The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Naphaporn Chang.s, 2020-07-09 01:14:44

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563

คู่มือนักศึกษา 1-2563

คู่มือนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

แผนการเรยี นหลกั สตู รสาธารณสขุ ศาสตรมหาบัณฑิต
รนุ่ ท่ี 18 ภาคพิเศษ

ปกี ารศกึ ษา 2563-2564

อาจารย์ทปี่ รึกษา ดร. ทิวากรณ์ ราชูธร

ภาคการศึกษา/ รหสั วิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกติ
ปีการศึกษา

413521 พฤติกรรมศาสตรป์ ระยกุ ต์ทางสาธารณสขุ 3(2-2-5)

1/2563 413541 อาชีวอนามยั และอนามัยสง่ิ แวดล้อม 3(2-2-5)
413561 สถติ ิเพอ่ื การวจิ ัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 3(3-0-6)

700501 ภาษาองั กฤษสำหรบั บัณฑติ ศกึ ษา* 2(1-2-3)

รวม 9 หน่วยกติ

413511 วิทยาการระบาด 3(3-0-6)

2/2563 413531 การจัดการระบบสขุ ภาพ 3(2-2-5)
413562 ระเบยี บวิธีวจิ ัยทางสาธารณสขุ 3(2-2-5)

413641 การสรา้ งเสริมสุขภาพ 3(2-2-5)

รวม 12 หน่วยกิต

3/2563 413691 การสมั มนาวิจัยทางสุขภาพ 3(2-2-5)

รวม 3 หน่วยกติ

1/2564 413693 วทิ ยานิพนธ์ 4

รวม 7 หน่วยกติ

2/2564 413693 วทิ ยานิพนธ์ 4

รวม 4 หน่วยกติ

3/2564 413693 วิทยานิพนธ์ 4

รวม 4 หน่วยกติ

ตลอดหลักสูตรไม่น้อยกวา่ 36 หนว่ ยกิต

หมายเหตุ * รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรบั ผ้สู อบไมผ่ า่ น ไมน่ บั หน่วยกิต

97

บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

แผนการเรยี นหลกั สตู รบริหารธุรกิจมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ รุน่ ท่ี 13 ภาคพเิ ศษ กลมุ่ วิชาการจัดการธุรกิจ

ปีการศึกษา 2563-2564

อาจารย์ทปี่ รกึ ษา ผศ.ดร. ศิริพร เลศิ ยิ่งยศ

ภาคการศกึ ษา/ รหสั วิชา ช่อื รายวชิ า หน่วยกติ
ปีการศกึ ษา

328500 การบรหิ ารธุรกจิ และการบัญชีข้นั ตน้ * 3(2-2-5)

1/2563 328501 นักบริหารกับมติ ทิ างการจัดการ 3(3-0-6)
328502 นักบริหารกับมิตทิ างเศรษฐกจิ 3(3-0-6)

รวม 6 หนว่ ยกติ +วชิ าเสรมิ พ้นื ฐาน

328503 นกั บริหารกับมติ ทิ างการลงทุน 3(3-0-6)

2/2563 328504 นักบรหิ ารกับมิติทางการวจิ ยั 3(2-2-5)
328514 กลยทุ ธ์และนโยบายการตลาด 3(3-0-6)

รวม 9 หนว่ ยกติ

328614 การพฒั นาความเปน็ ผนู้ ำและการทำงานเปน็ ทีม 3(3-0-6)

(เฉพาะกลมุ่ ที่เลือกแผน ข)

3/2563 328512 การจัดการทางการเงนิ สมัยใหม่ 3(3-0-6)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรับบณั ฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)

รวม 3 หน่วยกิต + วิชาเสริมพืน้ ฐาน (กรณแี ผน ก 2)

รวม 6 หนว่ ยกิต + วชิ าเสริมพน้ื ฐาน (กรณแี ผน ข)

328611 กรณศี กึ ษาดา้ นการจดั การธรุ กจิ 3(2-2-5)

328612 การจดั การเชงิ กลยทุ ธเ์ พือ่ ความสามารถในการแข่งขัน 3(3-0-6)

1/2564 328613 การจดั การธุรกิจระหวา่ งประเทศ 3(3-0-6)
(เฉพาะกล่มุ ทีเ่ ลือกแผน ข)

328691 วิทยานิพนธ์(กลมุ่ ที่เลือกแผน ก 2) 3(0-0-9)

รวม 6 หนว่ ยกิต(กรณแี ผน ก 2) และรวม 9 หน่วยกิต (กรณีแผน ข)

328691 วิทยานิพนธ์ (กลุ่มที่เลอื กแผน ก 2) 6(0-0-18)

2/2564 328692 ภาคนิพนธ(์ กลุ่มทเ่ี ลอื กแผน ข) 3(0-0-9)

รวม 6 หนว่ ยกติ (กรณีแผน ก 2) และรวม 3 หน่วยกติ (กรณแี ผน ข)

328691 วิทยานิพนธ์ (กลมุ่ ทีเ่ ลอื กแผน ก 2) 3(0-0-9)

3/2564 328692 ภาคนพิ นธ(์ กลุ่มทเี่ ลือกแผน ข) 3(0-0-9)
สอบประมวลความรอบรู้ (เฉพาะกลมุ่ ทเ่ี ลือกแผน ข)

รวม 3 หนว่ ยกิต (กรณีแผน ก 2) และรวม 3 หน่วยกิต (กรณีแผน ข)

ตลอดหลักสตู รไมน่ ้อยกว่า 36 หนว่ ยกิต+ วิชาพื้นฐานเสริม 4 หนว่ ยกิต

หมายเหตุ * รายวิชาเสรมิ พ้นื ฐานสำหรับผ้สู อบไมผ่ ่าน ไม่นับหน่วยกิต

98

คู่มอื นกั ศึกษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

แผนการเรียนหลกั สูตรบริหารธุรกจิ มหาบัณฑิต
สาขาวิชาบริหารธุรกจิ รนุ่ ที่ 13 ภาคพเิ ศษ กลุ่มวิชาการจัดการภาครฐั และภาคเอกชน

ปีการศกึ ษา 2563-2564

อาจารย์ทป่ี รึกษา ผศ.ดร. ศริ ิพร เลิศยิง่ ยศ

ภาคการศกึ ษา/ รหสั วิชา ชื่อรายวิชา หนว่ ยกิต
ปกี ารศึกษา

328500 การจดั การธรุ กจิ และการบญั ชขี นั้ ต้น* 3(2-2-5)

1/2563 328501 นกั บริหารกบั มิติทางการจดั การ 3(3-0-6)
328502 นักบรหิ ารกบั มิติทางเศรษฐกจิ 3(3-0-6)

รวม 6 หนว่ ยกติ +วชิ าเสริมพ้นื ฐาน

328503 นกั บริหารกบั มิตทิ างการลงทนุ 3(3-0-6)

2/2563 328504 นกั บรหิ ารกบั มติ ิทางการวิจยั 3 (2-2-5)

328521 การจัดการโครงการภาครัฐและภาคเอกชน 3(3-0-6)

รวม 9 หนว่ ยกติ

328614 การพัฒนาความเป็นผ้นู ำและการทำงานเป็นทมี 3(3-0-6)

(เฉพาะกลมุ่ ที่เลือกแผน ข)

3/2563 328623 การจดั การการเงนิ การคลังสว่ นท้องถ่นิ 3(3-0-6)
700501 ภาษาองั กฤษสำหรับบณั ฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)

รวม 3 หนว่ ยกิต +วิชาเสริมพื้นฐาน (กรณแี ผน ก 2)

รวม 6 หน่วยกิต +วิชาเสรมิ พนื้ ฐาน (กรณแี ผน ข)

328621 กรณศี กึ ษาดา้ นการจัดการภาครฐั และภาคเอกชน 3(2-2-5)

328612 การจดั การเชิงกลยทุ ธเ์ พอื่ ความสามารถในการแขง่ ขนั 3(3-0-6)

1/2564 328613 การจัดการธรุ กิจระหวา่ งประเทศ 3(3-0-6)
(เฉพาะกลมุ่ ที่เลือกแผน ข)

328691 วทิ ยานิพนธ์(กลมุ่ ท่เี ลอื กแผน ก 2) 3(0-0-9)

รวม 6 หนว่ ยกติ (กรณแี ผน ก 2) และรวม 9 หน่วยกติ (กรณีแผน ข)

328691 วิทยานิพนธ์ (กล่มุ ท่เี ลอื กแผน ก 2) 6(0-0-18)

2/2564 328692 ภาคนิพนธ(์ กล่มุ ทเ่ี ลอื กแผน ข) 3(0-0-9)

รวม 6 หนว่ ยกติ (กรณแี ผน ก 2) และรวม 3 หน่วยกติ (กรณแี ผน ข)

328691 วิทยานิพนธ์ (กลุ่มทีเ่ ลอื กแผน ก 2) 3(0-0-9)

3/2564 328692 ภาคนพิ นธ์(กล่มุ ท่เี ลือกแผน ข) 3(0-0-9)
สอบประมวลความรอบรู้ (เฉพาะกลมุ่ ทีเ่ ลอื กแผน ข)

รวม 3 หน่วยกติ (กรณแี ผน ก 2) และรวม 3 หน่วยกิต(กรณีแผน ข)

ตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกว่า 36 หนว่ ยกิต+ วิชาพื้นฐานเสรมิ 4 หน่วยกิต

หมายเหตุ * รายวชิ าเสรมิ พน้ื ฐานสำหรับผู้สอบไมผ่ า่ น ไมน่ บั หน่วยกติ

99

บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

แผนการเรียนหลกั สูตรรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ รนุ่ ที่ 9 ภาคพิเศษ กล่มุ วิชาบรหิ ารงานทอ้ งถ่ิน

ปีการศึกษา 2563-2564

อาจารยท์ ปี่ รกึ ษา ผศ.ดร. เศรษฐวฒั น์ โชควรกลุ

ภาคการศกึ ษา/ รหัสวิชา ช่ือรายวิชา หน่วยกิต
ปีการศกึ ษา

215541 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ 3(3-0-6)

215571 สถติ เิ พ่ือการวิจัยทางสงั คมศาสตร์ 3(2-2-5)

1/2563 215511 องค์การและการจัดการสมัยใหม่ 3(3-0-6)

700501 ภาษาอังกฤษสำหรบั บณั ฑติ ศึกษา* 2(1-2-3)

รวม 9 หน่วยกิต

215572 ระเบียบวธิ วี จิ ัยทางรัฐประศาสนศาสตร์ 3(2-2-5)

2/2563 215542 ระบบสังคม เศรษฐกิจ และการเมอื งไทย 3(3-0-6)
215512 บรหิ ารงานทอ้ งถิ่นไทย 3(3-0-6)

รวม 9 หน่วยกิต

3/2563 215521 นโยบายสาธารณะและการจัดการ เชงิ กลยุทธ์ 3(3-0-6)
รวม 3 หน่วยกติ

215661 สมั มนาการบรหิ ารทอ้ งถ่ิน 3(3-0-6)

215633 ภาวะผ้นู ำและการจัดการความขัดแย้ง ในทอ้ งถิน่ 3(3-0-6)

(เฉพาะกลมุ่ ทีเ่ ลอื ก แผน ข.)

1/2564 215653 เศรษฐศาสตร์การจดั การทรพั ยากรทอ้ งถิ่น 3(3-0-6)

(เฉพาะกลุ่มทเ่ี ลือก แผน ข.)

215691 วิทยานิพนธ์ (เฉพาะกลุ่มท่เี ลือก แผน ก.2) 3(0-0-9)

รวม 6 หน่วยกิตสำหรบั แผน ก.2 รวม 9 หน่วยกิต (กรณีแผน ข.)

215691 วทิ ยานิพนธ์ (เฉพาะกลุ่มท่เี ลอื ก แผน ก.2) 5(0-0-15)

215691 ภาคนพิ นธ์ (เฉพาะกลุ่มท่ีเลอื ก แผน ข.) 3(0-0-9)

2/2564 สอบประมวลความรู้

(เฉพาะกลุม่ ที่เลอื ก แผน ข.)

รวม 5 หน่วยกิต (กรณแี ผน ก.2) และรวม 3 หนว่ ยกิต (กรณีแผน ข.)

3/2564 215691 วิทยานิพนธ์ (เฉพาะกลุ่มท่ีเลือก แผน ก.2) 4(0-0-12)
215692 ภาคนพิ นธ์ (เฉพาะกลุ่มที่เลือก แผน ข.) 3(0-0-9)

รวม 4 หน่วยกติ (กรณแี ผน ก.2) และรวม 3 หนว่ ยกิต (กรณแี ผน ข.)

ตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ 36 หนว่ ยกติ

หมายเหตุ * รายวิชาเสริมพื้นฐานสำหรับผ้สู อบไมผ่ า่ น ไม่นับหน่วยกติ

100

ตอนท่ี 5

หนว่ ยงานให้บรกิ าร

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

1. สำนักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ

สำนักวิทยบริการฯ เป็นหน่วยงานที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ มีภาระหน้าที่สนับสนุนด้านวิชาการ การวิจัยของ

บุคลากรภายในมหาวทิ ยาลัย และประสานงานใหเ้ กิดความรว่ มมือทางวชิ าการกับหนว่ ยงานภายนอก

เวลาเปดิ บรกิ ารของสำนกั วทิ ยบรกิ าร ฯ

วันจนั ทร์ – วนั เสาร์ เปดิ บริการ 08.00-18.30 น.

วนั อาทิตย์ เปิดบริการ 08.00-16.30 น.

