ำง ๆ เพื่อประกอบกำรตัดสินใจในกำร
ดำเนนิ กำรหรือไม่ดำเนินกำรได้อย่ำงถูกตอ้ งแม่นยำ และเมือ่ มีขอ้ มลู ครบถ้วนก็สำมำรถ
ส่ือสำรแสดงควำมม่ันใจให้กับผู้ใต้บังคับบัญชำหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องได้อย่ำงชัดเจน
ไมก่ ำกวม ไม่เกดิ ควำมเข้ำใจผดิ หรือเกิดควำมบกพร่องในกำรสอื่ สำร

ในทำงภำษำ เมื่อผู้นำมีข้อมูลในมือแล้ว ก็ควรหำช่องทำงในกำรสื่อสำรให้กับ
ชุมชนหรือสังคมของตนรบั ทรำบ เพื่อสร้ำงควำมมัน่ ใจและเขำ้ ใจแนวทำงในกำรปฏิบัติ
กำรดำเนินงำน หรือกำรแก้ปัญหำ อันเป็นกำรลดควำมวิตกกังวลสงสัยและควำมตึง
เครียดให้ผู้ใต้บังคับบัญชำและผู้อื่นได้อีกทำงหนึ่ง จำกกำรศึกษำพระรำชดำรัส มี
ข้อเสนอแนะว่ำ ผู้นำควรพิจำรณำประยุกต์ใช้กลวิธีสำคัญ ๓ กลวิธี ได้แก่ กลวิธีแรก
กำรนิยำมหรือขยำยควำมคำสำคัญ เช่น ในองค์กรต่ำง ๆ มักมีกำรกำหนดวิสัยทัศน์
ค่ำนิยมองค์กร หลำยครั้งที่อำจใช้คำทั่วไป เช่น “ซื่อสัตย์” “รับผิดชอบ” ในกำร
กำหนดพฤติกรรมของบุคลำกร แต่ในบริบทของแต่ละองค์กร ผู้บริหำรอำจให้
ควำมหมำยของคำเหลำ่ นีใ้ นมมุ มองท่ีแตกต่ำงกัน และอำจคำดหวงั ถงึ พฤติกรรมที่แสดง
ถึง “ควำมซื่อสัตย์” และ “ควำมรับผิดชอบ” ของคนในองค์กรที่แตกต่ำงจำกที่คนใน
องค์กรเข้ำใจหรือตีควำมก็เป็นได้ ดังนั้นจึงควรมีกำรทำควำมเข้ำใจนิยำมหรือคำจำกัด
ควำมร่วมกัน เพื่อให้มั่นใจว่ำสมำชิกทุกคนในองค์กร จะดำเนินตำมแนวทำงหรือ
รปู แบบเดียวกนั

นอกจำกกำรนิยำมหรือขยำยควำมคำสำคัญแล้ว ผู้นำอำจต้องคำนึกถึง
ควำมสำคัญของกำรแสดงตัวอย่ำงที่เป็นรูปธรรมประกอบ เพื่อเป็นต้นแบบหรือ
แบบอย่ำงให้ผู้ใต้บังคับบัญชำเข้ำใจและเห็นภำพร่วมกัน โดยอำจเป็นกำรยกตัวอย่ำง

๗๖

สั้น ๆ จำกสิ่งที่เกิดขึ้นในองค์กรหรือสังคมทั่วไป หรืออำจเป็นตัวอย่ำงจำกสมำชิกหรือ
บคุ ลำกรในกลุ่มรวมถึงจำกประสบกำรณต์ รงจำกตวั ของผู้นำเอง เพอ่ื สรำ้ งควำมชัดเจน
ถึงแนวทำง รูปแบบ รวมถึงเหตุผลที่มำของกำรตัดสินใจในกำรบริหำร กำรที่ผู้พูดไม่
ยกตัวอย่ำงเนื่องจำกเข้ำใจว่ำตนเองทรำบรำยละเอียดของสิ่งที่ตนพูดอย่ำงชัดเจนแล้ว
โดยลืมคิดถึงผู้ฟังซึ่งอำจจินตนำกำรถึงตัวอย่ำงตำมประสบกำรณ์ในแบบของตนซึ่ง
แตกต่ำงจำกของผู้พูด ก็อำจทำให้เกิดกำรสื่อสำรท่ีขำดประสิทธิภำพ และเกิดควำม
เขำ้ ใจทไ่ี ม่ตรงกนั ขน้ึ ได้

