โครงการศกึ ษาความคดิ เห็นต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ สท์ างไกล
ของนกั ศึกษาสาขาวชิ าบริหารธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี
ดลนภา ใหม่วงษ์ รหสั นกั ศึกษา 63302010005
เมธศิ า สุขวฒั นกูล รหัสนักศึกษา 63302010006
รายงานโครงการนเ้ี ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาตามหลกั สูตรประกาศนยี บตั รวิชาชีพข้ันสงู
สาขาวิชาการบัญชี ประเภทวิชาบรหิ ารธรุ กจิ
ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
วิทยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี
โครงการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนิกส์ทางไกล
ของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี
โดย
นางสาวดลนภา ใหมว่ งษ์ รหัสนกั ศกึ ษา 63302010005
นางสาวเมธศิ า สขุ วัฒนกลู รหัสนักศึกษา 63302010006
เสนอ
อาจารยน์ พิ ร จุทัยรัตน์
รายงานโครงการนเ้ี ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาตามหลักสตู รประกาศนยี บตั รวชิ าชีพขั้นสงู
สาขาวชิ าการบญั ชี ประเภทวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ
ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบุรี
เรอื่ ง ใบรับรองโครงการ
จดั ทำโดย
วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี
ศกึ ษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
ของนักศึกษา สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี
นางสาวดลนภา ใหมว่ งษ์
นางสาวเมธศิ า สุขวฒั นกลู
ได้รบั การรับรองให้นับเป็นสว่ นหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลักสูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพชนั้ สูง
(ปวส.) สาขาวชิ าการบัญชี ประเภทบรหิ ารธรุ กจิ
.....................................หัวหนา้ แผนก .....................................รองผู้อำนวยการฝา่ ยวชิ าการ
(นางนิพร จทุ ยั รัตน์) (นายยรรยงค์ ประกอบเกอื้ )
วันท่ี........เดอื น..................พ.ศ..........
วนั ที.่ .......เดือน..................พ.ศ..........
คณะกรรมการสอบโครงการ
.........................................................ประธานกรรมการ (อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาโครงการ)
(………………………………………………..)
.........................................................กรรมการ
(………………………………………………..)
.........................................................กรรมการ
(………………………………………………..)
.........................................................กรรมการ
(………………………………………………..)
ช่อื โครงการ : ศกึ ษาความคดิ เห็นต่อการเรียนการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
ของนกั ศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี
ผ้จู ัดทำ
สาขาวชิ า : นางสาวดลนภา ใหม่วงษ์, นางสาวเมธิศา สุขวัฒนกูล
ประเภทวิชา : การบญั ชี
ปกี ารศึกษา : บรหิ ารธุรกจิ
สถานศกึ ษา : 2564
: วิทยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี
บทคัดย่อ
โครงการ ศึกษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกลของ
นักศึกษาสาขาวิชาบริหารธรุ กิจ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี วัตถุประสงค์ คือ เพอ่ื ศึกษาความคิดเห็น
ตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกลของนักศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กิจ วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาชลบรุ ี กล่มุ ตวั อย่าง ได้แก่ 1. นักศึกษาระดบั ประกาศนยี บตั รวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ชัน้ ปีท่ี
2 กลมุ่ 1 สาขาวิชาการบัญชี จำนวน 26 คน 2. นักศกึ ษาระกบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.)
ช้นั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั จำนวน 24 คน 3. ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี
จำนวน 4 คน 4. ครผู ู้สอนในสาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั จำนวน 2 คน ภาคเรยี นที่ 1
ปกี ารศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี เคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา คือ แบบสอบถาม และสถิติ
ท่ีใช้ในการวิเคราะห์ขอ้ มลู ไดแ้ ก่ ค่ารอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลี่ยเลขคณิต (Mean) และสว่ น
เบยี่ งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
ผลการศกึ ษาพบวา่ กลมุ่ ตวั อยา่ งสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง อยใู่ นช่วงอายุระหวา่ ง 18-19 ปี และ
เปน็ นกั ศึกษาในสาขาวิชาการบัญชี มีความคิดเห็นต่อโครงการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการเรียนการสอน
ผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล ด้านความสอดคล้องกับสถานการณ์ โดยรวมมคี วามคิดเหน็ ในระดับ
มาก มีคา่ เฉลีย่ 3.46 ทุกประเด็นมีความคิดเห็นในระดับมาก นโยบายการจดั การเรียนการสอน
ออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั covid-19
รองลงมาคอื วิธกี ารจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั
สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอื้ ไวรสั covid-19 ผเู้ รียนได้รบั การชีแ้ จง และการสนบั สนนุ การ
เตรียมตัวเพอื่ การจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลยั เหมาะสมหรอื สอดคล้องกับสถานการณ์
การแพร่ระบาดของเช้ือไวรสั covid-19 และผู้เรียนมรี ะดับความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดการเรียน
การสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคล้องกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรัส
covid-19 ดา้ นผ้เู รยี น โดยรวมมคี วามคิดเหน็ ในระดบั ปานกลาง มีค่าเฉลย่ี 3.19 ทุกประเด็นมีความ
คิดเห็นในระดับปานกลาง ผู้เรยี นมคี วามพร้อมในดา้ นอปุ กรณก์ ารเรยี นผ่านระบบออนไลน์ รองลงมา
คอื ผเู้ รยี นมคี วามพร้อมในดา้ นสภาพแวดล้อมที่ใช้เรียนผา่ นระบบออนไลน์ ผเู้ รยี นมีความพึงพอใจใน
ข
การเรยี นผา่ นระบบออนไลน์ และผเู้ รยี นไดร้ ับความรู้ และมคี วามเข้าใจในเน้ือหาการเรียนผา่ นระบบ
ออนไลน์ ดา้ นผู้สอน โดยรวมมีความคดิ เหน็ ในระดับมาก มีค่าเฉลีย่ 3.46 ทุกประเด็นมคี วามคดิ เห็น
ในระดับมาก ผู้สอนมีการเตรียมการสอนลว่ งหนา้ และมีความพร้อมในด้านอปุ กรณก์ ารสอน รองลงมา
คือ ผู้สอนมีความรอบรู้ทันตอ่ การเปลี่ยนแปลงในเรอ่ื งของระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ผู้สอนมคี วามสามารถ
ในการถ่ายทอดความรู้ ช่วยให้เกดิ การเรยี นรใู้ นเนือ้ หาวชิ า และผ้สู อนมกี ารสร้างบรรยากาศในการ
เรยี นใหค้ ำแนะนำ และรบั ฟงั ความคดิ เห็น และด้านการวดั และประเมินผลการเรียนการสอน โดยรวม
มีความคดิ เหน็ ในระดบั มาก มคี า่ เฉล่ยี 3.43 ทกุ ประเดน็ มีความคิดเห็นในระดับมาก การวัดและ
ประเมินผลการเรียนมคี วามชัดเจน และยุติธรรม รองลงมาคอื มีการเฉลย หรือแนะแนวทางของ
คำตอบเพอ่ื ใหท้ ราบผลการเรยี นรู้ มีการใชเ้ ทคนคิ หรือวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลอย่างหลากหลาย
และมีการประเมนิ ผลการเรียนการสอนท่ีสอดคล้องกับกิจกรรมการเรยี นรทู้ จ่ี ดั ให้ผู้เรียนและ
พฒั นาการของผ้เู รียน
ขอ้ เสนอแนะ : 1. ผเู้ รียนยังเห็นความสำคญั ของการเรยี นระบบออนไลนไ์ ม่มากพอ
2. การเรยี นออนไลนเ์ กดิ ความเครยี ดท้ังครูและนักศกึ ษาอยากเรียนแบบ on site
3. การเรียนไปเปน็ ไปด้วยความยากลำบาก
4. มปี ญั หาเร่ืองอินเทอรเ์ นต็ และด้านอปุ กรณ์ในการเรียน
คำสำคัญ : ความคิดเหน็ , ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล, การศกึ ษา, การสอน, นกั ศกึ ษา,
ผู้สอน
กิตติกรรมประกาศ
การศกึ ษาเรื่อง “ศกึ ษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกสท์ างไกล
ของนกั ศึกษาสาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี” ในครัง้ นี้ สามารถสำเร็จลุล่วงอยา่ ง
สมบรู ณด์ ว้ ยความเมตตา จากอาจารยน์ พิ ร จทุ ัยรัตน์ ทีป่ รึกษาโครงการวจิ ัยที่ให้คำปรกึ ษาแนะนำ
แนวทางท่ีถูกตอ้ ง และเอาใจใสด่ ้วยดตี ลอดระยะเวลาในการทำวิจัย ผ้ศู กึ ษาร้สู กึ ซาบซง้ึ เป็นอยา่ งย่งิ
จงึ ขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ โอกาสนี้
ขอขอบพระคณุ บิดา มารดา และเพื่อนๆ ทุกคนท่ีได้ใหค้ ำแนะนำชว่ ยเหลอื สนบั สนนุ ผทู้ ำวิจัย
โครงการมาตลอด โครงการจะสำเร็จลุล่วงไปไม่ได้ หากไมม่ บี คุ คลดังกล่าวในการจดั ทำโครงการ
คณุ ค่าและประโยชน์ของงานศกึ ษานี้ ผศู้ ึกษาขอมอบเปน็ กตัญญูกตเวทีตาแดบ่ ุพการี
บรู พาจารย์ และผูม้ ีพระคุณท่านทัง้ ในอดีตและปจั จบุ ัน ท่ีไดอ้ บรม สงั่ สอน ชแี้ นะแนวทางในการศกึ ษา
จนทำให้ผ้วู ิจยั ประสบความสำเร็จมาจนตราบทุกวันนี้
ดลนภา ใหมว่ งษ์
เมธิศา สุขวฒั นกูล
สารบญั หน้า
ก
ใบรบั รองโครงการ ข
บทคัดย่อ ค
กติ ติกรรมประกาศ ง
สารบญั ฉ
สารบัญตาราง ช
สารบญั ภาพ 1
บทที่ 1 บทนำ 1
1
ความเป็นมาและความสำคญั ของปญั หา 1
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั 2
ขอบเขตของการวจิ ัย 2
ประโยชนท์ ีค่ าดวา่ จะได้รบั 4
นยิ ามศัพท์ 4
บทท่ี 2 เอกสาร ทฤษฎี และงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 5
จดุ ประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวิชา 7
ทฤษฎีการศกึ ษา 9
ทฤษฎกี ารเรียนรู้และการประยุกตส์ ู่การสอน 13
แนวคดิ ทฤษฎีด้านการศึกษาทางศาสนา เศรษฐกิจ สงั คม และวัฒนธรรม 17
แนวคดิ ทฤษฎีเทคโนโลยีและนวตั กรรมการศกึ ษาส่งเสริมพฒั นาคณุ ภาพการเรียนรู้ 20
แนวคิดกระบวนการเรียนออนไลน์ และ 5 Steps GOCQF 25
การประยกุ ตใ์ ชท้ ฤษฎี E-Learning ในกระบวนการเรยี นการสอน 27
แนวคดิ ท่วั ไปเกี่ยวกับการเรียนการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 28
แนวคิดการจดั การเรยี นรู้แบบผสมผสานในสถานการณ์โควิด (5 ON) 30
งานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง 30
บทที่ 3 วธิ กี ารดำเนินการศึกษา 31
ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 31
เครอ่ื งมอื ทใี่ ช้ในการศึกษา 32
ขน้ั ตอนในการสร้างเครอ่ื งมือ 32
การดำเนนิ การและเก็บรวบรวมขอ้ มูล
วิธีการวเิ คราะห์ข้อมลู และสถิตทิ ่ใี ช้ในการศึกษา
สารบญั (ตอ่ ) ง
บทที่ 4 การวเิ คราะห์ข้อมูล หน้า
สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 34
การนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 34
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 34
35
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 47
สรุปผลการศกึ ษา 47
การอภปิ ราย 49
ข้อเสนอแนะ 50
51
บรรณานกุ รม 52
ภาคผนวก 53
58
ภาคผนวก ก แบบขออนุมัตโิ ครงการ แบบเสนอโครงการ 62
ภาคผนวก ข แบบสอบถาม 66
ภาคผนวก ค เอกสารประกอบ (ภาพถ่าย)
ประวัติผู้จัดทำ
สารบัญตาราง
หนา้
ตารางท่ี 1 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกล่มุ ตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ 35
ตารางท่ี 2 แสดงความถ่ีและรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามชว่ งอายุ 36
ตารางท่ี 3 แสดงความถแ่ี ละร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามสถานะ 37
ตารางที่ 4 แสดงความถ่แี ละร้อยละของกลุม่ ตวั อย่าง จำแนกตามสาขาวชิ า 38
ตารางที่ 5 แสดงคา่ เฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ความคดิ เหน็ ของกลุม่ ตัวอย่าง
ท่มี ตี ่อการเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกลดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ 39
ตารางที่ 6 แสดงค่าเฉล่ีย และสว่ นเบ่ียงเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตวั อย่าง
ทมี่ ีตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ทางไกลดา้ นผเู้ รยี น 41
ตารางที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และสว่ นเบย่ี งเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเห็นของกล่มุ ตวั อย่าง
ที่มีตอ่ การเรยี นการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางไกลด้านผูส้ อน 43
ตารางที่ 8 แสดงคา่ เฉลีย่ และส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลุ่มตัวอย่างทีม่ ตี อ่
การเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกลด้านการวัดและประเมินผลการเรยี นกาสอน 45
ตารางที่ 9 แบบสอบถามการศกึ ษาความความคดิ เหน็ ตอ่ การเรยี นการสอน
ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกสท์ างไกล 60
สารบญั ภาพ หนา้
35
ภาพที่ 1 แผนภูมแิ สดงขอ้ มูลจำแนกตามเพศ 36
ภาพที่ 2 แผนภมู แิ สดงข้อมูลจำแนกตามช่วงอายุ 37
ภาพที่ 3 แผนภมู ิแสดงขอ้ มูลจำแนกตามสถานะ 38
ภาพท่ี 4 แผนภูมิแสดงข้อมูลจำแนกตามสาขาวชิ า 40
ภาพท่ี 5 แผนภมู ิแสดงขอ้ มูลดา้ นความสอดคล้องกับสถานการณ์ 42
ภาพที่ 6 แผนภูมแิ สดงขอ้ มูลด้านผู้เรียน 44
ภาพที่ 7 แผนภมู แิ สดงข้อมูลดา้ นผู้สอน 46
ภาพท่ี 8 แผนภูมิแสดงข้อมูลด้านการวัดและประเมินผลการเรียน 63
ภาพท่ี 9 ภาพประกอบสำหรบั การจัดทำรูปเล่มโครงการ 63
ภาพท่ี 10 ภาพประกอบสำหรบั การจัดทำรปู เลม่ โครงการ 64
ภาพท่ี 11 ภาพประกอบสำหรบั การจดั ทำส่อื นำเสนอโครงการ 64
ภาพที่ 12 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำสอื่ นำเสนอโครงการ 65
ภาพท่ี 13 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำโครงการผา่ นทางระบบออนไลน์ 65
ภาพท่ี 14 ภาพประกอบสำหรับการจดั ทำโครงการผ่านทางระบบออนไลน์
บทท่ี 1
บทนำ
ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
ในปัจจบุ ันทัว่ โลกกำลงั เผชิญวกิ ฤติกบั การระบาดของเชอ้ื ไวรัส covid-19 ทกุ ประเทศในโลก
ล้วนตา่ งได้รับผลกระทบกนั ทั้งในภาครวม อาจจะมีผลมากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั การดแู ลและการบริหาร
จัดการขององคก์ รภาครฐั และภาคเอกชนในประเทศนนั้ ๆ
ประเทศไทยได้รับผลกระทบจากวิกฤตนิ เ้ี ช่นเดียวกนั โดยเช้ือไวรัส covid-19 น้ี สง่ ผลต่อ
ภาคธรุ กิจในประเทศ เชน่ ภาคธุรกจิ การท่องเทย่ี ว ภาคธรุ กจิ โรงแรม มีผูบ้ ินเข้าและออกประเทศ
น้อยลงอย่างเห็นได้ชัด ภาคการธุรกจิ จำหนา่ ย กล่าวคอื พอ่ ค้าแม่ค้ารวมไปถงึ ผูป้ ระกอบการรายย่อย
ไดร้ บั ผลกระทบกนั อย่างหนัก เน่ืองจากไม่ได้มีการจำหนา่ ยสนิ คา้ เพราะผคู้ นไมไ่ ด้ออกมาจบั จ่ายใช้
สอย และรวมไปถงึ ภาคการศกึ ษา ภาครัฐได้ส่งั เลื่อนการเปดิ ภาคเรยี นของนักศึกษาออกไป และให้
สถานศกึ ษาจัดการเรียนการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล โดยการเรยี นการสอนผา่ นระบบน้ี
สง่ ผลให้เกดิ ผลกระทบต่อผู้เรยี นและผ้สู อนโดยตรง ทง้ั ในเร่ืองความไมพ่ ร้อมด้านอปุ กรณ์
อเิ ลก็ ทรอนิกสข์ องผูเ้ รยี น ความไมเ่ สถยี รจากสัญญาณอินเตอร์เน็ต และจำนวนช่ัวโมงเรยี นท่มี มี าก
เกนิ ไป
ดงั นั้น ผ้จู ดั ทำจงึ ไดศ้ กึ ษาเกี่ยวกับความคิดเหน็ ของผเู้ รยี นที่ไดศ้ ึกษาผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
นี้ รวมไปถงึ ผ้สู อนในการเตรียมตัววางแผนการจัดการเตรียมการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ ส์ทางไกล
วัตถุประสงค์ของโครงการ
เพอ่ื ศึกษาความคดิ เห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ างไกลของนักศึกษา
สาขาวชิ าบริหารธุรกจิ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี
ขอบเขตของโครงการ
1. ขอบเขตดา้ นเนอื้ หา ศกึ ษาความคดิ เห็นของผเู้ รยี น และผ้สู อนในการศกึ ษา และการสอน
ผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล
2. ดา้ นกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตวั อยา่ งที่ใชใ้ นการศกึ ษาครัง้ นี้ ไดแ้ ก่
2.1 กลุ่มประชากรที่ใชใ้ นการศกึ ษาครั้งน้ี ได้แก่
2.1.1 นักศึกษาระดบั ประกาศนียบตั รวชิ าชีพชน้ั สูง (ปวส.) ชัน้ ปีที่ 2 กลมุ่ 1 2 และ 3
สาขาวชิ าการบัญชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 82 คน
2.1.2 นกั ศกึ ษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพชัน้ สูง (ปวส.) ช้นั ปีท่ี 2 กลมุ่ 1 และ 2
สาขาวิชาเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน
51 คน
2
2.1.3 ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั
อาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 8 คน
2.1.4 ครผู ู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธุรกิจดิจทิ ัล ภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
2.2 กลุม่ ตัวอยา่ งทีใ่ ช้ในการศึกษาครัง้ นี้ ไดแ้ ก่
2.2.1 นักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ชัน้ ปีท่ี 2 กลุ่ม 1
สาขาวิชาการบัญชี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 26 คน
2.2.2 นักศกึ ษาระกบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ช้ันสูง (ปวส.) ชั้นปที ี่ 2 กลมุ่ 1
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธุรกจิ ดิจิทลั ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน
24 คน
2.2.3 ครูผู้สอนในสาขาวิชาการบัญชี ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั
อาชวี ศึกษาชลบุรี จำนวน 4 คน
2.2.4 ครูผู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทัล ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564
วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 2 คน
3. ด้านระยะเวลาและสถานท่ีท่ใี ช้ในการศึกษาครั้งน้ี ไดแ้ ก่
3.1 ด้านระยะเวลาตั้งแต่วนั ที่ 1 มิถุนายน 2564 ถึงวนั ที่ 1 ตลุ าคม 2564
3.2 ด้านสถานที่ วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี
ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั
ไดท้ ราบความคิดเห็นต่อการเรียนการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนิกส์ทางไกลของนกั ศึกษา
สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี
นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ
ความคิดเหน็ หมายถึง ความเช่ือ ความคิด การตัดสนิ ใจหรือการแสดงออกทางด้าน
ความรูส้ กึ ต่อสงิ่ ใดสิง่ หนึ่ง โดยอาศัยพ้นื ความรู้ความรู้ประสบการณ์และสภาพแวดลอ้ มวิธีวัดความ
คิดเห็น
ระบบอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล หมายถงึ ระบบ (คอมพิวเตอร์) ขนาดเลก็ ทอี่ ยใู่ นเครอื่ งใช้ตา่ ง
ๆ เป็นระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่เป็นส่วนหนึ่งของเครอื่ งมือ อุปกรณ์ เคร่อื งใชต้ ่าง ๆ เชน่
เคร่อื งปรับอากาศ โทรศัพท์เคลอื่ นท่ี หมอ้ หงุ ข้าว เตาอบ รถยนต์ ระบบแบบฝงั ตวั นีภ้ ายในทำงานโดย
อาศยั ไมโคร โพรเซสเซอร์และตวั รับสัญญาณ ระบบสอ่ื สาร และระบบควบคุมทเี่ ช่อื มตอ่ และทำงาน
โดยการ ควบคมุ โดยโปรแกรม
3
การศึกษา หมายถงึ กระบวนการเรียนรู้เพ่อื ความเจรญิ งอกงามของบุคคลและสังคม โดย
การถ่ายทอดความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรคจ์ รรโลง
ความก้าวหน้าทางวชิ าการ การสรา้ งองคค์ วามรูอ้ ันเกิดจากการจัดสภาพแวดลอ้ มสงั คม การเรยี นรู้
และปัจจัยเกอ้ื หนนุ ใหบ้ ุคคลเรยี นรู้อย่างตอ่ เน่อื งตลอดชวี ติ
การสอน หมายถึง กระบวนการทช่ี ว่ ยให้ผ้เู รยี นเกิดการเรียนรู้ เกดิ ความคิดทจ่ี ะนำ ความร้ไู ป
ใช้เกิดทักษะหรอื ความชำนาญทจ่ี ะแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม หรอื เป็นการจัด ประสบการณ์ท่ี
เหมาะสมใหน้ กั เรียนไดป้ ะทะเพอ่ื ทีจ่ ะใหเ้ กดิ การเรยี นรหู้ รือเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมไปในทางท่ีดีขนึ้
นกั ศกึ ษา หมายถงึ นักศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชพี ชั้นสูง (ปวส.) ชั้นปีที่ 2 กลมุ่ 1 2
และ 3 สาขาวิชาการบัญชี และนกั ศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชนั้ สงู (ปวส.) ชน้ั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1
และ 2 สาขาเทคโนโลยดี ิจทิ ัล วิทยาลัยอาชีวศกึ ษาชลบุรี
ผู้สอน หมายถงึ ครผู ูส้ อนในสาขาวิชาการบัญชี และในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดจิ ิทลั
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
บทท่ี 2
เอกสาร ทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง
การดำเนินการโครงการ “ศึกษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบอิเล็กทรอนกิ ส์
ทางไกลของนักศกึ ษาสาขาวชิ าบรหิ ารธรุ กจิ วิทยาลยั อาชวี ศึกษาชลบุรี” ณ วิทยาลยั อาชีวศึกษา
ชลบรุ ี วันท่ี 1 มิถนุ ายน 2564 ถงึ วันที่ 1 กมุ ภาพันธ์ 2564 ผ้ดู ำเนินโครงการไดร้ วมรวบเอกสาร
ทฤษฎีและงานวจิ ัยท่ีเกย่ี วขอ้ งมีหวั ข้อดงั ต่อไปนี้
1. จุดประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำอธิบายรายวชิ า
2. ทฤษฎีการศึกษา (Educational Theory)
3. ทฤษฎีการเรยี นรู้และการประยกุ ตส์ ู่การสอน
