แผนการเรยี นรมู้ งุ่ เนน้ สมรรถนะอาชพี
แบบบรู ณาการปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
และคา่ นยิ มหลกั ของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั (Vegetable Crops Production)
รหัสวชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓
หลกั สูตรประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๖
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขาวิชาเกษตรศาสตร์
สาขางานการเกษตร
จดั ทาโดย
นางสาวจุลเจิม สรุ วิ งค์
ตาแหน่ง ครูผู้ชว่ ย
วิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
รายการตรวจสอบและอนญุ าตใหใ้ ช้
ควรอนุญาตให้ใชส้ อนได้
ควรปรับปรุงเก่ยี วกับ .........................................................................................................
ลงชื่อ...........................................
(ว่าทร่ี .ต.หญงิ ภชู สิ จณิ ณ์ ศลี ให้อยสู ขุ )
หัวหน้าแผนกวิชาพืชศาสตร์
เห็นควรอนญุ าตให้ใช้สอนได้
ควรปรบั ปรงุ ดังเสนอ
อน่ื ๆ.....................................................................................................................................
ลงช่ือ ...........................................
(นางบญุ นา ตันธนกลุ )
หวั หนา้ งานพฒั นาหลักสตู รการเรียนกาสอน
เหน็ ควรอนญุ าตให้ใชส้ อนได้
ควรปรับปรุงดงั เสนอ
อน่ื ๆ............................................................................................................................ ..........
ลงชอ่ื .........................................
(นายศริ ิพงศ์ เมยี นเพ็ชร์)
รองผู้อานวยการฝ่ายวชิ าการ
อนญุ าตให้ใช้สอนได้
อน่ื ๆ ......................................................................................................................................
ลงชอื่ ..............................................
(นายกิตติพงค์ อุตตมะเวทิน)
ผอู้ านวยการวิทยาลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนอง
ก
คำนำ
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ วิชำกำรผลิตพืชผัก ( Vegetable Crops Production) รหัสวิชำ
๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ เป็นแผนกำรจัดกำรเรียนรู้ที่มุ่งเน้นสมรรถนะงำนอำชีพ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ พร้อมท้ัง
บูรณำกำรหลักปรัชญำเศรษฐกิจพอเพียงให้รู้จักควำมพอประมำณ ควำมมีเหตุผล และควำมมีภูมิคุ้มกันใน
ตัว เพื่อให้สำมำรถทำกำรผลิตผลิตภัณฑ์จำกสัตว์รู้เท่ำทันในภำวะเศรษฐกิจปัจจุบัน ท้ังน้ีต้องเตรียมควำม
พร้อมในด้ำนควำมรู้และทักษะในงำนฐำนควำมรู้ทีม่ ั่นคง รวมท้งั กำรปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ค่ำนิยมท่ี
ดีงำมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์เป็นไปตำมเจตนำรมณ์ของพระรำชบัญญัติกำรศึกษำแห่งชำติ พ.ศ.
๒๕๔๒ และคำ่ นิยมหลกั ๑๒ ประกำร
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ วิชำหลักพืชกรรม ท่ีจัดทำข้ึนนี้ ประกอบด้วยหน่วยกำรเรียนรู้ทั้งหมด
๗ หน่วยกำรเรียน ใช้เวลำในกำรเรียนกำรสอน รวมทั้งกำรประเมินผลกำรเรียนทั้งหมด ๑๒๖ ชั่วโมง
ประกอบด้วย
หน่วยที่ ๑ ควำมรูเ้ บ้อื งตน้ และกำรกำรตลำดเก่ียวกับพชื ผัก
หนว่ ยที่ ๒ กำรจำแนกประเภทพชื ผัก
หน่วยท่ี ๓ ปัจจัยทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั กำรผลิตพชื ผกั และกำรวำงแผนกำรผลิตพชื ผัก
หนว่ ยที่ ๔ กำรปลกู และกำรปฏิบตั ดิ แู ลรกั ษำพืชผัก
หนว่ ยท่ี ๕ กำรเก็บเก่ียวและกำรจดั กำรหลงั กำรเก็บเก่ยี ว
หน่วยท่ี ๖ กำรเพิ่มมูลค่ำของผลผลิตหลังกำรเก็บเก่ยี ว
หนว่ ยท่ี ๗ กำรจดั จำหน่ำยและกำรทำบญั ชี
ผจู้ ดั ทำหวงั วำ่ แผนกำรจัดกำรเรียนรนู้ ี้ จะเปน็ ประโยชนต์ ่อกำรใช้เป็นแนวทำงในกำรจัดกำร
เรยี นกำรสอนไดเ้ ป็นอย่ำงดี และจะพัฒนำต่อไปหลังจำกกำรทดลองใช้แลว้
(นำงสำวจุลเจมิ สรุ วิ งค์)
ครู วทิ ยำลยั เกษตรและเทคโนโลยรี ะนองระนอง
ผูจ้ ัดทำ
สำรบญั ข
เรื่อง หนำ้
คำนำ ก
สำรบญั ข
จดุ ประสงคร์ ำยวชิ ำ ค
สมรรถนะรำยวชิ ำ ค
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ค
กำรวเิ ครำะหห์ นว่ ยกำรเรยี นรแู้ ละเวลำทใี่ ชใ้ นกำรจดั กำรเรยี นรู้ ง
กำรวเิ ครำะห์ จดุ ประสงคร์ ำยวชิ ำ มำตรฐำนรำยวชิ ำ จ
กำรวเิ ครำะห์ จดุ ประสงคร์ ำยวชิ ำ ของหนว่ ยกำรเรยี นรู้หวั ขอ้ หลกั และหวั ขอ้ รอง ฉ
ตำรำงวเิ ครำะหห์ นว่ ยสมรรถนะ ซ
กำรประเมนิ ภำคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ ฌ
ตำรำงวเิ ครำะหห์ นว่ ยกำรเรยี นรเู้ พ่ือบรู ณำกำรหลกั ปรชั ญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
หน่วยท่ี ๑ ควำมรเู้ บ้ืองตน้ และกำรกำรตลำดเก่ียวกับพชื ผัก ๑
หนว่ ยที่ ๒ กำรจำแนกประเภทพืชผัก ๕
หนว่ ยที่ ๓ ปจั จยั ท่ีเกย่ี วข้องกับกำรผลิตพชื ผักและกำรวำงแผนกำรผลติ พชื ผัก ๙
หน่วยที่ ๔ กำรปลูกและกำรปฏบิ ัติดแู ลรักษำพืชผกั ๑๓
หนว่ ยท่ี ๕ กำรเก็บเก่ยี วและกำรจัดกำรหลังกำรเกบ็ เกยี่ ว ๑๗
หนว่ ยท่ี ๖ กำรเพิ่มมูลคำ่ ของผลผลิตหลังกำรเกบ็ เกยี่ ว ๒๑
หน่วยท่ี ๗ กำรจัดจำหน่ำยและกำรทำบญั ชี ๒๕
แผนกำรจดั กำรเรยี นรู้
หน่วยท่ี ๑ ควำมรู้เบื้องตน้ และกำรกำรตลำดเกีย่ วกับพืชผัก ๒
หนว่ ยที่ ๒ กำรจำแนกประเภทพชื ผกั ๖
หนว่ ยท่ี ๓ ปจั จยั ที่เก่ยี วข้องกบั กำรผลิตพืชผักและกำรวำงแผนกำรผลิตพืชผัก ๑๐
หนว่ ยที่ ๔ กำรปลูกและกำรปฏบิ ัติดูแลรกั ษำพืชผกั ๑๔
หนว่ ยที่ ๕ กำรเกบ็ เกย่ี วและกำรจดั กำรหลังกำรเก็บเกยี่ ว ๑๘
หนว่ ยท่ี ๖ กำรเพิ่มมลู ค่ำของผลผลติ หลังกำรเกบ็ เก่ยี ว ๒๒
หนว่ ยท่ี ๗ กำรจดั จำหนำ่ ยและกำรทำบญั ชี ๒๖
ค
แผนการสอนรายวชิ า
รหสั ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ ชอ่ื รายวชิ า การผลติ พืชผัก (Vegetable Crops Production) หนว่ ยกติ ๑ – ๖ – ๓
ระดับชั้น ปวช.๑ จานวน ๗ คาบ/สปั ดาห์ รวมทง้ั สิ้น ๑๒๖ ช่วั โมง
ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๐
...........................................................................................................................................................
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพื่อให้
๑. เข้าใจหลกั การเบ้อื งต้นเกี่ยวกบั พชื ผักและกระบวนการผลติ พืชผกั
๒. สามารถวางแผนเตรียมการและดาเนินการผลิตพืชผักอย่างมีระบบตามหลักการและ
กระบวนการ โดยคานึงถงึ การใชท้ รัพยากรธรรมชาตอิ ยา่ งคุ้มคา่ และผลกระทบตอ่ ระบบนเิ วศ
๓. มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการผลิตพืชผัก และมีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบรอบคอบ
ขยัน และอดทน
สมรรถนะรายวชิ า
๑. แสดงความร้เู บอื้ งตน้ เกี่ยวกบั พืชผกั และกระบวนการผลติ พชื ผัก
๒. วางแผนการผลติ พืชผักตามความต้องการของตลาดและสภาพพนื้ ท่ี
๓. เตรียมพ้นื ท่ี เคร่ืองมืออปุ กรณ์และพันธุ์พชื ผักตามหลักการและกระบวนการ
๔. ปลกู ผกั ตามหลักการ กระบวนการและคานงึ ถงึ การใชท้ รัพยากรธรรมชาติอยา่ งคุ้มค่า
๕. ปฏบิ ัติดแู ลรักษาตามหลกั การ กระบวนการและคานงึ ถึงผลกระทบต่อระบบนเิ วศ
๖. จัดการผลติ ผลพชื ผกั ตามหลกั การและกระบวนการเกบ็ เกยี่ วและการจัดการหลังการเก็บเก่ยี ว
๗. เพ่มิ มูลคา่ ของพืชผักตามหลกั การและกระบวนการ
๘. จัดทาบัญชรี ายรบั รายจา่ ยการผลติ และการจาหน่ายพชื ผัก
คาอธบิ ายรายวชิ า
ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกบั ความสาคญั การตลาดและมาตรฐานการผลิตพืชผักตามระบบเกษตร
ดีท่ีเหมาะสม (GAP) การจาแนกประประของพืชผัก ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการผลิตพืชผัก การวางแผน
การผลิต การขยายพันธ์ุ การปลูกและการดูแลรักษา การเก็บเกี่ยวและการจดั การหลังการเก็บเกี่ยว การ
เพ่ิมมูลคา่ ของผลผลติ การจดั จาหน่ายและการทาบัญชี
ง
หนว่ ยการเรยี นรู้
วชิ า การผลติ พืชผกั (Vegetable Crops Production)
รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ จานวน ๗ ชวั่ โมง/สัปดาห์ ชวั่ โมงรวม ๑๒๖ ชว่ั โมง
หนว่ ยที่ ช่ือหนว่ ย จานวน
ชวั่ โมง
๑ ความรเู้ บ้อื งตน้ และการการตลาดเกย่ี วกับพชื ผกั
๒ การจาแนกประเภทพืชผกั ๗
๓ ปัจจัยท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั การผลติ พชื ผกั และการวางแผนการผลิตพชื ผกั ๗
๔ การปลกู และการปฏบิ ตั ดิ แู ลรักษาพชื ผกั ๑๔
๕ การเกบ็ เกยี่ วและการจัดการหลงั การเกบ็ เกย่ี ว ๔๙
๖ การเพิ่มมูลค่าของผลผลิตหลังการเก็บเก่ยี ว ๒๑
๗ การจัดจาหน่ายและการทาบัญชี ๑๔
๗
สอบปลายภาคเรยี นในสปั ดาห์ที่ ๑๘ ๗
รวม ๑๒๖
จ
การวเิ คราะห์ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า เพอื่ จดั ทาจดุ ประสงค์การเรยี นรู้
ของแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ หวั ขอ้ เรือ่ ง และหวั ขอ้ เรือ่ งยอ่ ย
จดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า
๑. เพ่ือให้เข้าใจหลักการเบ้ืองต้นเก่ียวกับ พืชผัก ๑.เข้าใจหลักการและกระบวนการวางแผนและ
และการผลิตพืชผัก ผลติ พชื ผกั
๒. เพ่ือให้สามารถวางแผนและจัดการผลิตพืชผัก ๒.เตรียมการผลิตพืชผักตามความต้องการของ
อย่างมีระบบตามหลักการและกระบวนการ โดย ตลาดและสภาพพนื้ ที่
คานึงถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ๓.ผลิตพืชผักตามหลักการและกระบวนการ โดย
และผลกระทบตอ่ ระบบนิเวศวิทยา คานงึ ถงึ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างค้มุ คา่
๓. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่ออาชีพการผลิตพืชผัก ๔.ปฏิบัติดูแลรักษาพืชผักตามหลักการและ
และมีกิจนิสัยในการทางานด้วยความรับผิดชอบ กระบวนการ โดยคานึงถึงผลกระทบต่อระบบ
รอบคอบ ขยนั และอดทน นเิ วศวิทยา
๕.จัดการผลผลิตโดยการเก็บเกี่ยวและการจัดการ
หลังการเก็บเกย่ี วตามหลกั การและกระบวนการ
๖.จดั ทาบัญชีรายรับ-รายจา่ ยการผลติ
ฉ
การวเิ คราะห์ จดุ ประสงคร์ ายวชิ า มาตรฐานรายวชิ า จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
ของแตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรู้ หวั ขอ้ เรอ่ื ง และหวั ข้อเร่ืองย่อย
หนว่ ยการ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ หวั ขอ้ เรอื่ งและหวั ขอ้ ยอ่ ย
เรยี นรู้
๑. รูร้ าคาจาหนา่ ยพืชผกั การวิเคราะห์ตลาดเกยี่ วกบั พืชผกั
๑
๒ ๒. รู้ความต้องการของตลาดพืชผกั - สารวจราคาตลาดพืชผกั
๓ ๓. วิเคราะหส์ ถานการณพ์ ืชผกั ในอนาคตได้ - สารวจความต้องการบริโภคพืชผักในตลาด
๔ ๔. มีความรับผิดชอบ ทอ้ งถ่นิ
๕ ๑. รหู้ ลกั การจาแนกพชื ผกั การจาแนกประเภทพชื ผัก
๖
๗ ๒. จาแนกประเภทของพชื ผกั ได้ - จาแนกตามหลกั พฤกษศาสตร์
๓. มีความสนใจในอาชีพพชื ผัก - จาแนกตามฤดกู าล
- จาแนกตามสว่ นทีใ่ ช้บริโภค
- จาแนกตามการดูแลรกั ษา
๑. เลอื กพ้นื ท่แี ละสภาพแวดลอ้ มที่เหมาะสมในการปลกู ปัจจัยทีเ่ กี่ยวข้องกับการผลิตพชื ผกั
พืชผกั ได้ - สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสม
๒. วางแผนปลกู พืชผักได้ - ปจั จยั ในการวางแผนปลกู พืช
๓. ใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ ค่า และไมท่ าใหส้ ภาพแวดล้อม
เสยี หาย
๑. เข้าใจวิธีการปลูกและดแู ลรกั ษาพชื ผกั การปลกู และการปฏบิ ตั ิดแู ลรกั ษา
๒. เตรียมพ้นื ที่และแปลงปลกู พืชผกั ได้ - การเตรียมพ้ืนทีก่ ารปลกู ผัก
๓. คัดเลือกเมล็ดพันธ์ุพืชผักและปลูกพืชผักชนิดต่างๆ - การคัดเลอื กเมล็ดพนั ธผุ์ กั
ได้ถกู ต้อง - การปลูกพชื ผัก
๔. ปฏบิ ัติดแู ลรกั ษาพืชผกั ไดถ้ กู ตอ้ ง - การใหน้ ้า
๕. ตรงต่อเวลา ขยัน อดทน รบั ผดิ ชอบงาน - การให้ป๋ยุ
- การคลุมดนิ
- การพรวนดนิ
- การป้องกันศัตรพู ชื
๑. รูว้ ธิ ีเก็บเกยี่ วพชื ผักชนดิ ต่างๆ การเก็บเก่ียวและการจัดการหลังการเก็บ
๒. เก็บพืชผกั ในระยะเหมาะสมได้ เกีย่ ว
๓. ปฏบิ ัติหลังการเกบ็ เกย่ี วไดถ้ กู ต้อง
๔. มคี วามซอ่ื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ
๑. รู้วธิ แี ปรรูปพชื ผักชนดิ ต่าง ๆ การเพิม่ มลู คา่ ของผลผลติ หลังการเกบ็ เกยี่ ว
๒. แปรรปู พชื ผกั ชนิดตา่ ง ๆ ได้ - การแปรรปู พชื ผกั
๓. รกั ในศลิ ปะการแปรรปู อาหาร
๑. สามารถบรรจภุ ณั ฑ์พืชผักได้ การจาหน่ายและการทาบญั ชี
๒. รักในศิลปะการออกแบบบรรจภุ ัณฑ์ - การบรรจภุ ัณฑ์
๓. ทาบัญชีรบั – จา่ ยได้ - การทาบญั ชรี ับ-จ่าย
๔. มคี วามประหยดั
ช
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยสมรรถนะ
รหสั ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ วชิ า การผลติ พชื ผัก ๓ หนว่ ยกติ ๗ ชวั่ โมง/สปั ดาห์
หนว่ ยท่ี ช่ือหนว่ ย/หวั ข้อยอ่ ย ช่อื หนว่ ยสมรรถนะ เวลา
(ชม.)