กลวิธีกำรใช้ภำษำที่นำมำซึ่งควำมน่ำเชื่อถือกลวิธีที่ ๓ คือกำรพรรณนำหรือ
อธิบำยควำมด้วยกำรเชื่อมโยงควำมเข้ำด้วยกัน แสดงให้เห็นถึงควำมสัมพันธ์ของสำร
ชุดต่ำง ๆ ว่ำ มีเนื้อหำต่อเนื่องกัน เป็นเงื่อนไขกัน เป็นเหตุเป็นผลกัน หรือขัดแย้งกัน
กำรเช่อื มโยงถ้อยควำมดงั กล่ำวเป็นทักษะในกำรใชภ้ ำษำอยำ่ งหนง่ึ หมำยควำมว่ำ เป็น
สิ่งทตี่ ้องมีกำรฝึกหดั ใหเ้ กิดควำมชำนำญจนกลำยเป็นทักษะ ผู้พูดทม่ี ที ักษะในกำรเช่ือม
ควำมที่ดีจะเป็นผู้พูดที่สำมำรถสื่อสำรให้ผู้อื่นเข้ำใจไดง้ ่ำย ไม่สับสน ข้อแนะนำสำหรบั
ผู้นำที่มีปัญหำในกำรพูดเช่น พูดไม่เก่ง พูดแล้วผู้ฟังมักจะสับสน วกวน จับประเด็น
ไมไ่ ด้ คอื กำรเรมิ่ ต้นฝกึ ฝนจำกกำรใช้ประโยคสัน้ ๆ จำกนัน้ ใหเ้ ร่มิ ฝกึ เชื่อมประโยคอย่ำง
ง่ำย เช่น เชื่อมสองประโยคเข้ำด้วยกันด้วยคำเชื่อมที่เหมำะสม ไม่พูดประโยคยำว ๆ
และเริ่มพัฒนำเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ หรืออำจต้องเตรียมเนื้อหำที่จะพูดก่อนพูดจริง หมั่น
เรียนรู้วิธีกำรใช้ภำษำจำกร่ำงปำฐกถำที่มีผู้จัดเตรียมให้ตนเอง หรือของผู้นำที่มีทักษะ
กำรพดู ทด่ี ี

กำรฝึกฝนกำรเชื่อมโยงควำมนับเป็นกำรลงทุนที่คุ้มค่ำสำหรับผู้นำ เพรำะ
ภำษำมีอำนำจทั้งในกำรดึงดูดให้ผู้ฟังรัก เชื่อถือ เลื่อมใส ศรัทธำ ปฏิบัติตำม หรือใน
ขณะเดียวกัน ก็อำจมีอำนำจผลักใสให้ผู้ฟังเบื่อหน่ำย เกลียดชัง ไม่เชื่อถือ ขำดศรัทธำ
และไม่ปฏบิ ัติตำมได้ ภำษำจึงเปรียบเสมือนประตูบำนแรกที่จะสรำ้ งควำมประทับใจใน
ตัวผู้นำ ซึ่งจะนำมำซึ่งควำมสำเร็จในกำรดำเนินบทบำทหน้ำที่ของผู้นำนั้น ๆ ต่อไปใน
อนำคต ผู้อ่ำนจะเห็นได้ว่ำองค์ประกอบหนึ่งในกำรตัดสินว่ำท่ำนชอบหรือไม่ชอบผู้นำ
คนใดก็คือลักษณะกำรใช้ภำษำของผู้นำที่สร้ำงควำมน่ำเชื่อถือมำกน้อยเพียงใด ดังน้ัน

๗๗

ในฐำนะที่ท่ำนได้รับบทบำทให้เป็นผู้นำในระดับต่ำง ๆ ของสังคม จึงควรตระหนักถึง
ควำมสำคัญของกำรใช้ภำษำ และมองเห็นผู้ฟังของท่ำนจำกมุมมองที่ผู้ฟังคำดหวัง
มำกกว่ำจำกมุมมองของท่ำนซึ่งเป็นตัวผู้นำเอง หมั่นพิจำรณำเสมอว่ำ หำกเรำมอบ
ควำมเชื่อถือในตัวบุคคลประเภทใดก็ควรสร้ำงควำมน่ำเชื่อถือในลักษณะเช่นเดียวกัน
นั้นให้กับบุคคลที่เรำต้องกำรให้เชื่อถือในตัวเรำด้วย พร้อมกับหมั่นผลิตสำรที่อยู่บน
พืน้ ฐำนของข้อมลู และขอ้ เทจ็ จรงิ ที่มีคุณภำพจนกลำยเปน็ นิสยั

๙.๓ ความเป็นปกึ แผ่น: การสร้างความรว่ มมือทเี่ ข้มแขง็ และกา้ วไปสู่
การเปลยี่ นแปลง

