บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
เล่ม ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หน้า ๑๙ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา
๒) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า
และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นท่ียอมรับ
ในระดับชาติ ซง่ึ ตรงหรือสัมพันธ์กบั หัวขอ้ วิทยานพิ นธห์ รอื การคน้ คว้าอิสระ ไม่นอ้ ยกว่า ๑๐ เร่ือง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ
ตามที่กําหนดข้างต้น ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญและประสบการณ์สูง
เป็นท่ียอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ หรือการค้นคว้าอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบ
จากสภาสถาบนั อดุ มศึกษาแห่งน้ัน และแจ้งคณะกรรมการการอุดมศกึ ษารับทราบ
๑๐.๓.๕ อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ ท่ีมีคุณวุฒิขั้นตํ่า
ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชานั้นหรือสาขาวิชาที่สัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาที่สอน
และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอนและมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา
และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคล
ดํารงตาํ แหนง่ ทางวิชาการอยา่ งนอ้ ย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยี อ้ นหลัง
ท้ังนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีช่ัวโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารย์ประจาํ เป็นผู้รบั ผดิ ชอบรายวิชานน้ั
๑๐.๔ ปริญญาเอก
๑๐.๔.๑ อาจารย์ประจําหลักสูตร มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ํา
ปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ
การศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดในการ
พิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง
โดยอยา่ งนอ้ ย ๑ รายการต้องเปน็ ผลงานวิจยั
๑๐.๔.๒ อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู ร จํานวนอย่างน้อย ๓ คน มคี ณุ วฒุ ิปรญิ ญาเอก
หรือเทียบเท่า หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตําแหน่งศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการ
ท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์
ท่ีกําหนดในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปี
ย้อนหลัง โดยอย่างนอ้ ย ๑ รายการต้องเปน็ ผลงานวจิ ัย
กรณีท่ีมีความจําเป็นอย่างยิ่งสําหรับสาขาวิชาที่ไม่สามารถสรรหาอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบตามจํานวน หรือมีจํานวนนักศึกษาน้อยกว่า ๑๐ คน ทางสถาบันอุดมศึกษา
ต้องเสนอจํานวนและคุณวุฒิของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีนั้นให้คณะกรรมการการอุดมศึกษา
พิจารณาเป็นรายกรณี
๑๐.๔.๓ อาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์ แบง่ ออกเปน็ ๒ ประเภท คือ
๑) อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ต้องเป็นอาจารย์ประจําหลักสูตร
มีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันตํ่าปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตําแหน่งรองศาสตราจารย์
และมีผลงานทางวิชาการท่ีไม่ใช่ส่วนหน่ึงของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการ
ที่ได้รับการเผยแพร่ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการ
อย่างนอ้ ย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปยี ้อนหลัง โดยอย่างน้อย ๑ รายการต้องเป็นผลงานวจิ ัย
47
คมู อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563
เลม่ ๑๓๒ ตอนพเิ ศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๒๐ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา
๒) อาจารย์ท่ีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม (ถ้ามี) ต้องมีคุณวุฒิและคุณสมบัติ
ดงั น้ี
อาจารยท์ ี่ปรึกษาวิทยานพิ นธร์ ่วมที่เป็นอาจารย์ประจํา ต้องมีคุณวุฒิ
และผลงานทางวิชาการเช่นเดยี วกับอาจารยท์ ปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
สาํ หรบั อาจารยท์ ีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมท่ีเป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร
ที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์
ไม่นอ้ ยกวา่ ๕ เรอื่ ง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ
ตามทกี่ ําหนดข้างตน้ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ภิ ายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเช่ียวชาญและประสบการณ์สูงมาก
เป็นทย่ี อมรับ ซ่งึ ตรงหรอื สมั พันธก์ ับหวั ข้อวิทยานิพนธ์ โดยผา่ นความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น
และแจง้ คณะกรรมการการอดุ มศึกษารบั ทราบ
๑๐.๔.๔ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ ต้องประกอบด้วยอาจารย์ประจําหลักสูตร
และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกสถาบัน รวมไม่น้อยกว่า ๕ คน ท้ังน้ีประธานกรรมการสอบต้องเป็น
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก โดยอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ต้องมีคุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวิชาการ
ดังนี้
๑) กรณีอาจารย์ประจําหลักสูตร ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า
หรือขั้นต่ําปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งรองศาสตราจารย์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่ง
ของการศึกษาเพื่อรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ท่ีกําหนด
ในการพิจารณาแต่งตั้งให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการอย่างน้อย ๓ รายการ ในรอบ ๕ ปีย้อนหลัง
โดยอย่างนอ้ ย ๑ รายการตอ้ งเป็นผลงานวิจยั
๒) กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ต้องมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า
และมีผลงานทางวิชาการท่ีได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารที่มีชื่ออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นท่ียอมรับ
ในระดบั นานาชาติ ซ่งึ ตรงหรือสมั พันธก์ ับหัวขอ้ วทิ ยานิพนธ์ ไม่นอ้ ยกวา่ ๕ เร่อื ง
กรณีผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกท่ีไม่มีคุณวุฒิและผลงานทางวิชาการ
ตามที่กําหนดขา้ งต้น ผ้ทู รงคุณวฒุ ภิ ายนอกจะต้องเป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงมาก
เป็นท่ียอมรับ ซ่ึงตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อวิทยานิพนธ์ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษาแห่งนั้น
และแจ้งคณะกรรมการการอดุ มศึกษารับทราบ
๑๐.๔.๕ อาจารย์ผู้สอน ต้องเป็นอาจารย์ประจําหรืออาจารย์พิเศษ ที่มีคุณวุฒิ
ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า หรือข้ันต่ําปริญญาโทหรือเทียบเท่าท่ีมีตําแหน่งรองศาสตราจารย์ ในสาขาวิชานั้น
หรือสาขาวิชาท่ีสัมพันธ์กัน หรือในสาขาวิชาของรายวิชาท่ีสอน และต้องมีประสบการณ์ด้านการสอน
และมีผลงานทางวิชาการ ท่ีไม่ใช่ส่วนหนึ่งของการศึกษาเพ่ือรับปริญญา และเป็นผลงานทางวิชาการ
ท่ีได้รับการเผยแพร่ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในการพิจารณาแต่งต้ังให้บุคคลดํารงตําแหน่งทางวิชาการ
อยา่ งนอ้ ย ๑ รายการ ในรอบ ๕ ปยี อ้ นหลัง
48
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หน้า ๒๑ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา
ในกรณรี ายวชิ าท่ีสอนไม่ใชว่ ิชาในสาขาวิชาของหลักสูตร อนุโลมให้อาจารย์
ที่มีคุณวุฒิระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่าที่มีตําแหน่งทางวิชาการตํ่ากว่ารองศาสตราจารย์ ทําหน้าที่
อาจารยผ์ ูส้ อนได้
ทั้งนี้ อาจารย์พิเศษต้องมีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ ๕๐ ของรายวิชา
โดยมอี าจารยป์ ระจําเปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบรายวชิ าน้ัน
๑๑. ภาระงานทีป่ รกึ ษาวิทยานพิ นธแ์ ละการคน้ คว้าอสิ ระ
๑๑.๑ อาจารย์ประจําหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
ของนักศกึ ษาปรญิ ญาโทและปริญญาเอกตามหลกั เกณฑ์ ดังน้ี
กรณีอาจารย์ประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และมีผลงาน
ทางวิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโทและเอก
รวมได้ไม่เกนิ ๕ คน ต่อภาคการศึกษา
กรณีอาจารย์ประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดํารงตําแหน่ง
ระดับผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ขน้ึ ไป หรือมีคุณวฒุ ิปริญญาโทหรอื เทยี บเท่าท่ีมีตําแหน่งรองศาสตราจารย์ขึ้นไป
และมีผลงานทางวิชาการตามเกณฑ์ ให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาระดับปริญญาโท
และเอกรวมได้ไมเ่ กิน ๑๐ คนต่อภาคการศึกษา
กรณีอาจารย์ประจําหลักสูตรมีคุณวุฒิปริญญาเอกหรือเทียบเท่า และดํารงตําแหน่ง
ศาสตราจารย์และมีความจําเป็นต้องดูแลนักศึกษาเกินกว่าจํานวนท่ีกําหนดให้เสนอต่อสภาสถาบันพิจารณา
แต่ท้ังน้ีต้องไม่เกิน ๑๕ คนต่อภาคการศึกษา หากมีความจําเป็นต้องดูแลนักศึกษามากกว่า ๑๕ คน
ให้ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการการอุดมศึกษาเปน็ รายกรณี
๑๑.๒ อาจารย์ประจําหลักสูตร ๑ คน ให้เป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาการค้นคว้าอิสระ
ของนกั ศึกษาปรญิ ญาโทไดไ้ มเ่ กิน ๑๕ คน
หากเป็นอาจารย์ท่ีปรึกษาทั้งวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ ให้คิดสัดส่วน
จํานวนนักศึกษาท่ีทําวิทยานิพนธ์ ๑ คน เทียบได้กับจํานวนนักศึกษาท่ีค้นคว้าอิสระ ๓ คน แต่ทั้งนี้
รวมแล้วตอ้ งไมเ่ กนิ ๑๕ คนต่อภาคการศกึ ษา
๑๑.๓ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ต้องทําหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และ/
หรืออาจารย์ผู้สอบวทิ ยานพิ นธ์ และ/หรืออาจารย์ผูส้ อนในหลกั สตู รนน้ั ด้วย
๑๒. คณุ สมบตั ขิ องผู้เข้าศกึ ษา
๑๒.๑ ประกาศนียบตั รบัณฑิต จะตอ้ งเปน็ ผู้สําเรจ็ การศกึ ษาระดับปริญญาตรหี รอื เทียบเท่า
๑๒.๒ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง จะต้องเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต
หรอื ปริญญาโท หรอื เทยี บเท่า
๑๒.๓ ปริญญาโท จะต้องเปน็ ผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรอื เทยี บเทา่
49
คมู อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563
เลม่ ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หน้า ๒๒ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา
๑๒.๔ ปริญญาเอก จะต้องเป็นผู้สําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
ท่ีมีผลการเรียนดีมาก หรือปริญญาโทหรือเทียบเท่า และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์
ท่คี ณะกรรมการการอดุ มศกึ ษากําหนด
๑๓. การลงทะเบียนเรียนและระยะเวลาการศึกษา ให้ลงทะเบียนเรียนได้ไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต
ในแตล่ ะภาคการศึกษาปกติ และใหใ้ ชเ้ วลาศกึ ษาในแตล่ ะหลักสูตร ดงั นี้
๑๓.๑ ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน
๓ ปีการศกึ ษา
๑๓.๒ ปริญญาโท ให้ใช้เวลาศึกษาไมเ่ กิน ๕ ปีการศกึ ษา