๑ ความรเู้ บอ้ื งตน้ และการการตลาด ๗
เก่ยี วกับพืชผัก ๗
๑๔
๑.๑ ความสาคัญของพืชผัก ๑. อธบิ ายความสาคัญของพชื ผกั ได้ถกู ตอ้ ง
๑.๒. วิเคราะหก์ ารตลาดพชื ผัก ๒. วเิ คราะหต์ ลาดพืชผักได้ถูกตอ้ ง
๓. บอกราคาพชื ผกั ในตลาดท้องถ่ินได้ ๓๐
ชนดิ
๔. บอกชื่อชนิดผักทนี่ ิยมบรโิ ภคในตลาด
ท้องถิ่นได้ ๓๐ ชนดิ
๕. มคี วามรับผดิ ชอบ
๒ การจาแนกประเภทพชื ผกั
๒.๑ การจาแนกพชื ผัก ๑. อธบิ ายชนิดของพืชผกั ได้ถูกต้อง
๒. จาแนกประเภทพืชผกั ไดถ้ ูกตอ้ ง
๓. สนใจในอาชีพการปลกู พืชผกั
๓ ปจั จยั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั การผลติ
พืชผกั และการวางแผนการผลติ
พืชผกั
๓.๑ สภาพแวดล้อมทเี่ หมาะสม ๑. อธิบายสภาพแวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมในการ
ต่อการผลิตพืชผัก ปลูกพชื ผักได้ถูกตอ้ ง
๓.๒ ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องในการผลิต ๒. อธบิ ายปจั จัยท่เี ก่ยี วข้องกับการผลิตพชื ผัก
พืชผกั ไดถ้ ูกต้อง
๓.๒ การวางแผนการผลติ พชื ผกั ๓. สามารถวางแผนการผลิตพืชผกั ได้
๔. สามารถใช้ทรัพยากรอย่างคมุ้ คา่ และไมท่ า
ใหส้ ภาพแวดลอ้ มเสียหาย
ซ
หนว่ ยท่ี ชือ่ หนว่ ย/หวั ขอ้ ยอ่ ย ชอ่ื หนว่ ยสมรรถนะ เวลา
(ชม.)
๔ การปลกู และการปฏบิ ตั ดิ ูแล ๔๙
รกั ษาพชื ผกั ๒๑
๔.๑ การเตรียมพืน้ ทีป่ ลกู พืชผกั ๑. เตรียมพนื้ ที่ปลูกพืชผักได้ถูกตอ้ ง ๑๔
๔.๒ การคดั เลือกเมลด็ พนั ธุพ์ ืชผกั ๒. เตรียมแปลงปลูกพืชผกั ได้ ๗
๗
๔.๓ การปลูกและการดูแลรักษา ๓. สามารถคัดเลือกเมลด็ พนั ธุ์พชื ผกั ได้ถูกต้อง ๑๒๖
พชื ผกั ๔. สามารถปลกู และปฏบิ ตั ดิ ูแลรักษาพืชผกั ได้
ถูกต้อง
๕. มคี วามตรงตอ่ เวลา ขยนั อดทน รกั ษา
สภาพสง่ิ แวดล้อม และมีความรบั ผิดชอบ
๕ การเก็บเก่ียวและการจัดการหลัง
การเกบ็ เกย่ี ว
๕.๑ การเกบ็ เก่ยี ว ๑. สามารถเกบ็ เก่ยี วพชื ผักชนิดต่าง ๆ ได้
๕.๒ การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ๒. สามารถเก็บเก่ียวพืชผักในระยะท่ีเหมาะสม
พืชผกั ได้
๓. สามารถจัดการหลงั การเก็บเกี่ยวไดถ้ ูกต้อง
๔. มีความซ่ือสตั ย์ และความรับผิดชอบ
๖ การเพมิ่ มลู คา่ ของผลผลติ หลัง
การเกบ็ เกยี่ ว
๖.๑ การแปรรูปพชื ผัก ๑. สามารถแปรรูปพชื ผักได้
๒. สามารถเพ่ิมมูลค่าของผลผลติ พชื ผักได้
๓. มคี วามซื่อสตั ย์ ความรับผิดชอบ
๗ การจดั จาหนา่ ยและการทาบญั ชี
๗.๑ การจัดจาหน่ายพืชผัก ๑. สามารถจดั จาหน่ายพชื ผักได้
๗.๒ การทาบัญชีครัวเรอื น ๒. สามารถทาบญั ชคี รวั เรอื นได้
๓. มีความประหยดั ไมฟ่ มุ่ เฟือย
สอบปลายภาค
เวลารวม
ฌ
การประเมนิ ภาคทฤษฎแี ละปฏบิ ตั ิ
การประเมนิ การยอมรบั ความรู้ / ประสบการณ์
รหสั ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ วชิ า การผลิตพชื ผัก (Vegetable Crops Production) หนว่ ยกติ ๓ (๑ – ๖ – ๓)
นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ตามจดุ ประสงคแ์ ละมาตรฐานรายวชิ า ดงั นี้
จดุ ประสงคแ์ ละมาตรฐานรายวชิ า คา่ นา้ หนกั คะแนน
๑. ภาคทฤษฎี ๒๐
๑.๑ การวิเคราะห์การตลาดเกยี่ วกับพืชผัก (๕)
๑.๒ การจาแนกประเภทพชื ผกั (๕)
๑.๓ ปจั จัยที่เกี่ยวข้องกบั การผลิตพชื ผกั และการวางแผนการผลติ พชื ผัก (๑๐)
๒. ภาคปฏบิ ัติ ๖๐
๒.๑ การปลกู และการปฏบิ ัติดูแลรกั ษาพืชผัก (๓๐)
๒.๒ การเก็บเก่ยี วและการจดั การหลังการเก็บเก่ียว (๑๐)
๒.๓ การเพ่ิมมูลคา่ ของผลผลติ หลังการเก็บเก่ยี ว (๑๐)
๒.๔ การจัดจาหน่ายและการทาบัญชี (๑๐)
๓. คณุ ธรรม – จรยิ ธรรม (จติ พิสยั ) ๒๐
ระดบั คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน
๑
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพ่อื หลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศกึ ษาองคค์ วามรูเ้ บ้อื งทั่วไปเกี่ยวกบั การตลาด ๓. กาหนดแนวทาง ทั่วไปเกี่ยวกับ การ
เกี่ยวกบั พืชผักเพ่อื ให้ตรงกบั ศักยภาพและทรัพยากร การตลาดเกยี่ วกบั พืชผกั ของฟารม์ โดย
ของตนเองทม่ี อี ยู่ พจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกับศกั ยภาพของตนเอง
๒. วางแผนทาฟารม์ ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจ และทรพั ยากรท่มี ีอยู่
พอเพียงเพ่อื การพัฒนาอย่างยัง่ ยนื ๔. วางแผนการตลาดทก่ี ่อใหเ้ กดิ ประโยชน์
สงู สุดจากการดาเนนิ งานฟาร์ม ตามแนว
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อการพัฒนา
อยา่ งยงั่ ยืน
๕. ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความไม่ประมาท
หนว่ ยที่ ๑ เรอื่ งความรเู้ บือ้ งต้น ภมู ิคมุ้ กนั ๖. ลดความความเสย่ี งภยั
และการการตลาดเกีย่ วกบั พชื ผัก ๗. เกิดความสามคั คี กบั เพอ่ื นร่วมงาน
๘. มีความรับผดิ ชอบ
๙. รกั ษาส่งิ แวดลอ้ ม
ความรู้ + ทกั ษะ คุณธรรม
๑. รรู้ าคาจาหน่ายพชื ผัก ๑. มีมนษุ ยสัมพนั ธ์
๒. รูค้ วามตอ้ งการของตลาดพชื ผกั ๒. ความมีวินยั
๓. วิเคราะหส์ ถานการณพ์ ืชผักในอนาคตได้ ๓. ความรบั ผิดชอบ
๔. มีความรับผดิ ชอบ ๔. ความซื่อสัตยส์ จุ รติ
๕. การประหยดั
๖. ความรกั ความสามคั คี
เศรษฐกิจ สังคม วฒั นธรรม สง่ิ แวดล้อม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๒
แผนการสอน หนว่ ยท่ี ๑
วชิ า การผลติ พชื ผัก รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓
ชื่อหนว่ ย ความรูเ้ บื้องตน้ และการการตลาดเกย่ี วกบั พชื ผัก สอนครง้ั ท่ี ๑
ชวั่ โมงท่ี ๑ – ๗
สาระสาคญั
ความรเู้ บ้ืองตน้ และการวิเคราะห์ตลาดเกยี่ วกับพชื ผกั
สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์
๑. อธบิ ายความสาคัญของพืชผักไดถ้ ูกต้อง
๒. วเิ คราะหต์ ลาดพชื ผักได้ถูกตอ้ ง
๓. บอกราคาพืชผกั ในตลาดท้องถ่ินได้ ๓๐ ชนดิ
๔. บอกช่ือชนดิ ผกั ท่นี ิยมบริโภคในตลาดทอ้ งถ่ินได้ ๓๐ ชนดิ
๕. มคี วามรับผดิ ชอบ บูรณาการความรทู้ ไ่ี ด้มาใชใ้ นการดารงชวี ิต โดยยดึ หลักปรชั ญาเศรษฐกิจ
พอเพยี งและค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
เนอื้ หาสาระ
๑. ความสาคญั ของพืชผัก
๒. วิเคราะห์การตลาดพชื ผกั ไร้สารพิษ
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้ันเตรยี มการสอน
๑. ครูเตรียมคาอธิบายรายวิชาและข้อตกลงร่วมกันระหว่างผู้สอนและผู้เรียน โดยเน้นให้
นักเรียนปฏิบัติตามหลักคุณธรรม ๑๒ ประการ
๒. ครูเตรียมใบความรู้ เร่ืองความรเู้ บ้ืองต้นและการการตลาดเก่ียวกบั พชื ผกั
ขน้ั นา
๓. ผสู้ อนเร่มิ ด้วยการแนะนาตัวเอง ประวัติการศกึ ษา งานและหนา้ ทีร่ บั ผิดชอบในวิทยาลัย
๔. สารวจรายชือ่ นักศกึ ษาในช้ันเรียน ให้แนะนาตวั เอง
ข้ันการสอน
๕. อธิบายจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐานรายวิชา คาอธิบายรายวิชา วิเคราะห์อาชีพและ
สมรรถนะ หน่วยการเรยี นรู้ เกณฑ์การวดั ผล และชี้แจงรายละเอยี ดในการเรยี น
๖. แบง่ กลมุ่ นกั ศกึ ษาและคดั เลือกหัวหนา้ กลุ่ม
๗. มอบหมายงานให้แต่ละกลุ่มไปศึกษาตลาดพืชผัก แล้วให้ร่วมกันคิดวิเคราะห์ถึงความ
ต้องการของตลาดพืชผัก และสถานการณ์พชื ผักในอนาคต
ขั้นสรปุ
๘. ให้ตัวแทนกลุ่มแตล่ ะกล่มุ สรปุ หนา้ ชน้ั เรยี น
๙. ผ้สู อนสรปุ เนอ้ื หา
ขน้ั ประเมินผล
๑๐. ผูส้ อนถามนกั ศึกษาเปน็ รายบุคคล
๑. งานมอบหมายหรอื กจิ กรรม
๑.๑ ก่อนเรยี น
- ครูและนักเรยี นแนะนาตัวเอง
๓
- ครสู นทนากับนักเรยี นเกยี่ วกับการผลติ พืชผกั
๑.๒ ขณะเรยี น
- ครูแนะนารายวชิ าและขอ้ ตกลงร่วมกนั ระหว่างผู้เรยี นกบั ครผู สู้ อน
- ครแู จกใบความรู้
- ครูสอนเนือ้ หาที่เตรียมมาแกน่ ักเรยี น
- ครถู ามคาถามนักเรยี นเป็นบางครง้ั คราว
๑.๓ หลังเรียน
- ครูสรุปเนื้อหาที่สอนใหก้ ับนักเรยี น
- ครูแจกใบงานที่ ๑ใบงานที่ ๒ และใบงานท่ี ๓ ให้นักเรียนทาเป็นงานมอบหมาย
- ครูถามคาถามท่ีเก่ยี วกับเนื้อหาที่สอนกับนักเรยี น
๒. สอ่ื การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอ่ื การเรยี นการสอน
- ภาพสไลด์พืชผัก
- ใบความรู้ เร่ืองความรู้เบ้ืองต้นและการการตลาดเก่ยี วกับพืชผัก
- ใบงานที่ ๑ ตารางสารวจความต้องการและราคาพชื ผัก
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- ตลาดพืชผกั ในท้องถิน่
- หอ้ งสมดุ
- ศนู ยก์ ารเรียนรดู้ ้วยตนเอง
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- ทดสอบกอ่ นเรยี น – หลังเรียน โดยสอบถามเป็นรายบคุ คล
- สงั เกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ
๓.๒ การประเมนิ ผล
- ตอบคาถามและวิเคราะหส์ ถานการณ์พชื ผัก
- แบบประเมนิ ผลคุณธรรมค่านยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
บนั ทกึ หลงั การสอน ๔
วชิ า การผลิตพืชผัก (Vegetable Crops Production)
ชอ่ื หนว่ ย ความรูเ้ บอ้ื งตน้ และการการตลาดเกี่ยวกับพืชผกั หนว่ ยท่ี ๑
สปั ดาหท์ ี่ ๑
ระดบั ชนั้ ปวช.๑ จานวน ๗ ชวั่ โมง
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....………………………………………
ผลการเรยี นของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………......................