๙.๓.๑ ต้นแบบความเปน็ ปึกแผน่ จากพระราชดารัส
ผู้นำ คือ บุคคลที่ได้รับบทบำทและหน้ำที่จำกชุมชนหรือสังคมในกำรบริหำร
จัดกำรคนและงำน เพื่อให้เกิดควำมเจริญรุ่งเรืองก้ำวหน้ำ และในท้ำยที่สุด นำมำซ่ึง
ควำมสุขของสมำชิกในชุมชน องค์กร และสังคมในแต่ละระดับ แต่ลำพังผู้นำเพียงคน
เดียวไม่สำมำรถทำให้ภำรกิจบรรลุตำมเป้ำประสงค์ได้ หำกต้องอำศัยควำมร่วมแรง
ร่วมใจของสมำชิกในชุมชนหรือสังคมที่พร้อมจะเป็นกองหนุนสำคัญในกำรดำเนินงำน
ตำมแนวคดิ หรือนโยบำยของผูน้ ำ ดังนัน้ ผู้นำต้องอำศัยกลยุทธ์ทหี่ ลำกหลำยในกำรผูก
รวมจติ ใจของสมำชิกในสังคมเข้ำด้วยกัน เพื่อหลอ่ หลอมองคำพยพใหเ้ กิดควำมสำมัคคี
และควำมแข็งแกร่ง พร้อมที่จะก้ำวเดินไปในเส้นทำงเดียวกันไปสู่เป้ำหมำยร่วมกัน
หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่จะสร้ำงควำมสำมัคคีของปวงชนคือภำษำ กำรทำให้
ผู้ใต้บังคับบัญชำหรือสมำชิกในสังคมเชื่อถือและปฏิบัติตำมผู้นำนั้นไม่ใช่เพียงกำรใช้
อำนำจหน้ำที่ในกำรสั่งกำร ให้รำงวัล หรือลงโทษ หำกแต่ต้องใช้ “ศิลปะในกำร
บรหิ ำร” ผำ่ นกำรใช้ภำษำท่เี หมำะสม เพ่ือสรำ้ ง “ควำมเป็นปึกแผ่น” ให้กับชุมชนและ
สังคม
ด้วยเหตุผลดังกล่ำวข้ำงต้น ไม่อำจปฏิเสธได้ว่ำ ผู้นำที่สำมำรถสร้ำงควำมเป็น
ปึกแผ่นให้กับสังคมได้ คือผู้นำที่ประสบควำมสำเร็จในกำรทำหน้ำที่กำรเป็นผู้นำ

๗๘

ในขณะทีผ่ ู้นำท่ีเป็นศูนย์กลำงของควำมขัดแย้งในสังคม หรือไมส่ ำมำรถสร้ำงควำมเป็น
ปกึ แผ่นให้กบั สงั คมได้ นอกจำกจะไมป่ ระสบควำมสำเรจ็ ในกำรบริหำรสังคมนัน้ ๆ แล้ว
ยังมักจะไม่สำมำรถดำรงอยู่ในสถำนะของกำรเป็นผู้ในสังคมนั้น ๆ ได้อย่ำงต่อเนื่อง
ยำวนำนอีกด้วย พระบำทสมเด็จพระบรมชนกำธิเบศ มหำภูมิพลอดุลยเดชมหำรำช
บรมนำถบพิตร ทรงดำรงสถำนะองค์พระประมุขแห่งรำชอำณำจักรไทยยำวนำนที่สุด
ในประวัติศำสตร์ชำติไทย ถึง ๗๐ ปี ไม่ใช่เพียงเพรำะกำรที่ทรงมีพระรำชอำนำจใน
ฐำนะพระมหำกษัตริย์ตำมที่บัญญัติไว้ในกฎหมำยรัฐธรรมนูญ แต่ยังทรงเป็นที่รัก
เคำรพ และศรัทธำของพสกนิกรทุกหมู่เหล่ำ เนื่องด้วยทรงยึดโยงกับประชำชนและ
ทรงมีควำมสุขและควำมทุกข์ของประชำชนเป็นท่ีตั้ง ควำมทุกข์ของประชำรำษฎร์คือ
ปัญหำที่ทรงใส่ใจหำทำงขจัดและบรรเทำ ในขณะที่ควำมสุขของมวลพสกนิกรคือ
เป้ำหมำยท่ที รงต้ังไว้เพ่ือให้กำ้ วไปถงึ จำกกำรวิเครำะห์พระรำชดำรัสในช่วงระยะเวลำ
เกือบ ๓๐ ปี พบว่ำทรงตระหนักถึงควำมสำคัญของ “ควำมเป็นปึกแผ่น” ของคนใน
ชำติ ดังแสดงได้จำกรูปภำษำที่สะท้อนควำมเป็นปึกแผ่น ๓ ประเภท ได้แก่ คำแสดง
ควำมเป็นส่วนรวม คำแสดงเปำ้ หมำย และคำแสดงลักษณะวิธกี ำร