๑๓.๓ ปรญิ ญาเอก ผู้ที่สําเร็จปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษา
ไม่เกิน ๘ ปีการศึกษา ส่วนผู้ที่สําเร็จปริญญาโทแล้วเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาเอกให้ใช้เวลาศึกษา
ไมเ่ กิน ๖ ปีการศึกษา
การลงทะเบียนเรียนสําหรับผู้เข้าศึกษาแบบไม่เต็มเวลา ให้สถาบันอุดมศึกษา
กําหนดจํานวนหน่วยกิตที่ให้ลงทะเบียนเรียนได้ในแต่ละภาคการศึกษาปกติ โดยเทียบเคียงกับจํานวนหน่วยกิต
ที่กาํ หนดข้างตน้ ในสัดสว่ นที่เหมาะสม
หากสถาบันอุดมศึกษาใดมีเหตุผลและความจําเป็นพิเศษ การลงทะเบียนเรียน
ทม่ี จี าํ นวนหนว่ ยกติ แตกต่างไปจากเกณฑ์ข้างต้นก็อาจทําได้ แต่ท้ังนี้ต้องไม่กระทบกระเทือนต่อมาตรฐาน
และคุณภาพการศึกษา
๑๔. เกณฑ์การสําเร็จการศึกษา นกั ศึกษาจะตอ้ งปฏิบตั ิ ดงั น้ี
๑๔.๑ ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตช้ันสูง ต้องเรียนครบตาม
จํานวนหน่วยกิตที่กําหนดไว้ในหลักสูตร และต้องได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ต่ํากว่า ๓.๐๐ จากระบบ
๔ ระดับคะแนนหรือเทยี บเท่า
๑๔.๒ ปรญิ ญาโท
๑๔.๒.๑ แผน ก แบบ ก ๑ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่า
ข้ันสุดท้าย โดยคณะกรรมการท่ีสถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้
สําหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับ
การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาํ หรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวิชาการ
๑๔.๒.๒ แผน ก แบบ ก ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร
โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ตํ่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมท้ัง
เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าข้ันสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษาน้ันแต่งตั้ง
และต้องเป็นระบบเปดิ ให้ผูส้ นใจเขา้ รบั ฟงั ได้
ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหน่ึงของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออยา่ งนอ้ ยไดร้ บั การยอมรับใหต้ พี ิมพ์ในวารสารระดับชาตหิ รอื ระดบั นานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวชิ าการ หรอื นาํ เสนอต่อทีป่ ระชุมวิชาการโดยบทความท่ีนําเสนอฉบับสมบูรณ์ (Full Paper)
ไดร้ บั การตพี มิ พ์ในรายงานสบื เนอ่ื งจากการประชุมวชิ าการ (Proceedings) ดงั กลา่ ว
50
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หนา้ ๒๓ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๘
ราชกจิ จานุเบกษา
๑๔.๒.๓ แผน ข ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร โดยจะต้อง
ได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ตํ่ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และสอบผ่านการสอบ
ประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) ด้วยข้อเขียนและ/หรือปากเปล่าในสาขาวิชานั้น
พร้อมท้ังเสนอรายงานการค้นคว้าอิสระและสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการ
ที่สถาบันอุดมศึกษาน้ันแต่งต้ัง โดยเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ และรายงานการค้นคว้าอิสระ
หรือสว่ นหน่ึงของรายงานการค้นคว้าอิสระต้องไดร้ ับการเผยแพรใ่ นลักษณะใดลกั ษณะหนึ่งทีส่ บื คน้ ได้
๑๔.๓ ปรญิ ญาเอก
๑๔.๓.๑ แบบ ๑ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
เพ่ือเป็นผู้มีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย
โดยคณะกรรมการท่ีสถาบันอุดมศึกษาน้ันแต่งต้ัง ซ่ึงจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายใน
และภายนอกสถาบนั และตอ้ งเปน็ ระบบเปิดให้ผูส้ นใจเข้ารบั ฟงั ได้
สําหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติท่ีมีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสําหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการ อยา่ งน้อย ๒ เรอ่ื ง
๑๔.๓.๒ แบบ ๒ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามท่ีกําหนดในหลักสูตร โดยจะต้อง
ได้ระดับคะแนนเฉล่ียไม่ต่ํากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัด
คุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทําวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่าน
การสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการท่ีสถาบันอุดมศึกษาน้ันแต่งต้ัง ซึ่งจะต้องประกอบด้วย
ผทู้ รงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและตอ้ งเป็นระบบเปดิ ใหผ้ ูส้ นใจเข้ารับฟงั ได้
สําหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา เรอ่ื ง หลักเกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวชิ าการสาํ หรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
๑๕. ช่ือประกาศนียบตั รและช่ือปรญิ ญา
๑๕.๑ ประกาศนียบตั รบัณฑติ ใหใ้ ชช้ ื่อวา่ “ประกาศนียบัตรบัณฑิต (Graduate Diploma)”
อักษรยอ่ “ป.บัณฑิต (Grad. Dip.)” แลว้ ตามดว้ ยช่ือสาขาวิชาต่อทา้ ย
๑๕.๒ ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ให้ใช้ชื่อว่า “ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
(Higher Graduate Diploma)” อักษรย่อ “ป.บัณฑิตช้ันสูง (Higher Grad. Dip.)” แล้วตามด้วย
ชอื่ สาขาวชิ าตอ่ ท้าย
๑๕.๓ ปริญญาโทและปริญญาเอก สถาบันอุดมศึกษาที่มีการตราพระราชกฤษฎีกาว่าด้วย
ปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสําหรับสาขาวิชาไว้แล้ว ให้ใช้ช่ือปริญญาตามที่กําหนดในพระราชกฤษฎีกาน้ัน
ในกรณีท่ีปริญญาใดยังมิได้กําหนดชื่อไว้ในพระราชกฤษฎีกา หรือกรณีท่ีสถาบันอุดมศึกษาใดไม่มีการตรา
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยปริญญาในสาขาวิชา และอักษรย่อสําหรับสาขาวิชาให้ใช้ชื่อปริญญาตามหลักเกณฑ์
การกาํ หนดชอ่ื ปริญญา ตามท่ีคณะกรรมการการอดุ มศึกษากําหนด
51
คมู อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563
เล่ม ๑๓๒ ตอนพิเศษ ๒๙๕ ง หน้า ๒๔ ๑๓ พฤศจกิ ายน ๒๕๕๘
ราชกิจจานุเบกษา
๑๖. การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกําหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร
โดยมอี งค์ประกอบในการประกันคุณภาพอย่างน้อย ๖ ดา้ น คอื
(๑) การกํากับมาตรฐาน
(๒) บัณฑติ
(๓) นักศกึ ษา
(๔) คณาจารย์
(๕) หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมินผเู้ รยี น
(๖) สง่ิ สนบั สนุนการเรียนรู้
๑๗. การพัฒนาหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรพัฒนาหลักสูตรให้ทันสมัยโดยมีการประเมิน
และรายงานผลการดําเนินการของหลักสูตรทุกปีการศึกษาเพ่ือนําข้อมูลที่ได้ไปปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร
เป็นระยะ ๆ อย่างน้อย ตามรอบระยะเวลาของหลักสตู ร หรอื ทกุ รอบ ๕ ปี
๑๘. ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติตามแนวทางดังกล่าวได้ หรือมีความจําเป็นต้องปฏิบัติ
นอกเหนือจากที่กําหนดไว้ในประกาศน้ี ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการการอุดมศึกษาท่ีจะพิจารณา
และให้ถือคาํ วนิ ิจฉัยของคณะกรรมการการอดุ มศกึ ษาน้ันเปน็ ทสี่ ุด
ประกาศ ณ วันท่ี ๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๕๘
พลเอก ดาว์พงษ์ รตั นสุวรรณ
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ
52
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
หน้า ๑๓ ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพิเศษ ๑๕๑ ง ราชกิจจานุเบกษา
ประกาศ ก.พ.อ.
เรื่อง หลกั เกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ สาหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ
พ.ศ. ๒๕๖๒
ด้วย ก.พ.อ. ได้ออกประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ซ่ึงกาหนดให้การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ในวารสารทางวิชาการจะต้องเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการท่ีมีรายช่ืออยู่ในฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ
ในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. ฉบับดังกล่าวเท่าน้ัน และ
โดยท่ีประกาศ ก.พ.อ. ฉบับดังกล่าวได้มีผลบังคับใช้มาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว ประกอบกับปัจจุบัน
ฐานข้อมูลรายชื่อวารสารทางวชิ าการ ตามเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ. บางรายการไดถ้ ูกยุบเลิก
และได้มีฐานข้อมูลรายชื่อวารสารทางวิชาการ ที่เป็นท่ียอมรับในระดับชาติและระดับนานาชาติเกิดข้ึนใหม่
อีกเป็นจานวนมาก ก.พ.อ. จึงมีมติเห็นชอบให้มีการปรับปรุงรายชื่อฐานข้อมูลสาหรับการเผยแพร่
ผลงานทางวิชาการให้มีความทันสมัยครอบคลุมทุกสาขาวิชา และสามารถรองรับการเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการได้
อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๔ (๓) แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน
ในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๙ และมาตรา ๑๘ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ ซึ่งแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ ก.พ.อ. จึงกาหนด
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ ท้ังที่เป็นรูปเล่มส่ิงพิมพ์หรือเป็นวารสารออนไลน์ สาหรับ
การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาถือปฏิบตั เิ ป็นมาตรฐานเดยี วกนั ไวด้ งั ต่อไปน้ี
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ สงิ หาคม ๒๕๕๖ และ
เอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ.
ขอ้ ๒ ประกาศ ก.พ.อ. น้ี ให้ใชบ้ งั คับต้งั แตว่ ันที่ ๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ เป็นตน้ ไป
ขอ้ ๓ ผลงานทางวิชาการสาหรับการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งทางวิชาการ
ตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ ประกาศ ณ วันที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๐
และประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง หลักเกณฑ์ และวิธีการพิจารณาแต่งตั้งบุคคลให้ดารงตาแหน่งผู้ช่วย
ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑ ประกาศ ณ วันท่ี
๒๘ ธนั วาคม ๒๕๖๑ จะต้องเผยแพร่ในวารสารทางวิชาการท่ีมีรายช่ืออยู่ในฐานข้อมูลท่ีเป็นท่ียอมรับ
ในระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ ดังน้ี
53
คมู อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปก ารศกึ ษา 2563
หน้า ๑๔ ๑๒ มิถนุ ายน ๒๕๖๒
เล่ม ๑๓๖ ตอนพเิ ศษ ๑๕๑ ง ราชกิจจานุเบกษา
๓.๑ ฐานข้อมูลระดับนานาชาติ ได้แก่ ERIC, MathSciNet, Pubmed, Scopus,
Web of Science (เฉพาะในฐานข้อมูล SCIE, SSCI และ AHCI เทา่ น้ัน), JSTOR และ Project Muse
๓.๒ ฐานข้อมูลระดับชาติ ได้แก่ ศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal
Citation Index - TCI) เฉพาะวารสารท่มี ีชือ่ อยูใ่ นกลุ่มท่ี ๑ และกลุ่มที่ ๒
ขอ้ ๔ การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการเพื่อขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ ซึ่งได้เผยแพร่
ก่อนวันที่ประกาศฉบับน้ีมีผลใช้บังคับ ให้ใช้ตามประกาศ ก.พ.อ. เร่ือง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสาร
ทางวชิ าการสาหรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๖
และเอกสารแนบท้ายประกาศ ก.พ.อ.
ความในวรรค ๑ ให้ใช้บังคับแก่การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการซึ่งมีหนังสือรับรอง
จากบรรณาธิการวารสารทางวิชาการวา่ ใหเ้ ผยแพรไ่ ดแ้ ลว้ ดว้ ย
ประกาศ ณ วนั ท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖2
ธรี ะเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศลิ ป์
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร
ประธาน ก.พ.อ.
54
ค่มู อื นักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
เรอ่ื ง คา่ ธรรมเนียมการศึกษา สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อใหก้ ารจดั การเรียนการสอนและการพัฒนาการศึกษาของมหาวทิ ยาลยั เปน็ ไปดว้ ยความเรยี บร้อย
มีประสิทธภิ าพ อาศยั อำนาจตามระเบยี บมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา วา่ ด้วย การรับจ่ายเงนิ คา่ ธรรมเนียม
การศกึ ษา ระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๕ (๓) (๔) (๕) และขอ้ ๑๔ มหาวิทยาลัยจงึ ออกประกาศไว้ดงั ตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ ประกาศนี้เรยี กว่า “ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรอ่ื ง คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา สำหรบั
นกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘”
ขอ้ ๒ ประกาศนีใ้ หใ้ ชส้ ำหรับนกั ศกึ ษาภาคปกติ และภาคพเิ ศษ ระดบั บณั ฑิตศึกษา ที่เข้าศกึ ษาต้ังแต่
ปีการศึกษา ๒๕๕๘ เปน็ ต้นไป
ขอ้ ๓ ค่าธรรมเนยี มการศึกษาที่เกบ็ ครง้ั เดยี วตลอดหลกั สตู ร
๓.๑ ค่าข้ึนทะเบยี นนกั ศึกษาใหม่ จำนวน ๒,๐๐๐ บาท
๓.๒ คา่ ประกนั ของเสยี หาย จำนวน ๑,๐๐๐ บาท
ข้อ ๔ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา เรยี กเกบ็ เป็นรายภาคการศึกษา แยกแสดงรายละเอียดตามบัญชีแนบทา้ ย
ประกาศน้ี
ขอ้ ๕ ค่าบำรุงการศกึ ษาเรยี นร่วมของนกั ศกึ ษาภาคปกติเรยี นรว่ มกบั นกั ศกึ ษาภาคพเิ ศษหรือนกั ศึกษาภาค
พเิ ศษเรียนรว่ มกบั นักศึกษาภาคปกติ ให้ชำระเงนิ คา่ บำรุงการศึกษาเป็นรายภาคการศกึ ษา ๆ ละ ๒,๕๐๐ บาท และคา่
หนว่ ยกิตรายวิชาในอัตราหน่วยกติ ละ ๒,๐๐๐ บาท
ข้อ ๖ ค่าบำรงุ ศูนยบ์ ริการการศกึ ษานอกสถานท่ีตง้ั ในกรณที ่ศี ึกษา ณ ศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอกสถาน
ทตี่ ั้ง ภาคการศกึ ษาละ ๕,๐๐๐ บาท
ขอ้ ๗ ใหอ้ ธกิ ารบดเี ป็นผ้รู กั ษาการตามประกาศนี้ และมอี ำนาจออกประกาศเก่ยี วกบั วิธีปฏบิ ตั ซิ ึง่ ไม่ขัดหรอื
แย้งกับประกาศนี้ ในกรณีเกดิ ปัญหาจากการใชป้ ระกาศฉบับน้ี ให้อธิการบดเี ป็นผมู้ อี ำนาจตีความวนิ จิ ฉยั และสง่ั การ
จงึ ประกาศให้ทราบโดยท่วั กัน
ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๕๘
(รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชยี ร ฝอยพกิ ลุ )
อธกิ ารบดี
ท่ี ๑๖๑ / ๒๕๕๘
55
บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บญั ชแี นบทา้ ยประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ที่ ๑๖๑/๒๕๕๘
คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา (คา่ บำรงุ การศกึ ษา) รายภาคการศึกษา
ระดับ หลกั สตู ร ประเภท จำนวน คา่ บำรุงการศกึ ษา
ประกาศนียบัตรบณั ฑิต
นกั ศึกษา ภาคการศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ
ปกติ ๒ ๑๒,๐๐๐
พเิ ศษ ๒ ๑๘,๐๐๐
ปริญญาโท วทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พเิ ศษ ๖ ๒๐,๐๐๐
ศิลปศาสตรมหาบัณฑติ ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พิเศษ ๖ ๑๘,๐๐๐
บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑติ ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พิเศษ ๖ ๑๘,๐๐๐
นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พิเศษ ๖ ๑๘,๐๐๐
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑติ ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พเิ ศษ ๖ ๑๘,๐๐๐
สาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑติ ปกติ ๔ ๑๒,๐๐๐
พเิ ศษ ๖ ๒๐,๐๐๐
ปรญิ ญาเอก ครศุ าสตรดษุ ฎีบณั ฑิต พเิ ศษ ๙ ๔๕,๐๐๐
บริหารธุรกิจดุษฎบี ัณฑิต
ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑติ พเิ ศษ ๙ ๔๕,๐๐๐
พิเศษ ๙ ๔๕,๐๐๐
56
คมู่ ือนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
เร่ือง ค่าธรรมเนียมการศึกษา สำหรบั นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา แกไ้ ขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี ๒)
พ.ศ. ๒๕๖๑
เพอ่ื ใหก้ ารจดั การเรียนการสอนและการพฒั นาการศึกษาของมหาวทิ ยาลยั เปน็ ไปด้วยความเรียบรอ้ ย
มีประสิทธภิ าพ อาศยั อำนาจตามระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า วา่ ดว้ ย การรบั จ่ายเงนิ ค่าธรรมเนียม
การศึกษา ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๕ (๓) (๔) (๕) และขอ้ ๑๔ มหาวิทยาลยั จึงออกประกาศไวด้ งั ต่อไปนี้
ขอ้ ๑ ประกาศน้ีเรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา สำหรบั
นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา แกไ้ ขเพมิ่ เตมิ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑”
ข้อ ๒ ประกาศน้ีใชส้ ำหรับนักศึกษาภาคปกติ และภาคพิเศษ ระดับบัณฑิตศกึ ษา ท่ีเขา้ ศกึ ษาหลกั สูตรทม่ี ี
การขอรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชีพ ตงั้ แตป่ ีการศึกษา ๒๕๖๑ เปน็ ต้นไป
ข้อ ๓ ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา สำหรบั หลกั สตู รท่มี ีการขอรับใบอนญุ าตประกอบวิชาชพี ใหเ้ ป็นไปตาม
รายละเอยี ดบญั ชี แนบท้ายประกาศน้ี
ขอ้ ๔ ให้อธิการบดเี ป็นผ้รู ักษาการตามประกาศนี้ และมีอำนาจออกประกาศเกยี่ วกับวิธปี ฏิบตั ซิ ่ึงไม่ขัดหรอื
แยง้ กับประกาศนี้ ในกรณเี กิดปัญหาจากการใชป้ ระกาศฉบับนี้ ให้อธิการบดเี ปน็ ผมู้ อี ำนาจตคี วามวินจิ ฉัยและสง่ั การ
จงึ ประกาศให้ทราบโดยทั่วกนั
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๔ กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
(รองศาสตราจารย์ ดร. วเิ ชยี ร ฝอยพิกลุ )
อธิการบดี
ท่ี ๘๑ / ๒๕๖๑
57
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บญั ชีแนบทา้ ยประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ท่ี ๘๑/๒๕๖๑
คา่ ธรรมเนียมการศึกษา (คา่ บำรุงการศึกษา) รายภาคการศกึ ษา
ระดบั หลกั สตู ร ประเภท จำนวน คา่ บำรงุ การศึกษา
ปริญญาโท ครศุ าสตรมหาบัณฑติ
นักศึกษา ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ
ปกติ ๔ ๑๕,๐๐๐
พเิ ศษ ๖ ๒๑,๐๐๐
58
คู่มอื นักศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
เรอ่ื ง ค่าธรรมเนยี มการศึกษา สำหรับนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑
เพ่ือใหก้ ารจดั การเรียนการสอนและการพัฒนาการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั เป็นไปดว้ ยความเรียบร้อย
มปี ระสิทธภิ าพ อาศัยอำนาจระเบียบมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ว่าดว้ ย การรับจา่ ยเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการศกึ ษา
ระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ข้อ ๕ (๓) (๔) (๕) และ ขอ้ ๑๔ มหาวิทยาลยั จึงออกประกาศไว้ ดงั ตอ่ ไปน้ี
ขอ้ ๑ ประกาศนีเ้ รยี กวา่ "ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา เร่ือง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา
สำหรบั นักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี ๓) พ.ศ. ๒๕๖๑"
ข้อ ๒ ประกาศนีใ้ ชส้ ำหรับนกั ศกึ ษาปกติ และภาคพิเศษ ทเี่ ข้าศึกษาระดับปริญญาเอก
ข้อ ๓ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา สำหรับหลักสตู รทเ่ี ปิดสอนภาคปกตแิ ละภาคพเิ ศษ ในระดบั ปรญิ ญาเอก
ตามรายละเอียดบญั ชแี นบท้ายประกาศน้ี
ข้อ ๔ ใหอ้ ธิการบดเี ป็นผู้รกั ษาการตามประกาศน้ี และมอี ำนาจออกประกาศเกีย่ วกับวธิ ปี ฏิบัติ ซึง่ ไม่ขัด
หรอื แย้งกับประกาศนี้ ในกรณีเกดิ ปญั หาจากการใชป้ ระกาศฉบับนี้ ให้อธิการบดเี ปน็ ผ้มู อี ำนาจตคี วามวนิ จิ ฉยั และ
สัง่ การ
จงึ ประกาศใหท้ ราบโดยท่ัวกัน
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
(รองศาสตราจารย์ ดร.สุธานันธ์ โพธชิ์ าธาร)
รกั ษาราชการแทนอธกิ ารบดี
ที่ ๖๖๒/๒๕๖๑
59
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
บญั ชแี นบท้ายประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า ที่ ๖๖๒/๒๕๖๑
ค่าธรรมเนียมการศึกษา (ค่าบำรุงการศกึ ษา) รายภาคการศึกษา
ระดบั หลักสตู ร ประเภท จำนวน คา่ บำรงุ การศกึ ษา
ปรญิ ญาเอก ทุกหลักสตู ร นักศึกษา ภาคการศึกษา ภาคการศึกษาละ
ปกติ ๖ ๓๕,๐๐๐ บาท
ปริญญาเอก สาธารณสขุ ศาสตรดุษฎีบณั ฑิต พเิ ศษ ๙ ๔๕,๐๐๐ บาท
60
คู่มอื นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
เร่อื ง คา่ ธรรมเนยี มการศึกษา สำหรบั นกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรบณั ฑติ สาขาวชิ าชีพครู
เพือ่ ให้การจดั การเรียนการสอนและการพฒั นาการศึกษาของมหาวิทยาลัยเป็นไปด้วย
ความเรยี บรอ้ ยมีประสิทธิภาพ อาศัยอำนาจระเบียบมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า ว่าด้วย การรบั จ่ายเงิน
คา่ ธรรมเนียมการศึกษา ระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๕ (๓) (๔) (๕) และ ข้อ ๑๔ มหาวทิ ยาลัย
จึงออกประกาศไว้ ดังตอ่ ไปนี้
ขอ้ ๑ ประกาศนเ้ี รยี กว่า "ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เร่ือง คา่ ธรรมเนยี ม
การศึกษา สำหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบตั รบณั ฑิต สาขาวิชาชพี ครู"
ข้อ ๒ ประกาศนีใ้ ชส้ ำหรบั นักศกึ ษาภาคพเิ ศษ ท่ีเข้าศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรบัณฑติ
ทเี่ ข้าศกึ ษาตั้งแตป่ กี ารศกึ ษา ๒๕๖๒ เป็นต้นไป
ขอ้ ๓ ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาทเ่ี กบ็ ครง้ั เดยี วตลอดหลกั สูตร
๓.๑ คา่ ขึน้ ทะเบียนนักศึกษาใหม่ จำนวน ๒,๐๐๐ บาท
๓.๒ คา่ ประกนั ของเสยี หาย จำนวน ๑,๐๐๐ บาท
ขอ้ ๔ ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา เรียกเกบ็ เปน็ รายภาคการศึกษาละ ๑๕,๐๐๐ บาท จำนวน
๓ ภาคการศกึ ษา
ข้อ ๕ ให้อธิการบดีเป็นผ้รู กั ษาการตามประกาศน้ี และมีอำนาจออกประกาศเกยี่ วกับวิธปี ฏบิ ตั ิ
ซ่งึ ไมข่ ัดหรือแยง้ กับประกาศน้ี ในกรณเี กดิ ปัญหาจากการใช้ประกาศฉบับนี้ ให้อธิการบดีเปน็ ผูม้ ีอำนาจตีความ
วนิ ิจฉยั และสงั่ การ
จึงประกาศให้ทราบโดยทว่ั กนั
ประกาศ ณ วันที่ ๑๗ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อดิศร เนาวนนท์)
อธิการบดี
ที่ ๒๐/๒๕๖๓
61
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา สำหรับนักศึกษาบัณฑิตศกึ ษา ผ้พู ้นสภาพเนอื่ งจาก
ครบเวลาเรยี นตามหลกั สตู รและสอบคดั เลือกเขา้ มาศึกษาใหม่
เพ่อื ใหก้ ารจัดการศึกษาในระดบั บณั ฑิตศึกษาเปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพตามวตั ถุประสงคข์ อง
มหาวิทยาลัย และเกิดประโยชนแ์ กน่ ักศึกษาทพ่ี น้ สภาพเนอื่ งจากครบเวลาเรียนตามหลกั สตู รและสอบคดั เลือกเขา้ มา
ศกึ ษาใหม่ อาศัยระเบียบมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ว่าด้วย การรับจ่ายค่าธรรมเนียมการศกึ ษาระดบั
บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๕ มหาวิทยาลยั จึงประกาศคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา สำหรบั นกั ศกึ ษาดงั กลา่ ว ดงั นี้
๑. ระดับปรญิ ญาโท ใหเ้ รียกเกบ็ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ดังนี้
๑.๑ ค่าประกนั ของเสียหาย ๑,๐๐๐ บาท
๑.๒ ค่าบำรุงการศกึ ษาภาคการศึกษาละ ๑๐,๐๐๐ บาท
๑.๓ คา่ เทียบโอนรายวิชาละ ๕๐๐ บาท
๒. ระดับปริญญาเอก ใหเ้ รยี กเก็บคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา ดังนี้
๒.๑ ค่าประกนั ของเสียหาย ๑,๐๐๐ บาท
๒.๒ คา่ บำรุงการศึกษาภาคการศึกษาละ ๒๐,๐๐๐ บาท
๒.๓ คา่ เทียบโอนรายวชิ าละ ๕๐๐ บาท
๓. นกั ศึกษาในข้อ ๑ และข้อ ๒ จะตอ้ งใช้เวลาศึกษาในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เปน็ เวลา
ไม่นอ้ ยกว่า หนึ่งปีการศกึ ษา
๔. ใหป้ ระกาศนีม้ ีผลบังคบั ใชต้ ั้งแตว่ ันประกาศเป็นตน้ ไป
๕. ในกรณมี ีปัญหาให้อธกิ ารบดเี ปน็ ผมู้ อี ำนาจในการวนิ จิ ฉยั สัง่ การ และถือเป็นท่ีสุด
จึงประกาศใหท้ ราบโดยทวั่ กนั
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๘ เดือน มนี าคม พ.ศ. ๒๕๕๔
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. เศาวนิต เศาณานนท์)
อธกิ ารบดี
ที่ ๑๑๘ / ๒๕๕๔
62
คู่มอื นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารเทียบโอนผลการเรยี นระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐
เพื่อให้เปน็ ไปตามข้อบังคับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา วา่ ดว้ ยการจดั การศกึ ษาระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษา ๒๕๖๐ ขอ้ ๓๕ และ ๓๖ กำหนดใหม้ หาวทิ ยาลัยออกประกาศ หลักเกณฑ์การโอนหนว่ ยกติ และ
การเทยี บโอนหนว่ ยกติ การเทียบโอนความร้/ู ประสบการณแ์ ละให้หนว่ ยกิต ในระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา มหาวิทยาลัย
จงึ ขอประกาศหลักเกณฑก์ ารเทยี บโอนผลการเรยี นระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ ขึ้น ดังน้ี
๑. คุณสมบตั ขิ องผู้มสี ิทธ์เิ ทียบโอนผลการเรยี น
ผขู้ อเทยี บโอนผลการเรยี นจะตอ้ งเปน็ ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาในระดับประกาศนียบัตรบณั ฑติ
ท่เี ข้าศกึ ษาต่อในระดับปริญญาโทในสาขาวิชาเดยี วกนั หรือสาขาวชิ าที่สมั พนั ธ์กัน หรือเคยศกึ ษาในหลักสตู รระดับ
บัณฑติ ศึกษา
๒. หลักเกณฑก์ ารเทียบรายวิชาและโอนหนว่ ยกิตระหวา่ งการศึกษาในระบบ
๒.๑ เปน็ รายวชิ าหรือกล่มุ รายวชิ าในหลักสูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษาหรือเทยี บเทา่ ทีส่ ำนัก
คณะกรรมการการอุดมศึกษารบั รอง
๒.๒ เปน็ รายวชิ าหรือกล่มุ รายวชิ าท่มี ีเน้ือหาทค่ี รอบคลุมไมน่ อ้ ยกวา่ สามในส่ขี องรายวิชาหรอื
กลุ่มรายวชิ าทข่ี อเทยี บ
๒.๓ เป็นรายวชิ าหรอื กลมุ่ รายวชิ าที่สอบไล่ได้ไมต่ ำ่ กวา่ ระดับคะแนนตัวอักษร B หรือแต้มระดบั
คะแนน ๓.๐๐ หรือเทียบเท่า หรอื ระดบั คะแนนตัวอกั ษร S
๒.๔ นักศึกษาจะเทียบรายวิชาและโอนหน่วยกติ ไดไ้ มเ่ กินหนึ่งในสามของจำนวน
หนว่ ยกติ รวมของหลกั สูตรทร่ี บั โอน
๒.๕ รายวชิ าหรือกลุ่มรายวิชาที่เทยี บโอนจากต่างสถาบันอดุ มศึกษาจะไมน่ ำมาคำนวณแต้ม
ระดับคะแนนเฉล่ยี สะสม
๒.๖ นักศึกษาจะตอ้ งใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลยั ไม่นอ้ ยกว่าหนึ่งปีการศกึ ษา และ
ลงทะเบยี นเรยี นรายวชิ าหรอื วิทยานพิ นธ์ตามหลกั สูตรที่เขา้ ศึกษาไมน่ ้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกติ
๒.๗ ในกรณที ีม่ หาวิทยาลัยเปดิ หลักสูตรใหม่จะเทียบโอนนกั ศึกษาเขา้ ศกึ ษา ได้ไม่เกินชน้ั ปี และ
ภาคการศึกษาท่ไี ดร้ ับอนุญาตให้มนี กั ศกึ ษาเรยี นอยู่ตามหลักสตู รที่ได้รับความเห็นชอบแลว้
๓. หลักเกณฑ์การเทยี บรายวิชาและโอนความร/ู้ ประสบการณ์และการให้หนว่ ยกิตจากการศกึ ษา
นอกระบบ และ/หรือการศึกษาตามอธั ยาศัยเขา้ สกู่ ารศกึ ษาในระบบ
๓.๑ การเทียบโอนความรูจ้ ะเทียบเป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาตามหลกั สูตรในระดบั
บัณฑติ ศึกษา
๓.๒ วธิ ีการประเมนิ เพ่อื การเทียบโอนความรู้ในแต่ละรายวชิ าหรือกลุ่มรายวชิ า และเกณฑ์
การตัดสนิ ใหเ้ ปน็ ไปตามความเหน็ ของคณะกรรมการเทียบโอนท่มี หาวทิ ยาลยั แตง่ ตัง้ ข้นึ
63
บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
๓.๓ ผลการประเมินและเทียบโอนเปน็ หน่วยกิต สำหรับรายวชิ าหรือกลมุ่ รายวชิ าจะต้องได้ไม่ตำ่ กว่า
ระดับคะแนนตัวอกั ษร B หรอื แตม้ ระดบั คะแนน ๓.๐๐ หรือเทียบเทา่ หรอื ระดบั คะแนนตวั อกั ษร S
๓.๔ การบนั ทึกผลการเรียนให้บนั ทึกตามวธิ ีการประเมนิ ผล
๓.๕ การเทียบรายวิชาหรอื กลุม่ รายวิชาจากการศึกษานอกระบบ และ/หรอื การศกึ ษาตาม
อัธยาศัย ให้ หน่วยกิตไดไ้ ม่เกินหนง่ึ ในสามของจำนวนหนว่ ยกิตรวมของหลกั สูตรที่รับโอน
๓.๖ นักศึกษาจะต้องใช้เวลาศกึ ษาอยู่ในมหาวทิ ยาลยั ไม่น้อยกว่าหน่งึ ปีการศกึ ษา
และลงทะเบียนเรียนรายวชิ าหรือวทิ ยานพิ นธต์ ามหลกั สตู รท่เี ข้าศึกษาไมน่ ้อยกวา่ ๑๒ หนว่ ยกิต
๔. คณะกรรมการเทยี บโอนหนว่ ยกติ และการเทยี บโอนความรู้/ประสบการณ์ และให้หน่วยกติ
โดยให้มหาวทิ ยาลัยแต่งตงั้ คณะกรรมการเทียบโอนหน่วยกิต หรอื คณะกรรมการการเทยี บโอนความร้/ู ประสบการณ์
และให้หน่วยกิต
ใหม้ หาวิทยาลยั แตง่ ต้ังคณะกรรมการเทยี บโอนหนว่ ยกติ หรือคณะกรรมการการเทยี บโอนความร/ู้
ประสบการณแ์ ละใหห้ น่วยกิต สำหรบั นกั ศกึ ษาท่ีขอเทยี บเป็นราย ๆ ไป จำนวนไมเ่ กนิ ๕ คน
ซึง่ ประกอบด้วย คณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลัยเปน็ ประธาน ผอู้ ำนวยการ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ประธาน
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร อาจารยผ์ ู้รับผิดชอบหลักสูตรที่นกั ศกึ ษาขอโอนเปน็ กรรมการ
รองคณบดีบณั ฑติ วทิ ยาลยั ฝ่ายวชิ าการเปน็ กรรมการและเลขานุการ
๕. ในกรณที ีม่ ปี ัญหาจากการเทียบโอนผลการเรียนตามประกาศนี้ ให้อธกิ ารบดี
เป็นผูพ้ จิ ารณาวนิ จิ ฉยั ช้ขี าด
ท้งั นี้ ตัง้ แตป่ ีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชียร ฝอยพกิ ลุ )
อธิการบดี
ท่ี ๕๐๐/๒๕๖๐
64
คู่มอื นกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
เร่ือง การกำหนดใหภ้ าษาอังกฤษเปน็ ภาษาตา่ งประเทศทนี่ กั ศกึ ษาระดบั ปริญญาเอกตอ้ งสอบผา่ น
เพื่อให้เปน็ ไปตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๔๘ ขอ้ ๑๓ ว่าด้วยเกณฑก์ ารสำเร็จการศึกษาในระดบั ปรญิ ญาเอก ทกี่ ำหนดให้นกั ศกึ ษาต้องสอบผา่ น
ภาษาต่างประเทศอยา่ งนอ้ ย ๑ ภาษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี าจงึ กำหนดให้ภาษาอังกฤษเปน็
ภาษาต่างประเทศทีน่ ักศกึ ษาระดับปรญิ ญาเอกจะต้องสอบผ่านตามหลักเกณฑ์ ดงั ตอ่ ไปน้ี
๑. มผี ลการสอบ TOEFL ระดับคะแนนตั้งแต่ ๑๗๓ คะแนนข้นึ ไป ดว้ ยระบบการทำขอ้ สอบในคอมพวิ เตอร์
หรอื ตั้งแต่ ๕๐๐ คะแนนขึน้ ไป ด้วยระบบการทำข้อสอบในกระดาษคำตอบ หรือ
๒. มผี ลการสอบ IELTS ระดับ ๕.๐ ขึน้ ไป หรือ
๓. มีผลการสอบมาตรฐานอน่ื ทค่ี ณะกรรมการบรหิ ารงานบัณฑิตศึกษารบั รองโดยไดค้ ะแนนเทียบเทา่ ได้กับ
คะแนนการสอบ TOEFL หรอื IELTS ตามข้อ ๑ หรอื ข้อ ๒ หรือ
๔. ในกรณที ีน่ ักศึกษาไมผ่ า่ นเกณฑ์ตามขอ้ ๑, ๒ หรือ ๓ และได้คะแนนสอบ TOEFL ไม่ต่ำกว่า ๔๕๐
คะแนนหรอื เทยี บเทา่ ให้มหาวทิ ยาลยั แต่งตง้ั คณะกรรมการข้ึนชดุ หน่ึงเพ่อื จดั สอบสัมภาษณ์ โดยมีคณะกรรมการ
สมั ภาษณเ์ ต็ม ๑๐๐ คะแนน และเมื่อไดค้ ะแนนสอบสมั ภาษณร์ วมกบั คะแนนหรอื TOEFL แลว้ ตอ้ งได้คะแนน ๕๐๐
คะแนนขน้ึ ไป หากไมผ่ ่านเกณฑส์ ามารถเขา้ รับการอบรมตามข้อ ๕ หรือสอบใหมต่ ามเกณฑ์ขอ้ ๑, ๒ และ ๓
๕. ในกรณีทนี่ ักศึกษาไม่ผา่ นเกณฑต์ ามข้อ ๑ หรือ ๒ หรือ ๓ หรือ ๔ และได้คะแนนสอบ TOEFL ไม่ต่ำกว่า
๔๐๐ คะแนนหรือเทียบเท่า ให้มหาวทิ ยาลยั แตง่ ตั้งคณะกรรมการข้ึนชดุ หนง่ึ เพื่อจดั ฝกึ อบรมภาษาองั กฤษแบบเข้ม
จำนวน ๓๐ ช่ัวโมง แล้วดำเนินการประเมินผลโดยมคี ะแนนเต็ม ๑๕๐ คะแนน เม่ือได้คะแนนประเมนิ ผลรวมกับ
คะแนนสอบดังกล่าวแล้วต้องได้คะแนนตั้งแต่ ๕๐๐ คะแนนขึ้นไป หากไมผ่ า่ นสามารถเข้ารบั การอบรมครั้งที่สอง
หรอื สอบใหมต่ ามเกณฑ์ ข้อ ๑, ๒ หรือ ๓ หลักสตู ร และการประเมนิ ผล ให้เป็นไปตามท่คี ณะกรรมการบริหารงาน
บณั ฑติ ศกึ ษากำหนด
๖. ให้ยกเลกิ ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า ที่ ๑๑๒/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๒๓ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๕๓
เรอื่ ง เกณฑ์การสอบผา่ นภาษาตา่ งประเทศ ของนักศึกษาระดับปริญญาเอก พ.ศ. ๒๕๕๓
๗. ในกรณีทีม่ ปี ญั หาจากประกาศนี้ ให้อธิการบดีเป็นผูพ้ จิ ารณาวินิจฉยั
ประกาศ ณ วันท่ี ๒๗ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
ที่ ๓๘๓/๒๕๕๘ (รองศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชยี ร ฝอยพิกุล)
อธิการบดี
65
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เร่ือง การตรวจสอบการคดั ลอกหรือลอกเลยี นวิทยานิพนธ์ ภาคนพิ นธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ด้วยมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า มีนโยบายส่งเสริมให้นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษามีจรรยาบรรณ
ในการวิจัย มคี วามซื่อสัตยแ์ ละคุณธรรมทางวิชาการ ไมค่ ัดลอกผลงานของผอู้ ่ืนโดยไมม่ ีการอ้างอิง หรอื ไม่นำผลงาน
ของผู้อืน่ มาเปน็ ของตนเองรวมถึงการไมน่ ำผลงานของตนเองมาใชซ้ ำ้ ตามประกาศของกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง แนว
ทางการบรหิ ารเกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั อดุ มศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ขอ้ ๑๒
เพอื่ ให้การตรวจสอบการคัดลอกหรอื ลอกเลยี นวิทยานพิ นธ์ ภาคนพิ นธ์ เปน็ ไปด้วยความเรียบร้อยและ
มีประสิทธภิ าพ จงึ ออกประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า เร่อื ง “การตรวจสอบการคดั ลอกหรือลอกเลยี น
วิทยานิพนธ์ ภาคนพิ นธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑” ดงั น้ี
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เร่ือง การตรวจสอบการคดั ลอกหรือลอก
เลียนวิทยานพิ นธ์ ภาคนิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ในประกาศน้ี
“โปรแกรมอักขราวิสุทธิ”์ หมายถึง ระบบทีใ่ ห้บรกิ ารตรวจสอบความคล้ายคลงึ กนั ระหวา่ ง
เอกสารทย่ี ื่นตรวจสอบกบั เอกสารในฐานข้อมลู ของระบบ โดยให้ผลลัพธเ์ ปน็ รายงานผลการตรวจสอบแสดงค่าดัชนี
ความคล้ายเปน็ เปอร์เซน็ ต์และรายละเอียดอน่ื ๆ
“การคัดลอกหรอื ลอกเลยี นผลงาน หรือ Plagiarism” หมายถงึ การลอกงานเขียน ความคิด
หรอื งานสร้างสรรค์ดง้ั เดมิ ท้งั หมดหรอื บางส่วนทเ่ี หมือนหรือเกือบเหมือนงานดั้งเดมิ ของผ้อู นื่ มาแอบอ้างเป็นงาน
ดัง้ เดิมของตนเอง รวมถึง การนำเสนอผลงานที่เหมือนเดมิ หรือเกือบเหมือนเดิมของตนเองกลับมาใชอ้ ีกครงั้ หนึ่ง
ในแหง่ และกาลทีต่ า่ งไปโดยไม่มีการอ้างองิ ผลงานเดิม
“แบบรายงานตน้ ฉบบั หรือ Original Report” หมายถงึ แบบรายงานตน้ ฉบับทป่ี รากฏผล
การตรวจสอบการคัดลอกผลงานวิทยานพิ นธ์ ภาคนพิ นธ์
“ดัชนคี วามคล้าย หรอื Similarity Index” หมายถึง ระดบั เปอร์เซ็นตก์ ารคัดลอกหรือ
ลอกเลียนผลงานทไี่ ดจ้ ากโปรแกรมอักขราวิสทุ ธติ์ รวจสอบความคลา้ ยคลึง