4. แนวคดิ ทฤษฎีทางการศกึ ษาด้านศาสนา เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม
5. แนวคิดทฤษฎีเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมการศกึ ษาสง่ เสริมพฒั นาคณุ ภาพการ
เรยี นรู้
6. แนวคดิ กระบวนการเรียนออนไลน์และ 5 Steps GOCQF
7. การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎี (E-Learning) ในกระบวนการเรยี นการสอน
8. แนวคดิ ท่ัวไปเกยี่ วกบั การเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์
9. แนวคิดการจดั การเรียนรแู้ บบผสมผสานในสถานการณโ์ ควิด (5 ON)
10. งานวิจัยทเี่ ก่ียวขอ้ ง
1. จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวชิ า และคำอธบิ ายรายวชิ า
1.1 จุดประสงค์รายวิชา
1.1.1 เข้าใจขน้ั ตอนกระบวนการสรา้ งหรอื พัฒนางานอาชีพอย่างเป็นระบบ
1.1.2 สามารถบูรณาการความรแู้ ละทักษะในการสรา้ งหรอื พฒั นางานในสาขาวชิ าชีพ
ตามกระบวนการวางแผน การดำเนนิ งาน การแกไ้ ขปัญหาประเมนิ ผลทำารายงานและนำเสนอ
ผลงาน
1.1.3 มเี จตคติและกจิ นิสัยในการศกึ ษาค้นคว้าเพือ่ สร้างและหรอื พฒั นางานอาชีพดว้ ย
ความรับผิดชอบ มวี ินยั คุณธรรม จรยิ ธรรม ความคิดรเิ ริม่ สร้างสรรค์ ขยัน อดทนและสามารถ
ทำงานร่วมกับผอู้ ื่น
5
1.2 สมรรถนะรายวิชา
1.2.1 แสดงความรู้เกย่ี วกบั หลักการและกระบวนการสรา้ งและหรอื พฒั นางาน
อาชีพอย่างเป็นระบบ
1.2.2 เขียนโครงการสร้างและหรอื พัฒนางานตามหลกั การ
1.2.3 ดำเนนิ งานตามแผนงานโครงการตามหลักการและกระบวนการ
1.2.4 เกบ็ ขอ้ มลู วิเคราะห์สรุปและประเมินผลการดำเนนิ งาน โครงการตามหลักการ
1.2.5 นำเสนอผลการดำเนนิ งานด้วยรูปแบบวิธีการตา่ งๆ
1.3 คำอธบิ ายรายวิชา
ศกึ ษาและปฏิบัติเกีย่ วกับการบรู ณาการความรู้ และทกั ษะในระดบั เทคนคิ ท่ีสอดคลอ้ ง
กับสาขาวิชาชีพที่ศึกษา เพอ่ื สรา้ งหรอื พฒั นางานดว้ ยกระบวนการทดลอง สำรวจ ประดิษฐ์คิดค้น
หรอื การปฏบิ ัตงิ านเชิงระบบ การเลือกหัวขอ้ โครงการ การศึกษาคน้ คว้าขอ้ มลู และเอกสารอา้ งองิ การ
เขยี นโครงการการดำเนินงานโครงการ การเก็บ รวบรวมข้อมลู วิเคราะหแ์ ปรผล การสรุปผลการ
ดำเนินงาน และจัดทำรายงาน การนำเสนอผลงานโครงการ ดำเนนิ การเปน็ รายบุคคล หรอื กลุ่มตาม
ลักษณะของงานใหแ้ ลว้ เสรจ็ ในระยะเวลาทกี่ ำหนด
2. ทฤษฎีการศกึ ษา (Educational Theory)
2.1 ทฤษฎี หมายถึง ทฤษฎเี ป็นขอ้ สมมติต่างๆ (Assumptions) หรือข้อสรปุ เป็นกฎเกณฑ์
(Generalization) Herbert Feigl ไดใ้ ห้ความาหมายว่า ทฤษฎีเป็นขอ้ สมมตติ ่าง ๆ ได้ซึ่งมาจาก
กระบวนการทางตรรกวิทยาและคณิตศาสตร์ Kneller ได้ให้ความหมายของทฤษฎไี วเ้ ป็น 2
ความหมายดว้ ยกัน คือ หมายถึง ข้อสมมติฐานต่าง ๆ (Hypothesis) ระบบของความคิดตา่ ง ๆ ท่ีนำ
ปะติดปะตอ่ กนั (Coherent) D.J. O’Connor ได้ให้คำจำกัดความของทฤษฎไี ว้เปน็ 4 ลักษณะ
ด้วยกัน คือ เป็นข้อสมมตฐิ านต่าง ๆ ทก่ี ล่ันกรองแลว้ โดยหลกั ของตรรกวิทยา , เป็นการนำเอา
ความคิดรวบยอดมารวมกนั เปน็ โครงสรา้ ง , เปน็ สาระทเ่ี กี่ยวกับปญั หา , เป็นการกำหนดเง่ือนไข หรอื
กฎตา่ ง ๆ เพ่อื ควบคมุ พฤติกรรมบางอย่าง
2.2 การศึกษา หมายถงึ กระบวนการเรยี นรู้เพือ่ ความเจริญงอกงามของบุคคลและสงั คม
โดย การถา่ ยทอดความรู้ การฝกึ การอบรม การสืบสานทางวฒั นธรรม การสรา้ งสรรค์จรรโลง
ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการ การสรา้ งองคค์ วามรูอ้ ันเกิดจากการจดั สภาพแวดล้อมสงั คม การเรียนรู้
และปจั จัยเก้อื หนนุ ใหบ้ ุคคลเรยี นร้อู ย่างตอ่ เนื่องตลอดชวี ติ
2.3 ทฤษฎกี ารศึกษา หมายถงึ การประยุกต์เอาหลกั การและทฤษฎีทางการศึกษาไปใช้เปน็
หลกั ในการจัดการศึกษานัน้ กระทำกนั หลายวธิ ี โดยท่วั ไปมกั จะใช้วิธผี สมผสานโดยเลอื กสรรหลกั การ
ทดี่ ีของหลายทฤษฎีทีพ่ อจะประมวลเข้าดว้ ยกันได้โดย ไม่ขัดแยง้ กนั มาใชเ้ ปน็ แนวการจดั การศกึ ษา
6
2.4 กำหนดหลกั สูตรการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
2.4.1 เปน็ การศกึ ษาเพ่อื ความเป็นเอกภาพของชาติ มุ่งเน้นความเป็นไทยควบคูก่ บั
ความเปน็ สากล
2.4.2 เปน็ การศึกษาเพอื่ ปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนจะได้รับการศึกษาอยา่ งเสมอภาค
และเทา่ เทยี มกนั โดยสงั คมมีสว่ นรว่ มในการจัดการศึกษา
2.4.3 สง่ เสริมให้ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาและเรียนรดู้ ้วยตนเองอย่างต่อเน่อื งตลอดชวี ิต โดยถอื
ว่าผเู้ รียนมีความสำคัญที่สุด สามารถพฒั นาตามธรรมชาติ และเต็มตามศกั ยภาพ
2.4.4 เป็นหลกั สตู รทม่ี ีโครงสร้างยดื หยุ่นทัง้ ด้านสาระ เวลา และการจดั การเรยี นรู้
2.4.5 เป็นหลกั สตู รทีจ่ ดั การศกึ ษาได้ทกุ รปู แบบ ครอบคลมุ ทกุ กล่มุ เป้าหมาย สามารถ
เทยี บโอนผลการเรยี นรู้ และประสบการณ์
2.5 ปรัชญาการศกึ ษา หมายถึง เปน็ ปรชั ญาท่ีแตกหน่อมาจากปรชั ญาแมบ่ ทหรอื ปรชั ญา
ท่วั ไปทีว่ ่าดว้ ยความรูค้ วามจรงิ ของชวี ติ หากบคุ คลมคี วามเช่อื วา่ ความจริงของชวี ติ เปน็ อย่างไรปรัชญา
การศึกษาจะจดั การศึกษาพัฒนาคนและพฒั นาชวี ติ ให้เป็นไปตามนน้ั ส่วนการจัดการเรยี นการสอนก็
จะต้องดำเนนิ การใหเ้ ป็นไปตามหลักปรชั ญาการศึกษานั้นๆ ดังนนั้ การศกึ ษาเรอ่ื งการเรยี นการสอนวา่
ควรจะเปน็ อย่างไร จงึ ต้องศึกษาถงึ ท่ีมา คอื ปรัชญาด้วย “การจัดการศึกษาโดยไม่มปี รชั ญา
การศกึ ษาเป็นแนวทางกเ็ ป็นเสมอื นเรือท่ีแล่นไปในทอ้ งทะเลโดยไม่มีหางเสือ”
2.6 การจัดการศึกษาตามแนวปรชั ญาสาขา
2.6.1 ความเช่อื ของครตู ามปรัชญาน้ี เชอื่ ว่า “การเรยี นรตู้ อ้ งเร่ิมต้นทตี่ นเอง” จงึ มงุ่
พฒั นาศกั ยภาพของนกั เรยี นแต่ละคนตามความถนดั หรอื ความสามารถบนพ้ืนฐานของความแตกต่าง
ระหวา่ งบุคคล เพราะคนแต่ละคนมคี วามถนดั ไมเ่ หมือนกันดังนน้ั ไม่ควรบังคับใหเ้ ด็กทกุ คนเรียน
เหมือนกันเพราะทำลายความเป็นตัวของตัวเองของเดก็ ซ่ึงตรงกับความหมายของการศึกษา
(Education) ซง่ึ มาจากภาษาละตนิ วา่ Educare แปลวา่ การนำออก เพราะจดุ ม่งุ หมายของ
การศกึ ษา คอื การดงึ เอาศกั ยภาพท่ีมีอยู่ในตัวผู้เรียนออกมา หรอื เปดิ โอกาสใหผ้ ู้เรียนไดแ้ สดงออกซึง่
ความสามารถของตนเองอย่างอสิ ระนั่นเอง
2.6.2 วธิ กี ารสอน จะสอนให้นกั เรยี นเปน็ ตวั ของตวั เองใหม้ ากที่สดุ เน้นความเปน็ บคุ คล
หรอื เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง ด้วยการกระตนุ้ ใหน้ กั เรยี นคิดอย่างอิสระไม่ควรคิดหรือทำอะไรตาม
ผู้อนื่ ให้อิสระในการเลอื กวชิ าเรยี นตามความถนัดหรอื ความสนใจ บรรยากาศในชน้ั เรียนจะเต็มไป
ดว้ ยเสรภี าพ ครูจะไม่ดวุ า่ นักเรยี น นักเรยี นอยากเรยี นก็เรยี นไม่อยากเรยี นกไ็ ม่มกี ารบงั คบั เพราะครู
จะสอนก็ต่อเมื่อนกั เรียนพร้อมทจ่ี ะเรียน ครูจะใหน้ กั เรยี นปกครองกนั เอง ระเบยี บวินยั ตา่ งๆ ไม่
ไดม้ าจากครูแตน่ กั เรียนเป็นผชู้ ว่ ยกนั กำหนดขน้ึ มาเองตามความพอใจ
7
2.6.3 ผเู้ รียน ผ้เู รียนเป็นศนู ย์กลางของการเรียนโดยให้เด็กเป็นผู้ลงมอื ปฏิบัติ สว่ นครู
เป็นผู้ดูหรอื พเ่ี ล้ียงคอยใหค้ ำแนะนำปรึกษา นกั เรยี นจะมอี ิสระเสรภี าพอย่างเตม็ ท่ใี นการคดิ ตัดสนิ ใจ
ด้วยตนเอง ในการเลือกทำกิจกรรมตา่ งๆ ตามความถนัดหรือความสนใจของแต่ละคน โดยไม่มีการ
บงั คบั เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นได้คน้ พบตนเอง
3. ทฤษฎีการเรียนร้แู ละการประยกุ ตส์ ูก่ ารสอน
ทฤษฎีการเรียนรแู้ ละการประยุกต์สกู่ ารสอนทฤษฎกี ารเรียนรสู้ ร้างข้ึนจากพนื้ ฐานความเชอ่ื
เกยี่ วกับธรรมชาติของการเรียนรู้ เชน่ ทฤษฎีในกลุ่มพฤตกิ รรมนิยมซ่ึงนยิ ามการเรียนรวู้ า่ เป็นการ
เปลยี่ นแปลงพฤติกรรมก็จะเน้นองคป์ ระกอบทีม่ ีต่อการเปล่ียนแปลง ดงั นั้นจึงมีบทบาทต่อการ
ประยกุ ต์สกู่ ารออกแบบการเรยี นการสอนหลักการพ้นื ฐานในการเรยี นร้ขู องทฤษฎนี ้ัน
3.1 การเชือ่ มโยงของธอรน์ ไดค์ (Thorndike’s connectionism)
การเรียนรูข้ องธอร์นไดคเ์ นน้ ความเชอ่ื มโยงของส่งิ เร้าและการตอบสนอง หากผลที่
ตามมาหลงั ปฏบิ ัติเปน็ สง่ิ ท่นี ่าพอใจความเชอื่ มโยงของสิง่ เรา้ และการตอบสนองก็จะมากยิง่ ขน้ึ
3.1.1 กฎแหง่ ผล (Law of effect) พฤตกิ รรมการตอบสนองต่อสงิ่ เรา้ ใดที่ได้รบั ผลท่ี
ทำให้ผู้เรียนพึงพอใจผู้เรียนจะกระทำพฤตกิ รรมนน้ั ซำ้ ๆ อกี หรือเรียนรู้ต่อไปแต่ถา้ ไม่ไดร้ บั ผลท่พี งึ
พอใจผู้เรยี นกจ็ ะเลกิ ทำพฤตกิ รรมน้นั
3.1.2 กฎแห่งความพรอ้ ม (Law of readiness) การเรยี นรูจ้ ะเกดิ ขนึ้ ได้ดถี า้ ผู้เรยี นอยู่
ในภาวะที่มีความพรอ้ มท้งั ร่างกายและจติ ใจ การบังคบั หรือฝนื ใจจะทำใหห้ งุดหงดิ ไม่เกดิ การเรยี นรู้
3.1.3 กฎแห่งการฝึกหัด (Law of exercise) การเรยี นรูจ้ ะคงทนหรอื ตดิ ทนนานถ้า
ได้รบั การฝึกหัดหรอื กระทำซ้ำบอ่ ย ๆ
3.2 การประยุกต์สกู่ ารสอน
3.2.1 การกำหนดจุดประสงค์การเรยี นรเู้ ป็นพฤติกรรมทชี่ ดั เจน เฉพาะเจาะจงซ่งึ ทำให้
สามารถวดั ผลประเมินผลได้วา่ เกดิ การเรยี นรู้หรอื ไม่ โดยสังเกตจากพฤติกรรมทเี่ กิดขึ้น และแจ้งให้
ผเู้ รียนทราบพฤตกิ รรมท่คี าดหวัง
3.2.2 ก่อนเรียนควรสำรวจว่าผู้เรียนมีความพรอ้ ม ดา้ นรา่ งกาย จิตใจและมคี วามรู้
พื้นฐานเดิมทพี่ ร้อมในการเรยี นรู้ หรอื ไม่ เพือ่ หาแนวทางในการเตรยี มความพรอ้ มใหก้ ับผู้เรยี น
3.2.3 ควรจัดกจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ให้ผเู้ รยี นเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏบิ ตั ิ การเผชิญ
สถานการณ์ปญั หาซงึ่ เปดิ โอกาสให้ผเู้ รียนได้ลองถูกลองผดิ เพ่อื หาทางแก้ปัญหาดว้ ยตนเอง ซงึ่ จะทำ
ใหผ้ เู้ รยี นเกิดความภาคภมู ิใจเมือ่ ค้นพบวธิ กี ารแกป้ ัญหาได้
3.2.4 ควรศึกษาว่าอะไรคือรางวัลหรือผลท่ีผู้เรียนพึงพอใจ เพื่อใช้เป็นสิ่งเร้าใหผ้ ู้เรยี น
อยากเรียนรู้หรอื แสดงพฤติกรรมน้นั ซำ้ อกี
3.2.5 ควรให้ผ้เู รยี นได้ฝกึ ฝนสิ่งที่เรยี นรู้แลว้ อย่างสม่ำเสมอเพอ่ื ใหเ้ กดิ ทักษะในส่ิงนนั้
8
3.3 การวางเง่อื นไขแบบปฏบิ ัติการ (Operant conditioning theory) สกนิ เนอร์(Skinner)
การเรียนเกิดจากการวางเง่ือนไขของสงิ่ เรา้ ซงึ่ ผู้เรยี นต้องลงมือทำหรือปฏิบัติเพ่ือหาทาง
แกป้ ญั หาจงึ จะได้รบั ผลทพ่ี ึงพอใจ ถ้ามีการเรียนรูเ้ กดิ ขึน้ จะสังเกตไดว้ ่ามีการตอบสนองเพิม่ ข้ึน เมือ่ ไม่
มีการเรียนรอู้ ัตราการตอบสนองจะลดลง การเรียนรูจ้ ึงตีความว่าเป็นการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมหรือ
เทียบไดก้ ับการตอบสนอง
3.3.1 การเสรมิ แรงแบบปฐมภูมิ (Primary reinforcement) คอื สิ่งเรา้ ทีส่ ามารถทำให้