วนั หยุดราชการ ปดิ ทำการ

http://arc.nrru.ac.th/index.php?lang=th

102

คมู่ อื นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

1.1 ผมู้ สี ิทธเิ์ ข้าใชบ้ ริการ
1.1.1 อาจารย์
- อาจารย/์ ขา้ ราชการประจำของมหาวิทยาลัย
- อาจารย์พิเศษของมหาวทิ ยาลัย
1.1.2 พนกั งาน
- พนกั งานมหาวิทยาลยั สายวชิ าการ
- พนกั งานมหาวทิ ยาลัยสายสนับสนนุ
- พนักงานราชการ
- ลกู จ้างประจำของมหาวทิ ยาลยั
1.1.3 นกั ศกึ ษาของมหาวิทยาลัย
- นกั ศึกษาภาคปกติ
- นักศกึ ษาภาคการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน (กศ.ปช.)
- นกั ศกึ ษาประกาศนียบตั รวชิ าชพี ครู
- นกั ศึกษาปรญิ ญาโท
- นักศกึ ษาปริญญาเอก
1.1.4 บุคคลภายนอก
- ศษิ ยเ์ กา่ ของมหาวิทยาลัย
- ขา้ ราชการหรือพนกั งานรฐั วสิ าหกิจทมี่ ีหนว่ ยงานตง้ั อยใู่ นจงั หวัด
- บุคคลอื่นตามทเี่ ห็นสมควร

1.2 กฎระเบียบการเขา้ ใชบ้ ริการ
การปฏิบตั ิตนในการเข้าใช้บรกิ ารสำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1) แสดงบัตรสมาชิก ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ตรวจบรเิ วณทางเข้า และใหต้ รวจกระเปา๋ และหนังสอื กอ่ นออกจากสำนกั

วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ บุคคลภายนอกที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ให้แสดงบัตรประจำตัวประชาชน หรือบัตรท่ี
ทางราชการออกให้ ต่อเจ้าหน้าท่ี บริเวณทางเข้า เพื่อแลกบัตรบุคคลภายนอก โดยต้องติดบัตรบุคคลภายนอกใหเ้ ห็น
ชดั เจน ตลอดระยะเวลาที่ใชบ้ รกิ ารภายในสำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ และลงชือ่ เข้าใชใ้ นสมุดทะเบียน
เขา้ ใชท้ ่ีจุดตรวจทางเขา้ -ออก

2) หา้ มนำบัตรผอู้ ่ืนมาใช้บรกิ าร
3) เก็บกระเป๋า เอกสาร หนังสือ ถุงหรือหีบห่อ ไว้ในที่ๆ จัดให้ โดยนำสิ่งของมีค่าที่จำเป็นติดตัวไปด้วย
สง่ิ ของมีค่าท่นี ำติดตัวเข้ามาภายในสำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ หากเกิดการสูญหาย สำนกั วทิ ยบริการ
และเทคโนโลยีสารสนเทศ จะไม่รับผิดชอบใดๆ ทง้ั สิน้
4) การใช้ทรัพยากรสารสนเทศและโสตทัศนวัสดุ ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ใช้
ณ สถานท่ๆี จัดไว้ให้
5) รักษาทรัพยากรและวัสดุอุปกรณ์ ของสำนักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ใหอ้ ยูใ่ นสภาพดอี ยู่เสมอ
6) ไม่นำทรัพยากรสารสนเทศ ออกจากสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยไม่ได้รับอนุญาต
หรอื ไมไ่ ดย้ ืมตามระเบยี บ

103

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

7) ชำระคา่ บริการ ตามทสี่ ำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กำหนดไว้

8) เคารพตอ่ สถานที่ รกั ษามารยาท ความสงบเรียบร้อย ไมส่ ง่ เสยี งดงั หรอื กระทำการใดๆ อันเปน็ ที่รำคาญ

แก่ผอู้ ืน่

9) หา้ มนำอาหารและเครือ่ งดม่ื เข้ามาภายในสำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ

10) หา้ มสูบบหุ ร่ีหรือส่ิงเสพตดิ ทกุ ประเภท

11) หา้ มใชเ้ ครอ่ื งมือสื่อสารทุกชนดิ ในสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ยกเวน้ ในบริเวณท่ี

สำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดไว้ให้เท่านน้ั

12) แตง่ กายสุภาพ ไดแ้ ก่

- ไม่สวมเสือ้ สายเด่ียว เอวลอย กางเกงขาสัน้ ยกเวน้ เคร่อื งแบบนักเรียน

- สวมรองเทา้ หมุ้ สน้ หรอื รัดส้น ห้ามสวมรองเท้าแตะทกุ ชนดิ

13) ไม่ขดี เขียน ฉีก ตดั พับ ทบุ ท้งิ แกะ ดึง หรือทำให้เกิดความเสียหายดว้ ยประการใดๆ แก่ทรพั ยากร

สารสนเทศ

14) ไมก่ ระทำการในเชิงชู้สาวหรอื ผดิ ศีลธรรม

15) ใช้กระแสไฟฟ้าของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ในบริเวณที่สำนักวิทยบริการและ

เทคโนโลยสี ารสนเทศ จดั ไวใ้ หเ้ ท่าน้นั

16) เม่ือเกิดปญั หาใดๆ ในการใชบ้ รกิ ารสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ให้สอบถามบุคลากร

ของสำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ หรอื ผู้อำนวยการสำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

1.3 สิทธิการยืมทรพั ยากรแต่ละประเภท

ประเภทสมาชกิ ประเภททรัพยากร จำนวน (เล่ม) จำนวนวัน คา่ ปรบั

นักศึกษาปรญิ ญาตรี หนงั สือ 4 7 5 บาท / เลม่ / วนั

สื่อโสตทัศนวสั ดุ 3 7

นกั ศึกษาปริญญาโท หนงั สอื 10 7 5 บาท / เล่ม / วัน

วิทยานิพนธ์ 10 7

สื่อโสตทศั นวสั ดุ 4 7

นกั ศึกษาปริญญาเอก หนังสอื 10 7 5 บาท / เล่ม / วนั

วิทยานิพนธ์ 10 7

สอ่ื โสตทศั นวสั ดุ 10 7

อาจารย/์ ข้าราชการ หนงั สือ 10 60 5 บาท / เล่ม / วัน

วิทยานพิ นธ์ 10 60

สือ่ โสตทศั นวัสดุ 4 7

พนกั งานมหาวทิ ยาลยั หนังสือ 4 7 5 บาท / เล่ม / วัน

พนักงานราชการ วทิ ยานพิ นธ์ 4 7

ลูกจา้ งประจำ สือ่ โสตทศั นวัสดุ 4 7

104

คู่มือนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

สำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอสงวนสทิ ธิใ์ นการเรียกคืนทรพั ยากรสารสนเทศจากผยู้ มื กอ่ น
กำหนดในกรณดี ังต่อไปน้ี

- เมอ่ื ผ้ยู ืม ยืมเกินกำหนด
- เพือ่ การสำรวจทรัพยากรสารสนเทศ
- อนื่ ๆ แล้วแต่กรณีตามความจำเปน็
1.4 การสมคั รเป็นสมาชิก
นกั ศกึ ษา ทป่ี ระสงค์จะสมัครเปน็ สมาชกิ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ทำการติดต่องาน
บรกิ ารยมื -คนื และเตรยี มเอกสารดังต่อไปน้ี
- บตั รประจำตวั นักศึกษา และใบเสรจ็ รบั เงินค่าบำรงุ การศึกษา ( ภาคเรียนปจั จุบนั )
- ในกรณีทย่ี ังไมม่ บี ตั รประจำตัวนกั ศกึ ษา ใหใ้ ชบ้ ัตรประจำตวั ประชาชนและใบเสรจ็ รับเงนิ คา่ บำรงุ
การศกึ ษา (ภาคเรียนปจั จุบนั )
- แบบคำร้องขอเป็นสมาชิกสำนกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทกี่ รอกขอ้ ความสมบรู ณ์
1.5 ระยะเวลาการเปน็ สมาชกิ
นักศึกษา เริ่มเป็นสมาชกิ ตั่งแต่วันทีส่ มัครสมาชิก จนถึงวันสิ้นภาคการศึกษา แต่ต้องไมเ่ กินกว่าวนั ทีผ่ ู้นั้น
พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา หรือเมื่อปรากฏว่าผู้นั้นไม่ชำระเงินค่าบำรุงการศึกษา โดยนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
จะต้องนำใบเสร็จรับเงินค่าบำรุงการศึกษา (ภาคเรียนปัจจุบัน) มาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ งานบริการยืม -คืน สำนักวิทย
บรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทุกภาคเรยี น เพอื่ ตอ่ อายุสมาชิก
1.6 ความรับผดิ ชอบของสมาชิก
ความรบั ผดิ ชอบของสมาชกิ สำนกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
1) ไมใ่ หผ้ ู้อื่นใช้บตั รสมาชิก บตั รอนุญาต ใบอนุญาต ในการยมื หรอื ในการเขา้ ใช้สำนักวทิ ยบริการและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2) ต้องคืนทรพั ยากรสารสนเทศภายในวนั และเวลาทก่ี ำหนด และต้องรับผิดชอบชำระคา่ ปรับ การคืน
ทรัพยากรสารสนเทศเกนิ กำหนดเวลา
3) ต้องรบั ผิดชอบตอ่ การชำรุดเสียหาย หรือสญู หาย ของทรัพยากรสารสนเทศ ทย่ี ืมไปทกุ กรณี และเป็น
หนา้ ที่ของผยู้ ืมท่ีตอ้ งตรวจสอบความสมบรู ณ์ ของทรัพยากรสารสนเทศ ก่อนยืมทกุ ครง้ั
4) เม่ือทรัพยากรสารสนเทศชำรดุ เสยี หายจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ หรอื ขาดหาย หรอื เสื่อมสภาพหรอื สญู
หาย ผู้ยืมต้องชดใช้ หรือชำระเงินเป็น 2 เท่า ของราคาทรัพยากรสารสนเทศ หรือตามราคาประเมินของสำนักวิทย
บริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมกับคา่ ใชจ่ า่ ยในการดำเนินการทง้ั หมด การวนิ ิจฉัยสภาพของทรัพยากรสารสนเทศ
การกำหนดราคาและค่าใชจ้ ่าย ใหเ้ ป็นไปตามทบ่ี รรณารักษก์ ำหนด
5) ในกรณีท่ผี ู้ยมื ไดช้ ำระค่าเสยี หายไปแลว้ หากผู้ยืมพบทรพั ยากรสารสนเทศในเวลาต่อมา แล้วนำทรพั ยากร
สารสนเทศนั้น ส่งมอบคนื ให้กับสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ยืมจะไม่สามารถเรียกรอ้ งค่าเสียหายท่ี
ชำระไปกอ่ นหน้าน้ี คืนได้

105

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

1.7 ประเภทของทรัพยากรทใ่ี หบ้ ริการ
ประเภททรัพยากรสารสนเทศทสี่ ำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศให้บรกิ าร แบ่งเป็น 2 ประเภท

คอื
1.7.1 ทรัพยากรทีส่ ามารถให้ยมื ออกนอกสำนักวิทยบริการได้
- ทรัพยากรสารสนเทศทั่วไป ได้แก่ หนังสอื ตำรา เอกสารผลงานทางวชิ าการ วารสารและนติ ยสาร

ฉบบั ล่วงเวลาหนงั สือพมิ พ์ฉบบั ล่วงเวลา สอื่ โสตทัศนวัสดุ และสง่ิ พมิ พ์อน่ื ๆ
- ทรัพยากรสารสนเทศพเิ ศษ ไดแ้ ก่ งานวิจยั วทิ ยานิพนธ์ ปริญญานพิ นธ์

1.7.2 ทรพั ยากรทใี่ หย้ มื ใชภ้ ายในสำนกั วิทยบริการ
- ไดแ้ ก่ วารสารและนิตยสารฉบับปจั จุบนั หนงั สือพมิ พ์ฉบับปัจจุบัน หนังสือหายาก หนังสืออ้างอิง

เช่น สารานุกรม พจนานกุ รม ทำเนียบนามและสิง่ พมิ พ์อ่ืนๆ
1.8 วธิ ปี ฏิบัติในการยืม และการปฏบิ ตั ิตนในการยืมทรัพยากรสารสนเทศ
1.8.1 ผู้มีสิทธ์ใิ นการยมื ต้องแสดงบัตรสมาชกิ สำนกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ของตนเอง

ทุกครัง้ ท่ียมื
1.8.2 สำนักวทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไม่อนุญาตใหน้ ำบตั รสมาชกิ ผู้อนื่ มาใช้ในการยืมทรพั ยากร

สารสนเทศ
1.8.3 สมาชกิ ทกุ ประเภทท่ีมีทรัพยากรสารสนเทศคา้ งสง่ จะไม่มีสิทธิ์ยมื ทรพั ยากรสารสนเทศรายการต่อไป
1.8.4 หนังสือชอื่ เรอ่ื งเดยี วกันและครัง้ ที่พมิ พ์เดยี วกัน ยืมไดค้ รง้ั ละไมเ่ กนิ 1 เลม่ / คน
1.8.5 ผ้ยู ืมทรพั ยากรสารสนเทศ จะต้องรับผดิ ชอบในการตรวจเชค็ สภาพทรัพยากรสารสนเทศก่อนยืม

กระท่ังสง่ คืนทกุ ครั้ง
1.9 การชดใช้ทรพั ยากรสารสนเทศท่ีชำรดุ สูญหาย
1.9.1 ทรัพยากรสารสนเทศของสำนกั วิทยบรกิ ารฯ ทีส่ ญู หาย สมาชกิ ทกุ ประเภทตอ้ งปฏบิ ัติ ดังน้ี
1) ให้จัดหาทรัพยากรสารสนเทศทีเ่ ป็นช่อื เรื่องเดยี วกันกับท่สี ูญหาย พรอ้ มชำระคา่ ธรรมเนียม

ในการจดั เตรยี ม 20 บาท / รายการ
2) กรณจี ัดหาทรพั ยากรสารสนเทศชอ่ื เรอ่ื งเดยี วกันไมไ่ ด้ ให้จดั หาช่อื เรื่องเดยี วกนั ท่เี ป็นฉบบั พิมพ์

ครัง้ ล่าสุดแทน พรอ้ มชำระค่าธรรมเนยี มในการจัดเตรยี ม 20 บาท / รายการ
3) หรอื ใหจ้ ดั หาทรพั ยากรสารสนเทศชือ่ เรื่องหรอื เนื้อหาในทำนองเดยี วกันกับเลม่ ทห่ี าย ท้ังนีต้ ้อง

ได้รับการพิจารณายนิ ยอมจากบรรณารกั ษ์ พรอ้ มชำระค่าธรรมเนยี มในการจดั เตรียม 20 บาท / รายการ
4) ในกรณีไมส่ ามารถจดั หามาคนื ได้ ตอ้ งชดใช้ค่าทรัพยากรสารสนเทศเล่มนั้น เปน็ จำนวน 2 เทา่

ของราคาทรพั ยากรสารสนเทศ พร้อมชำระคา่ ธรรมเนยี มในการจดั เตรยี ม 20 บาท / รายการ
1.9.2 ทรพั ยากรสารสนเทศของสำนักวิทยบรกิ ารฯ ท่ชี ำรดุ สมาชกิ ทกุ ประเภทตอ้ งปฏบิ ัติ ดงั น้ี
1) ต้องชดใช้คา่ ซ่อมแซมทรพั ยากรสารสนเทศ จำนวน 20 บาท / รายการ
2) ในกรณที ท่ี รัพยากรสารสนเทศชำรดุ เสยี หาย จนไมส่ ามารถนำมาซอ่ มแซมได้ ใหส้ มาชกิ ทุก

ประเภทปฏิบตั ติ ามขอ้ กำหนดเดยี วกับกรณที ที่ รัพยากรสูญหาย ทั้งน้ีต้องได้รบั การพจิ ารณายนิ ยอมจากบรรณารกั ษ์