คำแสดงควำมเป็นสว่ นรวมแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ไดแ้ ก่ คำสรรพนำม [เรำ]
และคำแสดงควำมเป็นส่วนรวมอื่น ๆ มีควำมชัดเจนว่ำเพื่อให้ผู้ฟังเล็งเห็นว่ำเนื้อหำท่ี
พูดเป็นเรื่องของส่วนรวม ของคนทุกคณะ ทุกภำคส่วนในสังคม ทรงใช้คำสรรพนำม
เช่น “เรำ” “พวกเรำ” “พวกเรำทุกคน” เพื่ออ้ำงถึงคนไทยทุกภำคส่วน และคำอื่น ๆ
เช่น “ประเทศของเรำ” “เมืองไทยของเรำ” “ส่วนรวม” สำหรับคำแสดงเปำ้ หมำยนนั้
พบกำรใช้คำเช่น “ควำมสุข” “ควำมสงบสุข” “ควำมสงบเรียบร้อย” “ควำมเจริญ”
“เพอ่ื ประโยชน์”

คำแสดงวิธีกำรเป็นกลุ่มคำที่ช่วยสร้ำงควำมชัดเจนแก่ผู้ฟังว่ำทรงมีพระรำช
ประสงค์ให้ประชำชนหรือภำครัฐดำเนินกำรอย่ำงไร โดยแบ่งเป็น ๓ ประเภทย่อย
ไดแ้ ก่ ประเภทแรก คำที่มีควำมหมำยถึงควำมร่วมแรงรว่ มใจ เชน่ “ร่วมมอื ” “รว่ มแรง
กัน” “ด้วยกัน “ช่วยกัน” “ช่วยเหลือ” “สำมัคคี” ประเภทที่สองคือ คำที่แสดง
ลักษณะของวิธีกำรกระทำ เช่น “แข็งแรง” “เข้มแข็ง” “พอเพียง” และประเภท

๗๙

สุดท้ำยเช่น คำที่มีควำมหมำยเกี่ยวข้องกับคุณธรรมจริยธรรม เช่น “ธรรม” “ควำม
เมตตำ” “อดทน” “ซือ่ สตั ย์สุจริต” “ยตุ ธิ รรม” ทรงใหค้ วำมสำคญั กับกำรกลำ่ วซ้ำและ
กระต้นุ เตือนใหผ้ ฟู้ งั รสู้ ึกว่ำ ปญั หำหรือภำรกจิ ตำ่ ง ๆ นั้นเป็นสงิ่ เรอื่ งส่วนรวมท่ีทุกคนใน
สงั คมต้องรว่ มมือกนั แก้ไขหรือพฒั นำ

๙.๓.๒ ขอ้ แนะนำในการใชภ้ าษาเพอ่ื สรา้ งความเป็นปึกแผ่น
ความเป็นปึกแผ่น หรืออีกนัยหนึ่งก็คือ “ความสามัคคี” ในองค์กรหรือสังคม
สามารถสรา้ งไดด้ ว้ ยวิธีการทีห่ ลากหลาย ในทางภาษา ผู้นำควรตระหนกั ถงึ ความสำคัญ
ของการใช้ภาษาเพื่อสร้างความเป็นปึกแผ่น ลดความแตกแยกหรือขัดแย้ง โดยระลึก
เสมอว่า คำพูดทุกคำของผู้นำมีผลกระทบต่อความคิดและจิตใจของผู้ใต้บังคับบัญชา
หรือสมาชิกในสงั คมทั้งสิน้ ดังนั้น ผู้นำควรใช้สตกิ ำกับการพูดให้มาก ไม่ว่าจะเป็นเรือ่ ง
ทต่ี นเหน็ วา่ สำคัญหรือไม่ก็ตาม เพราะบางคร้ังเร่ืองที่เราเห็นว่าไมส่ ำคัญอาจเป็นเร่ืองท่ี
สำคัญมากสำหรบั คนบางกลุม่ บางพวกก็ได้ แม้วา่ การส่อื สารความคิดของผูน้ ำจะเป็นส่ิง
สำคัญที่ทำให้องค์กรหรือสังคมรับทราบทิศทางหรือแนวทางขององค์กรหรือสังคมน้ัน
แต่หากพูดแล้วไม่เกิดประโยชน์หรือสร้างความแตกแยกก็ควรละเว้น แล้วหันไปใช้
วธิ ีการอ่นื ทดแทน
จากการศึกษาพระราชดำรัส ได้ข้อเสนอแนะในการใช้ภาษาเพื่อสร้างความ
เป็นปึกแผ่น ๓ ประเด็น คือ การเลือกใช้คำที่แสดงความเป็นส่วนรวม เช่น “พวกเรา”
“เราทุกคน” “ส่วนรวม” หรืออาจปรับประยุกต์ใช้กับหน่วยงานเช่น “บริษัทของเรา”
“จังหวัดของเรา” โดยอาจเลือกใช้คำที่ควบรวมสมาชิกส่วนใหญ่ขององค์กรหรือสังคม
เข้าไว้ด้วยกัน ในภาษาไทยคำว่า “เรา” เป็นคำที่แสดงความเป็นส่วนรวมได้ดีมากคำ
หนึง่ เพราะ “เรา” รวมท้ังผ้พู ูดและผู้ฟังเข้าไว้ในคำเดยี ว และสามารถเชื่อมโยงให้ผู้ฟัง
ตระหนักถึง “ความรับผิดชอบร่วมกัน” ในฐานะที่เป็นหนึ่งในสมาชิกขององค์กรหรือ
สงั คมนน้ั ๆ ด้วย
กลุ่มคำที่นำไปสู่การสร้างความเป็นปึกแผ่นประเภทที่ ๒ คือ กลุ่มคำแสดง
เป้าหมาย ผู้นำอาจพิจารณากล่าวเน้นย้ำถึงเป้าหมายขององค์กรหรือสังคมในหลาย