ความถขี่ องการแสดงพฤติกรรมเพ่ิมข้ึนโดยไมต่ ้องอาศยั การฝึกฝน ซงึ่ เป็นสง่ิ เรา้ ตามธรรมชาติ เช่น
อาหาร ท่ีอยูอ่ าศยั เป็นตน้
3.3.2 การเสริมแรงแบบวางเงอ่ื นไข
3.3.2.1 การเสรมิ แรงทางบวก (Positive reinforcement) คือ การให้สิง่ เร้าที่
ก่อใหเ้ กิดผลทางบวกแก่พฤติกรรม ทำใหค้ วามถีข่ องพฤติกรรมเพม่ิ ข้นึ หรอื มกี ารผลิตซ้ำของพฤตกิ รรม
เชน่ การทีผ่ ู้เรียนสง่ งานครบตามกำหนดเมื่อได้รบั คำชมเชยจากผู้สอนทำใหผ้ ู้เรยี นสง่ งานครบตาม
กำหนด
3.3.2.2 การเสริมแรงทางลบ (Negative reinforcement) คอื การลดหรอื การ
ถอนสิง่ เรา้ ทีก่ ่อใหเ้ กดิ ผลทไี่ ม่พึงพอใจ ทำให้เกิดพฤติกรรมทีพ่ ึงประสงคเ์ พ่มิ ข้ึน เช่น เสียงดงั และ
ห้องเรียนท่รี ้อนอบอ้าวเปน็ สิ่งเร้าท่ีทำให้นักเรียนหงุดหงิด ไม่สนใจเรียน เม่ือตดิ เครื่องปรบั อากาศทำ
ให้นกั เรยี นมีความตง้ั ใจเรยี นมากขึน้ หรอื นักเรยี นรบี ออกจากบ้านแต่เชา้ เพอ่ื หลกี เลี่ยงรถตดิ ทำให้
มาถึงโรงเรียนทนั เวลา
3.4 การสรา้ งความรู้ประยกุ ต์ไปใช้ในการเรยี นการสอนได้
3.4.1 การเรียนร้ปู ระสบการณ์ใหม่ข้ึนจากประสบการณเ์ ดิมของผู้เรียน ก่อนเรยี นเร่ือง
ใหม่ผสู้ อนควรสำรวจความรู้เดิมของผู้เรียนท่จี ำเป็นต่อการเรยี นรเู้ รือ่ งใหม่ เพื่อใหผ้ เู้ รียนได้เชือ่ มโยง
ความรูแ้ ละประสบการณ์เดิมสู่การเรยี นรู้เรอ่ื งใหมท่ ำให้ผู้เรียนมีความเข้าใจการเรียนรู้เร่อื งใหมไ่ ดด้ ีขน้ึ
3.4.2 การเรยี นรู้คือการสรา้ งความหมายความเข้าใจของผู้เรยี นจากประสบการณท์ ่ี
ได้รับ
3.4.3 กอ่ นการจัดการเรยี นรู้เร่อื งใหม่ ควรตรวจสอบความรเู้ ดิมของผูเ้ รยี นว่าเปน็
ความรทู้ ่ีถกู ต้องหรือไม่ หากเปน็ ความรู้ทไ่ี มถ่ กู ต้องหรอื เปน็ ความเข้าใจผิด ต้องแกไ้ ขให้ถูกต้อง เพราะ
ในการสรา้ งความเข้าใจใหม่นัน้ ผู้เรยี นจะแปลความหมายของส่ิงท่เี รียนรู้ใหม่จากความรูแ้ ละ
ประสบการณ์เดมิ ท่ีมอี ยู่
9
3.4.4 การเรยี นร้เู ป็นปฏสิ มั พันธท์ างสังคม ดังนั้นควรจดั ใหผ้ เู้ รยี นได้ทำงานเป็นกลุ่ม
เล็กเพือ่ ใหม้ ีโอกาสแลกเปล่ยี นความรแู้ ละประสบการณ์ระหว่างผูเ้ รียนดว้ ยกนั และผ้เู รียนกบั ผู้สอน
หรอื การจดั ใหผ้ ู้เรยี นไดเ้ รยี นรู้กับผทู้ มี่ คี วามรทู้ ี่อยู่ในท้องถนิ่
3.4.5 ลดการบรรยาย จัดกิจกรรมหรอื สถานการณ์ทีท่ า้ ทายสติปัญญาและศักยภาพ
ของผู้เรียน ใหผ้ เู้ รียนสรา้ งความรดู้ ว้ ยการลงมือปฏิบตั ิจรงิ ฝึกปฏบิ ัตแิ ละประยุกตใ์ ช้ความรู้ใน
สถานการณจ์ รงิ และสะทอ้ นผลการเรียนรู้ของตนเอง
3.4.6 จัดให้ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นรูจ้ ากสถานการณ์และปญั หาท่ีเกดิ ข้ึนตามสภาพจรงิ ในสงั คม
เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นเหน็ คณุ คา่ และประโยชนข์ องการเรียนรู้
3.4.7 ให้ผู้เรยี นเปน็ ผู้รบั ผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนา
ทักษะการเรยี นรู้และทศิ ทางการเรียนร้ขู องตนเอง ไดแ้ ก่ การวางแผนบรหิ ารจดั การการเรียนรขู้ อง
ตนเองควบคมุ ตดิ ตามผลการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง ประเมนิ ผลและปรับปรงุ การเรียนรู้ของตนเองอย่าง
ตอ่ เน่ือง
3.4.8 บทบาทของครู คอื ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความชว่ ยเหลือ ช้ีแนะการเรยี นรู้ให้
ผู้เรียนประสบความสำเรจ็ ในการเรียนทฤษฎกี ารเรียนร้สู ำคัญท่กี ล่าวมาข้างตน้ ได้ให้ข้อความรทู้ ่ีเปน็
ประโยชนท์ ำใหเ้ ราเข้าใจการเรียนรู้ของผเู้ รียนวา่ เกิดขน้ึ ได้อย่างไร ซงึ่ นำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั
สภาพแวดลอ้ มท่สี ่งเสริมให้เกดิ การเรยี นร้ตู ลอดจนสง่ เสริมบทบาทของครู และผเู้ รียนท่ีจะเป็น
ประโยชน์ต่อการเรียนรู้
4. แนวคิดทฤษฎดี ้านการศึกษาทางศาสนา เศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม
4.1 ทฤษฎีทางการศึกษา เป็นทฤษฎที ่ีเกย่ี วข้องกบั การเรียนรู้ จึงเกี่ยวขอ้ งโดยตรงกับ
กระบวนการเรียนรูห้ รือการเออ้ื ให้เกดิ การเรยี นรู้
4.2 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ (THEORIES OF LEARNING) การเรยี นรู้ หมายถึง การเปลีย่ นแปลง
พฤติกรรมที่คอ่ นข้างถาวร เป็นผลมาจากประสบการณ์ต่าง ๆ ทฤษฎกี ารเรียนรู้เปน็ การศึกษาที่
เก่ยี วข้องกบั กระบวนการเทคนิคต่าง ๆ ท่ีเกดิ จากการเรียนรู้
4.2.1 ทฤษฎกี ารเรียนรแู้ นวคดิ พฤตกิ รรมนยิ มมแี นวคิดความเช่ือว่าสิ่งเรา้ (Stimula)
ทำใหเ้ กิดการเรียนรู้ และเกดิ ปฏกิ ิริยาตอบสนอง (Response) เรียกวา่ เกดิ พฤตกิ รรม (Behavior)
โดยทฤษฎกี ารเรยี นร้ใู นกลุ่มพฤติกรรมนิยม แบง่ ไดด้ ังน้ี
4.2.1.1 ทฤษฎีการเรียนร้ขู องพาฟลอฟ (Ivan Petrovich Pavlov) เปน็ ทฤษฎี
การวางเงอ่ื นไขแบบคลาสสิค ซึง่ เชื่อว่าการเรียนรูข้ องสิง่ มชี ีวิตจำนวนมากเกิดจากการวางเง่ือนไข โดย
การตอบสนองหรือการเรียนร้ทู ่ีเกดิ ขึน้ ตอ่ สงิ่ เรา้ หนง่ึ มกั มีเง่อื นไขหรือสถานการณ์เกิดขึน้
10
4.2.1.2 การเรียนรู้แบบเช่ือมโยงของธอรน์ ไดค์ (Thorndike) การเรียนรู้ คอื
การท่ีผเู้ รยี นสามารถสร้างความสมั พันธเ์ ช่อื มโยงระหว่างสง่ิ เรา้ และตอบสนองและไดร้ ับความพงึ
พอใจจะทำใหเ้ กดิ การเรียนรู้ข้นึ
4.2.1.3 ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant Conditioning
Thepry) สกนิ เนอร์ ได้อธบิ ายคำว่า “พฤตกิ รรม” วา่ ประกอบด้วยองคป์ ระกอบ 3 ตวั สง่ิ ที่ก่อให้เกิด
ขนึ้ กอ่ น (Antecedent) พฤตกิ รรม (Behavior) ผลท่ไี ดร้ ับ (Consequence)
4.2.2 ทฤษฎคี วามรูค้ วามเข้าใจหรอื ทฤษฎีปรชั ญาปญั ญานิยมจากหลักการ Field
theory ซง่ึ เลวิน (Lewin) เปน็ ผ้เู สนอไว้ แนวคิดของนักจติ วทิ ยากลุ่มนใ้ี หค้ วามสำคญั กับกระบวนการ
คิดการศกึ ษาพฤติกรรมควรเน้นความสำคญั เกีย่ วกบั กระบวนการคดิ และการรับรู้ของตน
4.2.3 ทฤษฎีการเรยี นร้ขู องกล่มุ แนวคิดมนษุ ย์นิยมผู้นำแนวคดิ มนุษยนยิ ม คอื มาส
โลว์ มคี วามเช่ือว่ามนุษยเ์ กดิ มาพรอ้ มกับความดีติดตัวมนษุ ยเ์ ป็นผู้ทม่ี ีอิสระสามารถที่จะพงึ่ ตนเองได้
4.2.4 ทฤษฎีการเรียนรขู้ องบลูม (Broom) แบง่ จดุ มงุ่ หมายของการเรยี นรเู้ ป็น 3 ดา้ น
4.2.4.1 พทุ ธพิสยั ความร้คู วามจำความเขา้ ใจเป็นความสามารถ ในการจับ
ใจความสำคัญของสอ่ื การนำความรู้ไปใช้ การวิเคราะห์ การสงั เคราะห์ การประเมนิ ค่า
4.2.4.2 จิตพิสัย การรับรู้ การตอบสนอง การให้ค่านิยม การจดั รวบรวม การ
พฒั นาลกั ษณะนิสัยจากค่านยิ ม
4.2.4.3 ทกั ษะพิสยั ขน้ั การรับรู้ ขนั้ ตระเตรียม ข้ันฝกึ หัดขั้นทำได้ ขนั้ ชำนาญ
4.3 ทฤษฎีพหปุ ญั ญา (Multiple intelligence) ของการด์ เนอร์ (Gardner)
ไดเ้ สนอแนวคิดว่าสตปิ ัญญาของมนษุ ยไ์ ม่ไดม้ เี ฉพาะเหตผุ ลเชิงตระกะและความสามารถ
ทางภาษาแต่ยังมสี ติปัญญาอกี หลายๆด้าน
4.3.1 สตปิ ัญญาด้านดนตรี
4.3.2 สตปิ ญั ญาการเคล่ือนไหวร่างกายและกลา้ มเน้อื
4.3.3 สตปิ ญั ญาด้านการใชเ้ หตผุ ลเชงิ ตระกะและคณติ ศาสตร์
4.3.4 สติปัญญาดา้ นภาษา
4.3.5 สตปิ ัญญาด้านเนื้อหามติ ิสัมพนั ธ์
4.3.6 สติปญั ญาดา้ นการเขา้ กับผ้อู ื่น
4.3.7 สตปิ ัญญาดา้ นการเข้าใจผอู้ น่ื
4.3.8 สติปัญญาดา้ นเขา้ ใจในธรรมชาติ
11
4.4 ทฤษฎกี ารเรียนรขู้ องโรเบิร์ต กาเย่ (Robert Gange)
4.4.1 เน้นเร่งเร้า กระต้นุ ดงึ ดดู ความนา่ สนใจ , บอกวัตถุประสงค์ , ทบทวนความรู้เดิม
นำเสนอเนือ้ หาใหม่ , ขแ้ี นะแนวทางการเรยี นรู้ , กระตุ้นการตอบสนองบทเรยี น , ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลับ
, การประเมินผลการแสดงออกและสรปุ และนำไปใช้
4.5 แนวคดิ ทฤษฎีทางศาสนา
4.5.1 ศาสนามคี วามสำคัญตอ่ คุณภาพชวี ติ ของบุคคล สังคมต่างๆ มกั จะมศี าสนาเป็น
เครอื่ งยึดเหนีย่ วเพื่อใหส้ มาชิกในสังคมปฏิบัติตนในทางท่ดี ี ศาสนาทุกศาสนายอ่ มมีจดุ หมายเดียวกนั
คือ มงุ่ ให้บุคคลกระทำความดลี ะเว้นความชวั่ ศาสนาท่เี กดิ ขึน้ ในโลกทง้ั ในอดีตและปัจจุบนั ล้วนเกิด
มาจากสาเหตุทค่ี ล้ายคลึงหรือแตกตา่ งกัน แต่สาเหตสุ ำคัญท่ีทำใหเ้ กิดเปน็ ศาสนา สรปุ ได้ดงั นี้
4.5.1.1 ความไมร่ แู้ ละความกลัว
4.5.1.2 ความจงรักภกั ดี
4.5.1.3 ปญั ญาหรอื ความรู้
4.6 แนวคิดทฤษฎีทางเศรษฐกจิ
4.6.1 เศรษฐศาสตร์การศึกษา หมายถึงการประยุกต์วิชาเศรษฐศาสตรใ์ นการวเิ คราะห์
การจัดการศกึ ษาทง้ั ในระบบนอกระบบและการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั การวิเคราะห์ทา
เศรษฐศาสตร์ ซงึ่ เกย่ี วขอ้ งกบั ความสมั พนั ธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจกบั ระบบการศกึ ษา โดยท่คี นและ
สังคมสว่ นในการตดั สินใจใช้ทรพั ยากรทีม่ ีอยูอ่ ย่างจำกดั คุ้มคา่ ต่อการลงทุนทางการศกึ ษาพนื้ ฐาน
แนวคดิ และทฤษฎีทสี่ ำคญั ของเศรษฐกิจกบั การศึกษา
4.6.1.1 แนวคิดการศึกษาเป็นอุตสาหกรรม การศึกษาเป็นกิจกรรมของมนุษย์ที่
มขี นาดใหญ่ มีผู้ใหบ้ รกิ ารจำนวนมากใชห้ ลกั การและทฤษฎเี ศรษฐศาสตรม์ าบริหารจดั การเพื่อให้การ
จดั ใช้ทรัพยากรเปน็ ไปอย่างประหยัดคมุ้ ค่าแลเกดิ ประโยชนส์ งู สุด
4.6.1.2 แนวคิดการศึกษาเป็นการลงทุน การใช้จ่ายทางการศึกษาส่วนใหญ่เป็น
การใชจ้ ่ายทีค่ าดหวังผลตอบแทนในอนาคต จงึ เป็นการใช้จ่ายเพ่อื การลงทนุ การพิจารณาความ
คุ้มครองและความมีประสิทธภิ าพของการลงทุน
4.6.1.3 ทฤษฎีทนุ มนษุ ย์ เศรษฐศาสตรก์ ารศึกษามีพ้ืนฐานมาจากทฤษฎมี นษุ ย์
ซ่งึ พัฒนามาจากแนวคิดเกยี่ วกบั การลงทนุ ในมนุษย์นับเปน็ อกี สำนักความคิดหนึ่งท่ีขยายความรู้
เกีย่ วกับการลงทุนพัฒนาทรพั ยากรมนษุ ย์
12
4.7 แนวทางการจัดการศกึ ษาตามแผนแมบ่ ทการศกึ ษา
4.7.1 มาตรา 4 โดยการถา่ ยทอดความรู้ การฝึก การอบรม การสบื สานทางวัฒนธรรม
4.7.1.1 กระบวนการเรียนรู้ เพื่อความเจริญงอกงามของบุคคลและสังคม
4.7.1.2 การสร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ
4.7.1.3 การสร้างองค์ความร้จู ากการจัดสภาพแวดลอ้ ม สังคมการเรียนรู้
4.7.1.4 ปัจจัยเกื้อหนุนใหบ้ ุคคลเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
4.7.2 มาตรา 8
4.7.2.1 เป็นการศึกษาตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชน
4.7.2.2 ใหส้ ังคมมีสว่ นร่วมในการจัดการศกึ ษา
4.7.2.3 การพัฒนาสาระและกระบวนการเรียนรู้ใหเ้ ปน็ ไปอยา่ งตอ่ เน่ือง
4.7.3 มาตรา 15 การจัดการศึกษามี 3 รปู แบบ
4.7.3.1 การศึกษาในระบบ
4.7.3.2 การศึกษานอกระบบ
4.7.3.3 การศึกษาตามอธั ยาศยั
4.7.4 มาตรา 22
4.7.4.1 การจดั การศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และ
พฒั นาตนเองได้ และผเู้ รียนมีความสำคญั ท่ีสุด โดยกระบวนจัดการศกึ ษาต้องสง่ เสริมใหผ้ ู้เรยี น