106

คู่มอื นกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปีการศึกษา 2563

2. ฝา่ ยเทคโนโลยีทางการศึกษา สำนักวิทยบริการฯ
ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศกึ ษามสี ถานที่ทำการอย่ชู ั้น 6 ของตกึ 6 ช้นั สำนักวิทยบริการฯ ฝ่ายเทคโนโลยีทาง

การศกึ ษาใหบ้ ริการแก่คณาจารย์ เจา้ หนา้ ท่ี นักศึกษาและบคุ ลากรท่วั ไปดังน้ี
2.1 บรกิ ารดูแลและตดิ ต้ัง
2.1.1 บริการตดิ ตง้ั โสตทัศนูปกรณท์ จ่ี ำเปน็ ในการเรียนการสอนภายในหอ้ งเรยี น เชน่ เครอื่ งฉายภาพข้า

ศรี ษะ จอฉาย เครื่องรบั โทรทัศน์และเครอื่ งเล่นวีดิทศั น์ เครือ่ งเสยี ง และโทรทศั นว์ งจรปิด เป็นตน้
2.1.2 บริการตดิ ตงั้ เคร่ืองขยายเสียง เครื่องฉาย โทรทัศนว์ งจรปิดสำหรับงานกจิ กรรมของสถาบนั ท้ัง

ภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั
2.2 บรกิ ารใหย้ ืมโสตทัศนูปกรณ์ บริการให้ยืมโสตทศั นูปกรณ์ต่าง ๆ เชน่ เครอื่ งฉายภาพขา้ มศรษี ะ เคร่อื งฉาย

สไลด์เครอื่ งขยายเสยี ง ฯลฯ เพอ่ื ใช้ในกจิ กรรมการเรียนการสอน ยกเว้นเคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการผลติ
2.3 บรกิ ารการผลิต ให้บรกิ ารผลิตสอ่ื การสอนให้แกค่ ณาจารย์ เช่น สไลด์ วดี ิทศั น์ แผ่นโปรง่ ใส บันทึกเสยี ง

ทำสำเนาส่อื ท่ีใชใ้ นการเรียนการสอน ถา่ ยภาพในกจิ กรรมการเรียนการสอนการประชมุ สัมมนา
การขอใช้บริการ ให้กรอกแบบฟอรม์ การขอใชบ้ ริการที่ฝ่ายเทคโนโลยีทางการศึกษาล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย 3 วัน ใน

กรณีทีเ่ ป็นนักศึกษาจะตอ้ งให้ผสู้ อนหรอื อาจารย์ที่ปรกึ ษาเซน็ รบั รอง

3. ฝ่ายประชาสัมพนั ธ์ สำนักงานอธกิ ารบดี
ฝา่ ยประชาสัมพนั ธข์ องมหาวทิ ยาลัย ตง้ั อย่ทู ี่อาคาร 9 ชน้ั ลา่ ง มีหนา้ ทีใ่ ห้บริการเกยี่ วกบั
3.1 จดหมาย ธนาณัติ พสั ดุ โทรเลข โทรศัพท์
3.2 ประกาศกระจายเสยี งในชว่ งที่กำหนด
3.3 จัดทำเอกสาร จดหมายขา่ ว เพ่ือประชาสัมพนั ธก์ ิจการทวั่ ไปของสถาบนั และหน่วยงานภายนอก
3.4 จดั ทำเอกสารประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพร่ขา่ วสารทง้ั ภายในและภายนอกโดยผา่ นสอ่ื มวลชนทุกแขนง

4. ฝ่ายทรัพยส์ ินและรายได้ สำนักงานอธกิ ารบดี
สถานทตี่ ้ัง อาคารทบั แก้ว ชั้น 1 และให้การบริการ ดงั นี้
4.1 ให้บรกิ ารถ่ายภาพบัณฑติ
4.2 ให้บรกิ ารเช่าชดุ ครุยปริญญา
4.3 ดแู ลการขอใชห้ ้องประชุมสวุ จั น์ ลปิ ตพลั ลภ, หอประชมุ อนุสรณ์ 70 ปี, อาคาร 10.21 และโรงอาหาร
4.4 จำหนา่ ยของท่รี ะลึกของมหาวทิ ยาลัย อาทิเชน่ กระเปา๋ เอกสาร แกว้ นำ้ เข็มกลดั เนคไท พวงกุญแจ เป็นต้น
หมายเหตุ การขอใชห้ ้องประชมุ ต่าง ๆ ดำเนนิ การดังน้ี
1. ขออนญุ าตจัดกจิ กรรม
2. ทำบันทกึ ขอใชห้ ้องประชุม (ฝา่ ยทรัพยส์ ิน) แนบหนังสือข้อ 1.
3. จ่ายคา่ บำรงุ และคา่ ตอบแทนตามระเบียบ

107

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

5. ศนู ย์แพทยช์ ุมชน 9

ศูนย์แพทย์ชุมชน 9 ตั้งอยู่อาคาร 27 ชั้น 1 ประกอบด้วย ห้องตรวจ ห้องจ่ายยา ห้องทำแผล และห้องพัก

นักศกึ ษาป่วยหญิงและชาย ซึง่ จะมเี ตยี งนอนสำหรบั ผปู้ ่วยไว้คอยบริการแก่นกั ศึกษาที่เจบ็ ปว่ ย

การบรกิ ารของศูนย์แพทย์ชมุ ชน 9 ประกอบไปด้วย

5.1 รักษาอาการเจ็บปว่ ยท่ีไมร่ นุ แรงด้วยการจ่ายยาตามอาการ เช่น ปวดศรี ษะ ไขห้ วัด ปวดท้อง ท้องเสยี

ตาแดง

5.2 ให้การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เชน่ ไดร้ ับอุบตั ิเหตุ เปน็ ลม ชัก-เกร็ง หายใจหอบ ฯลฯ และมหี น้าทจ่ี ัดส่ง

นกั ศกึ ษาทเ่ี จบ็ ปว่ ยที่มีอาการรุนแรงไปรบั การรกั ษาทถี่ ูกต้องต่อไปทีโ่ รงพยาบาล

5.3 บรกิ ารจดั กระเป๋ายาพร้อมเวชภัณฑ์ในกรณีออกหน่วยตา่ ง ๆ ตามทห่ี น่วยงานในมหาวิทยาลยั ขออนุเคราะห์

มา เชน่ การไปศกึ ษาดูงาน ทัศนศกึ ษา ออกค่ายอาสาพฒั นาชนบทตา่ ง ๆ หรอื การจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของมหาวิทยาลัย

โดยแจ้งล่วงหน้าอยา่ งนอ้ ย 2 วัน

5.4 บรกิ ารตรวจเชค็ รา่ งกายเบ้อื งตน้ เชน่ บรกิ ารชงั่ นำ้ หนกั วัดสว่ นสงู วดั ความดนั โลหติ วัดอณุ หภูมริ ่างกาย

เพื่อวินิจฉัยโรคเบ้ืองต้น

5.5 ให้ข้อมลู ขา่ วสารเก่ยี วกบั สุขภาพอนามยั และแนะนำวิธบี ำบัดรักษา หรอื แนะนำสถานทบ่ี ำบดั รักษาตาม

ความเหมาะสม

5.6 บริการตรวจสุขภาพนกั ศกึ ษาท่เี ขา้ ใหม่ทุกคน

กิจกรรมด้านการรกั ษาพยาบาล

วันจันทร์ - ศุกร์ เปดิ ให้บรกิ าร เวลา 08.00-18.00 น. ใหบ้ รกิ ารโดยแพทยแ์ ละพยาบาลวิชาชีพ

วันเสาร-์ อาทิตย์ เปิดให้บริการ เวลา 08.00-16.00 น. ให้บรกิ ารโดยแพทยแ์ ละพยาบาลวิชาชพี

วันเวลาใหบ้ ริการ เวลา 08.00-16.00 น. เวลา 16.00-18.00 น.

วนั จันทร์ - ตรวจรกั ษาโรคทัว่ ไป คลนิ กิ นอกเวลาราชการ

- คลินิกโรคสตู ินรีเวช

วันอังคาร - ตรวจรักษาโรคทั่วไป คลนิ ิกนอกเวลาราชการ

- คลินกิ โรคผิวหนงั

วันพธุ - ตรวจรกั ษาโรคท่ัวไป คลนิ ิกนอกเวลาราชการ

- คลนิ ิกโรคไมต่ ดิ ต่อ

- คลินกิ สุขภาพเด็กดี

วันพฤหัสบดี - ตรวจรักษาโรคท่ัวไป คลนิ ิกนอกเวลาราชการ

- คลนิ กิ โรคไมต่ ดิ ตอ่

วนั ศกุ ร์ - ตรวจรักษาโรคท่วั ไป คลนิ กิ นอกเวลาราชการ

- ฝากครรภ์ วางแผนครอบครัว

วันเสาร์-อาทิตย์ - ตรวจรกั ษาโรคทวั่ ไป --------

108

ค่มู ือนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

6. สำนักคอมพิวเตอร์ ต้งั อยทู่ อี่ าคาร 27 ชัน้ 3
6.1 ภาระกิจของสำนักคอมพวิ เตอร์
- บรกิ ารเสรมิ ความรเู้ กีย่ วกับคอมพวิ เตอร์
- พัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ภายในมหาวิทยาลยั
- ดแู ลระบบเครอื ขา่ ยภายในมหาวิทยาลัยและการเชอ่ื มต่อสู่ระบบเครือข่ายภายนอก
6.2 เวลาการให้บรกิ าร
วนั จนั ทร์-ศกุ ร์ ตัง้ แตเ่ วลา 08.30-19.30 น.
วนั เสาร-์ อาทติ ย์ ตัง้ แต่เวลา 08.30-16.30 น.
6.3 ขัน้ ตอนการให้บรกิ าร
1) นกั ศกึ ษานำบตั รประจำตัวนกั ศกึ ษามายนื่ ขอใหบ้ รกิ ารตอ่ เจา้ หนา้ ที่
2) เจ้าหนา้ ท่ีจะนำบัตรนักศึกษามาอ่านด้วยเคร่อื งอ่านบัตรตรวจสอบหาเครอื่ งคอมพิวเตอร์ท่วี า่ ง
3) นักศึกษารบั กุญแจประจำเครื่องไปเปิดเพ่ือใช้งาน
4) เมื่อนกั ศึกษาทำงานเสร็จแล้วจะตอ้ งปดิ เครื่องและนำกญุ แจมาแลกบัตรนักศกึ ษาคืน
6.4 ระเบยี บการแตง่ กายในการใชห้ อ้ ง
นักศึกษาทต่ี ้องการใชห้ ้องคอมพิวเตอรต์ อ้ งแต่งกายชุดนักศึกษา ชุดกีฬาอนุญาต ใหใ้ ชเ้ ฉพาะชุดกีฬา

ของมหาวิทยาลยั เท่าน้ัน หากแต่งกายไม่เรยี บรอ้ ยจะไมอ่ นุญาตให้ใช้

109

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

http://www.nrru.ac.th/computer/index.php

110

คู่มอื นกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563

7. สถาบนั ภาษา
สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีสำนักงานต้ังอยูท่ ีอ่ าคาร 27 ชั้น 3 และมีห้องปฏิบัตกิ าร

ทางภาษา 2 หอ้ ง และห้อง Multi-Media Lab อกี 2 หอ้ ง (ชน้ั 2 และชัน้ 4) นอกจากนีย้ ังมหี อ้ งศนู ย์การเรียน
ด้วยตนเอง (Independent Learning Center) ที่นักศึกษาและบุคลากรผู้สนใจที่จะไปศึกษาค้นคว้า และฝึก
ภาษาต่างประเทศได้จากเอกสาร ตำรา หนังสือ แบบเรียนภาษา สิ่งตีพิมพ์ต่าง ๆ รวมทั้งเทป วีดิทัศน์ ซีดี การ
ให้บรกิ ารทางวชิ าการของศูนย์ภาษายังรวมไปถึงการจัดอบรมภาษาแบบเข้มให้แก่นกั ศกึ ษา คณาจารย์ในมหาวทิ ยาลยั
และบุคคลภายนอก และการสง่ อาจารยข์ องศูนยไ์ ปเปน็ วทิ ยากรให้การฝึกอบรมทางด้านการสอนภาษาอังกฤษแก่ครู
อาจารย์ ในระดับประถมศึกษา มธั ยมศึกษา และอดุ มศึกษา มีหน่วยงานบรกิ ารสำคญั คอื

ศนู ยก์ ารเรียนรู้ด้วยตนเอง [Independent Learning Center : ILC] เป็นแหลง่ ทรัพยากรเพื่อการเรยี นรสู้ ำคัญ
อกี แหล่งหนึ่งนอกเหนือจากหอ้ งสมุด ซ่ึงมีวตั ถุประสงค์หลกั คือเอ้ือประโยชน์ทางการศึกษาใหก้ บั นักศึกษา คณาจารย์
และบคุ ลากรของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ในการพฒั นาความสามารถด้านภาษาองั กฤษ ทงั้ ด้านการฟงั
การพูด การอา่ น และการเขียน รวมถึงการฝึกฝนทางด้านภาษาจนี ญีป่ นุ่ และฝรงั่ เศส จากเอกสาร ตำรา หรอื
ส่อื เทคโนโลยีต่าง ๆ ซ่ึงสามารถตอบสนองความต้องการของผเู้ รียนตามระดบั ความรู้ความสามารถและความสนใจ
ของแต่ละคนไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ศูนย์การเรียนร้ดู ว้ ยตนเองนัน้ เป็นแหลง่ สนับสนนุ ใหผ้ ้เู รียนไดเ้ รยี นรอู้ ย่างอสิ ระ
โดยผูเ้ รยี นเปน็ ผกู้ ำหนดขอบเขตการเรยี นร้ไู ดด้ ้วยตนเอง ทั้งนี้ ศูนย์การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง [ILC] จะมีการพฒั นา
ปรับปรงุ และจัดหาสื่อการเรียนรทู้ ีห่ ลากหลายอย่างสม่ำเสมอเพ่อื ใหผ้ ูใ้ ชบ้ ริการมที างเลอื กในการเรยี นรู้ท่เี หมาะกับ
ตนเองและความสนใจมากที่สุด โดยมรี ะเบียบการใช้บรกิ ารหอ้ ง ILC ดงั นี้

ระเบยี บทว่ั ไปในการใชบ้ รกิ าร
1. ลงทะเบยี นการใชบ้ ริการทุกครง้ั
2. แตง่ กายสุภาพ
3. หา้ มสบู บหุ รี่ หรอื สง่ เสียงดงั รบกวนผู้อ่นื
4. หา้ มนำอาหารและเครอื่ งดื่มเขา้ มารับประทานในห้อง
5. ห้ามนำกระเป๋า สัมภาระต่าง ๆ เข้ามาในห้อง [ยกเวน้ กระเป๋าสตางค]์
6. ห้ามนำส่ิงของต่าง ๆ ออกจากห้องกอ่ นได้รบั อนญุ าต