ลงชอื่ ………………………………..………ผสู้ อน
(นางสาวจลุ เจมิ สรุ ิวงค์)
//
๕
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพือ่ หลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกบั การจาแนกประเภท ๓. การจาแนกประเภทพชื ผัก เพอ่ื กาหนด
พชื ผกั เพ่อื วางแผนการผลติ ใหต้ รงกบั ศกั ยภาพและ แนวทางเกยี่ วกับ การวางแผนและ
ทรพั ยากรของตนเองท่ีมอี ยู่ งบประมาณฟารม์ โดยพจิ ารณาให้เหมาะสม
๒. วางแผนการปลกู ผกั ตามแนวปรชั ญาของ กับศักยภาพของตนเองและทรพั ยากรทมี่ ีอยู่
เศรษฐกจิ พอเพยี งเพ่อื การพัฒนาอย่างย่งั ยืน ๔. ประชุมผ้รู ่วมงานเพ่อื วางแผนดาเนนิ งาน
ฟาร์ม ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งเพ่อื การพัฒนาอย่างยงั่ ยืน
๕. ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความไม่ประมาท
หนว่ ยที่ ๒ เรอ่ื งการจาแนก ภมู ิคมุ้ กนั
ประเภทพชื ผกั
๖. ลดความความเสย่ี งภัย
๗. เกดิ ความสามคั คี กบั เพ่ือนร่วมงาน
๘. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
๙. รักษาสง่ิ แวดล้อม
ความรู้ + ทกั ษะ คุณธรรม
๑. ร้หู ลักการจาแนกพืชผกั ๑. มีมนุษยสมั พนั ธ์
๒. จาแนกประเภทของพชื ผักได้ ๒. ความมวี ินยั
๓. มีความสนใจในอาชีพพชื ผกั ๓. ความรับผดิ ชอบ
๔. ความซ่อื สตั ยส์ ุจรติ
๕. การประหยดั
๖. ความรักความสามัคคี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๖
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๒
วชิ า การผลิตพชื ผกั รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ สอนคร้งั ท่ี ๒
ชื่อหนว่ ย การจาแนกประเภทพชื ผัก ชว่ั โมงท่ี ๘ – ๑๔
สาระสาคญั
การจาแนกประเภทพืชผกั
สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์
๑. อธบิ ายชนดิ ของพชื ผักได้ถูกต้อง
๒. จาแนกประเภทพชื ผกั ได้ถูกตอ้ ง
๓. สนใจในอาชีพการปลูกพืชผัก
๔. บรู ณาการความรู้ที่ไดม้ าใช้ในการดารงชวี ิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงและ
ค่านยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
เน้อื หาสาระ
๑. การจาแนกพืชผัก
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขัน้ เตรยี มการสอน
๑. สารวจรายช่อื นกั ศึกษาในชนั้ เรียน
๒. ครเู ตรยี มใบความรู้ เร่ืองการจาแนกประเภทพชื ผกั
ขน้ั นา
๓. ทบทวนความรู้
ขน้ั การสอน
๔. ศกึ ษาการจาแนกประเภทพชื ผกั
๕. ใหน้ กั ศึกษาแตล่ ะคนศกึ ษาตวั อยา่ งพชื ผกั ของจรงิ
ขัน้ สรปุ
๖. ผู้สอนสรุปเนอื้ หา
ข้ันประเมินผล
๗. ผ้สู อนถามนักศึกษาเปน็ รายบคุ คล
๑. งานมอบหมายหรือกจิ กรรม
๑.๑ กอ่ นเรียน
- ครสู นทนากับนักเรยี นเกี่ยวกบั ประเภทของพชื ผัก
๑.๒ ขณะเรียน
- ครแู จกใบความรู้
- ครสู อนเน้ือหาที่เตรยี มมาแกน่ ักเรยี น
- ครูให้นักเรียนศึกษาการจาแนกประเภทพืชผัก
๑.๓ หลงั เรียน
- ครสู รปุ เนอ้ื หาทส่ี อนใหก้ ับนักเรียน
๒. สอื่ การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๗
๒.๑ สื่อการเรยี นการสอน
- ใบความรู้ เรอ่ื งการจาแนกประเภทพืชผกั
- ใบงานที่ ๒ ตารางการจาแนกประเภทของพชื ผัก
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- ห้องสมุด
- ศนู ย์การเรียนรดู้ ้วยตนเอง
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- ทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียนโดยสอบถามเป็นรายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
๓.๒ การประเมนิ ผล
- ตอบคาถามและจาแนกประเภทพืชผกั
- แบบประเมนิ ผลคุณธรรมคา่ นิยมของคนไทย ๑๒ ประการ และคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์
บนั ทกึ หลงั การสอน ๘
วชิ า การผลิตพชื ผกั (Vegetable Crops Production)
ชือ่ หนว่ ย การจาแนกประเภทพชื ผกั หนว่ ยท่ี ๒
สปั ดาหท์ ่ี ๒
ระดบั ชนั้ ปวช.๑ จานวน ๗ ชวั่ โมง
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนักเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….................
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงชอื่ ………………………………..………ผ้สู อน
(นางสาวจลุ เจมิ สรุ ิวงค์)
//
๙
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพ่ือหลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศกึ ษาองคค์ วามร้เู บอ้ื งท่วั ไปทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การ ๓. วางแผนปลกู พืชผักโดยพจิ ารณาให้
ผลิตพืชผักและการวางแผนการผลติ พชื ผกั เพือ่ ให้ตรง เหมาะสมกับศักยภาพของตนเองและ
กบั ศกั ยภาพและทรัพยากรของตนเองทีม่ ีอยู่ ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่
๒. วางแผนทาฟารม์ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ ๔. ประชุมผูร้ ว่ มงานเพอื่ วางแผนดาเนินงาน
พอเพียงเพื่อการพฒั นาอยา่ งยง่ั ยนื ฟาร์ม ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพยี งเพ่ือการพัฒนาอยา่ งยงั่ ยืน
๕. ปฏิบตั ิงานดว้ ยความไมป่ ระมาท
หนว่ ยที่ ๓ เรอ่ื งปัจจยั ที่ ภมู ิคมุ้ กนั
เกีย่ วขอ้ งกับการผลิตพชื ผักและ
๖. ลดความความเสย่ี งภยั
การวางแผนการผลติ พชื ผกั ๗. เกิดความสามัคคี กบั เพอื่ นร่วมงาน
๘. มีความรบั ผดิ ชอบ
๙. รกั ษาส่งิ แวดล้อม
ความรู้ + ทกั ษะ คุณธรรม
๑. เลือกพ้ืนที่และสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมใน ๑. มมี นุษยสัมพันธ์
การปลกู พชื ผกั ได้ ๒. ความมีวินยั
๒. วางแผนปลกู พชื ผกั ได้ ๓. ความรับผิดชอบ
๓ . ใช้ท รัพ ย ากรอย่ างคุ้ ม ค่ าแ ล ะไม่ ท าให้ ๔. ความซื่อสตั ยส์ ุจรติ
สภาพแวดล้อมเสียหาย ๕. การประหยดั
๖. ความรกั ความสามคั คี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๑๐
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๓
๓-๔
วชิ า การผลิตพืชผัก รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ สอนคร้ังที่ ๑๕ – ๒๘
ชอื่ หน่วย ปัจจัยที่เก่ียวข้องกับการผลิตพืชผักและการวาง ชว่ั โมงท่ี
แผนการผลติ พชื ผกั
สาระสาคญั
ปจั จัยทเ่ี ก่ยี วข้องกับการผลติ พืชผักและการวางแผนการผลิตพชื ผกั
สมรรถนะทีพ่ งึ ประสงค์
๑. อธบิ ายสภาพแวดลอ้ มทเี่ หมาะสมในการปลูกพืชผกั ไดถ้ ูกตอ้ ง
๒. อธบิ ายปัจจยั ทีเ่ กย่ี วข้องกับการผลติ พชื ผกั ไดถ้ ูกต้อง
๓. สามารถวางแผนการผลิตพชื ผกั ได้
๔. สามารถใชท้ รัพยากรอยา่ งคมุ้ ค่าและไม่ทาให้สภาพแวดล้อมเสยี หาย
๕. บรู ณาการความรู้ท่ีได้มาใชใ้ นการดารงชีวติ โดยยดึ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งและ
ค่านยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
เน้ือหาสาระ
๑. สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมตอ่ การผลติ พชื ผัก
๒. ปจั จยั ท่ีเกย่ี วข้องในการผลิตพชื ผกั
๒. การวางแผนการผลติ พืชผัก
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขั้นเตรยี มการสอน
๑. ครเู ตรยี มใบความรู้ เร่ืองปัจจัยทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับการผลติ พืชผกั และการวางแผนการผลิตพชื ผัก
ขน้ั นา
๒. สารวจรายชอ่ื นักศกึ ษาในช้นั เรยี น
๓. ทบทวนความรู้
ข้นั การสอน
๓. ศึกษาเรือ่ งปจั จัยที่เก่ยี วข้องกับการผลติ พืชผักและการวางแผนการผลติ พืชผัก
๔. มอบหมายงานให้แตล่ ะกลุ่มศึกษาสภาพแวดลอ้ มและวางแผนปลูกพชื ผัก
ขัน้ สรุป
๕. ให้ตัวแทนกลุ่มแตล่ ะกลุ่มสรุปหน้าชน้ั เรียน
๖. ผสู้ อนสรุปเน้อื หา
ขน้ั ประเมนิ ผล
๗. ผู้สอนถามนักศึกษาเปน็ รายบคุ คล
๑. งานมอบหมายหรอื กจิ กรรม
๑.๑ กอ่ นเรยี น
- ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับปัจจัยท่ีเก่ียวข้องกับการผลิตพืชผักและการวางแผนการผลิต
พืชผัก
๑.๒ ขณะเรียน
๑๑
- ครแู จกใบความรู้
- ครูสอนเนอ้ื หาท่ีเตรยี มมาแก่นักเรยี น
- ครูถามคาถามนักเรียนเป็นบางครั้งคราว
๑.๓ หลังเรยี น
- ครสู รุปเนือ้ หาทีส่ อนใหก้ ับนักเรยี น
๒. สอื่ การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอื่ การเรยี นการสอน
- ใบความรู้เร่ืองปัจจัยทเ่ี กย่ี วข้องกับการผลติ พชื ผักและการวางแผนการผลิตพืชผกั
- ภาพสไลด์
- ใบงานท่ี ๓ ปจั จยั ท่เี ก่ยี วขอ้ งกบั การผลติ พชื ผกั และการวางแผนการผลติ พชื ผัก
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- หอ้ งสมดุ
- แปลงพืชผักชีววถิ ี
- ศนู ยก์ ารเรยี นร้ดู ้วยตนเอง
การวดั ผลและประเมนิ ผล
การวดั ผล
๑. ทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี นโดยสอบถามเป็นรายบุคคล
๒. สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
การประเมนิ ผล
๑. ตอบคาถามและวางแผนการผลิตพชื ผัก
๒. แบบสังเกตต้องผา่ นเกณฑ์ ๘๐ เปอร์เซ็นต์
๑๒
บนั ทกึ หลงั การสอน หนว่ ยท่ี ๔
วชิ า การผลติ พืชผกั (Vegetable Crops Production) สปั ดาห์ที่ ๓ – ๔
ชอื่ หนว่ ย ปัจจยั ทเี่ กย่ี วข้องกับการผลิตพชื ผกั และการวางแผนการผลิตพืชผัก
จานวน ๑๔ ชว่ั โมง
ระดบั ชน้ั ปวช.๑
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….................