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ
4.7.5 มาตรา 23
4.7.5.1 การศกึ ษาทัง้ 3 รูปแบบ เน้นความสำคญั ทัง้ ความรู้ คุณธรรม
กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับการศกึ ษา
4.8 แนวคิดทฤษฎีทางสังคมและวัฒนธรรมกบั การศึกษา
4.8.1 การศึกษาว่ามบี ทบาทสำคัญท่ที ำใหส้ งั คมและวฒั นธรรมเปลี่ยนแปลงไป ซ่งึ การ
เปล่ียนแปลงทางสงั คมจะมอี ิทธิพลตอ่ การกำหนดรปู แบบ หรือระบบการศกึ ษาในสงั คมวฒั นธรรมมี
การปรบั ตวั (Adaptation) ให้สอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมและสถานการณท์ ่เี ปลีย่ นแปลงไปอยู่
ตลอดเวลาอาจส่งผลใหส้ ว่ นอื่นๆของระบบการศกึ ษามกี ารเปลี่ยนแปลงปรับตัวตามไม่ทนั สังคมและ
วฒั นธรรมไปดว้ ย
13
4.8.2 สังคมและวฒั นธรรมมีความสำคญั กบั การจดั การศกึ ษาและการพัฒนาจดั การ
เรยี นรู้ สองประการคอื ประการแรกการศึกษาทำหน้าทีอ่ นรุ กั ษแ์ ละถ่ายทอดวัฒนธรรมของสังคมให้
ไปสคู่ นรุน่ หลังประการท่ีสองการศึกษาจะทำใหห้ น้าท่บี ำรงุ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมของสงั คม
ใหเ้ ข้ากบั การเปล่ยี นแปลงดา้ นวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยตี า่ งๆทม่ี กี ารปรบั เปลี่ยนตลอดเวลา
การศึกษาจะช่วยควบคุมการเปล่ยี นแปลงสงั คมให้เป็นไปในทศิ ทางที่พงึ ปรารถนา
5. แนวคดิ ทฤษฎเี ทคโนโลยีและนวตั กรรมการศึกษาสง่ เสริมพัฒนาคณุ ภาพการเรียนรู้
5.1 ความหมายเทคโนโลยกี ารศึกษา และ นวตั กรรมการศึกษา
5.1.1 เทคโนโลยี หมายถึง เป็นการนำเอาแนวความคดิ หลักการ เทคนิค ความรู้
ระเบียบวิธี กระบวนการ ตลอดจนผลผลติ ทางวิทยาศาสตร์ทงั้ ในดา้ นส่ิงประดษิ ฐ์และวิธีปฏิบัติมา
ประยุกต์ใชใ้ นระบบงานเพือ่ ช่วยใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงในการทำงานใหด้ ยี ิ่งขนึ้ และเพื่อเพิม่
ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลของงานให้มมี ากยง่ิ ขึ้น
5.1.2 เทคโนโลยีทางการศึกษา หมายถึง การนำความรู้ แนวคดิ กระบวนการและ
ผลผลิตทางวิทยาศาสตรม์ าใชร้ ่วมกนั อยา่ งมีระบบ เพอ่ื แก้ปญั หาและพัฒนาการศึกษาใหก้ ้าวหน้าไป
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
5.1.3 นวตั กรรม เป็นศพั ท์บญั ญัติของคณะกรรมการพิจารณาศพั ท์วิชาการศกึ ษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร ซ่ึงแต่เดิมใชค้ ำวา่ นวกรรม เป็นคำมาจากภาษาอังกฤษว่า Innovation แปลว่า
การทำสิ่งใหม่ๆ หรือสง่ิ ใหมท่ ่ีทำข้ึนมา คำวา่ นวกรรม มาจากคำบาลีสันสฤต คือ นว หมายถึง ใหม่
และกรรม หมายถงึ ความคิด การปฏิบัติ
5.1.4 นวัตกรรมทางการศกึ ษา หมายถงึ ความคดิ และวิธกี ารปฏบิ ตั ิใหม่ ๆ ท่ีสง่ เสรมิ ให้
กระบวนการทางการศึกษามีประสิทธิภาพ
5.2 ความแตกตา่ งระหวา่ งเทคโนโลยีการศึกษา และนวตั กรรมการศกึ ษา
5.2.1 นวตั กรรมเป็นแนวคิด แนวปฏบิ ตั ิหรือการกระทำใหม่ๆจะเปน็ สิ่งใหมท่ ง้ั หมด
หรอื เพยี งบางส่วนก็ไดแ้ ต่เทคโนโลยเี ปน็ สิง่ ที่ผู้คนสว่ นใหญ่ยอมรับจนกลายเปน็ แนวปฏิบัติ
5.2.2 นวตั กรรม อยูใ่ นขั้นการเอาไปใชใ้ นกล่มุ ย่อยเพยี งบางส่วนไม่แพรห่ ลายแต่
เทคโนโลยีอยูใ่ นขัน้ การนาเอาไปปฏบิ ัตกิ ันในชวี ิตประจาวนั จนกลายเป็นเรอ่ื งธรรมดา
5.3 แนวคิดพน้ื ฐานการเกิดนวตั กรรมการศึกษา
5.3.1 แนวความคิดพนื้ ฐานทางการศึกษาทเี่ ปลย่ี นแปลงไปมผี ลทำให้เกดิ นวตั กรรม
การศึกษาขนึ้ หลายรปู แบบด้วยกนั แนวความคิดพนื้ ฐานทางการศกึ ษาท่ีสำคัญพอสรปุ ได้ 4 ประการ
14
5.3.2 ความแตกตา่ งระหว่างบคุ คล (Individual Different) ไดก้ ่อให้เกดิ นวัตกรรม
5.3.2.1 โรงเรยี นไม่แบ่งชั้น
5.3.2.2 บทเรยี นสำเร็จรปู
5.3.2.3 การสอนเป็นคณะ
5.3.3 ความพร้อม (Readiness) ไดก้ ่อให้เกิดนวัตกรรม
5.3.3.1 ชุดการเรียนการสอน
5.3.3.2 ศูนยก์ ารเรียน
5.3.4 เวลาที่ใชใ้ นการศกึ ษา นวัตกรรมทสี่ นองความคดิ น้ี
5.3.4.1 ตารางเรียนแบบยืดหย่นุ
5.3.4.2 มหาวิทยาลัยเปิด
5.3.4.3 การเรียนทางไปรษณีย์
5.3.5 การขยายตัวดา้ นวิชาการและอตั ราการเพ่ิมของประชากร ทำให้เกดิ นวตั กรรมใน
ดา้ นนี้ข้ึน
5.3.5.1 ดาวเทียมเพื่อการศึกษา
5.3.5.2 มหาวทิ ยาลยั เปิด
5.3.5.3 การศึกษาทางไกล
5.3.5.4 การเรยี นผ่านอนิ เตอรเ์ นต็
5.4 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา (จำแนกตาม)
5.4.1 นวตั กรรมท่ีนำมาใช้ทง้ั ทีผ่ ่านมาแลว้ และท่ีจะมใี นอนาคตมหี ลายประเภทขนึ้ อยู่
กับการประยกุ ต์ใชน้ วัตกรรมในด้านต่างๆ ซงึ่ จะขอแนะนำนวัตกรรมการศกึ ษา
5.4.1.1 นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู ร เปน็ การใชว้ ิธีการใหม่ๆในการพัฒนา
หลักสูตรให้สอดคลอ้ งกบั สภาพแวดลอ้ มในท้องถ่ิน และตอบสนองความตอ้ งการสอนบคุ คลใหม้ ากข้ึน
เนื่องจากหลกั สตู รจะต้องมกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู่ สมอ เพ่ือใหส้ อดคลอ้ งกบั ความก้าวหนา้ ทางดา้ น
เทคโนโลยี เศรษฐกิจและสงั คมของประเทศและของโลก นวัตกรรมทางด้านหลกั สตู รได้แก่ การพฒั นา
หลกั สตู รบูรณาการ หลักสตู รรายบุคคล หลักสตู รกิจกรรมและประสบการณ์ และหลกั สูตรท้องถ่นิ
5.4.1.2 นวตั กรรมการเรยี นการสอน เปน็ การใช้วธิ รี ะบบในการปรับปรุงและ
คิดคน้ พัฒนาวิธสี อนแบบใหมๆ่ ท่ีสามารถตอบสนองการเรยี นรายบคุ คล การสอนแบบผู้เรียนเปน็
ศนู ย์กลาง การเรยี นแบบมสี ่วนรว่ ม การเรียนรู้แบบแกป้ ญั หา การพฒั นาวธิ สี อนจำเปน็ ตอ้ งอาศยั
วิธีการและเทคโนโลยีใหม่ๆ เขา้ มาจัดการและสนับสนนุ การเรียนการสอน
15
5.4.1.3 นวตั กรรมส่อื การสอน เนือ่ งจากมคี วามก้าวหน้าของเทคโนโลยี
คอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรเ์ ครอื ข่ายและเทคโนโลยีโทรคมนาคม ทำใหน้ ักการศึกษาพยายามนำ
ศกั ยภาพของเทคโนโลยเี หล่าน้ีมาใช้ในการผลติ สอ่ื การเรียนการสอนใหมๆ่ จำนวนมากมาย ทัง้ การ
เรียนดว้ ยตนเอง การเรยี นเป็นกลมุ่ และการเรยี นแบบมวลชน ตลอดจนส่อื ท่ีใชเ้ พอ่ื สนบั สนุนการ
ฝกึ อบรมผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์
5.4.1.4 นวตั กรรมทางด้านการประเมนิ ผล เป็นนวัตกรรมทใ่ี ช้เป็นเครือ่ งมอื เพอ่ื
การวัดผลและประเมินผลได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ และทำได้อยา่ งรวดเร็ว รวมไปถงึ การวจิ ัยทาง
การศกึ ษา การวิจยั สถาบนั ดว้ ยการประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาสนบั สนุนการวดั ผล
ประเมนิ ผลของสถานศึกษา ครู อาจารย์
5.4.1.5 นวตั กรรมการบริหารจดั การ เป็นการใชน้ วัตกรรมทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การ
ใช้สารสนเทศมาชว่ ยในการบริหารจัดการ เพื่อการตดั สินใจของผู้บริหารการศึกษา ให้มีความรวดเร็ว
ทันเหตุการณ์ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของโลก นวตั กรรมการศึกษาท่นี ำมาใช้ทางด้านการบริหารจะ
เก่ยี วขอ้ งกับระบบการจัดการฐานขอ้ มลู ในหนว่ ยงานสถานศกึ ษา
5.5 จำแนกตามผใู้ ชป้ ระโยชน์จากนวัตกรรมโดยตรง
5.5.1 นวัตกรรมจัดการเรยี นรู้ของครู เชน่ วธิ กี ารสอน กิจกรรมทค่ี รนู ำมาใช้กบั ผู้เรยี น
และสอ่ื การสอนตา่ งๆ
5.5.2 นวัตกรรมการเรียนรูข้ องผู้เรียน เช่น แบบฝกึ หัดตา่ งๆท่คี รูสรา้ งข้นึ บทเรียน
สำเร็จรปู ส่ือมัลติมเี ดีย ฯลฯ
5.5.3 นวตั กรรมเพ่อื การบรหิ ารและพฒั นาการทำงานของครแู ละนกั เรยี น
5.6 จำแนกตามลักษณะของนวัตกรรม
5.6.1 เทคนคิ วิธีการ วิธีการจัดกิจกรรมพัฒนา การจัดกิจกรรมสำหรับผู้เรยี น เชน่ การ
จัดบรรยากาศในหอ้ งเรยี นใหเ้ หมาะสมกบั ผู้เรียน และเหมาะกับวิธีการสอนของครู
5.6.2 สอ่ื การเรยี นรู้ ส่ือการเรยี นรเู้ ปน็ ตวั กลาง หรือเครือ่ งมือทชี่ ว่ ยใหผ้ ู้เรียนเกดิ
ความรูค้ วามเข้าใจ ส่อื การเรยี นรู้แบ่งออกเปน็ 3 ประเภท
5.6.2.1 วัสดุท่ีเสนอความร้จู ากตัวสอ่ื
5.6.2.2 วัสดทุ ี่ต้องอาศยั สื่อประเภทเครอื่ งกลเป็นตัวนำเสนอความรู้
5.6.2.3 สื่อประเภทเครื่องมอื หรือโสตทศั นปู กรณ์ เปน็ ส่ือท่ีเป็นตวั กลางหรอื ตัว
ผ่านของความรูท้ ถ่ี า่ ยทอดไปยังผู้รับ เชน่ เคร่อื งช่วยสอน เครอ่ื งฉาย คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน ฯลฯ
16
5.7 การจำแนกตามจดุ เนน้ ของนวัตกรรม
5.7.1 นวัตกรรมการจดั การเรียนรทู้ เี่ น้นผลผลิต เป็นนวตั กรรมที่เปน็ วสั ดุ อุปกรณ์ หรือ
เคร่ืองมือทีใ่ ชใ้ นการจัดการเรยี นรู้ เช่น วีดีทัศน์ ซีดี สไลด์ ฯลฯ
5.7.2 นวัตกรรมการจดั การเรยี นรู้ทเี่ น้นเทคนคิ วิธีการ หรอื กระบวณการในการจัดการ
เรยี นรู้ เชน่ โครงงาน ผงั มโนทัศน์ บทบาทสมมุติ ฯลฯ
5.7.3 นวตั กรรมท่เี นน้ ทง้ั ผลผลิตและเทคนิคกระบวณการ เช่น ระบบการผลติ และ
สร้างสอื่ การ เรียนรกู้ ระบวณการท่สี ามารถใหน้ ักเรียนเรยี นรดู้ ้วยตัวเองอย่างมปี ระสิทธภิ าพ
5.8 กระบวนการนวตั กรรมการศกึ ษา
5.8.1 กำหนดจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ เมื่อครูไดว้ เิ คราะหส์ าเหตุของปัญหาในการจัด
กจิ กรรมการเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นาการเรียนรขู้ องผู้เรยี นแลว้ กต็ ้ังเปา้ หมายในการพฒั นาคณุ ลักษณะที่พึง
ประสงค์ของผู้เรียนน้ันคือ กำหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรทู้ ตี่ อ้ งการให้เกดิ ขึ้นในตวั ผเู้ รียนตามเป้าหมาย
ของหลกั สตู ร
5.8.2 กำหนดกรอบแนวคดิ ของกระบวนการเรยี นรู้ เมอื่ ไดก้ ำหนดจุดประสงค์การ
เรียนรู้แล้ว ครคู วรศึกษาคน้ คว้าหลกั วิชาการ แนวคดิ ทฤษฎีผลงานวจิ ัยท่ีเก่ียวขอ้ งกับจุดประสงคใ์ น
การพฒั นาคณุ ลักษณะของผู้เรยี น และนำมาผสมผสานกับความคิดและประสบการณ์ของตนเอง
กำหนดเป็นกรอบแนวคดิ ของกระบวนการเรียนรู้ขนึ้ เพอื่ จดั สรา้ งเปน็ ตน้ แบบนวัตกรรมขน้ึ เพ่ือใช้
แก้ปัญหาหรือพฒั นาการเรียนรู้ของผเู้ รยี น
5.8.3 สรา้ งตน้ แบบนวัตกรรม เมื่อตดั สินใจไดว้ ่าจะเลอื กจดั ทำนวตั กรรมชนิดใดครูผู้
ต้องศกึ ษาวิธกี ารจดั ทำนวตั กรรมชนิดน้ัน ๆ อยา่ งละเอยี ด ต้องศึกษาคน้ คว้าวธิ ีการจดั ทำบทเรียน
สำเร็จรูปว่ามวี ิธีการจดั ทำอย่างไรจากเอกสารตำราที่เก่ียวขอ้ ง แล้วจัดทำตน้ แบบบทเรยี นสำเรจ็ รูปให้
สมบูรณต์ ามข้อกำหนดของวิธีการทำบทเรียนสำเร็จรปู สำหรบั เคร่อื งมือที่ต้องใช้ในการวดั ผลสัมฤทธิ์
หรือเครือ่ งมอื อืน่ ๆ ตอ้ งมีการพัฒนาเคร่อื งมอื ตามวิธีการทางวิจยั ด้วย การสรา้ งตน้ แบบนวัตกรรม
จะต้องนำไปทดลองใชเ้ พอื่ หาประสิทธิภาพของนวตั กรรม ซ่ึงมขี นั้ ตอนการหาประสทิ ธิภาพนวตั กรรม
ดงั น้ี
5.8.3.1 การหาประสิทธิภาพของนวัตกรรม