ระเบียบการยมื ทรพั ยากร
1. ยืมโดยใช้บัตรหอ้ ง ILC เท่านน้ั [ท่านสามารถแจ้งความจำนงทำบตั รได้ท่เี จ้าหนา้ ท]ี่
2. หนังสอื ตำรา ยืมได้จำนวน 4 เล่มเป็นเวลา 7 วนั [ยกเวน้ Dictionary วารสาร นิตยสาร]
3. กรณสี ง่ หนังสือเกนิ กำหนดเวลา เสียคา่ ปรับวันละ 5 บาท

ค่าธรรมเนยี มการสมัครสมาชิก
1. ประชาชนท่ัวไป จำนวน 200 บาท/ปี
2. สมาชิกตลอดชีพ จำนวน 500 บาท
หมายเหตุ สิทธิสำหรบั ผู้สมัครสมาชกิ สามารถยืมหนงั สอื ตำราหรอื ใชบ้ รกิ ารไดต้ ามสทิ ธิ

ศนู ย์การเรียนรู้ด้วยตนเอง [ILC] ตัง้ อยู่ท่อี าคาร 27 ช้ัน 4 หอ้ ง 27.04.01 สามารถสอบถามรายละเอยี ดเพ่ิมเตมิ
ไดท้ ี่หมายเลขโทรศัพท์ 044-272825 044-254000 ตอ่ 2172

111

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
หอ้ งปฏิบตั กิ ารทางภาษาและคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 หอ้ ง

1. หอ้ งปฏิบัตกิ ารทางภาษา 1 จำนวน 48 ทีน่ ัง่ พร้อมระบบโปรแกรมสอนภาษาอังกฤษ [ห้อง 27.04.08]
2. ห้องปฏิบัตกิ ารทางภาษา 2 จำนวน 48 ท่ีน่งั พรอ้ มระบบโปรแกรมสอนภาษาองั กฤษ [ห้อง 27.04.10]
3. ห้องปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 40 ทนี่ งั่ [ห้อง 27.04.13]
4. ห้องปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 20 ทน่ี ั่ง [หอ้ ง 27.04.09]

https://www.nrru.ac.th/public/li/index.php

112

คมู่ ือนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
8. ศนู ย์ฝึกประสบการณว์ ิชาชพี “ทบั แก้วพาเลซ”

บรกิ ารหอ้ งพัก บริการห้องประชุมสมั มนา บริการหอ้ งจดั เล้ยี ง ห้องอาหา

http://www.old.nrru.ac.th/web/tubgaew/

113

ตอนท่ี 6

การประกันคุณภาพการศกึ ษา
และขอ้ ควรทราบ

คมู่ อื นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

1. การพัฒนาระบบและกลไกการประกันคณุ ภาพการศึกษา
1.1 กระบวนการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance) เป็นการกำหนดให้มีระบบและกลไกในการควบคุม

คุณภาพ (Control) การตรวจสอบ (Audit) และการประเมิน (Assess) การดำเนินงานในแต่ละองคป์ ระกอบคุณภาพ
(Quality Factor) ตามตัวบ่งชี้ (Indicator) ท่กี ำหนดเพือ่ เปน็ หลักประกนั แกผ่ ูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งและสาธารณชนใหม้ ั่นใจ
ว่ามหาวิทยาลัยสามารถให้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ และพร้อมสำหรับการประเมินคุณภาพและรับรอง
มาตรฐานจากภายนอก โดยประกอบดว้ ยขน้ั ตอนดงั นี้

1.1.1 การควบคมุ คุณภาพ (Quality Control)
การควบคุมคณุ ภาพ เปน็ การจัดให้ระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพภายในขององคป์ ระกอบต่าง

ๆ ทม่ี ีผลตอ่ คุณภาพบณั ฑิต โดยยึดปรัชญา วิสัยทศั นข์ องมหาวทิ ยาลยั และดำเนนิ การอยา่ งเปน็ ระบบ โดยใช้หลักของ
การควบคมุ คุณภาพท่เี หมาะสม พรอ้ มท้งั การมรี ะบบตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานภายในดว้ ย

1.1.2 การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing)
การตรวจสอบคุณภาพภายในเป็นกระบวนการหน่ึงของการประกันคุณภาพการศึกษาเพือ่ ให้ทราบ

ถึงประสิทธภิ าพและประสิทธผิ ลของการดำเนนิ การประกันคณุ ภาพ และเพือ่ ใหท้ ราบถงึ ปญั หาอปุ สรรคในการหาทาง
ปรับปรุงแก้ไข มีแนวทางดำเนินการโดยมหาวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์ กอง และโปรแกรมวิชาแต่งต้ัง
คณะกรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน เพอื่ ทำหน้าท่ีศกึ ษาวิเคราะห์ว่า คณะ สถาบนั ศูนย์ สำนกั กอง และ
โปรแกรมวิชา มีระบบและกลไกกำกับการควบคุมคุณภาพ ตลอดจนได้นำระบบและกลไกดังกล่าวไปดำเนินการและ
ปรากฏผลการดำเนินการเปน็ ที่ประจักษ์ พรอ้ มทงั้ ให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ คณุ ภาพให้ดียิ่งขึน้

1.1.3 การประเมนิ คุณภาพ (Quality Assessment)
การประเมินคณุ ภาพการศึกษาเป็นกระบวนการต่อเนือ่ งจากการตรวจสอบคุณภาพ แต่ทั้งน้จี ะเน้น

การวเิ คราะหเ์ ปรียบเทียบผลการดำเนนิ งานของมหาวทิ ยาลยั คณะ สถาบนั ศูนย์ สำนกั กอง และโปรแกรมวชิ า กับตัว
บง่ ชีค้ ุณภาพในองคป์ ระกอบของคณุ ภาพว่าการดำเนนิ งานเป็นไปตามเกณฑ์และมาตรฐานการศกึ ษาทก่ี ำหนดมากน้อย
เพียงไร โดยจัดเป็นระดับของการบรรลุเป้าหมาย

1.2 ระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า ดำเนินงานประกนั คณุ ภาพภายในโดยใช้วงจรเดมมิ่ง (Deming Cycle) :

PDCA (Plan - Do - Check - Act) ในการควบคมุ คณุ ภาพมาโดยตลอด มขี ้ันตอนการดำเนนิ งานดังน้ี
1.2.1 การวางแผน (Plan) มหาวิทยาลัยและทุกหน่วยงาน มีการวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ

ปรัชญาและวิสัยทัศน์ โดยแผนงานที่กำหนดขึ้นจะต้องสามารถดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่มุ่งสู่คุณภาพที่พึง
ประสงคไ์ ด้

1.2.2 การดำเนนิ งานตามแผน (Do) มหาวิทยาลัยสร้างความตระหนกั ให้บุคลากรปฏบิ ัติตามภารกจิ ทีก่ ำหนดให้
โดยการดำเนินงานตามโครงการและกจิ กรรมท่กี ำหนดไว้ในแผน

1.2.3 การตรวจสอบและประเมินผล (Check) เป็นการกำกับ ติดตาม ประเมินการดำเนินงานตามแผนท่ี
วางไว้ หน่วยงานจะต้องวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของตนเองในแต่ละช่วงการดำเนินงาน และเปรียบเทียบผล
การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน เพื่อตัดสินว่า การดำเนินงานมีคุณภาพตามที่ต้ องการหรือไม่
เพราะเหตุใด

115

บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
1.2.4 การนำผลมาปรับปรุง (Act) เมื่อผ่านขั้นตอนการตรวจสอบแล้วต้องนำผลการประเมินมาปรับปรงุ
โดยส่งข้อมูลย้อนกลับไปให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อจะได้พบว่าควรปรับปรุง
อย่างไร

ภาพที่ 1 วงจรเดมม่งิ (Deming Cycle) : PDCA (Plan - Do - Check - Act)
1.3 กลไกการประกนั คุณภาพการศกึ ษา

กลไกการประกันคณุ ภาพการศึกษา เปน็ กระบวนการและมาตรการของการควบคุม ตดิ ตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มีการประสานงานแลกเปลี่ยนข้อมูล
ให้คำปรึกษา และให้การสนับสนุนส่งเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามีกลไกการดำเนินการประกั นคุณภาพ
การศึกษาดงั น้ี

1.3.1 มีการกำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ และแนวทางในการดำเนนิ การประกันคุณภาพการศึกษาของ
มหาวทิ ยาลัย

1.3.2 มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับมหาวทิ ยาลัย ระดับคณะ สำนัก สถาบัน และศูนย์
โดยให้มีบทบาทหน้าท่ีและความสัมพนั ธก์ บั องค์กรอืน่ ภายในมหาวิทยาลัยตามระบบ ดงั ภาพท่ี 2

116

คู่มอื นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

สภามหาวิทยาลยั
ทำหน้าที่กำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย กำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ กำหนดนโยบายการประกัน
คุณภาพ ตง้ั คณะกรรมการ หนว่ ยงาน หรือผ้รู บั ผดิ ชอบ กำกับตดิ ตาม และตรวจสอบคุณภาพ

คณะกรรมการกำหนดนโยบายดา้ นการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
ทำหนา้ ท่กี ำหนดนโยบาย กำกบั ติดตาม และให้ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศกึ ษาของมหาวิทยาลัย

หนว่ ยงาน/คณะกรรมการ ทร่ี ับผดิ ชอบเก่ยี วกบั การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาระดับมหาวทิ ยาลัย
ทำหน้าที่จัดองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้คุณภาพ กำหนดแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประกันคุณภาพ จัดทำคู่มือการควบคมุ
คุณภาพของมหาวิทยาลัย จัดให้มีการเผยแพร่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา

หน่วยงาน/คณะกรรมการ ทร่ี ับผดิ ชอบเกย่ี วกบั การประกนั คุณภาพการศึกษาระดบั คณะ/ สานกั / สถาบนั / ศนู ย์
ทาหน้าท่ีเช่นเดยี วกบั หนา้ ทีข่ องหน่วยงาน/คณะกรรมการระดบั มหาวิทยาลยั โดยเน้นบทบาทในการ กาหนดแนวทางการประกนั
คุณภาพ จดั ทาคมู่ อื ระดบั หน่วยงาน ศึกษาตนเองและตรวจสอบติดตาม

หนว่ ยงาน/คณะกรรมการระดับโปรแกรมวิชา

ภาพที่ 2 ระบบและกลไกการควบคมุ คุณภาพการศึกษา

1.3.3 จัดตง้ั หนว่ ยงานรับผิดชอบการดำเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มกี องประกนั คุณภาพการศกึ ษา เป็นหนว่ ยงานท่รี ับผิดชอบดำเนนิ งาน ประสานงานดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา
ของมหาวทิ ยาลยั ทัง้ หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย

1.3.4 จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการงานประกันคณุ ภาพการศึกษา เพ่ือใหก้ ารดำเนนิ งานของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา เปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพ โดยมีความสอดคล้องกนั ของแผนตัง้ แต่ระดับคณะ สำนกั สถาบัน และศูนย์
ไปจนถึงระดบั มหาวทิ ยาลัย

1.3.5 จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า เพื่อใชเ้ ป็นแนวทาง
ในการประกนั คุณภาพการศึกษาให้แก่หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และมีการปรับปรุงคู่มือให้มีความเหมาะสมอยู่
เสมอ

1.3.6 พัฒนาบุคลากรของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา โดยการจดั กิจกรรมต่างๆ เพอื่ พฒั นาบุคลากร
ด้านการประกนั คุณภาพการศึกษาอย่างตอ่ เนื่อง เพ่ือใหบ้ คุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ทกุ คนมีความรคู้ วามเขา้ ใจระบบการ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษาและตระหนกั ในความสำคญั ของการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาท่จี ะสง่ ผลตอ่ การพฒั นาระบบ

117

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

บริหารจัดการงานของทุกหน่วยงาน ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงการส่งเสริมสนับสนุนให้
บคุ ลากรเข้ารว่ มอบรมผ้ตู รวจประเมนิ เพ่ือเตรยี มบุคลากรรองรบั การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและภายนอก

1.3.7 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการประกันคณุ ภาพกับนักศึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้นักศึกษานำความรู้
ดา้ นการประกนั คุณภาพมาใช้ในการจัดกจิ กรรม และกำหนดใหม้ ีระบบการติดตาม ประเมนิ ผล และตรวจสอบอย่าง
ต่อเนอื่ ง

1.3.8 จดั หาและพฒั นาระบบฐานขอ้ มูลดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
1.3.9 ส่งเสริมและสนับสนนุ ใหม้ กี ารปรบั ปรงุ องค์กรของตนเองเพ่ือมงุ่ สคู่ วามเปน็ เลิศ โดยการจัดทำ Good
Practice
1.3.10 การประเมินตนเอง และการจดั ทำรายงานการประเมนิ ตนเอง มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
กำหนดให้ทุกหน่วยงาน ตั้งแต่ระดับโปรแกรมวิชา กอง คณะ ศูนย์ สำนัก และสถาบนั ทำการประเมินตนเองตามผล
การดำเนินงานในรอบปีทีผ่ ่านมา วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง รวมไปถึงการเสนอแนวทางในการพฒั นา แล้วจัดทำรายงาน
การประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ส่งให้กับหน่วยงานภายในที่สังกัด และส่งให้มหาวิทยาลัย
เพื่อรวบรวมและประเมินตนเองในภาพรวมของมหาวทิ ยาลัยตอ่ ไป
1.3.11 การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาได้ดำเนินให้มีการ
ตรวจสอบ และประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาในระดับคณะ สำนกั สถาบนั และศนู ยอ์ ย่างน้อย ปีการศกึ ษาละ 1 ครง้ั โดย
คณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศกึ ษาท่ผี า่ นการฝึกอบรมหลักสูตรผ้ปู ระเมนิ ของ สกอ. ซงึ่ เปน็ ตวั แทนจากทุก
หน่วยงาน และมีนโยบายส่งเสริมให้คณะกรรมการตรวจประเมินเข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้ประเมินของ สำนักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา นอกจากนยี้ ังมนี โยบายใหค้ ณะทกุ คณะดำเนนิ การตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาระดบั
โปรแกรมวิชา
1.3.12 การเตรยี มการรบั การตรวจประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก เพอ่ื การรบั รองมาตรฐานการศึกษา
จากสำนักงานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศกึ ษา (องคก์ ารมหาชน) (สมศ.) มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายในได้เตรียมการ
พัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้ที่ใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยให้มีความสอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมนิ ตามมาตรฐานและตัวบ่งช้ีของ สมศ. สกอ. และ ก.พ.ร. เพ่อื ให้การดำเนนิ งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
พรอ้ มรบั การประเมนิ ภายนอกรอบต่อไป
2. ระบบประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในของบณั ฑิตวิทยาลัย
หน่วยงานในระดับบัณฑิตศึกษา ได้จัดทำประกันคุณภาพภายในและได้นำผลไปใช้ ในการพัฒนาการเรียน
การสอนโดยระบบและกลไกการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในของบัณฑติ วทิ ยาลยั มขี ัน้ ตอนการดำเนินงานดงั น้ี
บัณฑติ วทิ ยาลัย ได้ดำเนินงานดา้ นการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน โดยมีขัน้ ตอนการดำเนนิ งานดงั นี้
2.1 ประชมุ ปฏบิ ตั กิ ารจดั ทำรา่ งรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ของบณั ฑิตวทิ ยาลัย และของสาขาวชิ า
2.2 ประชุมทีมงาน (คณะทำงาน) ในสำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทำความเข้าใจองค์ประกอบตัวบ่งชี้ที่
รับผดิ ชอบการจดั เตรยี มเอกสารหลกั ฐานเพอ่ื รองรบั การประเมนิ
2.3 เขียนรายงานประเมินตนเองสง่ คณะกรรมการตรวจเย่ยี มการประกันคณุ ภาพของ มหาวทิ ยาลัย เพอื่ พจิ ารณา
การรบั รองและให้ข้อเสนอแนะ
2.4 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศกึ ษาของหนว่ ยงานปรบั แกไ้ ขตามขอ้ เสนอแนะ