๘๐

โอกาสและสถานการณ์ เพื่อสร้างความตระหนักให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาหรือสมาชิกใน
องค์กรหรือสงั คมว่าผู้นำของพวกเขาให้ความสำคัญกบั เปา้ หมายนัน้ ๆ เชน่ “ยอดขาย”
“ลูกค้า” “คุณภาพสินค้าหรือผลิตภัณฑ์” และอาจพิจารณาถึงเป้าหมายที่เป็น
ประโยชน์ของผู้ใต้บังคับบัญชา องค์กรหรือสังคมโดยรวม เช่น “ความสุข” “ความม่ัง
คั่งยั่งยืน” “ความเจริญ” เพื่อเป็นแรงกระตุ้นในการขับเคลื่อนองค์กรหรือสังคมให้มี
กำลังใจในการ “ร่วมมือกัน” ปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถเพื่อเป้าหมายที่ผู้นำ
เน้นย้ำน่นั เอง

นอกจากนี้ ผู้นำควรต้องพิจารณาถึงการสื่อสารแนวทางหรือวิธีการปฏิบัติ
สำคัญที่จะนำองค์กรหรือสังคมไปสู่เป้าหมายด้วย อย่าปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือ
สมาชิกในสังคมเป็นผู้กำหนดแนวทางโดยไม่ได้พิจารณาถึงความเหมาะสมและความ
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ในฐานะผู้นำขององค์กรหรือสังคม ผู้นำที่ดีควรเป็นผู้กำหนด
นโยบายและวิธีการดำเนินงาน ติดตามใส่ใจ และสื่อสารแนวทางการปฏิบัติอย่าง
สมำ่ เสมอ เพื่อให้มั่นใจว่าการปฏิบัตงิ านหรอื การดำเนนิ งานในปัจจุบันจะนำองคก์ รหรือ
สังคมไปส่เู ปา้ ประสงคท์ ตี่ ัง้ ไว้

โดยสรุป หนังสอื เล่มนี้ตอ้ งการเปิดประเดน็ ให้ทา่ นผู้อา่ นทม่ี ีบทบาทเป็นผู้นำใน
ระดับต่าง ๆ ในสังคมไทย ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการใช้ภาษาในการสื่อสาร
ความคิด มุมมอง และแนวทางในการบริหารองค์กรหรือสังคม เพราะภาษาคือประตู
ด่านแรกที่คนภายนอกจะตีความและทำความเข้าใจในตัวตนและความคิดของผู้นำ
นอกจากนี้ ภาษายังเป็นปัจจัยสำคัญท่ีจะสร้างให้เกิดความร่วมแรงรว่ มใจของสมาชิกใน
องค์กรหรือสังคมในการที่จะนำพาองค์กรหรือสังคมนั้นไปสู่ความสำเร็จร่วมกัน และ
ในทางกลับกัน ภาษาของผู้นำก็อาจจะเป็นปัจจัยแห่งความล้มเหลวในฐานะของการ
เปน็ ผ้นู ำ และตอ่ ยอดลามไปถึงความล้มเหลวในระดบั องค์กรและสงั คมโดยรวมได้ต่อไป
สุดท้ายนี้ ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าความรู้จากหนังสือเล่มนี้ คงเป็นเสมือนเทียนส่อง
ทางเล่มเล็ก ๆ ที่เป็นจุดตั้งต้นนำพา “ผู้นำ” ทุกท่านไปสู่ความสำเร็จ เพราะหากผู้นำ
ประสบความสำเร็จในฐานะของการทำหน้าที่เป็นผู้นำแล้วไซร้ นั่นหมายความถึง
ความสำเร็จขององคก์ ร สงั คม และสมาชกิ ทุกคนด้วยเชน่ กนั

๘๑

รายการหนงั สืออ้างอิง

ภาษาไทย

ชนิดำ ชนิ บณั ฑติ ย์. (๒๕๕๐). โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาร:ิ การสถาปนา
พระราชอานาจนาในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัว. กรุงเทพฯ : มูลนธิ ิ
โครงกำรตำรำสังคมศำสตร์และมนษุ ยศำสตร์.