5.8.3.2 การทดสอบประสิทธิภาพของนวัตกรรม
17
5.8.4 ทดลองใชน้ วัตกรรม การทดลองภาคสนามเพ่ือหาประสิทธภิ าพตามเกณฑ์
มาตรฐาน ดำเนินการทดลองใชน้ วัตกรรมกับผู้เรยี นทเี่ ป็นกลุ่มทดลอง (กลุม่ ท่ีต้องการแก้ปญั หา) ใน
สภาพในกลุม่ เรียนจริง วิธดี ำเนนิ การเหมอื นกบั วธิ ีการทดลองกับกลุ่มเลก็ ทุกอยา่ งตา่ งกนั ทจี่ ุดประสงค์
ของการใชน้ วตั กรรม ซึ่งการทดลองในท่ผี า่ นมาถอื วา่ เป็นการกระทำเพอ่ื หาขอ้ บกพรอ่ งท่ีควรแก้ไข
ผู้เรยี นเปรยี บเสมอื นท่ปี รึกษา และนวตั กรรมที่ใช้ก็เป็นเพียงการยกร่าง เมอื่ ผ่านการทดลองกับกลมุ่
เลก็ แล้ว จึงจะถอื ว่าเปน็ บทเรยี นฉบบั จริง การทดลองภาคสนามก็เปน็ การทดลองโดยเป็นการนำไปใช้
จริง กอ่ นเรม่ิ ใช้นวตั กรรมผู้สอนควรแนะนำผ้เู รียนใหเ้ ข้าใจวธิ เี รียนเสียก่อนและให้ทำแบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น เมอ่ื ใช้นวัตกรรมเสรจ็ แลว้ ก็ตอ้ งมีการทดสอบหลังเรียนอกี ครั้ง
5.8.5 เผยแพรน่ วตั กรรม เมอ่ื นำนวตั กรรมไปขยายผลโดยให้ผู้อืน่ ทดลองใช้และให้
คำแนะนำในการปรับปรงุ แก้ไขจนเป็นทพ่ี อใจแล้ว กจ็ ัดทำนวัตกรรมนน้ั เผยแพร่เพอ่ื บรกิ ารให้ใชก้ นั
แพรห่ ลายต่อไป
5.9 ความสำคัญของนวตั กรรมการศึกษา
นวตั กรรมมีความสำคญั ต่อการศึกษาหลายประการ เนื่องจากในโลกยุคโลกาภวิ ัตต์โลกมี
การเปล่ยี นแปลงในทกุ ด้านอยา่ งรวดเร็ว โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ความก้าวหน้าทง้ั ด้านเทคโนโลยีและ
สารสนเทศ การศกึ ษาจึงจำเป็นต้องมีการพฒั นาเปล่ียนแปลงจากระบบการศึกษาทมี่ ีอยู่เดิม เพอื่ ให้
ทันสมัยต่อการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยี และสภาพสงั คมท่เี ปลี่ยนแปลงไปอีกทงั้ เพ่อื แก้ไขปญั หา
ทางดา้ นศกึ ษาบางอยา่ งทเ่ี กิดข้ึนอยา่ งมีประสิทธภิ าพ เช่นเดยี วกนั การเปลยี่ นแปลงทางด้านการศึกษา
จึงจำเป็นตอ้ งมีการศึกษาเก่ียวกบั นวตั กรรมการศึกษาท่จี ะนำมาใช้เพอื่ แก้ไขปัญหาทางการศึกษาใน
บางเรือ่ ง เชน่ ปญั หาท่เี กยี่ วเนื่องกัน จำนวนผ้เู รียนที่มากขน้ึ การพฒั นาหลักสตู รใหท้ นั สมัย การผลิต
และพัฒนาสอ่ื ใหม่ๆ ขนึ้ มาเพือ่ ตอบสนองการเรยี นรขู้ องมนษุ ยใ์ ห้เพ่ิมมากข้นึ ดว้ ยระยะเวลาทสี่ ้ันลง
การ ใชน้ วตั กรรมมาประยกุ ต์ในระบบการบรหิ ารจดั การดา้ นการศกึ ษากม็ ีส่วนชว่ ยใหก้ าร ใช้
ทรัพยากรการเรียนร้เู ปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ เช่น เกดิ การเรียนร้ดู ้วยตนเอง
6. แนวคิดกระบวนการเรยี นออนไลน์ และ 5 Steps GOCQF
6.1 การเรียนการสอนออนไลน์ (Online learning) จัดเปน็ นวัตกรรมทางการศึกษาในอกี
รูปแบบหนึง่ ซ่งึ สามารถเปลี่ยนแปลงวิธีเรยี นในรปู แบบเดิม ๆ ให้เป็นการเรยี นใหม่ท่ีใช้เทคโนโลยเี ขา้
มาชว่ ยทำการสอน นอกจากนี้ความหมายอกี ในหนง่ึ ยังหมายถงึ การเรยี นทางไกล , การเรียนผ่าน
เวบ็ ไซต์
6.2 การเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online learning) จะเป็นเรยี นทางผ่านทาง
อินเทอรเ์ นต็ โดยอยใู่ นรูปแบบของคอมพิวเตอร์ เปน็ การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ บวกเข้ากบั เครอื ข่าย
อินเทอร์เน็ต สรา้ งการศกึ ษาท่ีมีปฏสิ มั พนั ธค์ ณุ ภาพสูง โดยไม่จำเปน็ ตอ้ งเดินทาง เกิดความสะดวก
และเข้าถงึ ได้อยา่ งรวดเรว็ ทุกสถานท่ี ทุกเวลา เป็นการสรา้ งการศกึ ษาตลอดชวี ติ ให้กับประชากร
18
6.3 การเรียนการสอนแบบออนไลน์ เปน็ การศึกษาผ่านเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ ด้วยตนเอง
ผู้เรียนสามารถเลอื กเรยี นตามความชอบของตนเอง ในส่วนของเนื้อหาของเรยี น ประกอบด้วย
ข้อความ , รูปภาพ , เสียง , VDO และMultimedia อืน่ ๆ สง่ิ เหล่านจ้ี ะถูกสง่ ตรงไปยงั ผ้เู รียนผา่ น
Web Browser ทั้งผูเ้ รยี น , ผู้สอน และเพ่ือนร่วมช้นั ทกุ คน สามารถตดิ ต่อ ส่อื สาร ปรกึ ษา
แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ แบบเดยี วกบั การเรยี นในช้ันเรียนทวั่ ไป โดยการใช้ E-mail, Chat, Social
Network เปน็ ต้น ดว้ ยเหตนุ ีก้ ารเรยี นรแู้ บบออนไลน์ จึงเปน็ เหมาะสำหรบั ทกุ คน , เรยี นไดท้ กุ เวลา
6.4 ลกั ษณะสำคัญของการเรียนการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
6.4.1 ผูเ้ รียนเป็นใครก็ได้ อยทู่ ่ีใดก็ได้ เรียนเวลากใ็ ด เอาตามความสะดวกของผเู้ รียน
เปน็ สำคัญ เน่ืองจากโรงเรียนออนไลนไ์ ดเ้ ปดิ เวบ็ ไซต์ใหบ้ รกิ ารตลอด 24 ช่ัวโมง
6.4.2 มีส่อื ทุกประเภทท่ีนำเสนอในเวบ็ ไซต์ ไมว่ ่าจะท้งั ข้อความ , ภาพน่ิง ,
ภาพเคลือ่ นไหว , เสียง , VDO ซึ่งจะช่วยกระตุน้ ความสนใจ ในการเรยี นรู้ของผู้เรยี นไดเ้ ปน็ อย่างดี อกี
ทงั้ ยงั ทำให้เหตภุ าพของเนือ้ หาตา่ งๆง่ายดายมากข้ึน
6.4.3 ผ้เู รียนสามารถเลอื กวชิ าเรียนไดต้ ามความต้องการ
6.4.4 เอกสารบนเวบ็ ไซต์ทมี่ ี Links ต่อไปยังแหล่งความรู้อ่นื ๆ ทำให้ขอบเขตการ
เรยี นรู้กว้างออกไป และเรียนอยา่ งรู้ลกึ มากข้ึน
6.5 ประโยชนข์ องการเรยี นการสอนแบบออนไลน์ (Online learning)
6.5.1 ช่วยเพมิ่ ประสิทธภิ าพในการเรยี นการสอน เน่อื งจากไมไ่ ด้จำกัดอยู่ในสถานท่ี
เดยี วเท่าน้ัน
6.5.2 เกิดเครอื ขา่ ยความรู้ โยงใยออกไปไกล
6.5.3 เนน้ การเรียนแบบผ้เู รยี นเปน็ ศูนย์กลาง
6.5.4 ช่วยลดชอ่ งวา่ งระหว่างการเรียนร้ใู นเมืองกบั ทอ้ งถ่ิน
6.6 สรปุ
6.6.1 การเรยี นร้แู บบการเรยี นรู้แบบออนไลน์ เปน็ การเรยี นทีม่ ีความมีความยึดหยุ่นสูง
เพราะฉะนั้นผู้เรียนจำต้องมีความรบั ผดิ ชอบในการเรียนมากกว่าปกติ เพราะไม่มใี ครมาน่ังจ้ำจี้จำ้ ไช
ยง่ิ เรียนยง่ิ ได้กบั ตวั เอง อกี ทง้ั ยังทราบผลย้อนกลบั ของการเรียน ท้ังจาก E-Mail , การประเมนิ ย่อย ,
การประเมินผลหลัก โดยใช้เว็บไซต์เปน็ ท่ีสอบ รวมท้ังการประเมินผลรวมตามการสอบ เพอ่ื เป็นการ
เช็ควา่ ผู้เรียนได้เขา้ มาเรียนจริง สามารถทำขอ้ สอบได้ มีความเข้าใจในเนอื้ หา
19
6.7 การจดั การเรียนการสอนออนไลน์โดยใช้ Google Classroom และ Application
อน่ื ๆ ซ่ึงได้มกี ารประชุมคณะครเู พอื่ หาแนวทางในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ที่เหมาะกับบรบิ ท
ของนกั เรยี นและโรงเรียน จึงไดน้ ำกระบวนการขับเคลอื่ นชมุ ชนการเรียนรูท้ างวชิ าชพี (PLC) ตาม
แนวทางของ สพฐ. มาขับเคลอ่ื นการการจัดการเรียนการสอนออนไลนจ์ นได้นวัตกรรมการจัดการ
เรยี นรูเ้ รอื่ ง “กระบวนการจัดการเรยี นรอู้ อนไลน์ 5 steps GOCQF" เมื่อไดน้ ำกระบวนการจัดการ
เรยี นรูอ้ อนไลน์นม้ี าดำเนินการจัดการเรยี นรพู้ บวา่ เปน็ ผลดีตอ่ นักเรยี นและครู โดยนกั เรียนมที ักษะใน
การเรยี นร้อู อนไลน์ในระดบั ท่สี งู ข้นั นอกจากนี้ยังไดน้ วัตกรรมการจดั การเรียนรซู้ ง่ึ มขี ัน้ ตอนวิธกี าร
สอนทชี่ ว่ ยใหน้ ักเรยี นสามารถเรียนออนไลนด์ ว้ ยตวั เองได้ ทำงานไดอ้ ย่างเป็นขัน้ ตอน อกี ทงั้ สรา้ ง
แรงจงู ใจให้สำเรจ็ ด้วยการเสริมแรงและติดตามประเมินผล การมีกลยทุ ธ์การเรยี นรูห้ รือกระบวนการ
ข้ันตอนการจัดการเรียนรทู้ เ่ี หมาะสมกับบริบทของนักเรียนจะชว่ ยให้การเรยี นการสอนประสบ
ความสำเร็จไดด้ ยี ง่ิ ขนึ้
6.8 กระบวนการจัดการเรียนร้อู อนไลน์ 5 steps GOCQF โรงเรียนบา้ นสันป่าสัก สพป.
เชยี งใหม่ เขต 4 ประกอบไปด้วย 5 ข้ันตอน ดังน้ี
6.8.1 Step 1 G ขนั้ นำเขา้ สบู่ ทเรียนทักทาย (Greeting) เปน็ ขั้นตอนท่คี รจู ะทกั ทาย
นักเรียนผ่าน Application อาทิ Line หรอื Facebook เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเตรยี มความพร้อมในการ
เรียนรอู้ อนไลน์ ใหน้ กั เรยี นทยอยเขา้ ชั้นเรยี น
6.8.2 Step 2 O ขั้นสอนออนไลน์ใหค้ วามรู้ (Online Learning) / มอบหมายภาระ
งาน (Online Assignment) ขน้ั ตอนนเี้ ปน็ ขั้นตอนสำคัญท่นี กั เรยี นจะไดร้ ับความรู้โดยครอู าจจะ
มอบหมายภาระงานหรือสอนใหค้ วามรูแ้ กน่ กั เรยี นผา่ น Application ใดๆ ตามที่คณุ ครแู ละนกั เรียนมี
ความพรอ้ ม อาทิ Google classroom คุณครูอาจจะเตรียมคลิปการสอนให้นักเรยี นดู
6.8.3 Step 3 C ข้นั ตรวจสอบผลการเรียนรู้ (Checking) เปน็ ข้นั ตอนที่จะตรวจสอบ
ความรวู้ ่านักเรยี นเขา้ ใจบทเรยี นหรอื ไม่ ซ่งึ ครูอาจจะหมายงานหรือข้อสอบใหน้ กั เรยี นทำ จากน้ันครู
ตรวจสอบงานนักเรยี นแลว้ ใหค้ ะแนน
6.8.4 Step 4 Q ขั้นตอบข้อซักถามสะทอ้ นผลการเรยี นรู้ (Q&A Meeting) ในข้นั ตอน
นคี้ รจู ะเชญิ นักเรียนเข้ามาประชมุ ออนไลนผ์ า่ น Application อาทิ google meet สำหรับใหค้ รูและ
นักเรยี นประชมุ ออนไลน์รว่ มกนั สอบถามปญั หาของนักเรียนและตอบข้อสงสัยในเน้อื หาการเรยี นรู้
เพอ่ื นำไปปรบั ปรุงพฒั นาการจดั การเรียนการสอนออนไลนใ์ นครง้ั ต่อไป
20
6.8.5 Step 5 F ข้นั ติดตามประเมนิ ผล (Following Up) ขั้นนีเ้ ป็นการตดิ ตาม
ประเมนิ ผลเพ่อื ให้สามารถนำผลการจัดการเรยี นรู้ไปปรบั ปรงุ และตดิ ตามนักเรยี นที่ยังไม่เขา้ ใจ
บทเรียน โดยครูตรวจสอบรายช่อื นักเรียนท่ยี งั ไมไ่ ด้ทำงานส่งผา่ น Application google classroom
แล้วตดิ ตามนกั เรียน อาทิ ผ่าน Application Line ซ่ึงครูอาจจะเสรมิ แรงโดยการกลา่ วชมเชยนักเรยี น
ท่ีทำภารกจิ ท่ไี ดร้ ับมอบหมายครบ และสอบถามปัญหาของนกั เรยี นทที่ ำมีปญั หาในการทำกิจกรรม
พรอ้ มท้งั ช่วยเหลอื แกไ้ ขปัญหาในการทำกิจกรรมใหน้ กั เรียน
7. การประยกุ ต์ใชท้ ฤษฎี E-Learning ในกระบวนการเรียนการสอน
7.1 E-Learning หรอื Electronic Learning วา่ หมายถงึ "การเรียนผ่านทางสอื่
อเิ ล็กทรอนิกสซ์ ง่ึ ใช้การ นำเสนอเนอ้ื หาทางคอมพิวเตอรใ์ นรปู ของสือ่ มัลติมีเดยี ได้แก่ ขอ้ ความ
อิเลก็ ทรอนิกส์ ภาพนงิ่ ภาพกราฟิก วิดโี อ ภาพเคล่ือนไหว ภาพสามมติ ิฯลฯ คณุ ธิดาทิตย์จนั คนา ที่ให้
ความ หมายของ E-Learning หมายถงึ การศกึ ษาทเี่ รยี นรผู้ า่ นเครือขา่ ยอินเตอรเ์ นต็ โดยผเู้ รียนรจู้ ะ
เรียนรู้ดว้ ยตวั เอง การเรียนร้จู ะเปน็ ไปตามปจั จยั ภายใตท้ ฤษฎแี หง่ การเรียนรู้ 2 ประการคือ เรียนตาม
ความรคู้ วามสามารถของผ้เู รยี นเอง และการตอบสนองในความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลเวลาที่แตล่ ะ
บคุ คลใช้ในการเรยี นรกู้ ารเรยี นจะกระทำผา่ นสอ่ื บนเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ น็ต โดยผู้สอนจะนำเสนอขอ้ มูล
ความรใู้ หผ้ ู้เรียนได้ทำการศกึ ษาผ่านบรกิ าร World Wide Web หรือเว็ปไซต์ โดยอาจใหม้ ี
ปฏสิ มั พันธ์(สนทนา โตต้ อบ สง่ ขา่ วสาร ระหวา่ งกนั จะที่มกี ารเรยี นรู้ในสามรูปแบบคือ ผู้สอนกับ