118

คู่มอื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

2.5 เข้าร่วมการตรวจประเมนิ การประกันคุณภาพในระดบั สาขาวชิ าและระดบั บณั ฑิตวิทยาลัย
2.6. จัดทำรายงานการประเมินตนเองฉบบั สมบรู ณ์
2.7 คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษาของหนว่ ยงาน ปรับแก้ไขรายงานตามขอ้ เสนอแนะ
2.8 จดั ทำรายงานการประเมินตนเองฉบบั สมบูรณ์ ส่งมหาวทิ ยาลัย
3. การดำเนนิ งานทโ่ี ดดเด่นเปน็ ท่ีประจักษต์ อ่ บคุ คลภายในและภายนอก/นวัตกรรม/แนวปฏบิ ัติทด่ี ี
ของหนว่ ยงาน
3.1 ด้านวิชาการ

การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลากหลายสาขาวิชา ที่สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากร
ในท้องถิ่นและมีโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัดการศึกษาเพื่อขยายและสร้างโอกาส ทาง
การศกึ ษาในระดับสูงแก่ทุกกลุม่ เปา้ หมายตามความตอ้ งการของท้องถ่ิน

หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่องซึ่งนักศึกษา ในระดับ
บัณฑิตศึกษา ได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจากคณาจารย์ที่มีคุณวุฒิตามเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศึกษา ทง้ั ท่ีเปน็ คณาจารยป์ ระจำและอาจารย์พิเศษซ่ึงเปน็ ผูท้ รงคณุ วุฒิท่มี ีความเชี่ยวชาญ

3.2 ดา้ นวิจยั
มหาบณั ฑติ ทีส่ ำเร็จการศึกษาตอ้ งผ่านการทำวจิ ยั สำหรบั วทิ ยานิพนธ์ เพ่ือประกอบการสำเร็จการศึกษาซึ่ง

ตอ้ งมีคณุ ภาพการศกึ ษาผ่านเกณฑก์ ารประเมินและการเผยแพรว่ ิทยานพิ นธ์ในรปู เอกสารวิชาการ
3.3 ด้านการบรกิ ารวชิ าการแก่ชุมชน
หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท และปริญญาเอกเน้นสาขาวิชาที่ชุมชนท้องถิ่น

ตอ้ งการและเน้นการแกป้ ัญหาด้วยการทำวจิ ัยเพื่อพฒั นางานในหนว่ ยงานหรือความต้องการของหนว่ ยงาน เปน็ เคร่ืองมือ
ในการแก้ไขปัญหาให้กับชมุ ชนในพื้นทีแ่ ละเป็นประโยชนต์ ่อสงั คม

3.4 ดา้ นการพฒั นาสถาบันและบคุ ลากร
บคุ ลากรสายผสู้ อนและควบคุมวิทยานพิ นธ์เปน็ ผู้มีความรู้ความสามารถ ซ่ึงผ่านการเรยี นในระดับสูง และ

เข้ารบั การอบรมท้งั ในประเทศและต่างประเทศ
3.5 นวตั กรรมและแนวปฏิบัติท่ีดี
3.5.1 นวัตกรรม
มีการผลิตนวัตกรรมซึ่งเป็นผลผลิตจากงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลากหลายสาขา

ทง้ั ในสายการศึกษา สงั คมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
3.5.2 แนวปฏิบัติทด่ี ี
โครงการการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์

ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ทุกหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการ
จดั การเรยี นการสอน

บัณฑิตวิทยาลัยได้มีการจัดทำแผนการพัฒนามาตรฐานหลักสูตรระดับบั ณฑิตศึกษาและดำเนินการตาม
แผนปฏิบตั ิการ โดยการมสี ว่ นรว่ มของบุคลากรภายในหน่วยงานบณั ฑติ วิทยาลยั หน่วยงานอื่น ๆ ภายในมหาวทิ ยาลัย
ผเู้ ช่ยี วชาญสาขาต่าง ๆ จากชมุ ชน หน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลยั และผู้มีสว่ นเกย่ี วข้องอนื่ ๆ ซึง่ สอดคล้องกับความ

119

บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

ต้องการของหนว่ ยงานชมุ ชนท้องถิน่ เพื่อใหห้ ลักสูตรระดับบัณฑติ ศึกษามคี วามทันสมัย และได้มาตรฐานตามเกณฑ์
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
4. บทบาทนกั ศึกษากับการประกันคุณภาพการศกึ ษา

4.1 การประกันคุณภาพการศึกษาคืออะไร
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance : QA) เป็นระบบในการสร้างความมั่นใจในเรื่อง

คุณภาพการศึกษาให้แก่นักศึกษา ผู้ปกครอง และสังคม โดยระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดขึ้นตาม
พระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 ซึ่งกำหนดให้สถาบันการศึกษาทุก
ระดับต้องดำเนินการให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยถือเป็นส่วนหนึ่งในระบบบริหารการศึกษา โดยการ
ประกันคณุ ภาพการศึกษาแบ่งออกเป็น

4.1.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็น
หน่วยงานท่กี ำกบั ดแู ล และพัฒนาองค์ประกอบ ตวั บง่ ช้ี และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ โดยคณะวิชาจะต้องดำเนินการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเปน็ ประจำทุกปี

4.1.2 การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก มีสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คณุ ภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) (สมศ.) เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแล และพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพ และจะดำเนินการประเมินคุณภาพ
การศึกษาทกุ ๆ 5 ปี

นกั ศึกษานนั้ นบั เปน็ ผ้ทู ี่ได้รับประโยชนโ์ ดยตรงจากระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา เพราะหาก
ระบบการดำเนนิ การของสถาบันการศกึ ษามีประสิทธิภาพมากขน้ึ เทา่ ไร นักศกึ ษาซ่งึ เปน็ ผ้รู ับบริการด้านการศึกษาจาก
สถาบันการศึกษาก็จะได้รับประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ หากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถาบันการศึกษาอยู่ในระดบั สูงมากเทา่ ไร บริษทั องคก์ ร และหนว่ ยงานภายนอกกจ็ ะให้การยอมรับมากขน้ึ เชน่ กนั

4.2 บทบาทการมีส่วนร่วมของนักศึกษา
นกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สามารถมสี ว่ นร่วมในกระบวนการประกัน

คณุ ภาพการศึกษาไดด้ ังต่อไปน้ี
4.2.1 การศึกษา ตดิ ตาม รบั รู้การดำเนินงานด้านการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของมหาวทิ ยาลัยและของ

คณะวชิ าท้ังในภาพรวมและในองค์ประกอบท่ีเก่ยี วขอ้ งกับนกั ศกึ ษาโดยตรงไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบด้านการเรียนการสอน
องค์ประกอบดา้ นกจิ กรรมพฒั นานักศึกษา

4.2.2 การให้ความรว่ มมอื และให้ขอ้ มลู ย้อนกลับในสว่ นท่ีเก่ยี วข้องกับการประเมินการดำเนินงานด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งสถาบันการศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ เช่น การประเมินประสิทธภิ าพการสอนของอาจารย์
การใหข้ ้อมูลกับคณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายใน การประเมินผลการดำเนนิ งานในกิจกรรมตา่ งๆ เป็น
ต้น การให้ข้อมูลท่ีตรงกับความเป็นจริงมากที่สุดจะเป็นประโยชน์ในการนำข้อมลู ดังกลา่ วมาใชพ้ ัฒนาการดำเนินงาน
ด้านการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัย

4.2.3 การเผยแพร่และเชิญชวนให้นักศึกษาคนอื่นให้ความสนใจและให้ความสำคัญกับการดำเนินการ
ด้านการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั

4.2.4 การสร้างเครอื ข่ายกบั เพอ่ื นนักศึกษาท้ังภายในสถาบันการศกึ ษาและระหวา่ งมหาวทิ ยาลัย เพ่อื ดำเนินการ
ดา้ นการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของนักศกึ ษาและกจิ กรรมนกั ศกึ ษา

120

คมู่ อื นักศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

4.2.5 การร่วมกันกำหนดเพอื่ สร้างใหเ้ กิดมาตรฐานของการจัดโครงการ/กิจกรรมนกั ศกึ ษา ในมหาวิทยาลยั
ของตน เพอ่ื ให้นักศกึ ษาไดร้ ับโอกาสในการพัฒนาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพสงู ขนึ้

4.3 ประเภทของกิจกรรมนักศึกษาตามระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา
กจิ กรรมนกั ศึกษาที่ระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาสง่ เสริมให้มีการดำเนนิ การ แบ่งออกเป็น

5 ประเภท ดังนี้
4.3.1 กิจกรรมวชิ าการที่สง่ เสริมคุณลักษณะบณั ฑติ ท่พี งึ ประสงค์
4.3.2 กจิ กรรมกีฬาหรอื การสง่ เสริมสขุ ภาพ
4.3.3 กจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชน์หรือรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ ม
4.3.4 กิจกรรมเสริมสร้างคณุ ธรรมและจริยธรรม
4.3.5 กิจกรรมส่งเสริมศลิ ปะและวฒั นธรรม
4.3.6 กจิ กรรมตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี (3D) ของรฐั บาล ซ่งึ กำหนดกจิ กรรมเอาไว้ 3 ประเภท ได้แก่
(1) กจิ กรรมด้านการสง่ เสริมประชาธปิ ไตย
(2) กิจกรรมด้านคณุ ธรรม จริยธรรม
(3) กจิ กรรมด้านการสร้างภูมคิ ุ้มกนั ภัยจากยาเสพตดิ
หมายเหตุ : ทั้งนี้ นักศกึ ษาสามารถทจ่ี ะนำกจิ กรรมทงั้ 3 ข้อ ตามตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี บรู ณาการ

หรอื ผสมผสานเขา้ กบั การจดั กิจกรรม 5 ประเภท ตามระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาได้ด้วย
การจัดกิจกรรมของนกั ศึกษาทุกกิจกรรมต้องจดั ทำขอ้ เสนอโครงการให้ผู้รับผิดชอบอนุมัติ (อาจารย์ท่ปี รกึ ษา

ฝ่ายกิจการนักศึกษาของสาขาวิชา หรือฝ่ายพัฒนาบัณฑิตของบัณฑิตวิทยาลัย) โดยในโครงการควรต้องมีคำอธิบาย
เก่ยี วกบั ระบบประกนั คุณภาพท่ใี ช้ในการจดั กจิ กรรม ประกอบดว้ ยสาระสำคญั ไดแ้ ก่

- วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม
- ตวั บง่ ชค้ี วามสำเร็จของกจิ กรรมทีจ่ ัด
- ลักษณะของกิจกรรม
- กลมุ่ เปา้ หมาย
- วธิ กี ารประเมินผลความสำเร็จของการจัดกิจกรรม
ท้งั น้ี เมื่อมกี ารดำเนินการโครงการ/กิจกรรมเสรจ็ สิ้นแล้วตอ้ งมีการตดิ ตามประเมินผลการดำเนินงาน
ของกิจกรรม และนำผลการประเมินโครงการ/กิจกรรมทไี่ ด้ดำเนินการไปก่อนหน้านีม้ าใชป้ ระกอบการจัดทำโครงการ/
กจิ กรรมใหม่
4.4 ทักษะทจี่ ำเป็นสำหรับนกั ศกึ ษาในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ทักษะสำคัญและจำเป็นสำหรับการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของนักศึกษา ได้แก่
กระบวนการ PDCA ซง่ึ ไดร้ ับการเผยแพรใ่ ห้เป็นทรี่ ้จู ักกนั อย่างแพรห่ ลายตั้งแต่ช่วงทศวรรษที่ 1950 โดยศาสตราจารย์
ดับบลิว เอ็ดวาร์ด เดมมิ่ง (W. Edwards Deming) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบรหิ ารคุณภาพ ทำให้กระบวนการ PDCA ได้รับ
การเรียกช่ืออีกอย่างหน่ึงว่า “วงจรเดมมิง่ ” กระบวนการ PDCA นี้นอกจากจะใช้สำหรับการจดั กิจกรรมนักศึกษาแลว้
ยงั สามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน และใชก้ ับการทำงานในอนาคตภายหลงั จากนักศกึ ษาสำเรจ็ การศึกษา เพอ่ื พัฒนา
ชีวติ และการทำงานใหม้ ปี ระสทิ ธิสงู ขึ้นได้อีกด้วย กระบวนการ PDCA ประกอบดว้ ยหลักการสำคัญท้ัง 4 ไดแ้ ก่

121

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

4.1 ขัน้ ตอนการวางแผน (Plan)
การวางแผนเป็นขั้นตอนเริ่มต้นในการดำเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ และนับเป็นขึ้นตอนที่มี

ความสำคัญอยา่ งยิง่ เน่อื งจาก หากการวางแผนเกดิ ความผิดพลาดแล้วการดำเนนิ งานในข้นั ตอนตอ่ ๆไปก็จะเกิดความ
ยากลำบากและก่อใหเ้ กดิ ปัญหาท่ีต้องแกไ้ ขตามมามากมาย รวมทั้งอาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ การดำเนนิ กิจกรรม/
โครงการทงั้ หมดอกี ดว้ ยส่ิงสำคญั ท่ตี อ้ งพิจารณาในการดำเนนิ การวางแผน ได้แก่

4.1.1 การกำหนดหลักการและเหตุผล วัตถปุ ระสงค์ และผลลัพธ์ที่ต้องการของกจิ กรรม/โครงการ
ต้องมีความชดั เจน