ขอ้ ๒ ให้คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รสาขาวิชาต่าง ๆ พิจารณากำหนดค่าดชั นคี วามคล้าย
(Similarity Index) โดยใชโ้ ปรแกรมอกั ขราวิสทุ ธิ์ เป็นเกณฑม์ าตรฐานของแต่ละหลักสูตรสาขาวิชาตามความเหมาะสม
ข้อ ๓ ขนั้ ตอนการตรวจสอบการคดั ลอกหรอื ลอกเลยี นวทิ ยานิพนธ์ ภาคนพิ นธ์ ดังนี้
๓.๑ นักศกึ ษาตอ้ งส่งแบบรายงานต้นฉบับหรอื Original Report ใหแ้ กอ่ าจารย์ทปี่ รึกษา
วิทยานิพนธห์ ลักหรอื อาจารย์ทป่ี รึกษาภาคนิพนธ์ พรอ้ มต้นฉบับวทิ ยานพิ นธห์ รอื ภาคนพิ นธ์กอ่ นกำหนดวนั สอบ
โครงร่างวทิ ยานพิ นธ์หรอื โครงร่างภาคนิพนธไ์ ม่น้อยกวา่ ๑๕ วัน
66
คมู่ ือนกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
๓.๒ อาจารย์ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธห์ ลกั หรืออาจารยท์ ปี่ รึกษาภาคนิพนธ์ ต้องรายงานผล
การพจิ ารณาแบบรายงานต้นฉบบั หรือ Original Report ตอ่ คณะกรรมการสอบวิทยานพิ นธห์ รือภาคนพิ นธ์ในวนั
สอบวิทยานพิ นธ์หรือภาคนิพนธ์ และบนั ทึกผลคา่ ดชั นคี วามคลา้ ยลงในแบบประเมนิ ผลการสอบวทิ ยานพิ นธ์ โดย
ค่าดชั นคี วามคลา้ ยต้องเป็นไปตามเกณฑข์ องหลกั สตู รสาขาวชิ า
๓.๓ นกั ศึกษาตอ้ งรายงานผลการพิจารณาแบบรายตน้ ฉบับหรอื Original Report ตามแบบ
บ.๘ โดยอาจารย์ทปี่ รึกษาวทิ ยานิพนธห์ ลักหรอื อาจารยท์ ่ีปรึกษาภาคนพิ นธล์ งนามรบั รองต่อบัณฑติ วิทยาลยั พร้อม
การสง่ รูปเล่มวิทยานพิ นธ์หรอื ภาคนพิ นธฉ์ บบั สมบรู ณ์
ขอ้ ๔ ประกาศฉบับนีใ้ ห้มผี ลใชบ้ ังคับกับนกั ศึกษาทุกรหสั ทสี่ อบวิทยานิพนธห์ รือภาคนิพนธน์ บั แต่
วันประกาศนเ้ี ป็นต้นไป
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทวั่ กัน
ประกาศ ณ วันที่ ๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑
(รองศาสตราจารย์ ดร. วิเชยี ร ฝอยพิกุล)
อธกิ ารบดี
ท่ี ๓๒๖/๒๕๖๑
67
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
เรื่อง เกณฑค์ ่าดัชนคี วามคลา้ ย (Similarity Index) โปรแกรมอกั ขราวิสุทธิ์
ของแตล่ ะสาขาวชิ าในระดับบัณฑติ ศกึ ษา
ตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เรือ่ ง การตรวจสอบการคัดลอกหรือลอกเลียนวทิ ยานพิ นธ์
ภาคนิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑ ขอ้ ๒ ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวชิ าตา่ ง ๆ พิจารณากำหนดค่าดชั นคี วามคล้าย
(Similarity Index) โดยใช้โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ เปน็ เกณฑม์ าตรฐานของแตล่ ะหลักสูตรสาขาวิชา ตามความเหมาะสม
ไปแลว้ น้นั
เพอ่ื ใหก้ ารตรวจสอบการคัดลอกหรอื ลอกเลียนวทิ ยานพิ นธ์ ภาคนพิ นธ์ เป็นไปด้วยความเรยี บร้อย และมี
ประสิทธิภาพ จงึ ออกประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า เรอ่ื ง “เกณฑ์คา่ ดัชนีความคลา้ ย (Similarity Index)
โปรแกรมอกั ขราวิสุทธิข์ องแต่ละสาขาวิชาในระดับบณั ฑติ ศึกษา” ดงั เอกสารแนบทา้ ยประกาศ
ทั้งนี้ ใหย้ กเลกิ ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า ท่ี ๓๒๗/๒๕๖๑ ลงวนั ที่ ๖ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๑
และใหป้ ระกาศน้ีมีผลตงั้ แตว่ ันทปี่ ระกาศเปน็ ต้นไป
จึงประกาศมาให้ทราบโดยทัว่ กัน
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๕ มิถนุ ายน พ.ศ. ๒๕๖๓
(รองศาสตราจารย์ ดร.สุธานันธ์ โพธช์ิ าธาร)
รองอธิการบดี รักษาราชการแทน
อธิการบดี
ท่ี ๐๓๖๕/๒๕๖๓
68
ค่มู อื นกั ศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
เอกสารแนบท้ายประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ที่ ๐๓๖๕/๒๕๖๓ ลงวันท่ี ๒๕ มิถุนายน ๒๕๖๓
เกณฑค์ ่าดชั นีความคลา้ ยของโปรแกรมอกั ขราวิสุทธ์ทิ ี่กำหนดโดยสาขาวชิ า
หลักสูตร คา่ ดชั นคี วามคลา้ ย
ไมเ่ กินร้อยละ
หลกั สูตรปรัชญาดุษฎบี ณั ฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ๒๐
สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน ๑๕
สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม ๒๐
สาขาวชิ าการจดั การภาครฐั และภาคเอกชน ๒๐
หลกั สตู รบริหารธุรกจิ ดุษฎบี ัณฑิต
สาขาวิชาบรหิ ารธุรกิจ ๑๕
หลกั สูตรสาธารณสุขศาสตรดษุ ฎีบัณฑติ ๒๐
หลกั สูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา ๓๐
สาขาวชิ าหลักสตู รและการสอน ๑๕
สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละสอื่ สารการศึกษา ๓๐
สาขาวชิ าวจิ ัยและประเมินผลการศกึ ษา ๓๐
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา ๒๕
สาขาวิชาภาษาไทย ๓๐
หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ ๓๐
สาขาวชิ าการพัฒนาศักยภาพมนษุ ย์ ๑๐
หลกั สตู รวิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าการจดั การเทคโนโลยสี ารสนเทศ ๓๐
สาขาวิชาคณติ ศาสตรศ์ ึกษา ๒๕
สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารจัดการส่งิ แวดล้อม ๒๐
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรศกึ ษา ๒๐
สาขาวชิ าระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ิทัล ๓๐
69
หลักสูตร บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
หลักสตู รบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑติ คา่ ดชั นีความคลา้ ย
สาขาวิชาบรหิ ารธรุ กจิ ไม่เกนิ ร้อยละ
หลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต ๒๕
สาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์
๒๐
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑิต ๒๐
หลกั สตู รนเิ ทศศาสตรมหาบัณฑติ
๒๐
สาขาวชิ าการจัดการการสอ่ื สารแบบบูรณาการ
70
ค่มู อื นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563
ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
เรอ่ื ง การคุม้ ครองสุขภาพของผ้ไู ม่สูบบุหรี่ และกำหนดเขตสูบบุหร่ี
เพอ่ื ให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติควบคุมผลติ ภณั ฑย์ าสบู พ.ศ. 2560 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
จงึ ออกประกาศ ดงั นี้
ข้อ 1 พนื้ ทีข่ องมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี าท้ังหมด ยกเว้น พน้ื ที่ในข้อ 2 เปน็ เขตปลอดบหุ ร่ี
ขอ้ 2 กำหนดเขตสูบบหุ รใี่ นมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี าไว้ 3 แห่ง ดงั น้ี
แห่งที่ 1 บรเิ วณติดตะคองหลงั อาคาร 29 คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรมถึงหลังอาคาร 25
(อาคารปฏบิ ัติการวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีอาหาร)
แห่งที่ 2 ริมกำแพงมหาวิทยาลัยดา้ นทศิ ตะวนั ตก ตัง้ แตร่ มิ ลานจอดรถคณะครุศาสตร์
ถึงริมรัว้ ดา้ นหนา้ มหาวิทยาลยั
แหง่ ท่ี 3 บรเิ วณด้านหลังอาคารอเนกประสงค์ (โรงอาหารมหาวทิ ยาลัย) ด้านติดกบั
กองอาคารสถานที่
ขอ้ 3 ผู้ใดกระทำการฝ่าฝนื ประกาศฉบับน้ีจะลงโทษทางวินยั นกั ศกึ ษา วินยั ราชการและดำเนนิ การทาง
กฎหมายอย่างเครง่ ครัด
จึงประกาศใหท้ ราบโดยทัว่ ไป
ประกาศ ณ วันท่ี 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
(รองศาสตราจารย์ ดร.วเิ ชยี ร ฝอยพิกุล)
อธิการบดี
ท่ี 406 / 2560
71
บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ประกาศบัณฑติ วทิ ยาลัย
เร่อื ง การยกเวน้ การสอบภาษาตา่ งประเทศ ของนกั ศึกษาระดับปริญญาโท พ.ศ. ๒๕๖๐
เพ่ือเปน็ ไปตามขอ้ บงั คับมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยการศึกษา ระดับบณั ฑิตศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐ ขอ้ ๓๙ บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั จงึ ประกาศใหน้ กั ศึกษา ระดับปริญญาโทของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั
นครราชสมี าทีเ่ คยสอบภาษาต่างประเทศผา่ นแล้ว การประเมนิ ผลการสอบได้ระดับ P และไดส้ อบเข้าเปน็ นักศกึ ษา
ระดับปรญิ ญาโทของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ตงั้ แต่ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เป็นผู้ไดร้ ับการยกเว้นการสอบ
ภาษาต่างประเทศ เน่ืองจากถอื ว่าสอบผ่านแลว้ ตามประกาศมหาวทิ ยาลยั
ท้งั นี้ ใหใ้ ชส้ ำหรบั นักศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษาท่เี ขา้ ศึกษาตง้ั แต่ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป
จึงประกาศใหท้ ราบโดยทัว่ กัน
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ร เนาวนนท์)
คณบดบี ณั ฑิตวิทยาลัย
ที่ ๔๗/๒๕๖๐
72
คู่มอื นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ประกาศบัณฑติ วิทยาลยั
เรื่อง เกณฑก์ ารสอบผา่ นวัดคุณสมบัติของนกั ศึกษา ระดับปรญิ ญาเอก พ.ศ. ๒๕๖๐
เพอื่ ใหก้ ระบวนการสอบวดั คณุ สมบตั ิของนักศึกษาระดับปริญญาเอก มีมาตรฐานและเป็นไปตามข้อบงั คับ
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า วา่ ดว้ ยการศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๘ ข้อ ๔๐(๔)
บัณฑติ วทิ ยาลัย จงึ ประกาศเกณฑ์การสอบผ่านวัดคุณสมบัติของนกั ศึกษาระดบั ปรญิ ญาเอก ดงั น้ี
๑. ไดค้ ะแนนจากการสอบหมวดวชิ าทฤษฎีหรอื หมวดวชิ าเฉพาะสาขา ร้อยละ ๖๐ ขึน้ ไป และ
๒. ได้คะแนนจากการสอบหมวดวิชาสถิติและวิจัย ร้อยละ ๖๐ ข้ึนไป
ทั้งน้ี ให้ใช้สำหรบั นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาทเ่ี ขา้ ศึกษาตง้ั แต่ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ที่ ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ร เนาวนนท์)
คณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั
ที่ ๔๘/๒๕๖๐
73
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ประกาศบณั ฑิตวทิ ยาลัย
เรอ่ื ง เกณฑ์การสอบผา่ นประมวลความรู้ของนกั ศึกษาระดบั ปริญญาโท แผน ข พ.ศ. ๒๕๖๐
เพือ่ ให้กระบวนการประมวลความรู้ของนกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาโท แผน ข มมี าตรฐาน และเปน็ ไปตาม
ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ว่าด้วยการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ หมวด ๘ ขอ้ ๔๑(๒)
บัณฑิตวิทยาลยั จงึ ประกาศเกณฑก์ ารสอบผ่านประมวลความร้ขู องนักศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท แผน ข
ดังนี้
๑. ไดค้ ะแนนจากการสอบหมวดวชิ าสัมพนั ธห์ รอื วชิ าบังคบั ร้อยละ ๕๐ ข้ึนไป และ
๒. ได้คะแนนจากการสอบหมวดวิชาเลอื ก ร้อยละ ๖๐ ข้นึ ไป และ
๓. ไดค้ ะแนนรวมจากการสอบทั้งสองหมวดวิชา รอ้ ยละ ๖๐ ขึ้นไป
ทงั้ น้ี ใหใ้ ชส้ ำหรบั นักศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษาทเ่ี ข้าศึกษาตงั้ แต่ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร. อดิศร เนาวนนท)์
คณบดีบณั ฑติ วทิ ยาลยั
ท่ี ๔๙/๒๕๖๐
74
คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ประกาศบณั ฑิตวทิ ยาลัย
เรื่อง จรรยาบรรณนกั วจิ ัย สำหรับนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา
เพื่อให้นักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษาของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา มจี รรยาบรรณนักวจิ ัยทีส่ อดคลอ้ งกบั
คุณลกั ษณะของบัณฑติ ทีพ่ งึ ประสงค์ ในการผลติ บณั ฑติ ใหม้ คี ุณภาพ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ปรัชญา พนั ธกิจของบณั ฑิตวิทยาลยั
ตามข้อบงั คับวา่ ด้วยการศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐ และจรรยาบรรณนกั วจิ ยั ของสำนกั งานคณะกรรมการวจิ ยั