ผเู้ รียน ผเู้ รยี นกบั ผู้เรียนอีกคนหนึ่ง หรือผเู้ รยี นหน่งึ คนกับกลุ่มของผเู้ รยี น ปฏิสมั พันธน์ ส้ี ามารถ
กระทำผ่านเครื่องมอื สองลักษณะ
7.1.1 แบบ Real-time ไดแ้ กก่ ารสนทนาในลกั ษณะของการพมิ พ์ขอ้ ความแลกเปลยี่ น
ขา่ วสารกัน หรอื สง่ ในลกั ษณะของเสียง จากบริการของ Chat room
7.1.2 แบบ Non real-time ไดแ้ กก่ ารส่งข้อความถึงกนั ผา่ นทางบริการ อิเล็กทรอนคิ
เมลล์ WebBoard News-group
7.2 องคป์ ระกอบของ E-Learning การเรยี นแบบออนไลนม์ อี งค์ประกอบทสี่ ำคญั อยู่ 4
สว่ น แตล่ ะส่วนจะตอ้ งออกแบบให้เช่อื มสมั พนั ธก์ นั เปน็ ระบบ และจะตอ้ งทำงานประสานกนั ไดอ้ ย่าง
ลงตวั
7.2.1 เนอื้ หาของบทเรยี น ถือวา่ เปน็ สง่ิ ทีส่ ำคัญทส่ี ดุ
7.2.2 ระบบบรหิ ารการเรยี น เน่อื งจากการเรยี นแบบออนไลน์ หรือ E-Learning นัน้
เป็นการเรยี นท่สี นับสนนุ ใหผ้ เู้ รียนได้ศึกษา เรียนรไู้ ด้ดว้ ยตวั เองระบบบรหิ ารการเรยี นท่ีทำหนา้ ท่เี ป็น
ศนู ยก์ ลาง กำหนดลำดบั ของเนือ้ หาในบทเรียน นำสง่ บทเรยี นผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอรไ์ ปยังผเู้ รียน
ประเมนิ ผลความสำเร็จของบทเรยี น ควบคมุ และสนบั สนนุ การใหบ้ ริการทงั้ หมดแกผ่ ้เู รียน จึงถอื ว่า
21
เปน็ องคป์ ระกอบของ E-Learning ที่สำคัญมาก เราเรียกระบบนวี้ ่า "ระบบบรหิ ารการเรียน" (LMS :
E-Learning Management System)
7.2.3 การติดต่อสอ่ื สาร การเรียนแบบ E-Learning ถอื ว่าเป็นการเรยี นทางไกลอีก
รูปแบบหน่งึ แตส่ ่งิ สำคัญท่ที ำให้ E-Learning มคี วามโดดเด่นและแตกต่างไปจากการเรยี นทางไกลท่วั
ๆ ไปกค็ อื การนำรปู แบบการตดิ ต่อส่อื สารแบบ 2 ทาง มาใช้ประกอบในการเรยี นเพอื่ เพมิ่ ความสนใจ
และความตื่นตวั ของผ้เู รยี นทมี่ ตี ่อบทเรยี นใหม้ ากยิ่งขึ้น ตลอดจนใช้เปน็ เครื่องมือทจ่ี ะชว่ ยให้ผเู้ รยี นได้
ตดิ ต่อ สอบถามปรึกษาหารอื และแลกเปลยี่ นความคิดเห็นระหว่างตวั ผูเ้ รียนกบั ครูผู้สอน และระหวา่ ง
ผ้เู รยี นกับเพื่อนรว่ มช้นั เรยี นคนอน่ื ๆ โดยเครอื่ งมอื ท่ใี ชใ้ นการติดตอ่ ส่ือสารอาจแบ่งไดเ้ ป็น 2
ประเภทดงั นี้
7.2.3.1 ประเภท real-time ได้แก่ Chat (message, voice) , White board
/ Text slide , Real-time Annotations, Interactive poll , Conferencing และอ่ืน ๆ
7.2.3.2 ประเภท non real-time ได้แก่ Web-board , e-mail
7.2.4 การสอบ / วดั ผลการเรียน โดยทว่ั ไปแล้วการเรยี นไมว่ ่าจะเปน็ การเรยี นใน
ระดบั ใดหรือเรียนวธิ ีใดก็ย่อมตอ้ งมกี ารสอบ / การวัดผลการเรยี น เป็นสว่ นหนงึ่ อยเู่ สมอ การสอบ /
การวดั ผลการเรยี นจงึ เปน็ สว่ นประกอบสำคญั ทจ่ี ะทำให้การเรยี นแบบ E-Learning เป็นการเรียนที่
สมบรู ณ์ กล่าวคือในบางวิชาจำเปน็ ตอ้ งวดั ระดับความรกู้ อ่ นเข้าสมคั รเขา้ เรียน เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้เลือก
เรยี นในบทเรียนหรือหลักสตู รทีเ่ หมาะสมมากท่ีสุด ซึ่งทำให้การเรียนทมี่ ีประสทิ ธภิ าพสงู สดุ เมือ่ เข้าสู่
บทเรยี นในแตล่ ะหลกั สูตรก็จะมกี ารสอบย่อยท้ายบท และการสอบใหญก่ ่อนที่จะจบหลกั สตู ร ระบบ
บรหิ ารการเรยี นจะเรียกขอ้ สอบทจ่ี ะใช้มากจากระบบบรหิ ารคลงั ข้อสอบ (Test Bank System) ซ่งึ
เป็นสว่ นยอ่ ยทร่ี วมอยูใ่ นระบบบริหารการเรียน
7.3 รปู แบบการเรยี นใน E-Learning เป็นรูปแบบการเรียนที่ใช้เวบ็ เป็นเครอื่ งมือการเรยี นรู้
และมีคำเรียกทแี่ ตกต่างกนั ไป เช่น การเรียนการสอนผ่านเครอื ข่าย (Web-Based Instruction :
WBI) การเรยี นอย่างมีปฏิสัมพันธ์ด้วยเวบ็ (Web-Based Interactive Environment) การศกึ ษาผ่าน
เว็บ (Web-Based Education) การนำเสนอมลั ติมเี ดยี ผ่านเว็บ (Web-Based Multimedia
Presentations) และการศกึ ษาท่ีชว่ ยใหม้ ปี ฏิสมั พันธ์ (Interactive Education Aid) วธิ จี ัดการเรียน
การสอนผ่านส่อื อิเล็กทรอนิกส์ E-Learning เป็นในปัจจุบันใชก้ นั อยู่ 3 ลกั ษณะ
7.3.1 ใช้เปน็ สอื่ เสรมิ โดยการสร้างเว็บเพจโครงการสอน เน้ือหาวชิ าบางส่วน หรอื
ท้งั หมด แจ้งแหล่งอ้างอิง แหล่งค้นควา้ ให้นักศึกษาทราบ ตอบคำถามท่ีนกั ศกึ ษาถามเข้ามาบอ่ ย ๆ
(Frequently Ask Question - FAQ) แจง้ e-mail ให้ผู้เรียนส่งงาน
22
7.3.2 ใช้เป็นทางเลือก โดยผุ้เรยี นสามารถเลอื กเรียนแบบวิธเี ขา้ ชน้ั เรยี นปกติ หรือ
เรียนผ่านระบบ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ดังนนั้ เว็บเพจรายวิชาตอ้ งมีความสมบูรณ์ใกลเ้ คยี งกบั การ
เรียนการสอนในช้นั เรียน น่นั คือจะตอ้ งมคี วามละเอียดมากกว่า ในระดบั ทใี่ ชเ้ ปน็ สื่อเสริม
7.3.3 ใช้สอนทดแทนการเรยี นการสอนปกติ เป็นระดับสูงสุดท่ีคาดหวังในการทำ E-
Learning โดยผ้เู รียนสามารถเรยี น ทำแบบฝึกหัด และทดสอบตนเองไดใ้ นระบบออนไลนโ์ ดยไม่ต้อง
เขา้ ช้ันเรยี น อยา่ งไรก็ตาม ในการประเมนิ ผลออนไลน์ ยงั ต้องอาศยั ความซอื่ สตั ยข์ องผ้เู รยี น จึงยังคง
นำมาใชไ้ ดย้ าก ขอ้ สอบอาจอยใู่ นกระดาษ หรืออยใู่ นคอมพวิ เตอร์กไ็ ด้
7.4 วธิ ีการสอนแบบ E-Learning การเรียนแบบ E-Learning นน้ั ผู้สอนและผเู้ รียนไม่พบ
เผชิญหน้ากันโดยตรง จงึ ตอ้ งออกแบบการส่ือสารการเรยี นการสอนเปน็ อยา่ งดี มใิ ช่การเรียนรูท้ ่ี
ผเู้ รียนเปลย่ี นจากการอา่ นหนงั สือมาอา่ นจากหนา้ จอคอมพวิ เตอร์ การเลอื กวิธกี ารสอนแบบ E-
Learning วธิ ีใดใหเ้ หมาะสมกับการสื่อสารการเรียนรู้กับผู้เรียนนนั้ ผูส้ อนหรือนกั ออกแบบการสอน
ควรพจิ ารณาอย่างยิง่ โดยมีตัวอย่างสำหรับจดั การสอนแบบ E-Learning 5 วธิ ี มรี ายละเอยี ด
ดงั ต่อไปน้ี
7.4.1 การสอนแบบ E-Learning หรอื อาจเรียกอกี คำว่าการสอนออนไลน์ เป็นวธิ ีสอน
ทเี่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญเนอ่ื งจากผู้เรยี นสามารถเลือกเรียนร้ดู ้วยตนเองตามความต้องการ เมอ่ื มคี วาม
พร้อมในสถานที่ใด เวลาใดก็ได้ เน่อื งจากเน้อื หาสาระการเรยี นได้ถกู จดั เกบ็ ไวใ้ นเครื่องคอมพวิ เตอร์
แม่ขา่ ย (Server) ส่ือสารโดยใช้เครื่องมืออนิ เตอรเ์ น็ตเปน็ ชอ่ งทางการส่ือสารการเรียนการสอน การ
ออกแบบการสอนแบบ E-Learning ควรกระทำใหเ้ ป็นเสมือนหรอื ใกล้เคียงกับการสอนในห้องเรยี น
ปกติ เพอ่ื จำลองวิธกี ารสอนสอ่ื สารการสอนจากการสอนปกตใิ นห้องเรียนมาใชร้ ปู แบบเครือ่ งมือต่าง
ๆ ของระบบการจัดการเรยี นการสอน โดยปัจจัยสำคัญทจ่ี ะทำใหก้ ารสอน E-Learning ประสบ
ความสำเรจ็ น้ันตอ้ งกำหนดวิธีการสื่อสารหรือวิธสี อนทีเ่ หมาะสมเชน่ เดียวกับการสอนในห้องปกติ การ
สอนแบบบรรยายจงึ เปน็ วิธกี ารสอนท่ถี ูกนำมาใช้มากทส่ี ุด และแทรกอยู่ในวธิ ีสอนทุกชนดิ
7.5 การประยุกตใ์ ช้การสอนแบบบรรยายในการเรียนการสอนแบบ E-Learning การสอน
โดยใชก้ ารบรรยายเป็นวธิ ีการสอนท่ีจำเปน็ ทงั้ การบรรยายในหอ้ งเรียน และการบรรยายใน E-
Learning การสอนแบบบรรยายควรกำหนดให้เกดิ 3 ปัจจัยด้วยกนั
7.5.1 เกิดการมีสว่ นร่วมและการปฏสิ ัมพนั ธใ์ นระดบั สูง (การเรียนทม่ี ีปฏสิ มั พันธ์)
7.5.2 เกิดเน้ือหาทีช่ ัดเจน ซง่ึ ชว่ ยให้ผเู้ รยี นสามารถเชอ่ื มโยงหวั ขอ้ ต่าง ๆ ไดง้ ่าย
7.5.3 ผู้บรรยายมีความกระตือรือร้นในการสอน ซ่ึงทำใหก้ ารสอนมชี ีวติ ชีวา การ
ปฏิสมั พนั ธ์จะชว่ ยกระตนุ้ ใหผ้ ู้เรยี นเรียนรไู้ ดม้ ากขน้ึ
23
7.6 การสอนแบบอภิปราย การประยกุ ต์ใช้วิธีการสอนแบบอภิปรายในการเรยี นการสอน
แบบ E-Learning การสอนโดยในการอภปิ รายในการสอนแบบ E-Learning นนั้ มอี งค์ประกอบท่ี
แตกตา่ งจากการสอนในหอ้ งเรยี นปกตหิ ลายประการ โดยมรี ปู แบบการอภิปรายเป็น ๒ รปู แบบ
7.6.1 การอภปิ รายแบบ E-Learning แบบไมป่ ระสานเวลา (Asynchronous
discussion) ทมี่ กี ารกำหนดชว่ งเวลาให้ผรู้ ่วมอภปิ รายเข้ามาอภิปราย โดยไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งอยพู่ ร้อมกนั
ณ เวลาเดียวกนั ในขณะอภิปราย
7.6.2 การอภปิ รายแบบ E-Learning แบบประสานเวลา (Synchronous discussion)
ทผี่ ้รู ว่ มอภปิ รายเข้ามาอภปิ รายอยพู่ รอ้ มกนั ณ เวลาเดยี วกันในขณะอภิปราย ซึง่ รปู แบบน้ีจะใกล้เคียง
กบั การอภปิ รายในช้ันเรยี น เพยี งแตส่ ือ่ สารผา่ นเทคโนโลยีและผรู้ ว่ มอภิปรายอยคู่ นละสถานทีไ่ ด้
7.7 สำหรบั ขอ้ ดีและข้อจำกัดของการเรยี นการสอนอภิปรายในการสอน E-Learning
สามารถสรปุ ได้ ดังนี้
7.7.1 ข้อดี
7.7.1.1 ทุกขอ้ ความการอภปิ รายถูกเก็บอยู่ในระบบสามารถอา่ นย้อนหลงั ได้
7.7.1.2 สมาชิกมีสทิ ธิเทา่ เทยี มในการอภิปราย และทุกคนไดอ้ ภิปรายท่วั ถึง
7.7.1.3 สามาชิกกลุ่มจะอยทู่ ่ีใด และเวลาแตกต่างอยา่ งไรกเ็ ขา้ ร่วมการสอนโดย
ใช้การอภปิ รายได้
7.7.2 ขอ้ จำกดั
7.7.2.1 การสื่อสารผา่ นเทคโนโลยี ไม่คล่องตัวเหมอื นการส่ือสารแบบธรรมชาติ
และบางคนอาจจะมอี ุปสรรคบา้ ง
7.7.2.2 เวลาท่ีใช้ในการอภปิ รายมมี ากขึน้ แต่ตอ้ งกำกบั และบรหิ ารเวลาให้ดี
7.7.2.3 สภาพแวดล้อมในการส่อื สารเปน็ การสื่อสารผ่านเทคโนโลยี และอาจจะ
เปน็ การสอื่ สารคนละเวลา การนัดหมายอาจจะตอ้ งคำนงึ ถงึ ความแตกต่างของเวลา
7.7.2.4 การตคี วามหมายข้อความอาจจะคลาดเคล่อื น
7.7.2.5 การบรหิ ารกลมุ่ ยากข้ึน
7.7.2.6 ขาดความรูส้ กึ ร่วมกล่มุ
7.7.2.7 ขาดแรงจูงใจจากบรรยากาศของการรว่ มอภปิ รายแบบเหน็ หน้า
7.8 การสอนโดยใช้ปัญหาเป็นหลกั (Problem-Based Learning) ในชว่ งเวลาที่ผ่านมามี
ทฤษฎีการเรียนรเู้ กิดข้นึ หลายทฤษฎี ทฤษฎีทไ่ี ด้รับความสนใจมากในปัจจุบนั คอื ทฤษฎีการเรียนรู้
(Constructivist Learning Theory) ซ่ึงเชื่อว่าการเรยี นรู้จะเกดิ ขน้ึ เมื่อผเู้ รียนไดส้ รา้ งความรทู้ ี่เปน็
ของตนเองขึ้นมาจากความรู้ทีม่ ีอยูเ่ ดิม หรอื จากความรทู้ ีไ่ ดร้ บั เขา้ มาใหม่ แนวคิดน้ีเป็นแนวคดิ หลัก
ของการเรยี นร้ทู ีเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ
24
การเรยี นแบบใช้ปัญหาเป็นหลักเปน็ การเรยี นทเ่ี น้นผู้เรียนเป็นศนู ย์กลาง การเรียนรเู้ กิดขึ้น
จากการเสาะแสวงหาความรเู้ พ่ือมาใช้แก้ปญั หาทไ่ี ดร้ บั มอบหมายอย่างมีกระบวนการและขั้นตอนทาง
วิทยาศาสตร์ทำให้ได้มาซึง่ ความรู้ท่ีทันต่อเหตกุ ารณแ์ ละเป็นความร้ทู ่ีผูเ้ รียนนำไปใช้ได้จริงพัฒนา
ทักษะในการแก้ปัญหาร่วมกนั
7.8.1 การประยุกต์ใช้วิธีการสอนแบบใช้ปญั หาเป็นหลักในการเรียนการสอนแบบ
E-Learning
7.8.1.1 เนน้ การจัดการเรียนรู้ที่เนน้ ผู้เรียนเปน็ สำคญั โดยใช้รูปแบบกิจกรรม
การเรียนการสอนแบบใชป้ ญั หาเป็นหลกั โดยมกี ารกำหนดปญั หา ขอ้ มลู หรอื ข้อเท็จจริงทีร่ ะบมุ ีการ
เช่อื มโยงความรู้ ประสบการณ์เดิม แนวคดิ ในการทจี่ ะแก้ปัญหาหรือสาเหตทุ ี่เปน็ ไปไดข้ องปัญหา