4.1.2 มกี ารกำหนดเปา้ หมายของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ท่ชี ัดเจนสามารถวดั ได้ ท้ังน้ี
เปา้ หมายหรอื ตวั ชวี้ ัดความสำเรจ็ น้นั อาจแบง่ ออกได้เปน็ 2 ประเภท ใหญๆ่ ได้แก่ ตวั ชีว้ ัดเชิงปริมาณ และตวั ชวี้ ัดเชิง
คณุ ภาพ (สำหรับตัวชว้ี ัดแบบอ่นื ๆ นั้นก็เปน็ หัวขอ้ ย่อยไปจากตัวช้วี ดั 2 ประเภทใหญ่น้ี)

4.1.3 มีการกำหนดวธิ กี ารดำเนินงานอยา่ งเปน็ ระบบเพือ่ บรรลเุ ปา้ หมายที่กำหนดเอาไว้ โดย
ประเดน็ สำคัญที่ต้องคดิ พิจารณาในการวางแผนการดำเนินงานคือการกำหนดตามหลัก 5 W 1 H ได้แก่

1) What (จะดำเนนิ การอะไร)
2) Where (จะดำเนินการท่ีไหน)
3) When (จะดำเนนิ การเมอ่ื ไร)
4) Who (จะดำเนนิ การโดยใคร)
5) Why (จะดำเนินการไปทำไม)
6) How (จะดำเนินการไปทำไม)
4.1.4 ประเภทของแผนงาน
1) แผนงานตามระยะเวลา
2) แผนงานตามความรบั ผดิ ชอบ ไดแ้ ก่

- แผนงานส่วนบคุ คล
- แผนงานขององค์กรหรือหนว่ ยงาน
4.1.5 แผนงานตามลกั ษณะการใช้งาน ได้แก่
1) แผนงานหลัก (Master Plan) เป็นแผนงานขององค์กร ได้กำหนดเป้าหมายนโยบาย
วตั ถปุ ระสงคข์ ององคก์ ร ทุกหน่วยงานตอ้ งทำตามและเขยี นแนวทางการดำเนินงานโดยรวมขององค์กร โดยมิไดก้ ำหนด
วธิ กี ารทำงาน
2) แผนปฏิบัตกิ าร (Action Plan) เปน็ แผนปฏบิ ัตงิ านเฉพาะส่วนเฉพาะงาน หรือเฉพาะกิจ
ทีเ่ ขยี นขนึ้ เพ่อื เสรมิ ใหห้ นว่ ยงานบรรลเุ ป้าหมายของแผนงานหลักหรอื ขององค์กรแผนปฏบิ ัติการจะมีรายละเอียดมาก
ทส่ี ุดเพราะเป็นแนวทางการดำเนนิ งานสเู่ ป้าหมาย
3) แผนกลยทุ ธ์ (Strategic Plan) เป็นแผนปฏบิ ัตงิ านท่เี ขียนขน้ึ อย่างเร่งดว่ นเพ่ือแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นโดยมิไดค้ าดหมาย เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือมเี หตกุ ารณ์แทรกซอ้ นทำใหผ้ ลงานหรอื คุณภาพลดลง
หากไมท่ ำการแกไ้ ข
4) แผนปรับปรงุ งาน เป็นการวางแผนอย่างต่อเนื่องจากการปรับปรุงงานตามแผนงานหลกั
แลว้ พบปัญหาหรอื ขอ้ บกพร่อง

122

คูม่ ือนักศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

4.2 ขัน้ ตอนการลงมือปฏิบัติ (Do)
การลงมือปฏบิ ัติตามกจิ กรรม/โครงการทีก่ ำหนดเอาไว้นับเปน็ เนอื้ หาสาระของการทำกจิ กรรม/

โครงการ ดังนน้ั ในการลงมือปฏบิ ัติตอ้ งคำนงึ ถึงประเดน็ ตา่ งๆเหลา่ น้ีให้ดี
4.2.1 ทำการศึกษาแผนการดำเนินงานที่วางเอาไวใ้ ห้แจม่ แจง้ เพื่อใหเ้ ข้าใจวธิ ีการดำเนนิ งานในแต่

ละข้นั ตอนและสามารถปฏิบัติได้อย่างถกู ตอ้ งตามวตั ถุประสงค์ทีไ่ ด้ต้งั ใจเอาไว้
4.2.2 ลงมอื ปฏิบัติตามวิธีการที่กำหนดเอาไวไ้ มล่ ะเลยหรือดำเนินงานขา้ มขน้ั ตอน
4.2.3 ระหวา่ งดำเนินการก็ควรที่จะจัดเก็บข้อมลู คณุ ลักษณะคณุ ภาพตามวิธีการทีก่ ำหนดไว้

4.3 ขั้นตอนการตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน (Check)
ขัน้ ตอนนเ้ี ปน็ การตรวจสอบความกา้ วหนา้ ของการดำเนินกจิ กรรม/โครงการ รวมทัง้ ประเมินผล

ความสำเร็จของการปฏบิ ตั ิงานตามแผนงาน กจิ กรรม/โครงการทกี่ ำหนดเอาไว้ ทั้งน้เี พื่อ
4.3.1 ตรวจสอบว่างานทไ่ี ด้เป็นไปตามมาตรฐาน เป้าหมายทีก่ ำหนดเอาไว้หรอื ไม่
4.3.2 ตรวจสอบวา่ เกดิ ปญั หาและอปุ สรรค หรอื มีแนวทางการดำเนินงานท่ีดอี ยา่ งไรบ้าง

4.4 ข้นั ตอนการปรับปรงุ แก้ไข/พฒั นา (Act)
ข้ันตอนนน้ี ับเปน็ ขนั้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการ PDCA และเปน็ การกอ่ กำเนิดข้ึนตอนแรก คอื

การวางแผนการดำเนนิ กจิ กรรม/โครงการในคร้งั ตอ่ ไป ขนั้ ตอนน้ี คือ การปรบั ปรงุ แก้ไข/พฒั นา
ขั้นตอนนี้เป็นการนำผลจากการตรวจสอบหรือประเมินผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรม /โครงการ

มาพิจารณาว่ามีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นที่จุดใดของการดำเนินการบา้ ง มีข้อบกพร่องอะไรบ้าง ผลงานที่ออกมา
ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้หรือไม่ สามารถทำตามแผนการที่วางไว้ได้ครบถ้วนหรือไม่ ทั้งนี้
เพอื่ เปน็ ข้อพิจารณาสำหรบั การจดั ทำกิจกรรม/โครงการในคร้ังต่อไป เพ่ือไม่ใหเ้ กิดปัญหาซ้ำรอยเดิมอีก

การแกไ้ ขปัญหาต้องแก้ไขทส่ี าเหตุ ดังนัน้ ถา้ พบความผดิ ปกติใดๆ ข้ึนในการดำเนนิ กิจกรรม/โครงการ
จะต้องสอบสวน ค้นหาสาเหตุ แล้วทำการหาทางแก้ไขปัญหา นับเป็นการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบ/วิธีการทำงาน
นัน้ ๆ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพมากข้นึ เปน็ ลำดับ

123

ตอนท่ี 7

ขอ้ มูลการตพี มิ พ์เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั

คมู่ ือนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

วารสารราชพฤกษ์

วารสารราชพฤกษ์เป็นวารสารระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซ่ึงเป็นวารสาร
พิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ นักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาทั้งในและนอกสถาบัน และเป็น
แหล่งแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูล ประสบการณ์ และผลงานของบุคลากรในสถาบันการศึกษา โดยกำหนด
เผยแพร่ปลี ะ 3 ฉบบั คอื

ฉบบั ท่ี 1 เดอื นมกราคม-เมษายน
ฉบบั ที่ 2 เดือนพฤษภาคม-สงิ หาคม
ฉบบั ท่ี 3 เดอื นกนั ยายน-ธนั วาคม

เกณฑก์ ารตพี มิ พ์

1. บทความทส่ี ่งมาเพือ่ เผยแพร่ ต้องเป็นบทความใหม่ทอี่ ยู่ในสาขาวิชา 3 สาขาวชิ า เทา่ นัน้ คือ
สาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์/จิตวิทยา สาขาวิชาสังคมวิทยา และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
โดยไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร รายงาน หรือสิ่งพิมพ์อ่ืนใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของ
วารสารอื่น ทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ต้องผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา
ท่เี กยี่ วข้องกับบทความที่ได้รับการตีพมิ พ์ ผ้เู ขยี นจะไดร้ ับวารสารฯ จำนวน 2 ฉบบั

2. ผลงานวิชาการ ที่รับพิจารณาตีพิมพ์ ต้องพมิ พ์ดว้ ยกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว เว้นขอบซา้ ย
และด้านบน 1.5 น้ิว (4 ซม.) เว้นขอบขวาและด้านล่าง 1 นว้ิ (2.5 ซม.) อักษร Cordia New ขนาด 16 point
ความยาวประมาณ 8-10 หน้า (กรณีที่ไม่เป็นไปตามที่กำหนดกองบรรณาธิการจะไม่รับพิจารณา) โดยมี
ส่วนประกอบดังนี้

125

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

3. บทความทเี่ ป็นบทความวจิ ัย ตอ้ งมีองค์ประกอบเรยี งตามลำดับ ดงั นี้
3.1 ช่ือเร่ือง (Title) ท้งั ภาษาไทยและภาษาองั กฤษ
3.2 ชอ่ื ผูแ้ ตง่ (Authors) ทกุ คน พร้อมระบุสถาบันการศกึ ษา/หน่วยงาน

ท้งั ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
3.3 บทคัดย่อ (Abstract) ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทยความยาวประมาณ 300 คำ และ

ให้จัดโครงสร้างบทความวิจัย ดังนี้ คือ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยในแต่ละตอนของ
บทคัดยอ่ ทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทย ต้องมคี ำสำคัญ (Keywords) ประมาณ 3-5 คำ

3.4 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วยบทนำ (ครอบคลุมความสำคัญ และที่มาของปัญหาการวิจัย)
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดในการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้
ในการเกบ็ รวบรวมข้อมลู /ทดลอง วิธดี ำเนนิ การวจิ ัย/ทดลอง) สรุปผลการวจิ ัย อภิปรายผล ข้อเสนอแนะใน
การนำงานวจิ ัยไปใช้ และเอกสารอ้างอิง

3.5 การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่อง กองบรรณาธิการได้มีการปรับเปล่ียนรูป
แบบการอ้างอิงเพื่อให้มี ความเป็นสากลมากขึ้น จากเดิมการอ้างองิ ในสว่ นเนื้อเรื่องแบบ นาม-ปี (author-
date in-text citation) ใหเ้ ปล่ยี นการอ้างอิง รายการเอกสารอ้างองิ ใช้ตามรูปแบบ APA โดยรวบรวมรายการ
เอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนใช้อ้างอิงที่ปรากฏเฉพาะในบทความเท่าน้ัน และจัดเรียงรายการตามลำดับอักษรชอื่
ผแู้ ต่ง

3.6 หากรูปแบบการพิมพ์ไม่เป็นตามกำหนดข้อ 3.1-3.5 กองบรรณาธิการจะไม่รับลงตีพิมพ์
ในวารสาร

3.7 ผู้บทความวิจัยต้องมีคำรับรองว่าบทความของตนไม่เคยตีพิมพ์ในวารสาร รายงาน หรือ
ส่งิ พมิ พ์อื่นใดมากอ่ น และไม่อยรู่ ะหว่างการพิจารณาของวารสารอ่ืน

126

ค่มู ือนกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563

การตดิ ต่อสอบถามในการจดั สง่ บทความ

กองบรรณาธิการวารสารราชพฤกษ์ บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า อำเภอเมือง
จงั หวัดนครราชสมี า 30000 โทรศัพท์/โทรสาร 0-4427-2827 ตอ่ 14

ผูส้ นใจสง่ บทความสามารถลงทะเบยี นส่งบทความไดท้ ่ี https://www.tci-thaijo.org/index.php/
Ratchaphruekjournal

“บทความและขอ้ ความท่ีลงตพี ิมพใ์ นวารสารเป็นความคดิ เห็นสว่ นตัวของผูเ้ ขยี น กองบรรณาธิการ
ไม่จำเปน็ ตอ้ งเห็นด้วยเสมอไป ในกรณที ม่ี ีการลอกเลียนหรอื แอบอา้ งโดยปราศจากการอา้ งองิ หรือทำใหเ้ ข้าใจผิดว่าเปน็

ผลงานของผู้เขยี น กรณุ าแจง้ ให้ทางกองบรรณาธกิ ารทราบดว้ ยจะเปน็ พระคณุ ยิง่ ”

127

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

การอา้ งองิ แหลง่ ทม่ี าของข้อมลู ในเนื้อเรือ่ ง และในรายการอา้ งองิ ใหใ้ ช้ตามรปู แบบ
APA Style (American Psychological Association)

1. การอา้ งอิงในเนอื้ หา
1.1 การอา้ งอิงในเน้อื หาหนา้ ข้อความ
ตัวอย่าง
นงลักษณ์ วริ ชั ชัย. (2545).
นงลกั ษณ์ วริ ัชชัย, ดรุณี รกั ษพ์ ุทธ และสวุ มิ ล ว่องวาณิช. (2544).
นงลกั ษณ์ วิรัชชยั และสวุ ิมล วอ่ งวาณิช. (2545).
Hoban, J. P. (2001).
Hoban, J. P. & Sydie, R. A. (1989).
Hoban, J. P., Yadin, D. & Tabory, M. (1999).
1.2 การอ้างองิ ในเนื้อหาท้ายข้อความ
ตัวอย่าง
(ทรรศนะ ใจช่มุ ชืน่ , 2543)
(ประภัสสร พูลโรจน์, 2543)
(อมร รกั ษาสตั ย์, 2544, น. 39-45)
(Poole, 2002, pp. 278-279)

2. การลงรายการอา้ งองิ หรอื บรรณานุกรม
2.1 หนงั สือ
ตวั อย่าง
จมุ พต สายสนุ ทร. (2552). กฎหมายระหวา่ งประเทศ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 8 แกไ้ ข เพิม่ เตมิ ). กรุงเทพฯ:
วิญญชู น.
Harris, M. B. (1995). Basic statistics for behavioral science research. Boston:
m Allyn and Bacon.
ปยิ ะ นากสงค์ และพันธ์รุ วี วรสิทธิกุล. (2545). ดูหนงั ฟังเพลงเล่นเกมร้อง คาราโอเกะ.
กรุงเทพฯ: ซัคเซส มเี ดีย.
Magee, J. & Kramer, J. (2006). Concurrency state models & java programs.
West Sussex, UK: John Wiley
Magee, J. & Kramer, J. (2006). Concurrency state models & java programs.
West Sussex, UK: John Wiley.