ณฐั ณภรณ์ เอกนรำจินดำวฒั น์. (๒๕๖๔). ภำวะผู้นำทำงกำรบรหิ ำรกำรพัฒนำ. เขำ้ ถึง
จำก
www.elgrad.ssru.ac.th/natnaporn_ae/pluginfile.php/31/block_htm
l/content/ภำวะผู้นำทำงกำรบรหิ ำรกำรพัฒนำ.pdf

ทิสวัส ธำรงสำนต.์ (๒๕๖๑). “กระบวนทัศน์หลังสมัยใหม่นิยมในพระอัจฉริยภำพของ
พระบำทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหำภมู พิ ลอดลุ ยเดช บรมนำถบพติ ร”. วารสาร
มนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏสรุ าษฎร์ธาน,ี ปที ี่ ๑๐
ฉบับที่ ๓ (กนั ยำยน-ธนั วำคม ๒๕๖๑), หน้ำ ๒๙-๖๒.

ธเนศ เวศรภ์ ำดำ. (๒๕๔๙). “วำทศิลป์แห่งปัญญำในพระรำชดำรัสและพระบรม
รำโชวำทของพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยหู่ วั ”ใน สมเกยี รติ รักษม์ ณี
(บรรณำธกิ ำร). หกสบิ ปีกระเด่อื งหลา้ ประเลงสวรรค:์ รวมบทความทาง
ภาษาไทยเฉลิมพระเกยี รติพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ทรงครองราชย์ครบ
๖๐ ป.ี กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรสุ ภำลำดพร้ำว. หน้ำ ๑๕๗-๑๖๙.

ปยิ ะนยั เกตุทอง. (๒๕๖๑). เฟสบุ๊คกลุม่ เรำรักพระเจำ้ อยหู่ ัวรัชกำลท่ี ๙
https://www.facebook.com/ThaipeopleloveKingBhumibolsomuch
(ภำพหนำ้ ปก)

พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช. (๒๕๓๔). พระราชดำรัส
พระราชทานแก่คณะบุคคลตา่ งๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายชัยมงคล เนือ่ งในโอกาสวนั
เฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั พุธ
ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พรนิ้ ติง้ .

๘๒

พูนศักดิ์ ศักดำนุวัฒน์. (มปป). พระรำชประวัติ ๕๐ กษัตริยไ์ ทย. กรงุ เทพฯ :
สำนกั พมิ พอ์ ำนวยสำส์น.

ภัทระ คำพิทกั ษ์. (๒๕๕๙). อยำ่ แคแ่ ขวนพระบรมฉำยำลักษณข์ องพระองค์ไว้ในบำ้ น.
https://www.posttoday.com/social/think/463425?fbclid=IwAR1UW
i84_dSChWrqa4d46u1GGxJE-
Zi4GmCpR3CHxbukvSa6MouVszwL6Nk (ภำพปกใน)

มัลลกิ ำ ตณั ฑนนั ทน์, เบญจมำศ กำญจนวโิ รจน์, บรรเทำ กติ ติศักดิ์, ศรีสะอำด ณ
ลำปำง, สมศักดิ์ วิรำพร, ฉนั ทนำ ลนี ะเสน, ประพรี ์ เทพธรำนนท์ และดนนั ท์
สภุ ภทั รำนนท.์ (๒๕๔๓). “กำรศึกษำพระรำชดำรสั และพระบรมรำโชวำท
เกยี่ วกับกำรดำเนินชวี ิตของคนในชำต”ิ . การประชุมทางวิชาการของ
มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ คร้ังท่ี ๓๘, หน้ำ ๓๓๑-๓๓๕.

ยอดชำย ชุตกิ ำโม (๒๕๕๒). พระเจำ้ อยู่หวั กับพระรำชอำนำจเพ่ือทรงอภิบำลกำรเมือง.
วารสารดารงราชานุภาพ, ปที ี่ ๙ ฉบับที่ ๓๒, หน้ำ ๒๙-๔๑.

รฐั ธรรมนูญแห่งรำชอำณำจักรไทย. (๒๕๕๐). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มท่ี ๑๒๔ ตอนท่ี
๔๗ ก.

รำชบัณฑติ ยสถำน. (๒๕๕๖). พจนำนกุ รม ฉบับรำชบณั ฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๕๔
เฉลมิ พระเกยี รติพระบำทสมเดจ็ พระเจ้ำอยูห่ วั เนอ่ื งในโอกำสพระรำชพธิ มี หำ
มงคลเฉลมิ พระชนมพรรษำ ๗ รอบ ๕ ธนั วำคม ๒๕๕๔. กรงุ เทพฯ :
รำชบณั ฑติ ยสถำน.