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงชื่อ………………………………..………ผสู้ อน
(นางสาวจุลเจมิ สรุ วิ งค์)
//
๑๓
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพ่ือหลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล
๑. ศกึ ษาองค์ความรเู้ บ้ืองทว่ั ไปเกี่ยวกบั การปลกู พอประมาณ
และการปฏิบตั ดิ แู ลรักษาพืชผักเพอ่ื ใหต้ รงกบั
ศักยภาพและทรพั ยากรของตนเองท่ีมีอยู่ ๓. วางแผนการปลูกและการปฏบิ ตั ิดแู ลรักษา
๒. วางแผนปลูกผกั ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พืชผกั โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสมกับศกั ยภาพ
พอเพยี งเพ่ือการพัฒนาอยา่ งยัง่ ยืน ของตนเองและทรัพยากรทม่ี ีอยู่
๔. ประชมุ ผ้รู ่วมงานเพ่ือวางแผนดาเนินงาน
ฟาร์ม ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อการพัฒนาอย่างยง่ั ยืน
๕. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความไม่ประมาท
หนว่ ยท่ี ๔ เร่อื งการปลกู และ ภมู ิคมุ้ กนั
การปฏิบตั ดิ แู ลรกั ษาพชื ผัก
ความรู้ + ทกั ษะ ๖. ลดความความเสย่ี งภัย
๗. เกดิ ความสามัคคี กบั เพอื่ นรว่ มงาน
๑. เขา้ ใจวธิ ีการปลูกและดแู ลรกั ษาพืชผัก ๘. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
๒. เตรยี มพ้ืนทแี่ ละแปลงปลูกพืชผกั ได้ ๙. รักษาสิ่งแวดล้อม
๓. คัดเลือกเมลด็ พนั ธ์พุ ืชผักและปลูกพืชผักชนดิ
ต่าง ๆ ไดถ้ กู ตอ้ ง คุณธรรม
๔. ปฏิบตั ดิ ูแลรกั ษาพืชผักไดถ้ ูกตอ้ ง
๕. ตรงตอ่ เวลา ขยัน อดทน รกั ษาสภาพแวดลอ้ ม ๑. มมี นุษยสัมพันธ์
รับผดิ ชอบงาน ๒. ความมีวนิ ยั
๓. ความรบั ผิดชอบ
๔. ความซ่อื สัตยส์ จุ รติ
๕. การประหยดั
๖. ความรกั ความสามัคคี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๑๔
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๔
วชิ า การผลิตพืชผกั รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ สอนครง้ั ที่ ๕ – ๑๑
ชื่อหนว่ ย การปลกู และการปฏบิ ัตดิ ูแลรักษาพชื ผัก ชว่ั โมงท่ี ๒๙ – ๗๗
สาระสาคญั
การปลกู และการปฏบิ ตั ดิ แู ลรักษาพชื ผกั
สมรรถนะทีพ่ ึงประสงค์
๑. เตรยี มพน้ื ทป่ี ลูกพชื ผักได้ถกู ตอ้ ง
๒. เตรียมแปลงปลูกพชื ผกั ได้
๓. สามารถคดั เลอื กเมล็ดพนั ธ์ุพชื ผักไดถ้ ูกตอ้ ง
๔. สามารถปลูกและปฏิบัติดูแลรักษาพืชผักไดถ้ ูกต้อง
๕. มคี วามตรงต่อเวลา ขยัน อดทน รกั ษาสภาพสง่ิ แวดล้อม และมีความรับผดิ ชอบ
๖. บูรณาการความรู้ที่ได้มาใช้ในการดารงชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ
ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
เน้อื หาสาระ
๑. การเตรียมพื้นทีป่ ลูกพชื ผัก
๒. การคัดเลือกเมล็ดพันธ์ุพืชผกั
๓. การปลูกและการดแู ลรกั ษา
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขน้ั เตรยี มการสอน
๑. ครูเตรียมใบความรู้ เร่ืองการปลกู และการปฏิบตั ิดูแลรกั ษาพชื ผัก
ขน้ั นา
๒. สารวจรายชือ่ นกั ศกึ ษาในชนั้ เรียน
๓. ทบทวนความรู้
ข้ันการสอน
๔. ครอู ธบิ ายเกี่ยวกับเร่อื งการปลกู และการปฏิบตั ิดแู ลรักษาพชื ผกั
๕. ให้นกั ศึกษาดภู าพสไลด์ ภาพวดิ ีโอ
๖. ให้นักศึกษาเรียนรดู้ ว้ ยตนเองจากแผ่น CD (E-book พืชผกั ) จานวน ๔ ชุดคอื ๑.ผกั กิน
ดอกและหวั ๒. ผกั กินใบ ๓. ผกั กนิ ผล ๔. ผักกนิ ฝกั และเมล็ด
๗. ให้นกั ศึกษาแต่ละคนวางแผนการปลกู และดูแลรักษาพืชผกั
ขั้นสรุป
๘. ผู้สอนสรุปเน้ือหา
ขนั้ ประเมนิ ผล
๙. ผู้สอนสงั เกตพฤติกรรมการปฏิบตั ิงานของนักศึกษาเป็นรายบุคคล
๑. งานมอบหมายหรอื กิจกรรม
๑.๑ ก่อนเรียน
- ครสู นทนากับนกั เรียนเกี่ยวกบั การปลกู และการปฏบิ ตั ิดูแลรกั ษาพืชผกั
๑๕
๑.๒ ขณะเรยี น
- ครแู จกใบความรู้ เรอ่ื งการปลูกและการปฏิบตั ดิ ูแลรักษาพืชผัก
- ครสู อนเนอื้ หาท่ีเตรยี มมาแกน่ ักเรยี น
- ครูถามคาถามนักเรยี นเป็นบางครั้งคราว
๑.๓ หลังเรียน
- ครูสรุปเนอื้ หาทสี่ อนให้กับนักเรยี น
- ครูถามคาถามท่ีเก่ยี วกบั เน้ือหาที่สอนกบั นักเรยี น
๒. สอื่ การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอื่ การเรยี นการสอน
- ใบความรู้ เรอื่ งการปลูกและการปฏิบตั ดิ ูแลรักษาพืชผัก
- ภาพสไลด์ , วดิ ีโอ
- E-book พืชผกั จานวน ๔ ชดุ คอื ๑.ผักกนิ ดอกและหัว ๒. ผกั กนิ ใบ ๓. ผกั กินผล ๔. ผกั
กินฝกั และเมลด็
- ใบงานที่ ๔ การปลูกและการปฏบิ ตั ดิ แู ลรักษาพชื ผัก
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- แปลงพชื ผักชีววถิ ี
- ศูนย์การเรยี นรดู้ ้วยตนเอง
- หอ้ งสมุด
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรยี น
- แบบประเมินผลงาน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
๓.๒ การประเมนิ ผล
- การตอบคาถาม
- ผลงานการปลกู และการปฏิบตั ิดูแลรักษาพืชผกั
๑๖
บนั ทกึ หลงั การสอน หนว่ ยที่ ๔
วชิ า การผลติ พชื ผกั (Vegetable Crops Production) สปั ดาหท์ ่ี ๕ – ๑๑
ช่ือหนว่ ย การปลูกและการปฏิบัตดิ แู ลรักษาพืชผกั
จานวน ๔๙ ชวั่ โมง
ระดบั ชนั้ ปวช.๑
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….................
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงช่อื ………………………………..………ผู้สอน
(นางสาวจุลเจมิ สรุ ิวงค์)
//
๑๗
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพือ่ หลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศกึ ษาองค์ความรู้เกย่ี วกับ การเก็บเกยี่ วและการ ๓. กาหนดแนวทาง การเก็บเก่ยี วและการ
จัดการหลังการเก็บเก่ียวเพ่ือให้ตรงกับศักยภาพและ จัดการหลังการเกบ็ เก่ียวโดยพจิ ารณาให้
ทรัพยากรของตนเองทม่ี ีอยู่ เหมาะสมกบั ศกั ยภาพของตนเองและ
๒. วางแผนการเกบ็ เก่ียวและการจัดการหลังการเกบ็ ทรพั ยากรทมี่ ีอยู่
เกย่ี วตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอ่ื การ ๔. ประชมุ ผ้รู ่วมงานเพ่ือวางแผนดาเนนิ งาน
พัฒนาอยา่ งย่งั ยืน การเกบ็ เกีย่ วและการจัดการหลังการเก็บเกีย่ ว
ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเพอื่
การพฒั นาอย่างยั่งยนื
๕. ปฏิบัตงิ านดว้ ยความไมป่ ระมาท
หนว่ ยท่ี ๕ เรื่องการเก็บเกี่ยว ภมู ิคมุ้ กนั
และการจดั การหลังการเก็บเกีย่ ว
๖. ลดความความเสยี่ งภยั
ความรู้ + ทกั ษะ ๗. เกดิ ความสามคั คี กบั เพอื่ นรว่ มงาน
๘. มคี วามรับผดิ ชอบ
๑. รวู้ ิธเี กบ็ เกย่ี วพืชผกั ชนิดต่างๆ ๙. รักษาส่ิงแวดล้อม
๒. เก็บพืชผักในระยะเหมาะสมได้
๓. ปฏบิ ตั หิ ลังการเก็บเกยี่ วไดถ้ กู ตอ้ ง คุณธรรม
๔. มีความซ่อื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ
๑. มมี นุษยสัมพนั ธ์
๒. ความมวี นิ ยั
๓. ความรบั ผดิ ชอบ
๔. ความซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
๕. การประหยดั
๖. ความรกั ความสามคั คี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๑๘
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๕
วชิ า การผลติ พชื ผัก รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓
ชือ่ หนว่ ย การเกบ็ เกี่ยวและการจดั การหลงั การเกบ็ เกย่ี ว สอนครงั้ ที่ ๑๒ – ๑๔
ชวั่ โมงท่ี ๗๘ – ๙๘
สาระสาคญั
การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลงั การเก็บเกย่ี ว
สมรรถนะท่ีพงึ ประสงค์
๑. สามารถการเกบ็ เก่ยี วพชื ผักชนดิ ต่างๆได้
๒. สามารถเก็บเกยี่ วพชื ผกั ในระยะทีเ่ หมาะสมได้
๓. สามารถจัดการหลงั การเก็บเกีย่ วได้ถกู ตอ้ ง
๔. มคี วามซอ่ื สตั ย์ และความรบั ผิดชอบ
๕. บูรณาการความรู้ที่ได้มาใช้ในการดารงชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ
คา่ นิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
เน้อื หาสาระ
๑. การเก็บเกยี่ ว
๒. การจัดการหลงั การเก็บเกี่ยวพืชผกั
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้ันเตรยี มการสอน
๑. ครเู ตรยี มใบความรู้ เรื่องความร้กู ารเกบ็ เก่ยี วและการจัดการหลังการเกบ็ เกี่ยว
ขน้ั นา
๒. สารวจรายชือ่ นักศึกษาในชัน้ เรียน
๓. ทบทวนความรู้
ขั้นการสอน
๔. ครูอธบิ ายเกย่ี วกับเรื่องการเก็บเก่ียวและจัดการหลงั การเกบ็ เกีย่ วพืชผกั
๕. ใหแ้ ต่ละกลุม่ ศึกษาการเก็บเกีย่ วและจดั การหลงั การเก็บเก่ยี วพืชผกั
ขน้ั สรปุ
๖. ใหต้ ัวแทนกลุ่มแตล่ ะกลุม่ สรุปหน้าชัน้ เรยี น
๗. ผู้สอนถามนักศึกษาเป็นรายบุคคล
ข้ันประเมินผล
๘. ผ้สู อนสรุปเน้อื หา
๑. งานมอบหมายหรอื กิจกรรม
๑.๑ กอ่ นเรยี น
- ครูสนทนากบั นักเรียนเกยี่ วกับการเกบ็ เกีย่ วและจดั การหลังการเก็บเกยี่ วพชื ผกั
๑.๒ ขณะเรียน
- ครูแจกใบความรู้ เรื่องการเก็บเก่ียวและจัดการหลังการเก็บเก่ยี วพชื ผัก
๑๙
- ครูสอนเนอื้ หาท่ีเตรยี มมาแก่นักเรยี น
- ครูให้แต่ละกลุ่มปฏบิ ัติการการเก็บเก่ียวพืชผกั
๑.๓ หลังเรยี น
- ครูสรปุ เนื้อหาทีส่ อนให้กบั นักเรียน
- ครูถามคาถามท่เี ก่ียวกับเน้ือหาท่ีสอนกบั นักเรยี น
๒. สอ่ื การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอ่ื การเรยี นการสอน
- ใบความรเู้ ร่ืองการเกบ็ เกี่ยวและจดั การหลงั การเกบ็ เกย่ี วพชื ผกั
- ภาพสไลด์
- ใบงาน การเกบ็ เกี่ยวและการจัดการหลงั การเก็บเก่ียว
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- แปลงพืชผักชวี วถิ ี
- ศนู ยก์ ารเรยี นรู้ดว้ ยตนเอง
- หอ้ งสมุด
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรียน
- แบบประเมินผลงาน
- แบบสังเกตพฤติกรรม
๓.๒ การประเมนิ ผล
- การตอบคาถาม
- ผลงานการเก็บเก่ยี วและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว
๒๐
บนั ทกึ หลังการสอน หนว่ ยที่ ๕
วชิ า การผลติ พชื ผกั (Vegetable Crops Production) สปั ดาห์ที่ ๑๒ – ๑๔
ชอ่ื หนว่ ย การเกบ็ เกี่ยวและการจัดการหลังการเกบ็ เก่ยี ว จานวน ๑๔ ชวั่ โมง
ระดบั ชน้ั ปวช.๑
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนักเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงชื่อ………………………………..………ผสู้ อน
(นางสาวจุลเจิม สรุ ิวงค์)
//
๒๑
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพือ่ หลกั บรู ณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศกึ ษาองค์ความรู้ เรือ่ งการเพิม่ มูลคา่ ของ ๓.กาหนดแนวทางการเพม่ิ มลู คา่ ของผลผลติ
ผลผลติ หลังการเก็บท่ีเกี่ยวกับผักเพอื่ ใหต้ รงกบั หลังการเก็บเกย่ี ว โดยพิจารณาใหเ้ หมาะสม
ศักยภาพและทรพั ยากรของตนเองท่ีมีอยู่ กับศกั ยภาพของตนเองและทรพั ยากรท่ีมอี ยู่
๒. วางแผนการเพม่ิ มลู คา่ ของผลผลิตหลังการเกบ็ ๔. ประชุมผู้ร่วมงานเพอ่ื วางแผนดาเนนิ งาน
เกี่ยว ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพือ่ การ การเพิม่ มลู คา่ ของผลผลติ หลงั การเกบ็ เกี่ยว
พัฒนาอย่างยัง่ ยนื ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
การพัฒนาอยา่ งย่งั ยนื
หนว่ ยท่ี ๖ เร่ืองการเพ่ิมมลู ค่า ๕. ปฏิบัติงานด้วยความไมป่ ระมาท
ของผลผลติ หลังการเกบ็ เก่ียว
ภมู ิคมุ้ กนั
๖. ลดความความเสย่ี งภัย
๗. เกดิ ความสามคั คี กับเพื่อนร่วมงาน
๘. มคี วามรับผดิ ชอบ
๙. รักษาสง่ิ แวดลอ้ ม
ความรู้ + ทักษะ คณุ ธรรม
๑. ร้วู ิธแี ปรรูปพืชผักชนิดต่างๆ ๑. มีมนษุ ยสมั พันธ์
๒. แปรรปู พืชผักชนดิ ตา่ งๆได้ ๒. ความมีวนิ ยั
๓. รกั ในศลิ ปะการแปรรูปอาหาร ๓. ความรับผิดชอบ
๔. ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ
๕. การประหยดั
๖. ความรกั ความสามัคคี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๖
วชิ า การผลิตพชื ผัก รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓
ช่อื หนว่ ย การเพิม่ มลู คา่ ของผลผลติ หลังการเกบ็ เกีย่ ว สอนครงั้ ที่ ๑๕ - ๑๖
ชวั่ โมงที่ ๙๙ – ๑๑๒
๒๒
สาระสาคญั
การเพิ่มมลู ค่าของผลผลิตหลงั การเก็บเกี่ยว
สมรรถนะทพ่ี งึ ประสงค์
๑. สามารถแปรรปู พืชผกั ได้
๒. สามารถเพิม่ มลู ค่าของผลผลติ พืชผักได้
๓. มีความซื่อสตั ย์ ความรับผิดชอบ
๔. บูรณาการความรทู้ ่ีไดม้ าใชใ้ นการดารงชวี ติ โดยยึดหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงและ
ค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ
เนอื้ หาสาระ
๑. การแปรรูปพชื ผกั
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ข้นั เตรยี มการสอน
๑. ครเู ตรยี มใบความรู้ เรือ่ งการเพิ่มมลู ค่าของผลผลติ หลังการเกบ็ เกีย่ ว
ขั้นนา
๒. สารวจรายชอื่ นกั ศึกษาในช้ันเรียน
๓. ทบทวนความรู้
ขั้นการสอน
๔. ครูอธบิ ายเกยี่ วกับเรือ่ งการเพม่ิ มูลค่าของผลผลิตหลงั การเก็บเกยี่ ว
๕. ใหแ้ ต่ละกลมุ่ ศึกษาวิธีการแปรรูปพชื ผัก
ข้นั สรปุ
๖. ให้ตวั แทนแต่ละกลุ่มสรุปหน้าช้ันเรยี น
๗. ผสู้ อนถามนักศึกษาเปน็ รายบคุ คล
ขัน้ ประเมินผล
๘. ผู้สอนสรปุ เนอื้ หา
๑. งานมอบหมายหรอื กิจกรรม
๑.๑ กอ่ นเรยี น
- ครูสนทนากับนักเรียนเก่ยี วกับการเพ่ิมมูลค่าของผลผลิตหลังการเกบ็ เก่ยี ว
๑.๒ ขณะเรียน
- ครูแจกใบความรู้ เร่ืองการเพิ่มมูลค่าของผลผลิตหลังการเกบ็ เก่ียว
- ครูสอนเน้อื หาที่เตรียมมาแก่นักเรียน
- ครูถามคาถามนักเรียนเป็นบางครงั้ คราว
๒๓
๑.๓ หลังเรยี น
- ครูสรุปเน้ือหาท่ีสอนให้กบั นักเรยี น
- ครถู ามคาถามทเ่ี ก่ียวกับเน้ือหาท่ีสอนกบั นักเรียน
๒. สอื่ การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอื่ การเรยี นการสอน
- ใบความรู้ เร่ืองการเพมิ่ มลู ค่าของผลผลติ หลงั การเก็บเก่ียว
- ภาพสไลด์ , วดิ ีโอ การแปรรูปพชื ผกั
- ใบงานที่ ๖ การแปรรปู พชื ผกั
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- อาคารแปรรปู ผลผลิตเกษตร
- ห้องสมุด
- ศูนยก์ ารเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- ทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรยี นโดยสอบถามเป็นรายบุคคล
- สงั เกตพฤติกรรมการทางานกลมุ่
๓.๒ การประเมนิ ผล
- ตอบคาถาม
- ผลงานการแปรรปู พืชผกั
๒๔
บนั ทกึ หลังการสอน หนว่ ยท่ี ๖
วชิ า การผลิตพชื ผกั (Vegetable Crops Production) สปั ดาห์ท่ี ๑๕ – ๑๖
ชอื่ หนว่ ย การเพม่ิ มูลค่าของผลผลิตหลังการเก็บเกีย่ ว จานวน ๑๔ ชว่ั โมง
ระดบั ชนั้ ปวช.๑
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนกั เรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….................