แห่งชาติ บณั ฑิตวทิ ยาลยั จงึ กำหนดจรรยาบรรณนกั วจิ ยั สำหรบั นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาไว้ ดงั นี้
๑. นิยาม
๑.๑ นกั วจิ ยั หมายถงึ ผูท้ ี่ดำเนนิ การคน้ คว้าหาความรอู้ ย่างเปน็ ระบบ เพ่อื ตอบประเด็น ท่สี งสยั โดยมี
ระเบยี บวธิ อี นั เป็นที่ยอมรบั ในแต่ละศาสตร์ทเ่ี ก่ียวข้อง ซ่งึ ครอบคลมุ ท้งั แนวคดิ มโนทศั น์ และวิธีการทใี่ ช้ในการรวบรวม
และวิเคราะหข์ ้อมลู
๑.๒ จรรยาบรรณ หมายถึง หลกั ความประพฤตอิ ันเหมาะสม แสดงถงึ คุณธรรม และจริยธรรมในการ
ประกอบอาชีพ ที่กล่มุ บคุ คลแตล่ ะสาขาวชิ าชพี ประมวลขึน้ ไวเ้ ปน็ หลกั เพ่ือใหส้ มาชกิ ในสาขาวิชาชพี นั้น ๆ ยึดถอื ปฏิบตั ิ
เพ่ือรกั ษาชื่อเสียงและส่งเสรมิ เกยี รตคิ ุณของสาขาวชิ าชีพของตน
๑.๓ จรรยาบรรณนักวจิ ัย หมายถึง หลักเกณฑท์ ีค่ วรประพฤตปิ ฏิบัติของนักวิจัยท่ัวไป เพ่อื ใหก้ าร
ดำเนินงานวิจัยตั้งอยบู่ นพนื้ ฐานของจรยิ ธรรมและหลกั วิชาการท่ีเหมาะสม ตลอดจนประกนั มาตรฐานของการศกึ ษา
ค้นควา้ ให้เปน็ ไปอย่างสมศักดิศ์ รแี ละเกยี รติภูมิของนักวจิ ัย
๒. จรรยาบรรณนักวิจยั : แนวทางปฏิบัติ
๒.๑ นกั วิจัยต้องซอ่ื สัตยแ์ ละมคี ณุ ธรรมในทางวิชาการและการจดั การ
นกั วจิ ยั ตอ้ งมีความซื่อสตั ย์ตอ่ ตนเอง ไม่นำผลงานของผู้อน่ื มาเปน็ ของตน ไม่ลอกเลียนงานของ
ผ้อู ื่น ต้องใหเ้ กียรตแิ ละอา้ งถงึ บคุ คล หรอื แหล่งท่มี าของผขู้ ้อมลู ท่ีนำมาใช้ ในงานวจิ ัย ตอ้ งซ่อื ตรงตอ่ การแสวงหาทนุ
วิจยั และมีความเป็นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชนท์ ี่ไดจ้ ากการวิจัย
๒.๒ นักวิจยั ต้องตระหนกั ถึงพันธกรณีในการทำงานวจิ ัย
นักวิจัยต้องตระหนักถงึ พันธกรณใี นการทำงานวิจยั ตามขอ้ ตกลงที่ทำไว้กับหนว่ ยงานที่
สนับสนนุ การวิจยั และต่อหน่วยงานทต่ี นสังกดั นกั วจิ ยั ต้องปฏบิ ตั ติ ามพนั ธกรณี และขอ้ ตกลงการวิจัยท่ผี เู้ กยี่ วขอ้ ง
ทุกฝา่ ยยอมรบั รว่ มกัน อทุ ิศเวลาทำงานวิจยั ใหไ้ ดผ้ ลดที สี่ ุด และเปน็ ไปตามกำหนดเวลา มคี วามรับผดิ ชอบ
ไม่ละทงิ้ งานระหวา่ งดำเนนิ การวจิ ยั
๒.๓ นกั วจิ ยั ต้องมพี ้นื ฐานความรู้ในสาขาวิชาการท่ที ำวจิ ัย
นักวิจัยตอ้ งมพี ้ืนฐานความรู้ในสาขาวิชาการทท่ี ำการวิจัยอยา่ งเพียงพอและมคี วามรู้
ความชำนาญหรือมปี ระสบการณ์เก่ียวเนือ่ งกับเรอ่ื งที่ทำวิจยั เพอ่ื นำไปสงู่ านวจิ ยั ท่มี ีคณุ ภาพ และเพอื่ ป้องกนั ปญั หา
การวเิ คราะห์ การตคี วามหรือการสรปุ ท่ผี ดิ พลาด อันอาจจะกอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายต่องานวจิ ยั
75
บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
๒.๔ นักวจิ ัยตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบ
นักวิจยั ต้องมีความรบั ผิดชอบตอ่ ส่ิงท่ศี ึกษาวจิ ัยไม่ว่าจะเป็นส่งิ ทมี่ ชี ีวิตหรือไม่มชี วี ติ
ตอ้ งดำเนินการด้วยความรอบคอบ ระมดั ระวงั และเท่ยี งตรง ในการทำวิจัยท่เี กยี่ วข้องกนั คน สัตว์ พืช ศิลปวัฒนธรรม
ทรพั ยากร และส่งิ แวดลอ้ ม มจี ิตสำนกึ และมีปณิธานท่จี ะอนรุ ักษศ์ ิลปวฒั นธรรม ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
๒.๕ นักวจิ ยั ต้องเคารพศกั ดิศ์ รี และสทิ ธขิ องมนุษย์
นกั วจิ ัยต้องเคารพศักดศิ์ รี และสทิ ธขิ องมนุษย์ทใี่ ชเ้ ปน็ ตัวอย่างในการวิจัยและตอ้ งไมค่ ำนงึ ถึง
ผลประโยชนท์ างวิชาการ จนละเลยและขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพ่อื นมนุษย์ต้องถือเป็นภาระหน้าที่
ท่ีจะอธิบายจุดมุ่งหมายของการวิจัยแก่บุคคลท่ีเป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยไม่หลอกลวงหรอื บบี บังคบั และไมล่ ะเมดิ
สทิ ธสิ ่วนบุคคล
๒.๖ นกั วจิ ัยต้องมีอสิ ระทางความคิด
นกั วจิ ยั ต้องมอี สิ ระทางความคดิ โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนการวจิ ยั ต้องตระหนักวา่
อคตสิ ว่ นตน หรอื ความลำเอียงทางวิชาการ อาจสง่ ผลให้มกี ารบดิ เบอื นขอ้ มลู และขอ้ คน้ พบทางวชิ าการ อนั เปน็ เหตุ
ใหเ้ กดิ ผลเสยี หายต่องานวจิ ัย
๒.๗ นักวจิ ยั พึงนำผลงานวจิ ัยไปใช้ประโยชนใ์ นทางทีช่ อบ
นักวจิ ัยเผยแพร่งานวิจยั เพอ่ื ประโยชนท์ างวชิ าการและสังคม ไมข่ ยายผล ขอ้ คน้ พบ
จนเกนิ ความเปน็ จริง และไมใ่ ชผ้ ลงานวจิ ยั ไปในทางมิชอบ
๒.๘ นกั วจิ ัยพงึ เคารพความคิดเหน็ ทางวิชาการของผอู้ นื่
นักวจิ ยั พึงมีใจกวา้ งพรอ้ มท่ีจะเปิดเผยขอ้ มูลและข้ันตอนการวจิ ยั ยอมรบั ฟงั ความคดิ เห็น
และเหตุผลทางวิชาการของผ้อู นื่ และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขงานวิจัยของตนให้ถูกตอ้ ง
๒.๙ นักวจิ ยั พงึ มคี วามรับผิดชอบต่อสงั คมทกุ ระดับ
นกั วจิ ัยพึงมีจติ สำนึกที่จะอุทิศกำลังสตปิ ญั ญาในการทำวิจยั เพื่อความกา้ วหนา้ ทางวชิ าการ
เพือ่ ความเจรญิ และประโยชน์สุขของสังคมและมวลมนุษยชาติ
ให้ยกเลิกประกาศบณั ฑิตวทิ ยาลยั เรื่อง จรรยาบรรณนักวิจัย สำหรบั นักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา
ที่ ๔๐/๒๕๕๗ ลงวนั ที่ ๒๒ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๕๗
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
ท่ี ๕๐/๒๕๖๐ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อดศิ ร เนาวนนท์)
คณบดีบัณฑติ วิทยาลัย
76
คูม่ อื นักศึกษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563
ประกาศบณั ฑติ วิทยาลยั
เรือ่ ง การกำหนดพฤติกรรมดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม สำหรับนักศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา
เพ่อื เปน็ การสง่ เสริมและพัฒนาพฤติกรรมด้านคณุ ธรรมและจรยิ ธรรมของนกั ศึกษา ระดับบณั ฑิตศึกษา
ใหม้ ีคุณลักษณะของบัณฑิตทพ่ี งึ ประสงค์ มีคณุ ภาพ บรรลตุ ามเป้าประสงค์ ปรัชญา พันธกจิ ของบณั ฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า และเปน็ ไปตามขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา ว่าด้วยการศกึ ษาระดับ
บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา จึงกำหนดพฤตกิ รรมด้านคุณธรรม จริยธรรม สำหรบั
นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ที่พึงปฏบิ ตั ิไวด้ ังน้ี
๑. มีความเคารพครู อาจารย์ ผูม้ ีพระคุณ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม มีนำ้ ใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
มคี วามเสียสละ และมจี ติ สาธารณะ
๒. มคี วามสามัคคี มคี วามซอ่ื สตั ยส์ ุจริต มีวินัย เคารพกฎระเบียบ และข้อบงั คับตา่ ง ๆ
๓. มีความขยนั หม่นั เพยี ร ใฝเ่ รียนรเู้ พื่อพัฒนาตนเอง และมจี รรยาบรรณในการวิจัย
ให้มีผลบงั คบั ใชก้ ับนักศึกษาที่เขา้ ศกึ ษาตง้ั แตป่ กี ารศึกษา ๒๕๖๐ เป็นต้นไป
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๙ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
(ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. อดิศร เนาวนนท์)
คณบดบี ัณฑติ วิทยาลยั
ท่ี ๕๑/๒๕๖๐
77
ตอนที่ 4
แผนการเรียน
คมู่ ือนกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
แผนการเรียนหลกั สูตรปรชั ญาดษุ ฎบี ัณฑิต
สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา รุน่ ที่ 7 ภาคพเิ ศษ
ปกี ารศกึ ษา 2563-2564
อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ผศ.ดร. สุภาพ ผู้รงุ่ เรอื ง
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ชอื่ รายวชิ า หนว่ ยกติ
ปกี ารศึกษา
106721 ทฤษฎแี ละแนวโน้มทางการบริหารการศกึ ษา 3(2-2-5)
106722 การพัฒนาภาวะผนู้ ำทางการบรหิ ารการศึกษา 3(2-2-5)
1/2563 และการจัดการศึกษา
106725 วิธวี จิ ัยและสถิตชิ ้ันสงู ทางการบรหิ ารการศกึ ษา 1 3(2-2-5)
700761 ภาษาองั กฤษเพือ่ การสอ่ื สารเชงิ วิชาการขนั้ สูง* 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกติ
106723 พลวตั การบริหารการเปลย่ี นแปลงทางการบริหารการศึกษา 3(2-2-5)
2/2563 106724 การพัฒนาการบริหารองค์การทางการศกึ ษา 3(2-2-5)
700862 ภาษาอังกฤษเพ่ือการศกึ ษาคน้ ควา้ ดา้ นการบริหารการศึกษา* 3(2-2-5)
106826 การฝึกประสบการณว์ ชิ าชพี ทางการบริหารการศึกษาช้ันสงู 3(135)
รวม 9 หน่วยกติ
3/2563 106823 กรณีศึกษาการบรหิ ารการศึกษาเปรียบเทียบ 3(2-2-5)
106728 สมั มนาวทิ ยานพิ นธ์ระดับดุษฎบี ัณฑติ 3(2-2-5)
รวม 6 หน่วยกติ
1/2564 106891 วทิ ยานิพนธ์ 16
รวม 16 หน่วยกิต
2/2564 106891 วิทยานิพนธ์ 10
รวม 10 หนว่ ยกิต
3/2564 106891 วทิ ยานิพนธ์ 10
รวม 10 หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 60 หนว่ ยกิต
หมายเหตุ *รายวชิ าเสริมพ้นื ฐาน ไม่นบั หน่วยกิต
79
บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
แผนการเรยี นหลักสตู รปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ
สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน รุน่ ที่ 5 ภาคพิเศษ
ปีการศึกษา 2563-2565
อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา ผศ.ดร. สิรินาถ จงกลกลาง
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ช่อื รายวชิ า หนว่ ยกิต
ปีการศึกษา
102721 การวเิ คราะหเ์ ชงิ วพิ ากษ์ทฤษฎีและการพัฒนาหลักสูตร 3(2-2-5)
1/2563 102722 วทิ ยาการการจดั การเรียนรู้ 3(2-2-5)
600861 ภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สารเชงิ วชิ าการขั้นสูง* 3(2-2-5)
รวม 3 หน่วยกติ
2/2563 102741 การวิจยั ขน้ั สูงทางหลกั สูตรและการสอน 3(2-2-5)
XXXXXX (วิชาเลือก) 3(2-2-5)
รวม 6 หน่วยกติ
3/2563 102861 ภาษาองั กฤษเพือ่ การศึกษาคน้ คว้าด้านการศกึ ษา* 3(2-2-5)
รวม 3 หน่วยกติ
1/2564 102723 สัมมนาระดับดุษฎบี ณั ฑิตด้านหลักสตู ร 3(2-2-5)
และการสอน
รวม 6 หน่วยกิต
2/2564 XXXXXX (วชิ าเลือก) 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกิต
3/2564 102891 วิทยานิพนธ์ 1 6(0-24-0)
รวม - หน่วยกิต
1/2565 102892 วิทยานิพนธ์ 2 10(0-42-0)
รวม 10 หนว่ ยกิต
2/2565 102893 วทิ ยานิพนธ์ 3 10(0-42-0)
รวม 10 หน่วยกิต
3/2565 102894 วิทยานิพนธ์ 4 10(0-42-0)
รวม 10 หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 54 หน่วยกิต
หมายเหตุ *รายวิชาเสรมิ พนื้ ฐาน ไม่นับหนว่ ยกิต
80
คู่มือนกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563
แผนการเรียนหลักสูตรปรชั ญาดุษฎบี ณั ฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม รุ่นที่ 5 ภาคปกติ
ปกี ารศกึ ษา 2563-2565
อาจารยท์ ี่ปรึกษา ผศ.ดร. นริ นั ดร์ คงฤทธ์ิ
ภาคการศึกษา/ รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา หนว่ ยกิต
ปกี ารศึกษา
1/2563 405762 การวจิ ัยเทคโนโลยกี ารจดั การสงิ่ แวดลอ้ ม 3(3-0-6)
405793 สมั มนาเทคโนโลยีการจัดการสงิ่ แวดลอ้ มข้ันสูง 1 1(0-2-1)
2/2563 405732 เทคโนโลยีสะอาด 3(3-0-6)
1/2564 รวม 7 หน่วยกติ 3(2-2-5)
405754 การประเมนิ ผลกระทบสิง่ แวดลอ้ มขน้ั สงู 3(2-2-5)
2/2564 405726 เทคโนโลยกี ารจดั การมลู ฝอยและกากของเสยี อนั ตราย 3(2-2-5)
1/2565 405728 เทคโนโลยกี ารจัดการสงิ่ แวดล้อมท่ีเหมาะสม
2/2565 1(0-2-1)
รวม 9 หน่วยกิต 6
หมายเหตุ 700802 ภาษาอังกฤษเพ่อื การสื่อสารเชงิ วิชาการข้นั สงู *
405794 สมั มนาเทคโนโลยกี ารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มขั้นสูง 2 10
405798 วิทยานิพนธ์
10
รวม 7 หน่วยกิต
405798 วิทยานิพนธ์ 10
รวม 10 หน่วยกิต
405798 วิทยานิพนธ์