ร่งุ รตั น์ พรรัตนกำจำย. (๒๕๔๔). การแสดงหัวเร่ืองในพระราชดารสั ของ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดช. วิทยำนพิ นธ์ ศลิ ปศำสตร
มหำบัณฑติ สำขำวิชำภำษำศำสตร์ มหำวิทยำลยั ธรรมศำสตร.์

วินี เชียงเถยี ร. (๒๕๔๒). วาทวิเคราะหพ์ ระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั
ภมู พิ ลอดลุ ยเดช เนือ่ งในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา (พ.ศ.๒๔๙๓-
๒๕๔๒). วทิ ยำนพิ นธ์ นเิ ทศศำสตรมหำบณั ฑิต จุฬำลงกรณ์มหำวิทยำลัย.

สถำบันพระปกเกลำ้ . (๒๕๕๒). วิวฒั นำกำรสถำบนั พระมหำกษัตริย.์ วารสารรงราชา

๘๓

นภุ าพ, ปีท่ี ๙ ฉบับที่ ๓๒, หน้ำ ๑-๒๘.
สำนักงำนคณะกรรมกำรพิเศษเพื่อประสำนงำนโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชดำร.ิ

(๒๕๕๙). สรปุ ภาพรวมขอ้ มูลโครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดาริ.
อนงคน์ ำฏ นุศำสตรเ์ ลิศ และ นฐั วุฒิ ไชยเจริญ. (๒๕๕๘). รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์

โครงการภาษาแห่งอานาจ: การวเิ คราะหว์ จั นลลี าของภาษากฎหมาย ภาษา
การเมือง ภาษาสอ่ื และภาษาวชิ าการของสงั คมไทย โครงการยอ่ ยที่ ๒
การวเิ คราะหว์ ัจนลลี าภาษาการเมืองไทย. สำนักงำนกองทุนสนับสนนุ
กำรวจิ ัย.
อมรำ ประสิทธ์ริ ัฐสินธ.ุ์ (๒๕๕๘). รายงานวจิ ยั ฉบับสมบูรณ์ โครงการภาษาแห่งอานาจ:
การวิเคราะหว์ จั นลลี าของภาษากฎหมาย ภาษาการเมือง ภาษาสื่อ และภาษา
วชิ าการของสงั คมไทย บทสังเคราะหภ์ าษาแหง่ อานาจ. สำนกั งำนกองทุน
สนบั สนนุ กำรวิจัย.

ภาษาองั กฤษ

Bryman, A. (1992). Charisma and Leadership in Organization. London:
Sage.

Davis, Kelly M. and Gardner, William L. (2012). Charisma under Crisis
Revisited: Presidential Leadership, Perceived Leader Effectiveness,
and Contextual Influences. The leadership Quarterly; 23: 918-
933.

Gallup International. (2017). Global Leaders: Gallup International’s 41st
Annual Global End of ear Survey. Available at
https://www.gallup-
international.com/fileadmin/user_upload/surveys/2017/2017_Glo
bal-Leaders.pdf

๘๔

Intravisit, Apichart. (2005). The Rhetoric of King Bhumibol’s Sufficiency
Economy: Rhetorical Analyses of Genre and Burke’s Dramatism
of the December 4th Speeches of 1997, 1998, 1999, and 2000.
Retrieved on 19 Apr. 2020 from
https://www.bu.ac.th/knowledgecenter/epaper/jan_june2005/api
chart.pdf

Kassabova, Iglika. (2020). A Comparative Rhetorical Analysis of the
Speeches of Queen Elizabeth II after Princess Diana’s death and
about the Coronavirus Crisis. Rhetoric and Communications; 44:
78-93.

Kjeldsen, Jean E. (2019). Royal Interventions in the Public Discourse on
Immigration: Rhetorical Topoi on Immigration in the New Year’s
Speeches of the Scandinavian Monarchs. Jovnost: The Public,
DOI: 10.1080/13183222.2019.1587702, 1-16.

Mettomäki, Anu. (2017). “YES WECAN” OR “MAKE AMERICA GREAT
AGAIN”: Comparison of representations of Barack Obama and
Donald Trump’s inaugural addresses. B.A.Thesis. Department of
Language and Communication Studies, University of Jyväskylä.

Polelle, M.R. (2008). Leadership: Fifty Great leaders and the Worlds They
Made. Westport: Greenwood Press.

Tchaparian, Vicky. (2016). A Critical Analysis of Speeches by President
Vladimir Putin and President Barack Obama Concerning the
Crimean Events. Arts and Humanities in Higher Education; 1-2(20):
31-38.