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงชือ่ ………………………………..………ผู้สอน
(นางสาวจลุ เจิม สรุ วิ งค์)
//
๒๕
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรยี น
เพ่ือหลกั บูรณาการปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและคา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
วชิ า การผลติ พชื ผกั
เหตผุ ล พอประมาณ
๑. ศึกษาองค์ความร้เู บ้อื งทวั่ ไปเกยี่ วกบั การจัด ๓. กาหนดแนวทาง การจัดจาหนา่ ยและการ
จาหน่ายและการทาบญั ชี เพ่อื ใหต้ รงกบั เวลา ทาบญั ชโี ดยพจิ ารณาใหเ้ หมาะสมกับศักยภาพ
ศักยภาพและทรัพยากรของตนเองทีม่ อี ยู่ ของตนเองและทรัพยากรทมี่ ีอยู่
๒. วางแผนการจัดจาหนา่ ยและการทาบัญชีตามแนว ๔. ประชมุ ผู้รว่ มงานเพ่ือวางแผนดาเนนิ งาน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพอื่ การพัฒนาอย่าง การจัดจาหน่ายและการทาบญั ชี ตามแนว
ยัง่ ยนื ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเพอื่ การพฒั นา
อย่างย่งั ยืน
๕. ปฏบิ ัติงานดว้ ยความไม่ประมาท
หนว่ ยท่ี ๗ เรอ่ื งการจดั จาหนา่ ย ภมู ิคมุ้ กนั
และการทาบญั ชี
๖. ลดความความเสยี่ งภัย
ความรู้ + ทักษะ ๗. เกิดความสามคั คี กับเพื่อนร่วมงาน
๑. สามารถบรรจภุ ัณฑ์พชื ผักได้ ๘. มคี วามรบั ผดิ ชอบ
๒. รกั ในศิลปะการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ๙. รกั ษาสิ่งแวดล้อม
๓. ทาบัญชีรับ – จ่ายได้
๔. มีความประหยดั คุณธรรม
๑. มมี นษุ ยสัมพันธ์
๒. ความมีวนิ ยั
๓. ความรบั ผดิ ชอบ
๔. ความซ่อื สตั ยส์ จุ รติ
๕. การประหยดั
๖. ความรักความสามัคคี
เศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สงิ่ แวดลอ้ ม
๒,๓,๕,๖,๘ ๒,๔,๗,๘ ๒,๔,๗,๘๗ ๒,๓,๕,๙
๒๖
แผนการสอน หนว่ ยที่ ๗
๑๗
วชิ า การผลติ พชื ผกั รหสั วชิ า ๒๕๐๑ – ๒๒๐๓ สอนครง้ั ท่ี ๑๑๓ – ๑๑๙
ชอื่ หนว่ ย การจัดจาหนา่ ยและการทาบัญชี ชว่ั โมงที่
สาระสาคญั
การจดั จาหน่ายและการทาบัญชี
สมรรถนะทพี่ งึ ประสงค์
๑. สามารถจาหน่ายพืชผักได้
๒. สามารถทาบัญชีครัวเรอื นได้
๓. มีความประหยดั ไมฟ่ ุม่ เฟือย
๔. มคี วาม ขยนั อดทน และมีความรับผดิ ชอบ
๕. บูรณาการความรู้ที่ได้มาใช้ในการดารงชีวิต โดยยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ
คา่ นยิ มของคนไทย ๑๒ ประการ
เน้อื หาสาระ
๑. การจัดจาหน่ายพืชผัก
๒. การทาบัญชีครัวเรือน
กระบวนการจดั การเรยี นรู้
ขน้ั เตรยี มการสอน
๑. ครูเตรียมใบความรู้ เร่อื งการจดั จาหน่ายและการทาบัญชี
ขน้ั นา
๒. สารวจรายชื่อนกั ศึกษาในชน้ั เรียน
๓. ทบทวนความรู้
ขั้นการสอน
๔. ครูอธบิ ายเกีย่ วกบั เรื่องการจดั จาหนา่ ยและการทาบัญชี
๕. ให้แต่ละกลุม่ ศึกษาการบรรจภุ ณั ฑ์พชื ผกั
๖. ใหแ้ ต่ละกลุ่มศึกษาการทาบญั ชรี บั – จ่าย
ขัน้ สรุป
๗. ให้ตัวแทนแตล่ ะกลมุ่ สรปุ หน้าช้นั เรียน
๘. ผ้สู อนสรปุ เน้ือหา
ข้นั ประเมนิ ผล
๙. ผ้สู อนถามนักศึกษาเป็นรายบุคคล
๑. งานมอบหมายหรือกจิ กรรม
๑.๑ กอ่ นเรยี น
- ครสู นทนากบั นักเรยี นเก่ียวกับการจดั จาหนา่ ยและการทาบัญชี
๑.๒ ขณะเรยี น
- ครูแจกใบความรู้ เรอ่ื งการจดั จาหนา่ ยและการทาบัญชี
- ครสู อนเนือ้ หาท่ีเตรียมมาแกน่ ักเรียน
๒๗
- ครถู ามคาถามนักเรียนเป็นบางครง้ั คราว
๑.๓ หลงั เรียน
- ครสู รปุ เนือ้ หาท่สี อนให้กบั นกั เรียน
- ครถู ามคาถามท่เี กีย่ วกับเน้ือหาท่ีสอนกบั นักเรยี น
๒. สอื่ การเรยี นการสอน/แหลง่ การเรยี นรู้
๒.๑ สอื่ การเรยี นการสอน
- ใบความรู้ เรอ่ื งการจดั จาหน่ายและการทาบญั ชี
- ใบงานที่ ๗ การจัดจาหนา่ ยและการทาบัญชี
๒.๒ แหลง่ การเรยี นรู้
- อาคารแปรรปู ผลผลติ เกษตร
- ห้องสมดุ
- ศูนย์การเรียนรดู้ ว้ ยตนเอง
- ตลาดพชื ผกั ท่วั ไป
๓. การวดั ผลและประเมนิ ผล
๓.๑ การวดั ผล
- ทดสอบกอ่ นเรียน-หลงั เรยี นโดยสอบถามเปน็ รายบุคคล
- สังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ
๓.๒ การประเมนิ ผล
- ตอบคาถาม จดั จาหนา่ ยและทาบญั ชีรับ-จ่ายได้
๒๘
บนั ทกึ หลงั การสอน หนว่ ยที่ ๑
วชิ า การผลติ พชื ผัก (Vegetable Crops Production) สปั ดาหท์ ี่ ๑
ช่ือหนว่ ย ความรูเ้ บื้องตน้ และการการตลาดเกย่ี วกับพชื ผกั จานวน ๗ ชว่ั โมง
ระดบั ชนั้ ปวช.๑
ผลการใชแ้ ผนการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………....……………………...................
ผลการเรยี นของนักเรยี น
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………….................
ผลการสอนของครู
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………….....................
ลงชือ่ ………………………………..………ผสู้ อน
(นางสาวจุลเจมิ สรุ ิวงค์)
//
เอกสารประกอบการสอน
รายวชิ า การผลติ พชื ผกั (Vegetable Crops production ) รหสั วชิ า ๒๕๐๑-๒๒๐๓
หนว่ ยท่ี ๑
เรื่อง ความรู้เบื้องตน้ เกยี่ วกบั พืชผกั หลกั การและกระบวนการผลติ ผัก
ความหมาย ผกั คือพชื ทม่ี นษุ ยน์ าส่วนใดสว่ นหนง่ึ ของพืชอาทิ ผล ใบ ราก ดอก หรือลาต้น มาประกอบอาหาร
ซ่ึงไม่นับรวมผลไม้ ถ่ัว สมนุ ไพร และเคร่อื งเทศ แตเ่ หด็ ซึ่งในทางชวี วทิ ยาจดั เป็นพวกเห็ดรา กน็ บั รวมเปน็ ผักด้วย
หลายบา้ นมักจะปลกู ผกั ไวเ้ พ่ือบริโภคภายในครัวเรือน เรียกว่าเป็นผักสวนครัว หรอื บางครั้งกเ็ พือ่ เปน็ ไม้ประดับ
ใชพ้ ื้นทีใ่ นการปลูกไมม่ าก พชื ผักสว่ นใหญ่เป็นพืชท่ีมีอายุส้ันเพยี งฤดูเดียว แตผ่ ักบางชนิดอาจมีอายมุ ากกวา่ 1 ปี หากมี
จานวนมากเหลือจากการบรโิ ภค ก็สามารถนาไปจาหนา่ ยได้
ความสาคญั ผกั เป็นพืชเศรษฐกจิ ทีส่ าคัญอย่างหนงึ่ ท่ี เราใช้บริโภคเปน็ อาหารประจาวัน ถ้าจะรวมมลู คา่ ของ
ผกั ทใี่ ช้ภายในครอบครัว รวมทงั้ ผักจากสวนครัว ผักที่เก็บตามรมิ รวั้ รมิ คคู ลอง ฯลฯ ผักที่ซ้ือ ขายในท้องตลาด ผักที่
สง่ ออกไปขายต่างประเทศ และสง่ เข้ามา ในรูปแบบต่างๆ ทั้งรูปแบบของผักสด ผักกระป๋อง ผกั ตากแห้ง เมล็ดพันธ์ผุ ัก
และอ่ืนๆ แลว้ ปีหน่งึ ๆ ประเทศเราใช้ผกั คดิ เปน็ เงินนบั พันๆ ล้านบาท แตไ่ ม่สามารถจะแยกตวั เลขออกมาให้ เหน็ ได้ชัด
ยกตวั อยา่ งง่ายๆ ถา้ เราบรโิ ภคผกั คดิ เฉลยี่ วนั ละ ๑ บาท ต่อคน ประชากรท่บี รโิ ภคผัก ๔๐ ล้านคน ปหี นงึ่ ๆ เราจะใช้
เป็นเงนิ ประมาณ ๑๔,๖๐๐ ลา้ นบาท
๑. อาหารประเภททใ่ี ห้การเจริญเติบโต และ ชว่ ยซ่อมแซมสว่ นท่ีสกึ หรอของรา่ งกาย ได้แก่ อาหารจาพวก
โปรตีน (protein) ซงึ่ มมี ากในจาพวกไข่ นม เนอื้ สัตวต์ ่างๆ เชน่ หมู เปด็ ไก่ ปลา กงุ้ โดยทว่ั ไปผักเปน็ แหลง่ ทีใ่ ห้โปรตนี
นอ้ ยมาก ยกเวน้ ถว่ั เหลือง และถั่วอ่ืนๆ
๒. อาหารประเภททีใ่ ห้พลังงานและความ อบอนุ่ ต่อรา่ งกาย คอื อาหารจาพวกคาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)
ไดแ้ ก่ อาหารแปง้ และนา้ ตาล อาหารแป้งมีมากในข้าวเจ้า ขา้ วเหนยี ว ข้าวโพด ขา้ วสาลี มันเทศ มันฝรัง่ ตลอดจน
อาหารจาพวก ไขมนั และนา้ มัน เช่น เนย น้ามันหมู นา้ มันพชื ต่างๆ เชน่ มะพรา้ ว ปาล์ม ถว่ั
๓. อาหารประเภทเสรมิ สร้างใหร้ ่างกายเตบิ โตแข็งแรง ป้องกันโรคภยั ไข้เจบ็ มารบกวน คือ อาหารจาพวก
วิตามนิ (vitamin) และเกลือแร่ (mineral) อาหารประเภทนสี้ ว่ นมากไดจ้ ากพืช
ถวั่ ชนดิ ตา่ งๆ มวี ิตามิน บี ๑ (thiamine) สงู วติ ามินนีม้ ีบทบาทในการย่อยอาหารแป้ง และน้าตาล ใหเ้ ปน็
ประโยชนต์ อ่ ร่างกาย ผทู้ ่ีขาดวติ ามิน บี ๑ มกั จะเป็นโรคเบ่ืออาหาร นอนไมห่ ลับ หงุดหงิด อ่อนเพลยี และอาจเปน็ โรค
เกย่ี วกบั ระบบประสาท ไดถ้ วั่ ชนดิ ต่างๆ มวี ิตามนิ บี ๑ (thiamine) สงู วิตามนิ นีม้ บี ทบาทในการย่อยอาหารแปง้ และ
นา้ ตาล ให้เป็นประโยชนต์ ่อร่างกาย ผู้ท่ีขาดวิตามิน บี ๑ มักจะเปน็ โรคเบ่ืออาหาร นอนไม่หลบั หงุดหงิด อ่อนเพลีย และ
อาจเป็นโรคเก่ียวกับระบบประสาท ได้
ผักใบสเี ขยี วตา่ งๆ มีวิตามินบี 2 (riboflavin) ท่ีมีบทบาทในการเผาผลาญการย่อย หรอื การใช้อาหารจาพวก
คารโ์ บไฮเดรต ผ้ทู ่ขี าดวติ ามิน บี 2 มักจะเป็นโรคปากนกกระจอก ล้นิ อักเสบ เหงือกอักเสบ โรคผวิ หนังแหง้ ผวิ ลอก ขน
รว่ ง
ถว่ั ลสิ ง มีวติ ามนิ พีพี (vitamin PP หรือ niacin) สูง ป้องกันการเปน็ โรคผวิ หนงั กระ ระบบประสาทพกิ าร
มะเขือเทศ มะเขือเปรยี้ ว มะนาว ผักใบเขยี ว มีวติ ามินซี (ascorbic acid) สงู ผทู้ ่ขี าดวิตามนิ น้จี ะเปน็ โรคโลหิต