รวม 10 หน่วยกิต
405798 วทิ ยานิพนธ์
รวม 10 หน่วยกิต
จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสตู ร 53 หนว่ ยกิต
*รายวิชาเสรมิ พ้ืนฐาน ไม่นบั หนว่ ยกิต
81
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
แผนการเรยี นหลักสูตรปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ
สาขาวชิ าการจัดการภาครฐั และภาคเอกชน รนุ่ ที่ 1 ภาคพเิ ศษ
ปกี ารศกึ ษา 2563-2565
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา รศ.ดร. ชคตั ตรยั รยะสวัสด์ิ
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า หนว่ ยกิต
ปีการศึกษา
229731 ปรัชญาและแนวคดิ ทางการจดั การภาครฐั และภาคเอกชน 3(3-0-6)
1/2563 229733 การวเิ คราะหน์ โยบายทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมืองและการบรหิ าร 3(2-2-5)
สมัยใหม่
รวม 6 หน่วยกิต
229732 การจดั การเชงิ กลยุทธ์ขัน้ สงู สำหรบั ภาครฐั และภาคเอกชน 3(2-2-5)
2/2563 600861 ภาษาอังกฤษเพ่อื การส่ือสารเชิงวชิ าการขัน้ สูง** 3(2-2-5)
(ไมน่ ับรวมเป็นหน่วยกติ ของหลกั สตู ร)
รวม 3 หน่วยกิต
229701 ทกั ษะพ้ืนฐานสำหรับการวจิ ัยทางสังคมศาสตร*์ * 3(3-0-6)
(ไมน่ ับรวมเป็นหน่วยกิตของหลกั สูตร)
3/2563 229844 วิชาเลือกวชิ าที่ (1) 3(2-2-5)
จริยธรรมและความรบั ผดิ ชอบต่อสังคมขององค์การภาครฐั และ
ภาคเอกชน
รวม 3 หนว่ ยกติ
1/2564 229721 ระเบยี บวิธวี ิจัยขนั้ สงู 3(2-2-5)
229833 สมั มนาปัญหาทางการจัดการภาครัฐและภาคเอกชนสมยั ใหม่ 3(2-2-5)
รวม 10 หน่วยกติ
229821 สัมมนาการวจิ ยั ทางการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน 3(2-2-5)
2/2564 วิชาเลือกวชิ าท่ี (2) 3(2-2-5)
229843 นวตั กรรมและการจัดการการเปลย่ี นแปลง
รวม 6 หนว่ ยกติ
3/2564 229851 วิทยานพิ นธ์ 1 6
รวม 6 หนว่ ยกิต
1/2565 229852 วทิ ยานิพนธ์ 2 10
รวม 10 หน่วยกิต
2/2565 229953 วทิ ยานิพนธ์ 3 10
รวม 10 หนว่ ยกติ
3/2565 229954 วทิ ยานิพนธ์ 4 10
รวม 10 หนว่ ยกิต
จำนวนหน่วยกติ รวมตลอดหลักสตู ร 60 หนว่ ยกิต
หมายเหตุ *รายวชิ าเสรมิ พนื้ ฐาน ไม่นับหนว่ ยกิต
82
ค่มู อื นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนการเรียนหลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตรดุษฎบี ัณฑติ
รนุ่ ที่ 3 ภาคปกติ
ปีการศึกษา 2563-2565
อาจารยท์ ่ปี รึกษา ดร.รชานนท์ งว่ นใจรัก
ภาคการศกึ ษา/ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา หน่วยกติ
ปีการศึกษา
413711 ระเบยี บวธิ ีวจิ ัยและสถิติทางสาธารณสขุ ขั้นสูง 3(2-2-5)
1/2563 413721 ภาวะผู้นำและการจัดการระบบสุขภาพ 2(1-3-5)
700802 ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สารเชงิ วิชาการขั้นสงู * 3(2-2-5)
รวม 5 หน่วยกิต
413712 วิทยาการระบาดทางสงั คม 3(3-0-6)
2/2563 413731 การสมั มนาวิจยั ทางสขุ ภาพขัน้ สงู 2(1-3-5)
413XXX วชิ าเลอื ก 3(X-X-X)
รวม 6 หน่วยกติ
1/2564 413762 วิทยานิพนธ์ 6
รวม 6 หน่วยกิต
2/2564 413762 วทิ ยานิพนธ์ 10
รวม 10 หน่วยกิต
1/2565 413762 วิทยานิพนธ์ 10
รวม 10 หน่วยกิต
2/2565 413762 วทิ ยานิพนธ์ 10
รวม 10 หนว่ ยกิต
ตลอดหลกั สูตรไมน่ ้อยกวา่ 49 หนว่ ยกิต
หมายเหตุ *รายวิชาเสรมิ พื้นฐาน ไมน่ บั หนว่ ยกิต
83
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
แผนการเรยี นหลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา รุ่นท่ี 23 ภาคพิเศษ
ปีการศึกษา 2563-2564
อาจารยท์ ่ปี รึกษา ผศ.ดร. สุวิมล ตั้งประเสริฐ
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวชิ า ชอ่ื รายวิชา หน่วยกติ
ปกี ารศึกษา
104501 สถิติเพือ่ การวิจยั ทางการศกึ ษา 2(1-2-3)
1/2563 106511 หลักการและทฤษฎกี ารบรหิ ารการศึกษา 3(2-2-5)
106613 ผนู้ ำทางวชิ าการและการพฒั นาหลักสตู ร 2(1-2-3)
2/2563 700501 ภาษาอังกฤษสำหรบั บณั ฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)
รวม 7 หน่วยกติ
3/2563 106513 การบรหิ ารทรพั ยากรทางการศึกษา 3(2-2-5)
106611 คุณธรรม จรยิ ธรรม และการเป็นผูน้ ำทางการบรหิ าร 3(2-2-5)
106631 วิธีวทิ ยาการวิจัยทางการบริหารการศกึ ษา 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกิต
106651 การสมั มนาการบรหิ ารการศึกษา 3(2-2-5)
106652 การสัมมนาวิจัยทางการบริหารการศึกษา 3(2-2-5)
รวม 6 หน่วยกติ
106512 นโยบายและการวางแผนพฒั นาการศึกษา 3(2-2-5)
1/2564 106612 การบรหิ ารสถาบันเพ่อื ความเป็นเลศิ 3(2-2-5)
106614 การนเิ ทศการศึกษา 3(2-2-5)
3(0-90-0)
106681 การฝึกประสบการณ์วชิ าชพี บริหารการศึกษา
6
รวม 12 หนว่ ยกิต
6
2/2564 106691 วทิ ยานิพนธ์
รวม 6 หน่วยกติ
3/2564 106691 วทิ ยานิพนธ์
รวม 6 หน่วยกติ
ตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า 47 หน่วยกิต
หมายเหตุ *รายวิชาเสรมิ พ้ืนฐานสำหรับผสู้ อบไม่ผ่าน ไมน่ ับหน่วยกิต
84
ค่มู ือนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563
แผนการเรยี นหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑติ
สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน ร่นุ ท่ี 19 ภาคพเิ ศษ
ปกี ารศกึ ษา 2563-2564
อาจารยท์ ่ีปรึกษา ผศ.ดร. สายสนุ ีย์ เติมสนิ สุข
ภาคการศึกษา/ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวิชา หน่วยกติ
ปีการศึกษา
102421 พนื้ ฐานทางหลักสตู รและการสอน 3(2-2-5)
1/2563 102531 รูปแบบและกลยทุ ธ์การเรยี นการสอน 3(2-2-5)
102423 หลกั สูตรและการเรียนการสอนสำหรบั ผเู้ รยี นทห่ี ลากหลาย 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกิต
102441 วิธีวิทยาการวิจยั ทางหลักสตู รและการสอน 3(2-2-5)
2/2563 102422 การพฒั นาหลักสูตรและการเรียนการสอนสำหรบั เฉพาะกลมุ่ 3(2-2-5)
3(3-0-6)
102471 เทคโนโลยเี พือ่ การเรียนรู้ตามแนว คอนสตรัคติ
วิสต์
รวม 9 หน่วยกิต
3/2563 102522 สมั มนาทางหลักสูตรและการสอน 3(2-2-5)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรับบัณฑติ ศกึ ษา* 2(1-2-3)
รวม 3 หน่วยกติ
102582 การศึกษาค้นควา้ อสิ ระด้านหลักสูตร และการ 3(2-2-5)
1/2564 เรยี นการสอน
102691 วทิ ยานิพนธ์ 4
รวม 7 หน่วยกิต
2/2564 102691 วิทยานิพนธ์ 5
รวม 5 หน่วยกติ
3/2564 102691 วิทยานิพนธ์ 3
รวม 3 หน่วยกติ
ตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า 36 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสริมพนื้ ฐานสำหรบั ผสู้ อบไมผ่ ่าน ไมน่ ับหน่วยกติ
85
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
แผนการเรยี นหลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑติ
สาขาวิชาคณติ ศาสตรศกึ ษา รนุ่ ท่ี 4 ภาคพิเศษ
ปกี ารศกึ ษา 2563-2564
อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร. ขนิษฐา ชมภวู ิเศษ
ภาคการศึกษา/ รหสั วิชา ชื่อรายวิชา หนว่ ยกิต
ปกี ารศึกษา
408511 ทฤษฎที างคณติ ศาสตรศึกษา 3(3-0-6)
1/2563 408531 ระเบียบวิธวี จิ ยั ทางคณิตศาสตรศึกษา 3(2-2-5)
408521 คณติ ศาสตร์สำหรบั ครู 1 3(3-0-6)
(วิชาเลอื ก)
รวม 9 หน่วยกติ
408532 สถิติเพ่ือการวิจยั ทางคณติ ศาสตรศกึ ษา 3(2-2-5)
2/2563 408621 คณิตศาสตร์สำหรับครู 2 3(3-0-6)
(วชิ าเลอื ก)
408612 สมั มนาทางคณิตศาสตรศกึ ษา 1 1(1-2-3)
รวม 7 หน่วยกติ
3/2563 408611 นวตั กรรมและเทคโนโลยกี ารเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ 3(2-2-5)
700501 ภาษาอังกฤษสำหรบั บัณฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)
รวม 3 หน่วยกติ
408514 การพัฒนาหลักสูตรคณติ ศาสตร์ 3(3-0-6)
1/2564 408613 สมั มนาทางคณิตศาสตรศึกษา 2 2(1-2-3)
408693 วทิ ยานิพนธ์ 3
รวม 8 หน่วยกติ
2/2564 408693 วทิ ยานิพนธ์ 3
รวม 3 หน่วยกิต
3/2564 408693 วิทยานิพนธ์ 6
รวม 6 หน่วยกิต
ตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสริมพื้นฐานสำหรับผสู้ อบไมผ่ ่าน ไมน่ ับหนว่ ยกติ
86
คูม่ ือนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนการเรยี นหลักสตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย รุ่นท่ี 2 ภาคปกติ
ปกี ารศึกษา 2563-2564
อาจารย์ที่ปรกึ ษา ผศ.ดร. นนทยิ า จันทรเ์ นตร์
ภาคการศกึ ษา/ รหสั วิชา ชือ่ รายวชิ า หน่วยกิต
ปกี ารศกึ ษา
104501 สถติ ิเพอื่ การวจิ ัยทางการศึกษา 2(1-2-3)
228510 การสอนวรรณคดีและวรรณกรรม 3(2-2-5)
228511 การสอนภาษาไทยในแนวภาษาศาสตร์ 2(1-2-3)
1/2563 228520 การประพันธ์รอ้ ยแกว้ และร้อยกรอง 3(2-2-5)
228554 การอา่ นผลงานทางวชิ าการภาษาไทย 3(2-2-5)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรบั บณั ฑติ ศกึ ษา* 2(1-2-3)
(ไม่นับหนว่ ยกิต)
รวม 13 หน่วยกิต
228530 การวจิ ัยและการประเมนิ ผลเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้ 3(2-2-5)
สำหรับครูภาษาไทย
2/2563 228540 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางการศึกษา 3(2-2-5)
สำหรบั ครภู าษาไทย
228521 สมั มนาการเรียนการสอนภาษาไทยในศตวรรษที่ 21 2(1-2-3)
228512 ภาษาและวัฒนธรรมสำหรบั การสอนภาษาไทย 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกิต
1/2564 228660 วิทยานิพนธ์ 6
รวม 6 หน่วยกิต
2/2564 228660 วทิ ยานิพนธ์ 6
รวม 6 หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า 38 หนว่ ยกิต
หมายเหตุ * รายวิชาเสรมิ พ้นื ฐานสำหรับผสู้ อบไมผ่ ่าน ไม่นบั หน่วยกิต
87
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
แผนการเรยี นหลกั สตู รครศุ าสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าภาษาไทย ร่นุ ท่ี 2 ภาคพเิ ศษ
ปีการศกึ ษา 2563-2564
อาจารยท์ ่ปี รึกษา ผศ.ดร. นนทยิ า จันทรเ์ นตร์
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ชอ่ื รายวชิ า หน่วยกติ
ปกี ารศึกษา
104501 สถิติเพือ่ การวจิ ัยทางการศึกษา 2(1-2-3)
1/2563 228510 การสอนวรรณคดแี ละวรรณกรรม 3(2-2-5)
228511 การสอนภาษาไทยในแนวภาษาศาสตร์ 2(1-2-3)
228520 การประพนั ธร์ อ้ ยแก้วและร้อยกรอง 3(2-2-5)
รวม 10 หน่วยกิต
228530 การวจิ ยั และการประเมนิ ผลเพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ สำหรบั ครู 3(2-2-5)
ภาษาไทย
2/2563 228540 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศกึ ษาสำหรบั ครู 3(2-2-5)
ภาษาไทย
228512 ภาษาและวัฒนธรรมสำหรับการสอนภาษาไทย 3(2-2-5)
รวม 9 หน่วยกิต
228521 สัมมนาการเรียนการสอนภาษาไทย ในศตวรรษท่ี 21 2(1-2-3)
3/2563 228554 การอ่านผลงานทางวิชาการภาษาไทย 3(2-2-5)
700501 ภาษาอังกฤษสำหรับบัณฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)
(ไมน่ ับหน่วยกติ )
รวม 5 หน่วยกิต
1/2564 228660 วทิ ยานิพนธ์ 6
รวม 6 หนว่ ยกิต
2/2564 228660 วทิ ยานิพนธ์ 7
รวม 6 หนว่ ยกิต
3/2564 228660 วิทยานิพนธ์ 2
รวม 2 หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 38 หนว่ ยกติ
หมายเหตุ * รายวิชาเสริมพน้ื ฐานสำหรับผู้สอบไมผ่ า่ น ไมน่ ับหนว่ ยกติ
88
คู่มอื นักศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนการเรยี นหลักสตู รวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรศึกษา รุ่นที่ 12 ภาคพเิ ศษ
ปีการศกึ ษา 2563-2564
อาจารย์ท่ีปรึกษา ผศ.ดร. พฒั นพงษ์ จำรสั ประเสริฐ
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวชิ า ชอ่ื รายวชิ า หนว่ ยกติ
ปีการศกึ ษา 430511