128

คูม่ อื นักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2563

สุภมาส องั ศุโชต,ิ สมถวลิ วิจติ รวรรณา และรัชชะนีกูล ภญิ โญภานวุ ฒั น์. (2551). สถติ วิ เิ คราะห์
สำหรับการวจิ ยั ทางสงั คมศาสตร์และ พฤตกิ รรมศาสตร:์ เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL.
กรุงเทพฯ: มสิ ชัน่ มเี ดีย.

2.2 หนงั สืออ้างอิง
ตวั อย่าง
พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรงุ เทพฯ: นานมีบคุ๊ ส์.
วงศ์ วรรธนพเิ ชฐ. (2548). พจนานกุ รมตัวอย่าง ประโยค วลี ภาษาองั กฤษ พร้อมคำแปล.
กรงุ เทพฯ: ไทยเวย์ส พับลิเคช่ัน.
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2548). กรงุ เทพฯ: โครงการสารานกุ รมไทย สำหรับเยาวชนโดย
พระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ ัว.
Encyclopedia of software engineering. (1994). New York: John Wiley & Sons.
Webster’s New World Dictionary of computer terms. (1998). New York: Wester’s
New World.

2.3 วารสาร
ตวั อยา่ ง
ลำดวน เทียรฆนิธิกลุ . (2552). เสน้ ทางเสด็จเยย่ี มราชสำนักต่างประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระ
มงกุฎเกลา้ เจา้ อยหู่ ัว ปี พ.ศ. 2443-2444 (ร.ศ. 119-120). วชริ าวุธานสุ รณส์ าร, 28(4), น.
29-39.
ปยิ ะวทิ ย์ ทิพรส. (2553). การจดั การปอ้ งกนั และลดสารให้กลิน่ โคลน
Geosmin ในผลิตภณั ฑ์แปรรูปสัตวน์ ำ้ . วารสารสุทธิปริทัศน,์
24(72), น. 103-119.
Siriwongworawat, S. (2003). Use of ICT in Thai libraries: An overview.
Program: Electronic Library and Information Systems, 37(1),
pp. 38-43.
Tandra, R., Sahai, A. & Veeravalli, V. (2011, March). Unified space-time metrics to
evaluate spectrum sensing. IEEE Communications Magazine, 49(3),
pp. 54-61.

2.4 รายงานการวจิ ยั
ตัวอยา่ ง
ธนดิ า ผาติเสนะ. (2555). การพฒั นารปู แบบการเรียนการสอนเพ่อื พัฒนา การคิดเชงิ ระบบของ
นกั ศึกษาหลักสูตรสาธารณสุขศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาการพัฒนาสุขภาพชุมชน (รายงาน
ผลการวจิ ยั ). นครราชสมี า: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า.

129

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

กิตพิ งษ์ ลือนาม. (2553). การพฒั นารปู แบบการสอนสอดแทรกความรู้ ด้านจรยิ ธรรมเนน้ การ
จัดการเรยี นการสอนแบบบูรณาการ เรอื่ ง การทดสอบสมมุติฐาน : รปู แบบผสานระเบียบ
วิธี (รายงานผลการวิจัย). นครราชสีมา: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า.

Chitnomrath, T. (2011). A Study of factors regarding firm characteristics
that affect financing decisions of public companies listed on the stock
exchange of Thailand (Research report). Bangkok: Dhurakij Pundit University.

2.5 เอกสารการประชุมวิชาการ (Meetings, Symposia)
ตวั อย่าง
ชชั พล มงคลกิ . (2552). การประยกุ ต์ใช้กระบวนการลำดับชั้น เชงิ วเิ คราะห์ในการจัดตาราง
การผลติ แบบพหเุ กณฑ:์ กรณีศกึ ษาโรงงานอตุ สาหกรรมผลิตยา. ใน การประชมุ
วิชาการ การบรหิ ารและการจัดการ ครั้งที่ 5 (น. 46). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั ธุรกจิ
บัณฑิตย.์
ธมนวรรณ กญั ญาหตั ถ์ และศรณั ยพงศ์ เทยี่ งธรรม. (2554). ความพงึ พอใจของผบู้ ริโภค
ในเขตกรงุ เทพมหานครท่มี ีตอ่ ประโยชน์ของสมาร์ทโฟน. ใน ชนัญชี ภังคานนท์
(บ.ก.), กระบวนทศั น์มหาวทิ ยาลัยไทยบนความท้าทายของเอเชีย ปาซิฟิก (น. 119-
121). กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ.
Krongteaw, C,. Messner, K., Hinterstoisser, B. & Fackler, K. (2010).
Lignocellulosic structural changes after physic-chemical pretreatment
monitored by near in infrared spectroscopy. In S. Saranwong, S.
Kasemsumran, W. Thanapase & P. Williams (Eds.), Near infrared
spectroscopy: Proceedings of the 14th International Conference
(pp. 193-198). West Sussex, UK: IMP.
พนดิ า ไพรนารี. (มนี าคม 2554). การจัดการวสิ าหกิจชมุ ชนในจังหวดั กาฬสินธ์ุ.
การประชมุ วิชาการมหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ, กรงุ เทพฯ.
Phadungath, C. & Metzger, L. E. (2006, July). Effect of sodium gluconate on
the solubility of calcium lactate. ADSA-ASAS Joint Annual Meeting.
Minneapolis, MN.

2.6 วิทยานพิ นธ์
ตวั อย่าง
สมหญงิ ชูช่ืน. (2559). การสังเคราะห์อนพุ ันธข์ องแนพโทควิโนน (วิทยานพิ นธ์มหาบัณฑิต,
มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า).

130

คมู่ อื นกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

วันชนะ กลน่ั พรมสุวรรณ. (2554). ปัจจัยทีม่ ีอิทธพิ ลต่อประสิทธผิ ล
การบรหิ ารการฝกึ นกั ศกึ ษาวิชาทหารในกองทพั บกไทย (วิทยานพิ นธด์ ุษฎีบัณฑติ ,
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา).

Nickels, D. W. (2005). The relationship between IT-business alignment and
organizational culture: An exploratory study (Doctoral dissertation,
University of Memphis).

2.7 หนงั สอื พิมพ์
ตวั อยา่ ง
พนดิ า สงวนเสรีวานชิ . (24 เมษายน 2554). พระปลัดสุชาติ สวุ ฑั ฒฺ โก ปกาเกอะญอ
นกั พัฒนา. มติชน, น. 17-18.
รงั สรรค์ ศรวี รศาสตร์. (28-29 เมษายน 2554). มารู้จกั DRG. สยามรัฐ, น. 16.

2.8 เอกสารอเิ ลก็ ทรอนิกส์
ตัวอย่าง
สรุ ชัย เลี้ยงบญุ เลิศชัย. (2554). จดั ระเบยี บสำนักงานทนายความ. สืบคน้ เม่อื
21 มิถนุ ายน 2554, จาก http://www.lawyerscouncil.or.th/
2011/index.php?name=knowledge
CNN Wire Staff. (2011). How U.S. forces killed Osama Bin Laden.
Retrieved May 3, 2011, from http://www.cnn.com/2011/
WORLD/asiapcf/05/02/bin.laden.raid/index.html

2.9 วารสารอเิ ล็กทรอนกิ ส์
ตวั อย่าง
บงการ หอมนาน. (2551). เทคโนโลยกี บั การควบคมุ ด้วยตรรกะฟัซซี ตามขนั้ ตอน
และฟงั กช์ นั่ สมาชิก. ไมโครคอมพวิ เตอร์, 26(271), น. 153-156. สบื คน้ เม่ือ
22 มิถุนายน 2554, จาก http://www.dpu.ac.th/laic/page.php?id=5753
Judson, R. A. & Klee, E. (2011). Big bank, small bank: Monetary policy
implementation and banks’ reserve management strategies. Journal of
Economics and Business, 63(4), pp. 306-328 Retrieved June 23, 2011,
from http://www. sciencedirect.com/sscience/article/pii/
S0148619511000142

131

ตอนที่ 8

การใช้งานระบบอกั ขราวสิ ทุ ธ์เิ บื้องตน้

ค่มู อื นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

การใชง้ านระบบอกั ขราวิสทุ ธเ์ิ บ้อื งตน้

เขา้ สู่เว็บไซต์ของบัณฑติ วทิ ยาลยั http://www.grad.nrru.ac.th หรือเว็บไซต์ของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย http://plag.grad.chula.ac.th

กรอกที่อยู่ E-mail ท่ีต้องการใหร้ ะบบสง่ ผลการตรวจสอบกลบั โดยระบทุ ่อี ยู่ E-mail ของมหาวทิ ยาลยั เท่าน้นั
เชน่ [email protected]

133

บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
กดปุ่ม “เลอื กไฟล์” แล้วเลอื กไฟลเ์ อกสารทีต่ ้องการตรวจสอบ โดยสามารถเลือกไฟล์ Word หรือไฟล์ PDF อย่างใด
อยา่ งหนง่ึ เพราะระบบสามารถรองรับไฟล์เอกสารได้ท้ัง 2 แบบ

เลือกไฟลว์ ิทยานพิ นธ์/ภาคนิพนธ์ ท่ีต้องการตรวจสอบ กดปุ่ม “ยืนยัน” เมื่อระบบตรวจสอบเสรจ็ จะสง่ ผลการตรวจสอบ
ไปยังท่ีอยู่ E-mail ท่ีระบุ

เข้าดูรายงานผลการตรวจสอบได้จาก E-mail ของผ้สู ่งเอกสารไปตรวจสอบ หลงั จากเข้าระบบเรยี บร้อยแลว้
134

คมู่ ือนักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2563
ใหก้ ดเปิดลงิ คท์ ่ีแจง้ ใน E-mail

กดเปดิ ลิงค์เพื่อดรู ายงานผล
การตรวจสอบ

รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนขอ้ มูลอา้ งอิง

SIMILARITY INDEX 0.00 %

รายงานผลการการตรวจสอบ เปอรเ์ ซ็นต์ความคลา้ ยคลงึ

135

บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

SIMILARITY INDEX 5.05 %

รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนรายงานเอกสารทีพ่ บในฐานขอ้ มูลว่ามีส่วนคล้ายคลึงกนั

136

คู่มือนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2563
รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนแสดงข้อความบางส่วนท่ตี รวจสอบพบว่าคล้ายคลึงกนั ข้อความท่ีปรากฏแถบสี คอื
ข้อความท่ีคลา้ ยคลงึ กัน

137

ภาคผนวก

คมู่ ือนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563

ขัน้ ตอนการเสนอวิทยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์

 ยืน่ คำรอ้ งขออนมุ ัติหวั ข้อวทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์ (บ.1) (แนบโครงร่างฯ อย่างย่อ 10 ชุด)
** บัณฑิตวทิ ยาลัย พจิ ารณาอนุมตั หิ ัวข้อและแตง่ ต้ังอาจารย์ทีป่ รึกษาวทิ ยานพิ นธ์/ภาคนพิ นธ์ **
 ย่นื คำร้องขอสอบโครงรา่ งวทิ ยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ (บ.2) (แนบโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์อย่างละเอยี ด 7 เลม่ /

ภาคนพิ นธอ์ ยา่ งละเอียด 4 เล่ม)
***หากไมส่ ามารถดำเนนิ การสอบภายใน 6 เดือน จะต้องดำเนนิ การตามข้อ  ใหม่

 สอบโครงร่างวทิ ยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์
 สง่ โครงรา่ งวิทยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์ ฉบับสมบูรณ์ 1 ชุด (ภายใน 30 วัน) (บ.4)

บณั ฑติ วทิ ยาลัยอนมุ ัติโครงร่างวทิ ยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ ฉบบั สมบูรณ์
 1. สรา้ งเครือ่ งมอื 2. ขออนุมตั ิแต่งต้ังผู้เชยี่ วชาญ 3. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู

4. วิเคราะหข์ ้อมลู 5. เขยี นวิทยานิพนธ์

 ย่นื คำรอ้ งขอสอบวทิ ยานพิ นธ์/ภาคนิพนธ์ (แบบวิทยานพิ นธอ์ ย่างละเอียด 7 เล่ม/
ภาคนิพนธ์อย่างละเอยี ด 4 เลม่ ) (บ.6)

 สอบป้องกันวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์
- สอบไมผ่ า่ นให้สอบใหมภ่ ายใน 30 วัน หลังการสอบครง้ั แรก - สอบไมผ่ ่านครงั้ ที่ 2 ใหเ้ สนอหวั ขอ้ ใหม่

 แก้ไขและสง่ ตรวจรูปแบบวิทยานพิ นธ์/ภาคนิพนธ์ ฉบบั สมบูรณ์ ไมต่ ้องเยบ็ เล่ม 1 ชดุ (ภายใน 30 วัน) (บ.8)
 สง่ วิทยานิพนธ/์ ภาคนิพนธ์ ฉบบั สมบูรณ์ ทต่ี รวจรูปแบบเสร็จแลว้

และคณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลยั ลงนามรับรองแลว้ (วทิ ยานิพนธ์ 7 เล่ม/ภาคนพิ นธ์ 4 เลม่ ) ส่งพรอ้ ม บ.9
และขอ้ มูลวทิ ยานิพนธท์ ่สี มบรู ณ์ ไรทใ์ ส่ CD จำนวน 1 แผ่น

139

บณั ฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

การเสนอหวั ข้อวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์

ขนั้ ตอน

นักศึกษาเสนอหวั ข้อวิทยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ นักศึกษาต้องสง่ คำร้อง บ.1 ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่
โดยผา่ นการปรกึ ษากับอาจารยท์ ปี่ รึกษาวิทยานพิ นธ/์ http://www.nrru.ac.th/grad/ เมนู แบบฟอร์มต่าง ๆ
กรอกรายละเอียดให้ครบถว้ น พร้อมอาจารยท์ ป่ี รึกษา
ภาคนิพนธ์ และเสนอตอ่ บัณฑิตวิทยาลัย วทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์ และอาจารย์ทป่ี รึกษาทัว่ ไปลง
นามรับรอง ก่อนเสนอต่อบณั ฑติ วทิ ยาลัย

บัณฑติ วทิ ยาลยั ไมผ่ า่ น นกั ศกึ ษารบั เรอ่ื งไปดำเนนิ การแก้ไขและ
ตรวจสอบคุณสมบตั ิ ส่งเรอื่ งกลบั บณั ฑิตวิทยาลัย
อาจารย์ที่ปรึกษาฯ

ผ่าน ตรวจสอบคุณสมบตั ิการเปน็ อาจารย์ท่ีปรึกษา
วทิ ยานพิ นธ์/ภาคนิพนธ์ ให้เป็นไปตามประกาศ
คณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลยั ใหค้ วามเห็นชอบ
และอนุมตั แิ ตง่ ต้ังอาจารย์ท่ปี รึกษาวทิ ยานพิ นธ/์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า เร่อื ง
แนวปฏิบัตกิ ารแต่งตงั้ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานิพนธ์/
ภาคนิพนธ์
ภาคนิพนธ์ ที่ 446/2551 ประกาศ
ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2551