จาง ซดี เซียว แคระแกรน็ กระดูกไมแ่ ขง็ แรง เปน็ โรคลักปดิ ลักเปดิ หรือเลอื ดออกตามไรฟัน และเปน็ หวัดง่าย
ผกั กาด และผกั กนิ ใบตา่ งๆ มแี รธ่ าตุสูง โดยเฉพาะอย่างยิ่งแคลเซียม ธาตนุ ้ีช่วยในการสร้างกระดูก ทาให้โครง
กระดูกและฟนั แข็งแรง ผทู้ ี่มีสขุ ภาพดมี ักจะมีฟนั แข็งแรง นอกจากนี้ผักเหล่านย้ี งั มธี าตเุ หลก็ สงู ธาตุนจ้ี าเป็นตอ่ การสร้าง
เมด็ โลหติ แดง ผู้ทข่ี าดธาตนุ ีจ้ ะเปน็ โรคโลหิตจาง
ถว่ั เหลอื ง มีโปรตีน หรอื กรดอะมโิ นที่จาเปน็ ต่อการเจริญเติบโตของร่างกายสงู การใชถ้ ัว่ เหลืองในรูปตา่ งๆ เช่น
ถั่วงอก เตา้ เจ้ยี ว เต้าหู้ น้านม ถั่วเหลือง ถว่ั แผ่น เนื้อเกษตร (เนอ้ื เทยี มท่ที าจากถว่ั ) สามารถชว่ ยเพ่ิมอาหารโปรตนี ใน
ท้องที่ที่ขาดอาหารโปรตนี จากเนอื้ สตั ว์ ปลา นม และไข่ได้ ถัว่ อีกหลายชนิดยงั อุดมไปด้วยอาหารประเภทไขมนั ละ
นา้ มนั (fat & oil) ด้วย การใช้นา้ มนั ถว่ั หรือนา้ มนั พืช ยังช่วยลดการเป็นโรคเกยี่ วกับเส้นโลหิตอุดตนั เกดิ จากสารคอเล
สเทอรอล (Cholesterol)
นอกจากผักจะสามารถจัดสรรอาหาร ๓ ประ เภท คือ อาหารประเภทโปรตีนท่ใี หค้ วามเจริญเติบโต และ
ซ่อมแซมสว่ นทส่ี กึ หรอ ของรา่ งกาย อาหารประเภทแปง้ และน้าตาล และไขมนั น้ามนั ที่ให้ พลงั งาน และความอบอุ่นต่อ
ร่างกาย อาหารประเภทวิตามิน และเกลือแร่ ทเี่ สริมสรา้ งให้รา่ งกายแข็งแรง ปราศจากโรคภยั ไขเ้ จบ็ แลว้ ผกั ยังมีปริมาณ
นา้ สงู มเี ซลลโู ลส (cellulose) หรือกากอาหาร (fiber) ซง่ึ สารนี้ชว่ ยเสรมิ กิจกรรมการย่อยอาหารและขับ ถา่ ยของ
ร่างกายให้เปน็ ปกติ ยง่ิ ไปกว่าน้นั ผักบาง ชนดิ เชน่ พริก ความเผ็ดของพริกยงั ใช้เป็นเคร่ือง ชรู ส และเคร่ืองกระตุ้นใหเ้ รา
รบั ประทานอาหาร ไดเ้ อร็ดอร่อยขึน้ ผักหลายชนิดใช้สกดั ทาสีย้อมอาหาร ใหน้ า่ รับประทานข้ึน และไม่เปน็ พษิ เป็นภยั
ต่อรา่ งกาย เชน่ ดอกอญั ชนั ใชส้ กัดสมี ่วง ใบเตย ใชส้ กดั สเี ขยี วใบไม้ เปน็ ตน้
เทคนคิ การปลกู ผกั สวนครวั
๑. พชื ตระกลู แตงและถ่ัง
๒. ตระกูลกะหลา่ และผักกาด
๓. ตระกลู พรกิ
๔. ตระกูลผักชีและตระกลู ผักบงุ้
๕. ตระกูลโหระพา กะเพรา แมงลักและตระกลู ผักชฝี ร่ัง
หนว่ ยท่ี ๒
การตลาดผกั ของประเทศไทยและมาตรฐานการผลติ ผกั ตามระบบเกษตรดที เ่ี หมาะสม (GAP)
การปฏิบัติทางการเกษตรทด่ี ี และเหมาะสม (Good Agriculture Practices เรยี กย่อๆวา่ GAP)
หมายถงึ แนวทางในการทาการเกษตร เพอ่ื ให้ได้ผลผลิตท่ีมคี ุณภาพดตี รงตามมาตรฐานท่ีกาหนด ไดผ้ ลผลิตสงู คุ้มค่าการ
ลงทนุ และขบวนการผลติ จะต้องปลอดภัยต่อเกษตรกรและผู้บรโิ ภค มกี ารใชท้ รพั ยากรท่ีเกิดประโยชน์สูงสดุ เกิดความ
ยงั่ ยนื ทางการเกษตรและไมท่ าให้เกดิ มลพิษต่อสง่ิ แวดลอ้ ม โดยหลักการนไี้ ดร้ บั การกาหนดโดยองค์การอาหารและเกษตร
แหง่ สหประชาชาติ (FAO)
สาหรับประเทศไทย กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปน็ หน่วยงานที่มีหน้าทใี่ นการตรวจรบั รองระบบ
การจัดการคุณภาพ : การปฏิบตั ิทางการเกษตรทดี่ สี าหรับพชื (GAP) โดยได้กาหนดข้อกาหนด กฎเกณฑ์และวธิ กี ารตรวจ
ประเมนิ ซึง่ เปน็ ไปตามหลกั การท่สี อดคล้องกับ GAP ตามหลกั การสากล เพ่ือใชเ้ ปน็ มาตรฐานการผลิตพืชในระดับฟาร์ม
ของประเทศ รวมทง้ั ได้จดั ทาคู่มอื การเพาะปลูกพืชตามหลัก GAP สาหรบั พืชทีส่ าคัญของไทยจานวน 24 ชนดิ
ประกอบด้วย
ผลไม้ ทเุ รียน ลาไย กลว้ ยไม้ สับปะรด ส้มโอ มะม่วง และส้มเขยี วหวาน พืช ผกั มะเขอื เทศ หน่อไมฝ้ รง่ั ผักคะนา้
หอมหวั ใหญ่ กะหลา่ ปลี พริก ถัว่ ฝักยาว ถว่ั ลนั เตา ผกั กาดขาวปลี ขา้ วโพดฝกั อ่อน หวั หอมปลี และหวั หอมแบง่ ไม้
ดอก กล้วยไมต้ ดั ดอก และปทุมมา พชื อ่ืนๆ กาแฟโรบัสตา้ มนั สาปะหลัง และยางพารา
การตรวจรับรองระบบ GAP ของกรมวิชาการเกษตรไดแ้ บ่งออกเปน็ 3 ระดบั ดังน้ี
1. กระบวนการผลิตท่ีได้ผลิตผลปลอดภัย
2. กระบวนการท่ีไดผ้ ลติ ผลปลอดภัยและปลอดภยั จากศัตรูพชื
3. กระบวนการผลติ ที่ไดผ้ ลติ ผลปลอดภยั ปลอดจากศัตรูพืชและคุณภาพเปน็ ที่พงึ พอใจของผู้บริโภค
หลักเกณฑ์ และวธิ กี ารตรวจประเมนิ รับรองฟาร์ม GAP ขอ้ กาหนด หลกั เกณฑ์และวิธีการตรวจประเมนิ ทีใ่ ชใ้ นการตรวจ
รบั รองฟาร์ม GAP ทง้ั 3 ระดับ ประกอบดว้ ยข้อมูล ดังนี้
หนว่ ยท่ี ๓
การจาแนกพชื ผกั
การจาแนกประเภทของผัก ออกเปน็ ประเภทต่างๆนนั้ มีเกณฑอ์ ยหู่ ลายอย่าง ทสี่ ามารถใช้ในการจาแนก
ประเภทของผักได้ แตท่ น่ี ิยมกันหลกั ๆแล้ว ใชเ้ กณฑ์จาแนกตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์, จาแนกสว่ นทใ่ี ช้ในการบรโิ ภค
และจาแนกตามฤดปู ลูกทเ่ี หมาะสม รายละเอยี ดของ เกณฑ์การจาแนกดังกลา่ ว
1. การจาแนกผกั ตามลักษณะทางพฤกษศาสตร์ การจาแนกประเภทน้ี เป็นที่นยิ มใช้ในแวดวงการศกึ ษา การ
วิจยั ต่างๆ และค่อนขา้ งจะเป็นเกณฑ์การจาแนกทีเ่ ปน็ สากล โดยอาศัยความเก่ียวข้องใกลเ้ คียงกันของผกั มกี าร
เจริญเตบิ โต ในสภาพภูมิประเทศ และภมู ิอากาศคลา้ ย คลงึ กนั นอกจากน้ีผกั ประเภทเดียวกนั มักมรี ะบบการ
เจรญิ เติบโต ทางราก ลาตน้ และใบ ระบบการสืบพันธ์ุ ได้แก่ ดอก ผล และเมล็ด ท่คี ลา้ ยคลงึ กัน และสว่ นมาก นิยม
จาแนกผกั ตามลักษณะ ทางพฤกษศาสตรน์ ้ี ถึงแค่ระดบั ตระกลู (Family) ยกตวั อยา่ ง เช่น
ตระกลู กะหลา่ ได้แก่ กะหล่าดาว กะหล่าดอก กะหลา่ ปลี กวางตุ้ง คะน้า ผักกาดขาวปลี ผักกาดเขียวปลี
ผักกาดหวั บรอคคอลี
ตระกลู แตง ไดแ้ ก่ แตงกวา แตงเทศ แตงโม ตาลึง บวบเหลยี่ ม บวบหอม น้าเต้า ฟักทอง มะระ
ตระกลู ถว่ั ไดแ้ ก่ กระถิน แค ชะอม ถ่วั แขก ถ่วั ฝกั ยาว ถัว่ ลันเตา มนั แกว โสน
ตระกลู มะเขอื ไดแ้ ก่ พรกิ พริกยกั ษ์ พริกหวาน มะเขือ มะเขือเทศ มะแว้ง
ตระะกลู หอม ไดแ้ ก่ กระเทียม หอมแดง หอมแบ่ง หอมหัวใหญ่
ตระกลู อนื่ ๆ ไดแ้ ก่ ข้าวโพดหวาน ค่นื ฉา่ ย เคร่อื งเทศ ผักกาดหอม ผกั ชี ผกั บุ้งจีน สมุนไพร
2. การจาแนกผกั ตามสว่ นที่ใชบ้ รโิ ภค สว่ นของผักทีใ่ ช้บรโิ ภค ไดแ้ ก่ ใบ ลาตน้ ราก ดอก ผล และเมล็ด การ
ผลติ ผกั เพ่อื ต้องการ สว่ นของใบ และลาตน้ จึงจาเป็นต้องเพ่ิม ปรมิ าณปุ๋ยท่ีธาตุไนโตรเจน สว่ นการผลติ ผัก เพอ่ื บรโิ ภค
สว่ นของดอก ผล เมล็ด และระบบราก ท่ีแข็งแรงตอ้ งเพ่ิมปรมิ าณ ปุ๋ยท่ีให้ธาตุฟอสฟอรัส ส่วนความแขง็ แรง และรสชาติ
หวานของผล ไดร้ ับจากปุ๋ยทใี่ ห้ธาตุโปแตสเซียมเปน็ ส่วนใหญ่ นอกจากน้ี การปลูกผัก ท่ีตอ้ งการสว่ นตา่ งๆ ในการบรโิ ภค
ยงั เกยี่ วกับ การเขตกรรม เช่น ผกั ที่บรโิ ภคสว่ นของระบบราก จะไม่เพาะกลา้ เพ่ือทาการย้ายปลกู สว่ นทีใ่ ช้บริโภคของผัก
จาแนกได้ดงั นี้
ราก
– รากแกว้ ได้แก่ แครอท เทอร์นิพ ผักกาดหวั
– รากแขนง ไดแ้ ก่ มันเทศ
ลาต้น
– ลาต้นเหนอื ดิน ไดแ้ ก่ กะหลา่ ปม หนอ่ ไม้ฝรั่ง
– ลาตน้ ใต้ดิน ได้แก่ ขงิ ข่า เผือก มันฝรั่ง มันมือเสือ หนอ่ ไม้
ใบ
– ตระกลู หอม ได้แก่ กระเทียม กระเทียมตน้ หอมแดง หอมแบง่ หอมหัวใหญ่
– กล่มุ ใบกวา้ ง ได้แก่ กะหลา่ ปลี คะนา้ ปวยเหรง็ ผกั กาดขาวปลี ผกั กาดหอม
ดอก
– ตาดอกออ่ น ได้แก่ กะหล่าดอก บรอคอลี
– ดอกแก ไดแ้ ก่ แค โสน
ผล
– ผลอ่อน ได้แก่ กระเจีย๊ บเขียว ข้าวโพดฝักอ่อน แตงกวา ถ่ัวฝกั ยาว ถว่ั ลันเตา บวบเหล่ียม มะเขือ มะระ
– ผลแก่ ได้แก่ ตระกลู แตง เชน่ แตงเทศ แตงโม ฟักทอง ตระมะเขือ ได้แก่ พริก มะเขือเทศ
3. จาแนกตามฤดูปลกู ทเ่ี หมาะสม การใชเ้ กณฑฤ์ ดูปลกู ที่เหมาะสมในการจาแนกผักนัน้ จะขน้ึ อยู่กับฤดูกาล
อันมีผลเกย่ี วเนื่องจากลักษณะทางสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศของพื้นทนี่ ้นั ๆ สาหรบั ประเทศประเทศไทยน้นั อยู่ใน
เขนร้อนชน้ื ตลอดปี มี 3 ฤดู ไดแ้ ก่
ฤดฝู น เดอื น มิถุนายน-กันยายน
ฤดหู นาว เดอื น ตุลาคม-มกราคม
ฤดรู ้อน เดอื น กมุ ภาพนั ธ์-พฤษภาคม
โดยทัว่ ไปพชื ผัก สามารถปลกู ไดต้ ลอดปี แต่ในปัจจุบนั มีการปรับปรุงพนั ธผ์ุ ัก ให้สามารถปลูกในแตล่ ะฤดู ได้
อย่างเหมาะสม สามารถจาแนกผักทเี่ จรญิ เติบโต ได้อย่างปกตใิ นสภาพอุณหภมู ิ ต่างๆ ดงั นี้
ผักฤดหู นาว สามารถเจริญเติบโต ได้ดรี ะหว่างอณุ หภมู ิ 18-28 องศาเซลเซียส ผักกลุม่ น้ี สามารถเจริญเติบโต
และให้ผลผลติ สูง ในฤดหู นาว หากตอ้ งการปลใู นฤดูรอ้ น และฝนควร ควรเลือกปลกู พนั ธ์ุทีท่ นร้อน และฝน หรอื พนั ธุ์เบา