๘๕

ดชั นี

กเ็ พราะ ๕๓
การตอกยำ้ เป้าหมาย ๕๙-๖๐, ๘๐-๘๑
การนำเสนอความคิดเห็นอย่างเปน็ มติ ร ๔๕-๔๖
การนำเสนอวธิ ีการ ๖๐-๖๔, ๘๑
การนิยาม ๔๗-๔๙, ๗๖
การเพ่มิ สถานะผูฟ้ งั และบุคคลอ่ืน ๔๒-๔๕, ๖๘-๖๙, ๗๑
การลดสถานะผู้พดู ๔๐-๔๒, ๖๘-๖๙
การละประธานของประโยค ๔๒
การสร้างความเช่ือมโยงของเน้ือหาอย่างมีคุณภาพ ๕๒-๕๕, ๗๗-๗๘
การแสดงความเบ่ยี งบัง ๔๕-๔๖, ๖๙, ๗๑
การแสดงความมีตัวตนของ “สว่ นรวม” ๕๖-๕๗, ๘๐
การใหต้ ัวอยา่ ง ๔๙-๕๒, ๗๖-๗๗
ข้าพเจ้า ๔๑
ควร ๔๖
ความน่าเช่อื ถือ ๔๗, ๗๒-๗๔
ความเปน็ ปกึ แผ่น ๕๖, ๗๘-๘๐
ความออ่ นน้อมถ่อมตน ๖๖-๗๐
คำเชอ่ื มแสดงการสรปุ ๕๔
คำเชอ่ื มแสดงความสัมพนั ธ์ ๕๒-๕๓
คำเชอื่ มแสดงเง่ือนไข ๕๓
คำเชื่อมแสดงเหตุผล ๕๓
คอื ๔๘
คุณลักษณะ ๓๙
เครื่องมอื ทางวาทศิลป์ ๒๒-๒๗

๘๖

ฉะนั้น ๕๔-๕๕
ช่วย ช่วยกัน ชว่ ยเหลอื ช่วยเหลือกนั ๖๓-๖๔
เช่น เช่นน้นั เชน่ นี้ ๔๙-๕๑
ได้แก่ ๕๐
ตอ้ ง ๔๖
ถ้า ๕๓-๕๕
ท่าน ๔๒-๔๓
ธรรม ธรรมะ ๖๓
นับวา่ ๕๔
นา่ จะ ๔๖
เนื่องจาก ๕๓, ๕๕
ในท่ีสดุ ๕๕
ประกอบดว้ ย ๕๐
ประเทศของเรา ประเทศชาติ ประเทศไทย ๕๘
เป็น ๔๘
เปน็ ตวั อยา่ ง ๕๐
เป็นธรรม ๖๕
แปลว่า ๔๙
ผูน้ ำ ๑๕
พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศฯ ๓๐-๓๒
พระราชดำรสั ๓๒-๓๗
พอเพยี ง ๓๒, ๓๔, ๖๒-๖๓
พฒั นา ๖๓
เพราะ เพราะว่า เพราะเหตุวา่ ๕๓-๕๕
เพราะฉะนน้ั ๕๓
ภาวะผูน้ ำ ๑๖-๑๘

๘๗

ภาษากบั ผนู้ ำ ๑๙
เมอื งไทย ๕๘
ยกตวั อยา่ ง ๕๐
รวมกนั ๖๓
ร่วมกัน รว่ มมอื ร่วมแรงกนั ๖๓-๖๔
เรา ๔๑-๔๒, ๕๗-๕๘
วาทศลิ ป์ ๑๙-๒๑
เศรษฐกิจพอเพยี ง ๓๒-๓๓
สถาบันกษตั รยิ ์ ๒๙-๓๐
สรรพนาม ๒๔, ๒๖, ๔๑-๔๓, ๕๗-๕๘, ๖๘
สรปุ ๕๔
ส่วนรวม ๕๘
สามัคคี ๖๑-๖๒
หมายความวา่ หมายถงึ ๔๘-๔๙
อย่างเชน่ ๕๐
อาจ อาจจะ อาจจะต้อง อาจต้อง ๔๕-๔๖
อาชีพ ๔๔
อปุ ลักษณ์ ๒๒-๒๕

ผ้เู ขียน

๘๘

เกีย่ วกับผูเ้ ขยี น
สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ สำเร็จการศึกษา อักษรศาสตร
บณั ฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปนุ่ และอกั ษรศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ
สาขาวชิ าภาษาศาสตร์ จากคณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์
สาขาวชิ าภาษาศาสตร์ สำนกั วชิ าศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั
แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย สนใจศึกษาวิจัยด้านภาษา
เด็ก ภาษาศาสตร์สังคม ภาษาศาสตร์จิตวิทยา และ
วากยสมั พนั ธ์ อเี มล [email protected]

๘๙


Click to View FlipBook Version