ไมผ่ ่าน บณั ฑิตวทิ ยาลัยเสนอหัวข้อวิทยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์
ของนกั ศกึ ษาใหค้ ณะกรรมการบริหารหลักสตู ร
ประจำสาขาวิชาพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ

ผ่าน สามารถตรวจสอบไดท้ ี่
http://www.nrru.ac.th/grad/
บณั ฑติ วทิ ยาลัยทำคำสงั่ อนุมตั ิหัวข้อวทิ ยานพิ นธ/์
ภาคนิพนธ์ และแตง่ ตง้ั อาจารย์ เมนู ผลการพิจารณาหัวขอ้
ท่ปี รึกษาวิทยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์

บณั ฑิตวิทยาลยั บันทึกในฐานข้อมลู

140

คมู่ ือนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

การตรวจสอบรูปแบบวิทยานิพนธ/์ ภาคนิพนธ์

ข้นั ตอน นกั ศกึ ษาตอ้ งส่งเล่มวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์ พร้อมกับคำรอ้ ง บ.8
ดาวน์โหลดได้ท่ี http://www.nrru.ac.th/grad/ เมนู แบบฟอร์ม
นักศกึ ษาสง่ เล่มวทิ ยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์ ตา่ ง ๆ กรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน พรอ้ มอาจารย์ทป่ี รกึ ษา
เพ่อื ตรวจสอบรูปแบบ วทิ ยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ ลงนามรบั รอง
ทฝี่ ่ายมาตรฐานการศกึ ษา

ฝา่ ยมาตรฐานการศึกษา ไมผ่ ่าน
ตรวจสอบรปู แบบ
นกั ศึกษานำกลบั ไปแก้ไข
ใช้เวลาตรวจ
ประมาณ 7 วนั - ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เรอื่ ง
ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน การสง่ วิทยานพิ นธ์เพอ่ื ขออนมุ ตั ิผลการสำเร็จการศึกษา
เผยแพร่งานวิจยั ระดบั บณั ฑติ ศึกษา ประกาศ ณ วันท่ี 9 เดือนตลุ าคม พ.ศ.
2551
บัณฑิตวิทยาลยั ประทับตรา ลงรับวทิ ยานิพนธ/์ - ตรวจสอบเกณฑต์ ามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เร่อื ง
ภาคนิพนธฉ์ บบั สมบูรณ์ เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2548 ขอ้
13.2 และ 13.3
นกั ศึกษาสง่ ไฟล์ CD ตน้ ฉบับวทิ ยานิพนธ์/ - ตรวจสอบเกณฑต์ ามประกาศมหาวทิ ยาลัย
ภาคนิพนธ์ ฉบบั สมบูรณ์ พร้อมหนา้ อนุมัติลงนามโดยอาจารยท์ ่ี ราชภฏั นครราชสีมา เรอ่ื งหลักเกณฑ์การตีพิมพเ์ ผยแพร่
ผลงานวิจยั จากวิทยานิพนธเ์ พอ่ื ขอสำเร็จการศกึ ษา ระดับ
ปรึกษาฯ และคณะกรรมการสอบครบถ้วน ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2557 ประกาศ ณ วนั ท่ี 26 เดอื น
กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2557

CD ตน้ ฉบับวิทยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์
ต้องไรทเ์ ป็นรูปแบบ Word File
และ PDF File จำนวน 1 แผ่น

นักศกึ ษาดำเนินการ
ทำเร่อื งขอสำเร็จการศกึ ษา

141

บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

การสำเรจ็ การศกึ ษา

ข้นั ตอน

นกั ศึกษาดำเนินการทำเรือ่ งขอสำเร็จการศกึ ษา นักศึกษาต้องเขียนคำร้อง บ.9, คำร้องขอจบการศึกษา
ท่บี ณั ฑิตวิทยาลยั และคำร้องขอ Transcript ดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี
http://www.grad.nrru.ac.th เมนู แบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ
บณั ฑิตวิทยาลยั จดั ทำรายชื่อ กรอกรายละเอยี ดใหค้ รบถ้วน รวบรวมเอกสารหลักฐานและ
ผู้สำเร็จการศกึ ษา ดำเนินการตามข้ันตอนตามทีร่ ะบุใน บ.9 ให้ครบถว้ น แลว้ นำ
บ.9 สง่ บัณฑติ วทิ ยาลยั

สว่ นคำร้องขอจบการศึกษา และคำร้องขอ Transcript ส่ง
สำนกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น

สำนกั สง่ เสรมิ วชิ าการ ไมเ่ ปน็ ไปตามเงอื่ นไข
และงานทะเบียน
ตรวจสอบ แจ้งนกั ศกึ ษา

เป็นไปตามเงื่อนไข ตรวจสอบให้เป็นไปตามข้อบงั คับ
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
ส่งเรือ่ งเสนอท่ีประชมุ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2550
คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลัย ประกาศ ณ วนั ท่ี 7 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550

มีมติเห็นชอบ

เสนอที่ประชมุ สภาวิชาการ

มมี ติเห็นชอบ

เสนอทป่ี ระชุมสภามหาวทิ ยาลัย

142

คมู่ ือนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563

การสอบวัดคณุ สมบัตสิ ำหรบั นกั ศึกษาระดบั ปริญญาเอก

ขัน้ ตอน สามารถดาวนโ์ หลดได้ที่ http://www.nrru.ac.th/grad/
เมนแู บบฟอร์มตา่ ง ๆ คลิกเลือก คำร้องขอสอบ
นักศกึ ษากรอกคำร้องโดยผ่านการเห็นชอบ วัดคณุ สมบัติ (ป.เอก)
ของอาจารย์ท่ปี รกึ ษาทัว่ ไป

นักศึกษายน่ื ใบคำรอ้ งตอ่ ประธานสาขาวิชา
เพ่อื พจิ ารณาและลงนาม

นกั ศึกษามายืน่ ใบคำรอ้ งที่บณั ฑิตวทิ ยาลัย ยื่นเอกสารที่งานมาตรฐานการศกึ ษา ช้นั 8 อาคาร 9
บัณฑิตวิทยาลยั

ไมเ่ ป็นไปตามเงื่อนไข

บณั ฑิตวทิ ยาลยั นกั ศึกษา
ตรวจสอบ รับเรื่องคืน

เปน็ ไปตามเงอ่ื นไข การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบวัดคณุ สมบตั ิใหท้ าง
สาขาวชิ าแต่งตง้ั คณะกรรมการ จำนวน 2 ชุด
บณั ฑติ วทิ ยาลยั ทำบันทกึ แจง้ ทางสาขาวิชา 1. คณะกรรมการออกขอ้ สอบและตรวจขอ้ สอบ
เพ่อื กำหนดคณะกรรมการ และบัณฑติ วทิ ยาลัยทำคำสงั่ (อาจารยผ์ ้สู อนตามสาขาวชิ านัน้ ๆ)
2. คณะกรรมการควบคุมการสอบ
แต่งต้ังคณะกรรมการสอบวัดคณุ สมบัติ

คณะกรรมการสอบวดั คุณสมบัติดำเนนิ การสอบ

ประธานคณะกรรมการสอบวดั คณุ สมบัติ สำหรับนักศกึ ษาที่สอบไม่ผา่ นใหม้ ีสทิ ธสิ์ อบแกต้ วั ไดอ้ กี
รายงานผลใหบ้ ัณฑิตวทิ ยาลัยทราบภายใน 2 ครง้ั โดยย่นื คำรอ้ งขอสอบใหม่

1 สัปดาห์

บณั ฑิตวิทยาลยั จัดทำประกาศผลการสอบ
ทางเว็บไซต์และติดประกาศ
ณ สำนกั งานบณั ฑติ วิทยาลัย

143

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

การสอบภาษาต่างประเทศสำหรบั นกั ศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก

นักศกึ ษากรอกคำร้องโดยผ่าน สามารถดาวนโ์ หลดไดท้ ่ี http://www.nrru.ac.th/grad/
การเห็นชอบของอาจารย์ทป่ี รกึ ษาทั่วไป เมนูแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ คลิกเลอื ก คำร้องขอสอบภาษาต่างประเทศ
(ป.เอก)
นกั ศกึ ษายื่นใบคำรอ้ งตอ่ ประธานสาขาวชิ า
เพื่อพจิ ารณาและลงนาม ยืน่ เอกสารทงี่ านมาตรฐานการศึกษา ชนั้ 8 อาคาร 9 บณั ฑติ วิทยาลยั

นกั ศกึ ษามายน่ื ใบคำร้องทบ่ี ณั ฑิตวทิ ยาลัย

บณั ฑติ วทิ ยาลยั ไมเ่ ป็นไปตามเงื่อนไข ครั้งแรก
ตรวจสอบ ไม่ต้องจา่ ยคา่ ธรรมเนียม
นกั ศึกษา
รับเรอ่ื งคนื

เป็นไปตามเงือ่ นไข การจ่ายค่าธรรมเนียม
บณั ฑิตวิทยาลยั จัดทำประกาศรายชอื่ ผมู้ ีสิทธส์ิ อบ การสอบ

บณั ฑติ วทิ ยาลัยจดั ทำโครงการจัดซอ้ื ข้อสอบ ครงั้ ต่อไป
และแตง่ ตั้งคณะกรรมการคุมสอบ ตอ้ งจา่ ยค่าธรรมเนียม

คณะกรรมการดำเนินการสอบ

ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผล บัณฑิตวิทยาลยั จดั ทำประกาศผลการสอบ
ให้บณั ฑิตวิทยาลยั ทราบภายใน 2 สปั ดาห์ ทางเว็บไซต์และตดิ ประกาศ
ณ สำนกั งานบณั ฑิตวิทยาลยั
หลังวันสอบ

แบง่ ออกเป็น 3 เง่อื นไข
1. สอบไดค้ ะแนน เกนิ 500 คะแนน เทา่ กับผา่ นการสอบ
2. สอบได้คะแนน เกิน 450 ขน้ึ ไป แต่ไมเ่ กิน 500 ต้องเข้ารบั การสอบสัมภาษณ์
3. สอบไดค้ ะแนน เกิน 400 คะแนน แต่ไมเ่ กิน 450 คะแนน ต้องเขา้ รับการอบรม

144

คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2563

การสอบประมวลความรู้ สำหรับนักศกึ ษาระดบั ปริญญาโท (แผน ข)

ข้ันตอน สามารถ ดาวนโ์ หลดได้ที่
http://www.nrru.ac.th/grad/
นกั ศกึ ษากรอกคำร้องโดยผ่านความเห็นชอบ เมนู แบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ คลกิ เลอื ก
ของอาจารย์ทป่ี รกึ ษาทัว่ ไป คำร้องขอสอบประมวลความรู้

นกั ศึกษายื่นคำรอ้ งตอ่ บัณฑติ วทิ ยาลยั

บัณฑิตวิทยาลยั ไม่เป็นไปตามเงื่อนไข
ตรวจสอบคุณสมบัติ
นกั ศึกษารบั เร่ืองคนื

เป็นไปตามเง่ือนไข แต่งตัง้ คณะกรรมการสอบประมวลความรู้
บณั ฑติ วทิ ยาลยั บนั ทึกแจง้ ต่อสาขาวชิ าเพอ่ื เสนอการกำหนดขอบข่าย ในการออกข้อสอบตามขอบข่ายเนอ้ื หา
ของแตล่ ะสาขาวชิ าทัง้ วิชาบงั คบั /วชิ าเลือก
เน้อื หาวชิ าในการสอบประมวลความรู้/
การออกข้อสอบ (วชิ าบงั คับ/วิชาเลอื ก) นักศึกษาทีย่ นื่ สอบครัง้ ที่ 2 และคร้ังที่ 3
ตอ้ งชำระเงินค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้
บณั ฑติ วทิ ยาลยั แต่งตง้ั คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ คร้ังละ 1,000 บาท ตามระเบยี บมหาวิทยาลัย
ราชภฏั นครราชสมี าว่าดว้ ย
บณั ฑติ วทิ ยาลยั ประกาศรายชือ่ ผมู้ สี ิทธส์ิ อบ การรบั จา่ ยเงนิ ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาระดบั
วันเวลาและสถานทีส่ อบ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2551

นกั ศึกษาชำระคา่ ธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้
ทก่ี องคลัง

บัณฑิตวทิ ยาลยั รวบรวบคะแนน เพ่อื เสนอตอ่ คณะกรรมการตัดสินผล
การสอบประมวลความรู้นกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา

บณั ฑิตวิทยาลยั ประกาศผลการสอบประมวลความรู้ ติดประกาศทบ่ี ณั ฑติ วิทยาลยั และประกาศ
ลงเวบ็ ไซต์ www.nrru.ac.th/grad

บัณฑติ วทิ ยาลยั จดั เกบ็ หลักฐานการสอบประมวลความรู้
ข้อควรทราบ

1. ขอ้ บงั คบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า วา่ ด้วยการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2550 ขอ้ 39
2. นกั ศึกษาท่ีสอบไม่ผ่าน (NP) จะตอ้ งสอบแกต้ วั ใหม่ ทัง้ น้นี กั ศกึ ษามีสิทธ์ิสอบประมวลความรไู้ ม่เกิน 3 คร้ัง และหากนกั ศกึ ษา
ขาดสอบโดยไมม่ ีเหตผุ ลสมควร ถือว่านักศกึ ษาสอบตกในการสอบคร้ังน้นั

145

คณะผ้จู ัดทำ

ทปี่ รกึ ษา คณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลยั
รองคณบดฝี ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมเกยี รติ ทานอก รองคณบดฝี ่ายบริหารและกจิ การนักศึกษา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญรศั ม์ ชิดไธสง หวั หน้าสำนกั งานคณบดีบัณฑิตวทิ ยาลยั
ดร.แวววลี แววฉมิ พลี
นางธณภร จินตพละ

ผจู้ ดั ทำ นักวชิ าการศึกษา
นกั วิชาการศึกษา
นายสรพงษ์ เปรมวริ ิยานนท์ นกั วิชาการศึกษา
นางสาวชลดา พ้นภัย นักวิชาการศกึ ษา
นางรชยา ศรปี ัทมปยิ พงศ์ นักวชิ าการศกึ ษา
นายศริ พิ งษ์ บริสุทธ์ิ เจ้าหน้าที่บริหารงานทวั่ ไป
นางสาวศริ าณี กรมโพธ์ิ นักวชิ าการเงินและบัญชี
นางศรนี วล สิงหม์ ะเริง นักวิชาการพัสดุ
นางสาวนิตรา น้อยภูธร นักวชิ าการคอมพิวเตอร์
นางสาวเกศนิ ี ทองมาก
นางสาวนภาพร ชา้ งสาร


Click to View FlipBook Version