สามารถเจริญเตบิ โต และใหผ้ ลผลิตสงู เชน่ กัน หากเลือกใช้พันธุท์ ไี่ ม่เหมาะสม อาจทาให้ผลผลิตตา่ หรือเสียหาย ไดแ้ ก่
กระหลา่ ดอก กะหลา่ ปลี กระเทียม แครอท บรอคอลี ผกั กาดเขยี าปลี ผกั กาดหัว ผกั กาดหอม มันฝรงั่ และหอมหัวใหญ่
ผักฤดรู อน สามารถเจริญเตบิ โต ได้ดีในสภาพอุณหภมู ริ ะหว่าง 25-35 องศาเซลเซยี ส การปลกู ในประเทศไทย
สามารถเจรญิ เติบโต ให้ผลผลิตสงู ตลอดปี ได้แก่ กระเจยี๊ บเขียว ขา้ วโพดหวาน ผกั ตระกูลแตงทุกชนดิ ผักตระกูลมะเขือ
ทั้งหมด ยกเวน้ พริกยักษ์ พริกหวาน สาหรับผักตระกลู ถว่ั ยกเว้น ถว่ั ลันเตา
ผกั ฤดฝู น สามารถเจรญิ เติบโต ไดด้ ีในสภาพอุณหภูมริ ะหว่าง 25-35 องศาเซลเซยี ส และทนฝน ไดแ้ ก่ ผกั
ตระกลู แตงทั้งหมด ยกเว้น แตงเทศ ผักตระกูลมะเขือ และถั่วฝกั ยาว ผักกลมุ่ นี้เจริญเติบโตไดผ้ ลดีในทุกฤดู
หนว่ ยที่ ๕
ประเภทของการทาสวนผกั
๑. การทาสวนครวั หรือสวนผกั หลงั บา้ น (home gardening) เปน็ การทาสวนผกั เลก็ ๆ น้อยๆ เปน็ งานอดเิ รก
เพ่ือใหม้ ีผักไว้ใชร้ บั ประทานในครอบครวั เป็นการประหยดั รายจ่าย นอกจากนน้ั อาจจะมีเหลือแจกจ่ายเพื่อนบ้าน หรอื
ขายเป็นรายได้พเิ ศษป็นการทาสวนผักเล็กๆ น้อยๆ เปน็ งานอดเิ รก เพ่ือใหม้ ีผักไว้ใช้รับประทานในครอบครัว เป็นการ
ประหยัดรายจา่ ย นอกจากน้ันอาจจะมีเหลอื แจกจ่ายเพ่ือนบ้าน หรอื ขายเปน็ รายได้พิเศษ
๒. การทาสวนผกั เพอ่ื ส่งตลาดทอ้ งท่ี (market gardening) เป็นการปลกู ผักต่างๆ เป็นอาชพี เพื่อส่งตลาดใน
ท้องที่ สว่ นมากเป็นการปลูกที่ไมต่ ้องการดินฟ้าอากาศพิเศษอะไร ดงั นนั้ ส่วนใหญ่จึงเป็นการปลกู ผัก ท่ีอาจจะกระทาได้
ในทกุ ฤดกู าล เป็นการปลกู ผกั ต่างๆ เป็นอาชีพเพื่อสง่ ตลาดในทอ้ งที่ สว่ นมากเปน็ การปลูกที่ไมต่ อ้ งการดนิ ฟา้ อากาศ
พิเศษอะไร ดงั น้นั ส่วนใหญจ่ ึงเป็นการปลกู ผัก ท่อี าจจะกระทาได้ในทุกฤดูกาล
๓. การทาสวนผักเพอื่ สง่ ตลาดใหญ่ (truck gardening)เปน็ การปลกู ผกั อาชีพสาหรบั สง่ ตลาดไกลๆ การทาสวน
ผักประเภทน้ชี าวสวนมกั จะมุ่งทาพืชเฉพาะอยา่ ง (specialized gardening) เชน่ ปลกู ผกั กาดกป็ ลกู ผักกาดอยา่ งเดียว
เป็นการปลูกผักอาชีพสาหรับสง่ ตลาดไกลๆ การทาสวนผักประเภทนชี้ าวสวนมักจะมุ่งทาพืชเฉพาะอยา่ ง (specialized
gardening) เชน่ ปลกู ผกั กาดกป็ ลูกผักกาดอย่างเดียว
๔. การทาสวนผักเพอ่ื ส่งโรงงานอตุ สาหกรรมอาหาร (vegetable production for processing)การทาสวนผกั
ประเภทน้ี มักจะทาอยู่ในบรเิ วณท่ใี กลก้ บั ที่ตง้ั โรงงาน ในท่ีซ่ึงการขนส่งจากสวนผักไปโรงงานทาได้สะดวก
๕. การทาสวนผกั ดว้ ยวธิ กี ารควบคุมสภาพแวดลอ้ ม (vegetable forcing)เปน็ การปลูกผักนอกฤดูกาล หรือเม่ือ
สภาพแวดล้อมไม่อานวย เช่น หนาวจัดเกนิ ไป รอ้ นจัดเกนิ ไป ฝนตกหนกั เกนิ ไป การปลูกผกั วธิ นี ้ี กระทาเพ่ือจุดประสงค์
เฉพาะอย่าง อาทิการผสมพันธ์ุ และปรับปรุงพันธ์ุ การวิจยั ดา้ นการเพ่ิมผลผลิต การปลูกผักเปน็ การค้าในเรอื นกระจก
หรอื เรอื นพลาสตกิ กระทาในฤดหู นาว และใน
๖. การปลกู ผักเพอ่ื ผลติ เมล็ดพันธ์ุ (vegetable growing for seed production) เปน็ การปลกู ผกั ที่ต้องใช้
เวลานานกวา่ ใชว้ ิธกี ารดูแลรักษามากกวา่ และเส่ียงมากกว่าการปลูกเพ่ือขายสด ตัวอย่างผักกาดหัว การปลูกขายสดจะ
ใช้เวลาราว ๔๕-๖๐ วัน แตป่ ลูกเพ่ือผลิตเมล็ดพนั ธุ์จะต้องใชเ้ วลา ๑๒๐-๑๕๐ วัน บางทเี มลด็ อาจจะตดิ ไมด่ ีเนื่องจากมี
อากาศร้อนจดั ในระยะทด่ี อกกาลังจะมีการผสมเกสร (pollination) บางทีตดิ เมล็ดน้อยเพราะแมลงผสมเกสร (insect
pollinators) มีปริมาณไม่เพียงพอ ดังน้นั เราจะเหน็ วา่ มีการเสีย่ งมากกว่า ในการปลกู ผักกาดหอมห่อ ถา้ จะให้ช่อดอก
ออกดีก็ต้องมีการผา่ หัว (deheading) การผลิตเมล็ดพนั ธุ์ผักพชื จาพวก ๒ ฤดู (biennial vegetable crops) เชน่
กะหลา่ ปลี กะหล่าดอก หอมฝรั่ง ฯลฯ กต็ ้องใชว้ ธิ กี ารพิเศษและยงุ่ ยากมากกวา่ การปลูกเพอ่ื ขายสด ผักบางชนดิ นอกจาก
จะตอ้ งมกี ารทาลายการพกั ตวั ดว้ ยอากาศเย็นเป็นเวลานานเพียงพอแล้ว ยังจะต้องมีการป้องกนั การงอกในระหว่างเกบ็
รักษา และก็ยงั จะมีปญั หาอ่นื ๆ ตดิ ตามมาอกี
อนง่ึ การทาสวนผกั เปน็ อาชีพในบ้านเรา ถา้ เป็นบริเวณที่ล่มุ เช่นในภาคกลางจะนยิ มทาสวนผักแบบยกรอ่ งใหญ่
โดยปกตจิ ะทาเปน็ แปลงกวา้ ง ๔ เมตร ยาวไมเ่ กิน ๘๐ เมตร ตรงกลางพูนเปน็ แปลงปลูก มีทางเดินและคนู า้ รอบแปลง
เพอื่ ประโยชน์ในการรดนา้ และระบายนา้ เดิมการปลูกผักแบบนีใ้ ชแ้ รงงานคนท้งั สิน้ ปัจจบุ นั ได้หันมาใชเ้ คร่ืองมือกลทุ่น
แรง (mechanisation) มากข้ึน ไมว่ ่าจะเป็นการเตรยี มดิน การฉีดยาป้องกันและกาจดั ศัตรพู ืช การรดน้า ดงั นั้นขนาด
ของแปลงปลูก ทางเดินและคูน้ารอบแปลง จงึ มีการดัดแปลงใหเ้ หมาะสมกับเครื่องมือกลที่ใช้
การปลูกผกั ในบริเวณที่ดอนจะนยิ มทาเปน็ แปลงใหญ่แบบยกรอ่ งเล็ก (furrow) แต่ทาเป็นแปลงใหญ่มีทาง
สาหรับให้เคร่ืองมือกล เช่น แทรกเตอร์เข้าทางานได้ สว่ นใหญจ่ ะใชเ้ คร่ืองมือกลชว่ ยในการเตรียมดิน การยกรอ่ ง การ
พรวน การชลประทานและการระบายน้า โดยทคี่ ่าแรงงานในประเทศเรายังถูกและคนว่างงานมาก ดังนั้นจงึ ยังมีการใช้
แรงงานคนช่วยในกจิ กรรมต่างๆ มาก เชน่ การย้ายปลูก การใสป่ ยุ๋ การพรวน การถอนแยก ฯลฯ ส่วนการฉีดยาป้องกัน
กาจดั ศัตรูพืช การชลประทาน นิยมใชเ้ คร่อื งมอื กล
การปลูกผักตามเชงิ เขาและทลี่ าดชันก็นิยมใช้วทิ ยาการสมัยใหม่ในการรักษาหนา้ ดนิ มากข้นึ อาทิมกี ารปลูกผัก
ตามแนวระดับ หรือปลูกตามแนวข้นั บนั ได ในประเทศท่ีพัฒนาแล้วค่าแรงสงู มากเมื่อเทียบกบั ประเทศเราและแรงงานหา
ยาก เขาจึงนิยมใชเ้ ครอ่ื งมือกลทุ่นแรงช่วยในกจิ กรรมของสวนผักทุกอย่างตงั้ แต่การปลูกจนถงึ การเกบ็ เกย่ี ว แม้แต่การ
ปลกู ผกั ที่เมลด็ มขี นาดเล็กมาก เช่น หอมฝร่งั (onion) เซเลอรี (celery) ผักกาดหอม (lettuce) ก็ไม่มีการเพาะกลา้ และ
ยา้ ยปลูก แต่เขาจะปลกู ในแปลงปลกู โดยตรง (direct seeding) เพราะทนุ่ ค่าแรงงานกวา่ ประหยัดเวลากว่าและมี
ประสทิ ธิภาพสงู กว่า (ดูเพ่ิมเติมเรอ่ื ง การขยายพนั ธ์ุพชื )
หนว่ ยที่ ๖
การปลกู การดแู ลรักษาและการขยายพนั ธุ์
๑. ข้อควรพจิ ารณาก่อนปลกู ผัก
๑. การเลอื กสถานที่หรอื ทาเลในการปลกู
๒. การเลอื กประเภทของผกั สาหรบั ปลกู
๒. การเลอื กทาเลในการปลกู ผัก
๑. ทต่ี ัง้
๒. สภาพแสงและร่มเงา
๓. ผปู้ ลกู หรือเกษตรกร
๑. จดุ ประสงคข์ องผปู้ ลกู เพ่ือบรโิ ภคในครวั เรอื น เพอ่ื การจาหนา่ ย
๒. ความรขู้ องผูป้ ลกู ความรเู้ ก่ยี วกบั ธรรมชาตขิ องพชื ผกั แตล่ ะชนดิ วธิ กี ารปลกู การดแู ลรักษา
๓. แรงงานในการปลกู
๔. ความชานาญในการปลูก
๔. การวางแผนการปลกู ผัก
๕. การเลอื กซอื้ เมลด็ พนั ธ์ุ ตรงตามสายพนั ธ์ุ ใหผ้ ลผลติ ต่อไรส่ งู เปน็ พนั ธทุ์ ส่ี ามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาพแวดลอ้ มไดด้ ี
วธิ กี ารเลอื กซือ้ เมลด็ พนั ธ์ุ
ลกั ษณะของเมลด็ พนั ธท์ุ ด่ี ี
1.สะอาดปราศจากสิ่งเจือปนต่าง ๆ เชน่ ฝุ่นละออง กรวด ทราย เศษผกั หรือเมล็ดพืชอ่ืน
2.ตรงตามพันธุ์ เปน็ เมล็ดท่ีไม่กลายพันธ์ุ เช่นตระกลู ของมันมีผลสีเขยี วอมชมพู เมอ่ื นามาปลูกผลก็เป็นสีเขยี วอม
ชมพู ตรงตามพันธ์เุ ดิม
3.ไม่มีโรคและแมลง เมลด็ พนั ธุบ์ างชนิดอาจมโี รคหรอื แมลงติดมากับเมลด็ เมอื่ นาไปเพาะเชื้อโรคในเมลด็ อาจจะ
แพรไ่ ปได้ เมลด็ พนั ธทุ์ ด่ี ีควรเป็น เมลด็ พนั ธ์ทุ ไ่ี ดผ้ ่านการฆ่าเชอ้ื โรคและแมลงมาแล้ว
4.มาจากตระกูลทีด่ ี หมายถึงเมล็ดพนั ธุ์ท่ีมาจากตระกลู ท่ีมผี ลดกดี มีขนาดและรปู รา่ งดี มีสี มนี ้าหนกั และรสดี
5.มีความสามารถในการงอกสงู หมายถงึ เมล็ดทมี่ ีความสามารถใน การงอกเจริญเติบโต มีอาหารทจี่ ะเลีย้ งลาตน้
จนเจริญเติบโตได้
6.ทนทานต่อโรคและแมลง
หนว่ ยท่ี ๗
การจดั การหลังการเกบ็ เกย่ี ว
๑. การเกบ็ เก่ียว
๒. การบรโิ ภคผักใหป้ ลอดภยั จากสารพษิ
๓. การเปลยี่ นแปลงของผกั ผลไมห้ ลงั การเกบ็ เกยี่ ว
๔. จดั ทาเทคโนโลยใี หมใ่ หผ้ กั ผลไมเ้ กบ็ ไวไ้ ดน้ าน การเกบ็ รกั ษาในต้คู วบคมุ อณุ หภมู ิ
๕. การใชโ้ อโซนเพ่ือยืดอายกุ ารเกบ็ รักษาผกั และผลไม้
หนว่ ยท่ี ๘
การเพม่ิ ผลผลติ ผัก
การเพ่ิมมลู คา่ ผลผลติ ทางการเกษตร โดยการใช้วตั ถดุ บิ จากผลผลิตการเกษตรผ่านกระบวนการแปรรปู แปลง