1/2563 430512 ระเบยี บวิธีวจิ ยั ทางวิทยาศาสตร์ศกึ ษา 3(2-3-6)
2/2563 430514 2(1-2-3)
700501 การจัดการเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตร์ 1 2(1-2-3)
3/2563 การสอ่ื สารทางวทิ ยาศาสตร์และการจัดกจิ กรรมเสริมหลกั สูตร 2(1-2-3)
430513 ภาษาองั กฤษสำหรบั บัณฑติ ศกึ ษา*
1/2564 430516 รวม 7 หน่วยกิต 2(1-2-3)
430591 การจดั การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 2 2(1-2-3)
430515 ภาษาอังกฤษสำหรบั วิทยาศาสตรศ์ กึ ษา 1(0-3-2)
2(1-2-3)
XXXXXX การสัมมนาทางวิทยาศาสตร์ศึกษา
XXXXXX วิทยาศาสตร์บรู ณาการเพ่อื พฒั นาท้องถิ่น 3(2-3-6)
3(2-3-6)
XXXXXX รวม 7 หน่วยกิต
XXXXXX แขนงเคมี 3(2-3-6)
(วชิ าเลือก 1) 3(2-3-6)
XXXXXX (วิชาเลือก 2)
XXXXXX แขนงฟิสิกส์ 3(2-3-6)
(วิชาเลือก 1) 3(2-3-6)
XXXXXX (วิชาเลือก 2)
XXXXXX 3(2-3-6)
430691 แขนงชวี วทิ ยา 3(2-3-6)
(วชิ าเลอื ก 1)
XXXXXX (วิชาเลอื ก 2) 6
XXXXXX รวม 6 หนว่ ยกิต
430691 แขนงเคมี 3(2-3-6)
(วชิ าเลือก 3) 3(2-3-6)
XXXXXX (วชิ าเลอื ก 4)
วทิ ยานิพนธ์ 6
แขนงฟสิ ิกส์
(วชิ าเลือก 3) 3(2-3-6)
(วิชาเลอื ก 4)
วทิ ยานิพนธ์
แขนงชวี วิทยา
(วิชาเลือก 3)
89
บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
ภาคการศกึ ษา/ รหสั วชิ า ช่อื รายวชิ า หนว่ ยกิต
ปีการศกึ ษา 3(2-3-6)
XXXXXX (วิชาเลือก 4) 6
430691 วทิ ยานิพนธ์ 3
รวม 12 หน่วยกิต 3
2/2564 430691 วทิ ยานิพนธ์
รวม 6 หน่วยกิต
3/2564 430691 วทิ ยานิพนธ์
รวม 3 หน่วยกติ
ตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกวา่ 38 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสรมิ พื้นฐานสำหรบั ผสู้ อบไมผ่ ่าน ไมน่ ับหนว่ ยกิต
90
คมู่ ือนกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563
แผนการเรียนหลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจดั การส่งิ แวดล้อม รนุ่ ท่ี 10 ภาคพิเศษ
ปีการศกึ ษา 2563-2564
อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา ผศ.ดร. หฤษฎ์สลักษณ์ วริ ยิ ะ
ภาคการศึกษา/ รหัสวิชา ชอื่ รายวชิ า หน่วยกติ
ปกี ารศกึ ษา
405561 สถติ ิและการวิจัย 3(2-2-5)
1/2563 405521 เทคโนโลยีการจัดการทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดล้อม 3(2-2-5)
405525 เทคโนโลยีการจดั การพลงั งานทดแทน 3(3-0-6)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรบั บัณฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)
รวม 9 หน่วยกิต
405551 การประเมินผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม 3(2-2-5)
2/2563 405591 สัมมนาเทคโนโลยีการจัดการสง่ิ แวดล้อม 1 1(0-2-1)
405523 เทคโนโลยสี ารสนเทศและการประยุกตใ์ ช้ 3(2-2-5)
405524 เทคโนโลยกี ารควบคุมมลพษิ สง่ิ แวดล้อมในงานอุตสาหกรรม 3(2-2-5)
รวม 10 หน่วยกิต
405692 สัมมนาเทคโนโลยีการจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม 2 1(0-2-1)
3/2563 405552 การตดิ ตามตรวจสอบและประเมนิ ความเสี่ยงดา้ นส่ิงแวดลอ้ ม 3(2-2-5)
405522 เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมเพ่ือการพัฒนาชมุ ชนเมืองและชนบท 3(2-2-5)
405697 วิทยานิพนธ์ 3
รวม 10 หน่วยกิต
1/2564 405697 วิทยานิพนธ์ 9
รวม 9 หน่วยกิต
2/2564 -
รวม หน่วยกิต
3/2565 -
รวม หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไม่นอ้ ยกว่า 37 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสรมิ พ้ืนฐานสำหรับผสู้ อบไมผ่ ่าน ไมน่ ับหนว่ ยกิต
91
บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
แผนการเรยี นหลกั สูตรวทิ ยาศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดิจิทัล รุน่ ท่ี 3 ภาคปกติ (แผน ก2)
ปกี ารศึกษา 2563-2564
อาจารย์ท่ปี รึกษา ผศ.ดร. แสงเพ็ชร พระฉาย
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ชอื่ รายวิชา หนว่ ยกิต
ปีการศึกษา
435501 ระเบยี บวธิ ีวิจัยทางวิทยาศาสตร์ 3(2-2-5)
1/2563 435533 เทคโนโลยไี รส้ ายและอนิ เทอรเ์ น็ตในทุกส่ิง 3(2-2-5)
435511 ระบบสารสนเทศเพือ่ การบริหารองค์กรดิจทิ ัล 3(2-2-5)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรบั บัณฑติ ศกึ ษา* 2(1-2-3)
รวม 9 หน่วยกติ
435522 การทำเหมอื งขอ้ มลู และการประยุกต์ 3(2-2-5)
2/2563 435521 การพัฒนาซอฟต์แวรท์ างธุรกจิ 3(2-2-5)
435512 อจั ฉรยิ ะทางธุรกิจและการวิเคราะห์เชงิ ดิจิทลั 3(2-2-5)
435561 ระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ิทัล* 3(2-2-5)
รวม 9 หนว่ ยกิต
435514 สมั มนาการวิจัยบนนวัตกรรมดิจทิ ลั 3(2-2-5)
1/2564 435513 การสร้างนวตั กรรมดว้ ยเทคโนโลยีสมยั ใหม่ 3(2-2-5)
435691 วทิ ยานิพนธ์ 5
รวม 6 หน่วยกิต
2/2564 435691 วทิ ยานิพนธ์ 7
รวม 7 หน่วยกิต
ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกวา่ 36 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสริมพื้นฐานสำหรับผู้สอบไมผ่ า่ น ไม่นบั หน่วยกติ
92
คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
แผนการเรียนหลักสตู รศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ รนุ่ ที่ 13 ภาคปกติ
ปกี ารศึกษา 2563-2564
อาจารย์ทีป่ รกึ ษา ดร. สมร สทุ ธปิ ยิ ภทั ร
ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกติ
ปกี ารศกึ ษา 207511
1/2563 207512 การสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ 3(3-0-6)
มโนทศั นท์ างภาษาสำหรบั การสอนภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
2/2563 207521 เปน็ ภาษาตา่ งประเทศ
207523 การสอนฟัง-พดู ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
1/2564 การสอนเขียนภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
207522 รวม 12 หนว่ ยกิต
207631 การสอนอา่ นภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
207527 วิธีวทิ ยาการวจิ ยั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
3(2-2-5)
207641 การพฒั นาสอื่ การสอนภาษาอังกฤษ
เป็นภาษาต่างประเทศ (วชิ าเลือก 1)
207691
สัมมนาแนวโนม้ การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ 2(1-2-3)
207526 (วชิ าเลอื ก 2) 1
วทิ ยานิพนธ์
207642 รวม 12 หนว่ ยกิต 3(2-2-5)
การประเมนิ ผลการเรียนรภู้ าษาอังกฤษ 2(1-2-3)
(วิชาเลือก 3)
สมั มนางานวิจยั การเรียนการสอนภาษาองั กฤษ (วชิ าเลอื ก 4)
2/2564 207691 วิทยานิพนธ์ 4
207691 รวม 9 หน่วยกิต 7
วทิ ยานิพนธ์
รวม 7 หน่วยกติ
ตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกวา่ 40 หน่วยกิต
93
บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
แผนการเรยี นหลักสตู รศิลปศาสตรมหาบัณฑติ
สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ ร่นุ ท่ี 13 ภาคพเิ ศษ
ปกี ารศึกษา 2563-2564
อาจารยท์ ีป่ รกึ ษา ดร. สมร สทุ ธปิ ยิ ภัทร
ภาคการศึกษา/ รหัสวชิ า ช่อื รายวิชา หนว่ ยกิต
ปีการศกึ ษา 207511
207512 การสอนภาษาองั กฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ 3(3-0-6)
1/2563 มโนทัศน์ทางภาษาสำหรบั การสอนภาษาอังกฤษ 3(3-0-6)
207521 เป็นภาษาตา่ งประเทศ
2/2563 207523 การสอนฟงั -พดู ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
การสอนเขียนภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
3/2563 207522 รวม 12 หนว่ ยกิต
1/2564 207631 การสอนอา่ นภาษาองั กฤษ 3(2-2-5)
2/2564 207641 วิธีวทิ ยาการวจิ ยั การเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
สัมมนาแนวโน้มการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ 2(1-2-3)
207527 (วิชาเลอื ก 1)
การพฒั นาส่อื การสอนภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ 3(2-2-5)
207691 (วิชาเลือก 3)
วิทยานิพนธ์ 1
207526 รวม 12 หน่วยกิต
การประเมินผลการเรยี นรภู้ าษาอังกฤษ 3(2-2-5)
207691 (วชิ าเลอื ก 2)
วทิ ยานิพนธ์ 2
207642 รวม 5 หน่วยกติ
207691 สมั มนางานวจิ ัยการเรยี นการสอนภาษาอังกฤษ (วชิ าเลอื ก 4) 2(1-2-3)
วิทยานิพนธ์ 5
207691 รวม 7 หน่วยกิต
วทิ ยานิพนธ์ 2
รวม 2 หน่วยกิต
3/2564 207691 วทิ ยานิพนธ์ 2
รวม 2 หน่วยกติ
ตลอดหลักสตู รไมน่ อ้ ยกว่า 40 หนว่ ยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสรมิ พน้ื ฐานสำหรับผ้สู อบไมผ่ า่ น ไมน่ ับหน่วยกติ
94
คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563
แผนการเรยี นหลกั สูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวชิ าการพฒั นาศกั ยภาพมนุษย์ รนุ่ ท่ี 4 ภาคปกติ
ปกี ารศึกษา 2563-2564
อาจารย์ทป่ี รึกษา รศ.ดร. ประยุทธ ไทยธานี
ภาคการศกึ ษา/ รหสั วชิ า ชือ่ รายวิชา หนว่ ยกติ
ปกี ารศึกษา
1/2563 701511 ศกั ยภาพและความหลากหลายของมนษุ ย์ 3(2-2-5)
701512 กลยทุ ธ์การเรยี นรู้เพื่อการพัฒนาศกั ยภาพมนษุ ย์ 3(2-2-5)
701513 การวิเคราะหแ์ ละประเมนิ พัฒนาการมนุษย์ 3(2-2-5)
701546 จติ ตปญั ญาศกึ ษาเพ่ือชีวติ 3(2-2-5)
(วชิ าเลือก 1)
รวม 12 หน่วยกิต
2/2563 701514 การวิจยั เพอื่ การพฒั นาศักยภาพมนษุ ย์ 3(2-2-5)
701541 การพัฒนาความจำและความคิดระดับสงู (วิชา 3(2-2-5)
เลอื ก 2)
701544 การพฒั นาภาวะผู้นำและการสรา้ งทมี งาน 3(2-2-5)
(วชิ าเลอื ก 3)
701548 การออกแบบการเรียนรู้ท่ีเปน็ สากล 3(2-2-5)
(วิชาเลอื ก 4)
รวม 12 หน่วยกิต
1/2564 701515 สมั มนาเพ่อื การพัฒนาศักยภาพมนษุ ย์ 3(2-2-5)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรบั บณั ฑิตศึกษา* 2(1-2-3)
701691 วิทยานิพนธ์ (ข้ันตอนท่ี 1-2) 3
รวม 3 หน่วยกติ
2/2564 701691 วทิ ยานิพนธ์ (ข้ันตอนที่ 3-6) 9
รวม 9 หน่วยกติ
ตลอดหลกั สตู รไมน่ ้อยกว่า 39 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวชิ าเสริมพื้นฐานสำหรับผสู้ อบไมผ่ ่าน ไม่นับหนว่ ยกติ
95
บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
แผนการเรียนหลกั สตู รศิลปศาสตรมหาบณั ฑติ
สาขาวชิ าการพัฒนาศักยภาพมนุษย์ ร่นุ ที่ 4 ภาคพิเศษ
ปีการศึกษา 2563-2564
อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา รศ.ดร. ประยุทธ ไทยธานี
ภาคการศึกษา/ รหสั วชิ า ชอ่ื รายวชิ า หนว่ ยกติ
ปีการศกึ ษา
701511 ศกั ยภาพและความหลากหลายของมนษุ ย์ 3(2-2-5)
701512 กลยทุ ธ์การเรียนรู้เพอื่ การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ 3(2-2-5)
1/2563 701513 การวิเคราะห์และประเมนิ พัฒนาการมนษุ ย์ 3(2-2-5)
701546 จิตตปัญญาศึกษาเพ่อื ชวี ติ 3(2-2-5)
(วิชาเลือก 1)
รวม 12 หน่วยกิต
701514 การวจิ ัยเพอ่ื การพัฒนาศักยภาพมนุษย์ 3(2-2-5)
701541 การพฒั นาความจำและความคิดระดบั สงู 3(2-2-5)
(วชิ าเลือก 2)
2/2563 701544 การพัฒนาภาวะผนู้ ำและการสรา้ งทีมงาน 3(2-2-5)
(วชิ าเลอื ก 3)
701548 การออกแบบการเรยี นรู้ท่เี ป็นสากล 3(2-2-5)
(วิชาเลอื ก 4)
รวม 12 หนว่ ยกิต
3/2563 701515 สัมมนาเพือ่ การพัฒนาศกั ยภาพมนษุ ย์ 3(2-2-5)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรับบัณฑติ ศกึ ษา* 2(1-2-3)
รวม 3 หน่วยกิต
1/2564 701691 วทิ ยานิพนธ์ (ขั้นตอนที่ 1-2) 3
รวม 3 หน่วยกติ
2/2564 701691 วิทยานิพนธ์ (ขั้นตอนท่ี 3-4) 5
รวม 5 หน่วยกติ
3/2564 701691 วิทยานิพนธ์ (ข้ันตอนที่ 5-6) 4
รวม 4 หน่วยกติ
ตลอดหลกั สูตรไม่น้อยกวา่ 39 หน่วยกิต
หมายเหตุ * รายวิชาเสริมพ้ืนฐานสำหรับผสู้ อบไมผ่ า่ น ไมน่ บั หนว่ ยกิต
96