สภาพใหเ้ ป็นอาหารที่ตอ้ งการผบู้ ริโภคได้ โดยกระบวนการดังกล่าวมคี วามจาเปน็ ต้องใช้ความรคู้ วามสามารถในการวจิ ยั
และพัฒนา เพือ่ เพิ่มมลู คา่ ให้กบั วตั ถุดบิ ตน้ น้า ดังนัน้ สานักพฒั นาอตุ สาหกรรมเกษตรแปรรปู จึงเห็นวา่ การพัฒนาระบบ
สง่ เสรมิ สนบั สนนุ (Enabling System) ใหเ้ กิดการต่อยอดการนาผลงานวิจยั และพฒั นาวิทยาศาสตร์ดา้ นอาหาร (Food
Science)ไปผลติ เป็นเชิงพาณิชยเ์ ช่น ผลิตภณั ฑ์อาหารสขุ ภาพเพื่อเด็กอ่อน ผ้สู ูงอายุ เป็นต้น สาหรบั ชว่ ยเพิม่ มูลค่า
ผลิตผลการเกษตร จึงจดั ทาเป็นกจิ กรรมพฒั นาเชอื่ มโยงนวตั กรรมเพื่อเพ่ิมมลู ค่าสเู่ ชิงพาณิชย์ซ่งึ เป็นกิจกรรมหน่ึงของ
โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปครบวงจร(National Food Valley) เพ่ือพัฒนาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
ตลอดโซ่อุปทาน(Value Food Chain) ให้มมี ูลค่าเพ่ิมข้นึ อีกทัง้ สรา้ งความเข้มแข็งใหว้ สิ าหกิจสามารถแขง่ ขนั ในตลาด
AEC ไดอ้ ย่างมน่ั ใจในปี 2558 เปน็ ตน้ ไป
ข้าวกล้องหอมมะลิ ปลอดภัย(เพราะใช้ระบบเกษตรอนิ ทรีย์, จลุ นิ ทรยี ์ ชีวภาพ)
สลดั ผกั สลดั ผลไม้ ปลอดภัย(เพราะใชร้ ะบบเกษตรอินทรีย์, จลุ ินทรีย์ ชีวภาพ)
เห็ดหลินจอื ปลอดภัย(เพราะใช้ระบบเกษตรอินทรีย์, จลุ นิ ทรีย์ ชีวภาพ)
ศนู ยเ์ รยี นรู้การเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการผลิตสนิ คา้ เกษตร(ศพก.) และ ผลิตภณั ฑ์ ตา่ งๆ (เมลอน, มะเดื่ออสิ ราเอล
, มะนาว, ฟกั ข้าว, กบ, อ้อย, ไก่ไข่, ปลา, หมู , พืชผกั สวนครัว ฯลฯปลอดภัย(เพราะใชร้ ะบบเกษตรอินทรยี ์, จุลินทรีย์
ชีวภาพ))
ปลาร้าต่วง, ปลาร้านัว ปลอดภัย(เพราะใช้ระบบเกษตรอนิ ทรีย์, จลุ ินทรยี ์ ชวี ภาพ)
เห็ดขอนขาว, เหด็ ฟาง, เห็ดนางฟ้า ปลอดภยั (เพราะใช้ระบบเกษตรอินทรีย์, จลุ ินทรีย์ ชวี ภาพ)
ผา้ ไหม(Thai Silks)
ผลผลติ ทางการเกษตร
การนาผลผลิตทางการเกษตรมาแปรรูปจะชว่ ยป้องกนั การลน้ ตลาดของผลติ ผลสด ซง่ึ ชว่ ยยกระดบั ราคาผลิตผล
ไม่ใหต้ กต่า การเพม่ิ มลู คา่ ของผลติ ผลทางการเกษตรมาแปรรูปเป็นอาหารระดบั อุตสาหกรรม ท่ีสามารถรบั วตั ถุ ดิบเพ่ือ
ผลติ เปน็ อาหารจานวนมากได้ การผลิตอาหารให้ได้มาตรฐานเพอ่ื ความปลอดภยั ต่อผบู้ ริโภค การสง่ เสรมิ ใหผ้ ลิตภณั ฑ์
แปรรปู อาหารใหเ้ ปน็ ที่ยอมรับ และสามารถขยายตลาดการค้าออกไปสู่ตา่ งประเทศ จะช่วยเพมิ่ พูน รายไดใ้ หแ้ ก่ประเทศ
ไดเ้ ปน็ อย่างดี
การเก็บรักษาและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เปน็ การนาเอาผลผลิตทางการเกษตรมาผ่านกระบวนการต่างๆ
เพ่อื ใหเ้ กบ็ รกั ษาผลผลิตทางเกษตรไว้ได้นานก่อนถึงตลาดและผูซ้ ื้อ ปจั จัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งเกย่ี วกบั การเกบ็ รักษาผลผลิต
ทางการเกษตร ได้แก่ สภาพของผลผลติ ความสะอาด ความชน้ื อุณหภมู ิ การถา่ ยเทอากาศ
การเกษตร หมายถงึ การปลูกพชื การเลยี้ งสัตว์ ต้องอาศัยปัจจยั ทางธรรมชาตเิ ปน็ สาคัญ
ผลผลติ ทางการเกษตร หมายถงึ ส่ิงทไี่ ด้มาจากการทาเกษตรกรรม ได้แก่ การปศสุ ัตว์ การปา่ ไม้ การประมง การ
กสกิ รรม และผลติ ภณั ฑ์ต่างๆ ทไ่ี ด้จากการแปรรูปไปเปน็ อยา่ งอน่ื เช่น อาหารกระป๋อง เคร่อื งหนัง ไม้อดั ผลติ ภัณฑ์นม
เป็นต้น แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทใหญ่คือ
1. ผลผลติ ท่ีใช้ในการอปุ โภค เช่น ฝ้าย ปอ ป่าน ไหม ยาง ไม้อัด เปน็ ต้น
2. ผลผลิตทใี่ ช้ในการบริโภค เช่น ข้าว ขา้ วโพด ผลไม้ ออ้ ย ผลิตภณั ฑ์นม เป็นต้น
ผลผลติ ทางเกษตรท่ีสาคัญของประเทศไทย เช่น ข้าว ขา้ วโพด ยางพารา มนั สาประหลัง กงุ้ แช่แข็ง ไก่แช่แขง็ เป็นตน้
เทคนิคในการแปรรปู ผลผลิตทางการเกษตร มีหลายข้นั ตอน แตท่ ่ีสาคญั จะเปน็ แรงจูงใจสามารถทาผลติ ภัณฑ์ ต่าง ๆ ให้
เกิดประโยชน์คุ้มคา่ ค้มุ ราคา และผลติ ภัณฑน์ นั้ จะต้องมคี วามอร่อย ไม่ใชท่ าครั้งแรกอร่อยทุกคน ติดใจในรสชาติ
สามารถทารายได้ให้มากมาย พอเร่ิมมคี นรูจ้ ัก คนุ้ ตา ชนิ ตอ่ รสชาติ ก็จะเร่มิ ทาผลิตภณั ฑเ์ พ่ือให้มี ผลกาไรมาก ๆ
ความสาคญั ของรสชาติอาจด้อยไป จะทาให้ทกุ คนเส่ือมความศรัทธาได้ จึงจาเปน็ อย่างย่ิงที่ จะต้องคานึงถึง
1. ความซ่อื สัตย์ต่อตนเองและลูกคา้
2. ต้องมกี ารวางแผนผลิตสนิ ค้าน้นั ล่วงหนา้ และเหมาะสมกับฤดูกาล เพ่ือสนิ ค้านนั้ จะมีตน้ ทุนต่าขายได้ ราคาสูง
3. ต้องมคี วามสนใจ และตง้ั ใจต่อการทาผลติ ภัณฑน์ ั้น เพื่อใหม้ คี วามสมา่ เสมอของรสชาติและคุณภาพที่ดี
4. ต้องคานงึ ถึงความสะอาดความปลอดภัยเสมอ
5. ต้องมีความรู้ในสารปรงุ แต่งอาหารที่ใชอ้ ยา่ งแมน่ ยา
6. การคัดเลอื กวตั ถดุ บิ เพื่อการแปรรูปจะตอ้ งมีลกั ษณะและคณุ ภาพตรงตามชนดิ ของอาหาร และต้องคานงึ ถึง
เวลา แรงงาน และค่าใชจ้ ่ายในการเตรียมวตั ถดุ บิ ด้วย
การแปรรปู ผลผลติ อาจทาได้หลายวิธีเชน่ การทาแห้ง การดอง การใช้ความร้อน การใช้ความเย็น การใช้รังสี
1. การแปรรปู อาหารโดยการทาใหแ้ หง้ คือ การลดความชื้นของอาหารจนถึงระดับทีส่ ามารถยับยัง้ การ
เจริญเตบิ โต ของเชื้อจุลินทรยี ์ได้ คอื มีคา่ วอเตอร์แอกตวิ ติ ี้ (water activity : Aw) ต่ากว่า 0.70 ทาให้เกบ็ อาหารได้นาน
อาหารแหง้ แต่ละชนดิ จะมคี วามชืน้ ในระดบั ท่ีปลอดภัยไมเ่ ทา่ กัน เชน่ ผลไม้แช่อิ่มเกบ็ ท่ีความชืน้ รอ้ ยละ 15-20 ถา้ เปน็
เมล็ดธญั ชาติความชนื้ ระดับนี้จะเกดิ รา การทาแห้งอาหารโดยทั่วไปจะอาศัยความร้อนส่งผา่ นเข้าไปให้นา้ ในอาหาร
เพือ่ ให้นา้ ในอาการเคล่ือนท่ีและ ระเหยออกจากผวิ อาหาร และประสิทธภิ าพในการเคลอื่ นของน้ามาท่ผี ิวอาหาร
ธรรมชาตขิ องอาหาร ถา้ เปน็ ผักก็จะ แหง้ เร็วกวา่ ผลไม้ เพราะผลไมม้ ีน้าตาลเป็นองค์ประกอบอยดู่ ้วย การทาให้แห้งโดย
ใชค้ วามร้อนจากแสงอาทิตย์ ในสมัยโบราณมกั จะตากแดด ซ่งึ ไมส่ ามารถควบคมุ ความร้อน และคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ได้
จึงมกี ารสร้างตู้อบโดยใช้ความรอ้ นจากแสงอาทิตย์ ประกอบด้วยแผงรบั แสงอาทิตย์ ซ่ึงทาด้วยวสั ดุใส แสงอาทติ ย์ตกลง
บนแผงรับแลว้ ทะลุผา่ นไปยัง วสั ดสุ ีดาภายในตู้ และเปลยี่ นเป็นรงั สคี วามรอ้ น ไปกระทบอาหาร ความชื้นระเหยออกจาก
อาหารจะระบายไปโดยการหมนุ เวียนของอากาศทางชอ่ งลม นอกจากนยี้ งั มี กระบวนการทาให้แหง้ ไดอ้ ีกหลายวธิ ี คอื
การทาให้แห้งโดยใชล้ มรอ้ น (ต้อู บลมร้อน)
การทาใหแ้ ห้งโดยใชล้ ูกกล้งิ
การทาให้แห้งแบบเยือกแขง็
การทาให้แห้งโดยใชไ้ มโครเวฟ
การทาใหแ้ ห้งโดยใชว้ ิธอี อสโมซสิ
2. การดอง เป็นการทาให้ผลผลิตมีรส กลิ่น เปลีย่ นไปจากเดิมเช่น
การดองเคม็ โดยใชเ้ กลอื ( โซเดยี มคลอไรด์ ) ไมน่ อ้ ยกว่า 15 เปอร์เซนต์ของน้าหนกั ผลผลติ ที่จะดอง เชน่ การ
ดองมะนาว ผักกาดดอง ไข่เค็ม เปน็ ตน้ สามารถฆ่าหรอื ยับย้งั การเจรญิ เติบโตของจลุ ินทรียท์ ที่ าใหเ้ กิดการเน่าเสยี
การดองหวาน ( การแช่อิม่ ) โดยใช้น้าตาลไมน่ ้อยกวา่ 68 เปอรเ์ ซนต์ของน้าหนักผลผลิตท่จี ะนามาดอง เช่น
มะมว่ งแช่อมิ่ มะดันแชอ่ ิ่มเป็นต้น
3. ใช้ความเยน็ เปน็ วิธีที่สะดวก ช่วยในการเกบ็ รกั ษาผัก ผลไม้ เนอ้ื สตั วต์ ่างๆใหส้ ด และยังมคี ุณคา่ ทาง
โภชนาการทด่ี อี ยู่ แตไ่ ม่สามารถทาลายจุลนิ ทรีย์ได้ทุกชนดิ เชน่
การแชเ่ ย็นธรรมดา ใช้อุณหภมู ิ 5-10 องศาเซลเซยี ล
การแช่แขง็ ใช้อณุ หภูมิ -40 องศาเซลเซยี ล สามารถเกบ็ รกั ษาผลผลิตบางชนดิ ไดน้ านเป็นปี
4. การใชร้ งั สี โดยใชร้ งั สีแกมมา ซ่ึงได้จากสารกัมมนั ตรงั สี ท่ีใช้กันมากก็คือ โคบอลต์-60 เช่น ถ้าใช้ 1 กโิ ลเกรย์
ใช้ชะลอการสุกของมะมว่ ง และควบคมุ การแพร่พันธ์ุของแมลงในระหวา่ งการเกบ็ รักษา หรือถ้าใช้ 0.15 กโิ ลเกรย์ ใช้
ยับย้ังการงอกของมนั ฝรง่ั หอมหัวใหญ่ เปน็ ต้น
การบรรจหุ บี หอ่ การบรรจุหีบห่อ เพื่อใหผ้ ลผลิตไดม้ าตราฐาน หรอื มีคณุ ค่า เชน่ สด มสี เี ล่อื มมนั กล่ิน รส ความ
ฉา่ ความกรอบ สะอาด ไม่มตี าหนิ ปราศจากสารตกค้าง เป็นต้น
การตลาด เปน็ ส่วนสาคญั ยิ่งของการทาเกษตรเชงิ ธุรกิจ มีปัจจยั เกย่ี วข้องดังน้ี การเก็บรกั ษาสนิ ค้า การแปรรปู
สนิ คา้ ชนดิ ของสินค้า การขนสง่ สนิ คา้ ราคาสนิ คา้ สถานท่ีจาหนา่ ยสินคา้
5. การแปรรปู เพอื่ ถนอมอาหารแบบใชค้ วามร้อนสูง จะช่วยทาลายจุลินทรยี ท์ ี่ก่อให้เกดิ โรค ซง่ึ ทาให้ อาหารเน่า