7.8.1.2 ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสค้นหาความรู้ในเรอ่ื งที่เปน็ ปัญหาทสี่ นใจจากการ
คน้ พบตนเองและเรยี นรแู้ บบนำตนเองด้วยการปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ ง ๆ การเรยี นรู้ร่วมกันระหว่างผู้เรยี น
โดยครเู ป็นผู้ชี้แนะแนวทางชว่ ยเหลอื อำนวยความสะดวกในการจัดการเรยี นรู้ใหแ้ ก่ผู้เรยี นและกระตนุ้
ใหผ้ ูเ้ รยี นได้คิดได้ปฏบิ ัติในแต่ละข้นั ตอน
7.8.1.3 เรียนไดเ้ รยี นรู้จากสภาพปญั หาที่พบ ผา่ นการวเิ คราะห์ การทำงาน
รว่ มกนั ภายใต้กระบวนการเรยี นรูแ้ บบกลุ่ม โดยการทำกจิ กรรมการเรียนรรู้ ว่ มกันผ่านระบบเครอื ข่าย
อนิ เตอรเ์ น็ตแลกเปลีย่ นความรู้ แสดงความคดิ เห็น ผา่ นชอ่ งทางการส่อื สารบนเครือข่ายอนิ เตอร์เนต็
รวมถงึ การสบื ค้นขอ้ มูลและการเช่ือมโยงขอ้ มูลไปสแู่ หล่งการเรยี นรอู้ น่ื ๆ
7.9 การสอนแบบโครงสรา้ ง(Project-based Learning) มรี ากฐานมาจากปรัชญาและ
การศกึ ษาเชงิ ประสบการณ์ ของ John Dewey และแนวคิดการศึกษาแบบพฒั นาการ (Progressive
Education) ซึง่ เชือ่ ว่าการศึกษาเปน็ การสร้างประสบการณช์ ีวิตที่ตอ่ เนื่องโดยมผี ้เู รียนเป็นศูนยก์ ลาง
7.9.1 การประยกุ ต์ใช้การสอนแบบโครงการในการเรยี นการสอนแบบ E-Learning
7.9.1.1 การสอนแบบโครงสรา้ ง (Project-based Learning) เปน็ การจัดการ
เรียนรทู้ ่ีเน้นผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ โดยผเู้ รียนได้เรยี นรใู้ นความรคู้ วามเข้าใจในความคดิ รวบยอดและ
หลักการทส่ี ำคัญ ผ่านกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ ค้นควา้ ปฏบิ ัติ และสร้างผลงานดว้ ยตนเอง
ภายใตค้ ำแนะนำของผสู้ อน การจัดการเรียนร้ใู นรูปแบบน้ี ผูเ้ รียนจะเกิดการเรยี นรจู้ ากประสบการณ์
จรงิ จากกจิ กรรมการรว่ มมือกนั ทำโครงการท่เี ลือกทำตามความสนใจ ซึ่งผูเ้ รียนจะตอ้ งประยกุ ต์ใช้และ
บูรณาการความรูแ้ ละทักษะตา่ ง ๆ เพ่ือนำไปส่กู ารทำงานที่มีประสิทธิภาพ
25
7.10 การสอนแบบกรณีศึกษา เปน็ วธิ กี ารสอนท่ไี ด้รบั ความนยิ มในหลากหลายสาขาวิชา
เชน่ การจัดการกฎหมาย และแพทย์ศาสตร์ รวมทั้งการศึกษาเพ่ือสอนนิสติ นักศึกษาครู ใน
กระบวนการเรียนการสอนลกั ษณะนี้ ผสู้ อนจะนำเสนอกรณีตัวอย่างที่ทำใหผ้ ูเ้ รียนเกดิ ความคดิ หา
คำตอบทห่ี ลากหลายเพ่ือใช้ในการอภปิ ราย และหาทางแกไ้ ขปญั หาซ่ึงมที างออกทห่ี ลากหลาย
7.10.1 การประยุกตใ์ ช้การสอนแบบกรณีศกึ ษาในการเรยี นการสอนแบบ E-
Learning
7.10.1.1 การสอนเพ่ือให้ผู้เรยี นสามารถนำความร้ทู ีไ่ ดร้ ับไปใชก้ ับปัญหาได้
น้นั ถือวา่ เปน็ ความสำคัญยง่ิ ของการให้ศกึ ษามรี ปู แบบการเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบทต่ี ้องการ
พัฒนาความคดิ การแก้ปัญหาของผเู้ รียน ซึง่ เน้นการออกแบบส่ิงแวดล้อมทางการเรียนรทู้ สี่ ง่ เสริมให้
การเรียนการสอนสามารถพัฒนาผ้เู รียนไดใ้ นระดบั การคดิ แกป้ ัญหา เช่น การเรียนการสอนแบบคอน
สตรัคตวิ ัสม์ , ส่งิ แวดลอ้ มทางการเรียนรรู้ ะบบเปดิ เปน็ ตน้ ซง่ึ จะช่วยผลักดนั ให้เกดิ กระบวนการของ
การแปลความ ตีความและเชอ่ื มโยงกับความรเู้ ดมิ ซ่ึงจะทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดการสร้างความรู้ใหม่ไดน้ ัน้ จะ
เปน็ แนวคดิ ท่ีเน้นการเรียนรูโ้ ดนเน้นปฏสิ ัมพันธท์ างสงั คม
8. แนวคิดทว่ั ไปเกยี่ วกบั การเรยี นการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์
8.1 ระบบการเรยี นอิเล็กทรอนิกส์ (E-Learning system)
8.1.1 การเรียนอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ครอบคลมุ สือ่ เพ่ือการเรียนการสอบท่อี ย่ใู นรูป
อิเล็กทรอนิกสท์ ุกประเภท เช่นดิสก์เกต็ ซดี รี อม หรอื เผยแพรอ่ ย่บู นเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต
8.1.2 ระบบการเรียนอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (E-Learning system) ในความหมายท่วั ไป
หมายถงึ หลักสูตรที่ใชร้ ะบบการเรยี นการสอนด้วยสือ่ อิเล็กทรอนกิ สใ์ นรูปแบบต่างๆ เชน่ สอื่ ท่ีบรรจุ
ในซีดรี อม ดิสกเ์ กต็ วดี ิทัศน์โต้ตอบปฏิสมั พันธ์ (Interactive television) และรวมทั้งส่ือท่ีเผยแพร่
ผ่านเครอื ข่ายคอมพิวเตอรห์ รอื ผ่านดาวเทยี มสอ่ื เหล่าน้ีนับเปน็ แหลง่ สารสนเทศในการเรียนรู้ เพ่ือให้
บรรจวุ ตั ถุประสงค์ทางการเรียนทก่ี ำหนดไวใ้ นหลักสตู ร
8.1.3 ระบบการเรยี นอเิ ล็กทรอนิกส์ ในความหมายทเี่ ฉพาะเจาะจงความหมายถงึ
หลกั สูตรการเรียนการสอนท่ใี ช้สอื่ ใดๆท่ีแปลงรปู ใหเ้ ป็นอเิ ล็กทรอนิกสท์ ม่ี ีความหมายเหมาะสมในการ
สง่ ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทมี่ เี ครือข่ายอินเตอร์เนต็ รวมทงั้ การใช้เครอื่ งมอื สอื่ สารบนอนิ เทอรเ์ นต็
เพอ่ื จดั กิจกรรมทางการเรียน โดยเฉพาะอย่างย่งิ ตอ้ งระบบการบรหิ ารเนอื้ หาสาระ การจัดการการ
เรียน เชน่ การเก็บประวัติการเรยี น ผลการเรียนการประเมินผล
26
8.1.4 ระบบการเรยี นอิเล็กทรอนิกส์จงึ มีลกั ษณะสำคญั อยู่ 3 ประการ
8.4.1.1 ใช้สารสนเทศและสือ่ ในรูปแบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เพือ่ การประกอบ
กิจกรรมการเรยี นให้ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ตี่ ้ังไวใ้ นรายวิชาหรอื หลกั สูตร
8.4.1.2 ใช้เครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ท่ขี อบข่ายกว้างขวางท่สี ุด คือ อินเทอร์เนต็ ใน
การบรหิ ารจัดการเนอ้ื หาสาระ และการบริหารทางการศึกษา
8.4.1.3 ใชเ้ คร่ืองการสอ่ื สารเพอ่ื จัดการเรยี นการสอนให้เกิดขน้ึ ในมิติเวลา
ประสานและตา่ งเวลา (Synchronous VS asynchronous mode of communition)
8.1.5 รปู แบบและวธิ กี ารของการเรยี นอิเล็กทรอนิกส์
8.1.5.1 การเรยี นบนเครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ (ออนไลน)์ ท้ังหมด
8.1.5.2 การเรียนทผี่ สมผสานระหวา่ งกิจกรรมทตี่ ้องออนไลน์ (ผ่านเครือขา่ ย
คอมพิวเตอร์) และออฟไลน์
8.1.5.3 การเรียนทผ่ี เู้ รียนศึกษาดว้ ยตนเองจากสอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ในรปู แบบท่ี
หลากหลาย
8.1.5.4 การเรียนทใ่ี ชเ้ วบ็ เป็นหลักและใช้สื่ออิเลก็ ทรอนิกส์อนื่ ๆประกอบการ
เรียนทใ่ี ชค้ อมพิวเตอร์และสอ่ื อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ เช่น ซีดรี อม เปน็ หลัก
8.1.5.5 การเรียนทางไกลทส่ี ง่ ผ่านกลอ้ งวีดิทัศน์
8.1.6 หลกั สตู รในระบบการเรยี นอิเล็กทรอนกิ ส์ทใี่ ชเ้ วบ็ เปน็ หลัก แบ่งตามลกั ษณะการ
ใชเ้ วบ็ ในหลกั สูตรนนั้ ๆ ได้เป็น 3ประเภท
8.1.6.1 เวบ็ คอร์ส (Web courses) เว็บคอร์สเปน็ หลักสูตรท่ีมเี น้อื หาสาระและ
การเรยี นการสอนเผยแพรบ่ นเว็บ เป็นการอำนวยความสะดวกให้กับผเู้ รยี นท่ีจะเขา้ ศึกษาเม่ือใดกไ็ ด้ มี
ผู้ลงทะเบียนเปน็ จำนวนมากมีการปฏิสมั พันธร์ ะหวา่ งผเู้ รียนด้วยกนั และผสู้ อนนอ้ ยหรอื อาจไม่มีเลย
ลักษณะเช่นน้มี ักพบกับหลักสูตรท่มี ุ้งเน้นพัฒนาเนื้อหาและสง่ ผา่ นเว็บ
8.1.6.2 เวบ็ เสริมหลักสตู ร (Web enhanced courses) เวบ็ เสริมหลักสูตร
เปน็ เว็บทสี่ อนควบคู่กับการเรียนในหอ้ งเรยี น เป็นเว็บทค่ี อ่ นข้างมีการปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างผเู้ รียนและ
ผสู้ อนพอสมควร มักประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นการสอนปกติอยแู่ ล้ว
8.1.6.3 หลกั สตู รเว็บเป็นศูนยร์ วม (Web centric course) หลักสตู รเว็บเปน็
ศูนยร์ วม เป็นการเรยี นทผ่ี ่านระบบเครอื ข่ายคอมพวิ เตอรท์ ง้ั หมดและเป็นเวบ็ ที่มีรูปแบบการเรยี น
การสอนท่มี ีการปฏสิ มั พนั ธ์ในบทเรียนรวมทั้งการปฏิสมั พนั ธร์ ะหวา่ งผู้เรยี นดว้ ยกนั และผู้สอน เปน็
หลักสตู รท่ีทำคอ่ นขา้ งยากท้งั ในเรอ่ื งทรพั ยากรและความพร้อมของผเู้ รียนผ้สู อน และโดยเฉพาะอย่าง
ยง่ิ การจัดการเรยี นชั้นเรยี นเสมือน
8.2 การเรียนการสอนบนเวบ็ ในระบบอเิ ล็กทรอนิกส์
27
8.2.1 การเรียนการสอนบนเวบ็ เป็นองค์ประกอบหลกั ในระบบการเรยี น
อเิ ล็กทรอนกิ ส์ การเรยี นกานสอนบนเวบ็ เป็นการประยุกต์ใชไ้ ฮเปอร์มเี ดยี และเคร่ืองมอื สื่อสารบน
อินเตอรเ์ นต็ ในการจัดกจิ กรรมทางการเรียนร้ใู ห้กับผ้เู รยี น เพอื่ ให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงคท์ างการเรียนใน
รายวชิ าหรือหลกั สูตร ต่อมาเม่ือได้ประยกุ ต์ระบบการบริหารจดั การเรียนรู้ (Learning Management
System-LMS) ทีใ่ ชร้ ะบบฐานข้อมูลเชอ่ื มโยงผา่ นเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ บริการอำนวยความ
สะดวกในการจัดส่งสาระบทเรียนและกิจกรรมเพื่อบรรลุวัตถุประสงคท์ างการเรียน บรกิ ารจำเปน็ อื่นๆ
ตอ่ ผเู้ รียน เชน่ การติดตาม ผลการเรยี น การประเมนิ สารสนเทศเก่ียวกับสถาบัน การลงทะเบียน
และการรับรองการประเมนิ ผลเป็นหลกั สตู รอย่างเปน็ ระบบ การเรยี นการสอนบนเวบ็ จึงเป็น
องคป์ ระกอบหลกั และอยใู่ นขอบข่ายของระบบการเรยี นอิเลก็ ทรอนิกส์
9. แนวคิดการจดั การเรียนรแู้ บบผสมผสานในสถานการณ์โควิด (5 ON)
9.1 สถานการณ์วิกฤติจากอันตรายไวรัสโควดิ -19 ย่อมสรา้ งความหวาดผวาให้กับประชาชน
โดยเฉพาะกล่มุ ครแู ละผู้ปกครองทเ่ี ปน็ ห่วงเร่อื งความปลอดภยั ของลูกศิษย์และบุตรหลาน ซงึ่ หากเปิด
เทอมแลว้ จะตอ้ งไปเรยี นทโ่ี รงเรียนแตก่ ็คงยากทีจ่ ะทำให้ ศธ.เลื่อนการเปิดเทอมออกไปอกี เปน็ รอบที่
3 เปน็ แน่ เนอื่ งจากเกรงระยะเวลาการจดั การเรียนการสอนจะไมค่ รบถ้วนตามทห่ี ลักสูตรกำหนด ท้ัง
ไมต่ อ้ งการใหเ้ ด็กเสยี โอกาสในการเรียนรู้
9.2 ศธ.ได้ถอดบทเรยี นการจดั การศกึ ษาเพ่ือรบั มือสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือไวรัส
โควดิ -19 ระลอกทีผ่ ่านมา ทำใหต้ อ้ งคิดหารูปแบบการจัดการเรียนการสอนท่ีเหมาะสมกับแตล่ ะ
โรงเรยี น เพราะในแตล่ ะพน้ื ท่ีมีการแพรร่ ะบาดของโรคทแี่ ตกตา่ งกนั ตามที่ ศบค.กำหนด ดงั นั้น ศธ.จะ
ไมก่ ำหนดรปู แบบใดรปู แบบหนึ่งเพื่อใหท้ กุ โรงเรียนจดั การเรียนการสอนเหมือนกนั ทัง้ หมด โดยไดต้ อ่
ยอดรูปแบบ การจัดการเรียนการสอนเปน็ 5 รูปแบบ เพ่อื ใหม้ ีความเหมาะสมต่อการรับมือกับการ
แพรร่ ะบาดระลอกใหมน่ ี้
9.2.1 On-site เรยี นทโี่ รงเรยี น โดยมีมาตรการเฝา้ ระวงั ตามประกาศของศูนยบ์ ริหาร
สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โควดิ -19
9.2.2 On-air เรยี นผ่านมลู นธิ ิการศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม ในพระบรมราชูปถัมภ์
หรอื DLTV
9.2.3 On-demand เรยี นผ่านแอปพลิเคชันต่างๆ
9.2.4 On-line เรยี นผ่านอินเตอร์เนต็
9.2.5 On-hand เรยี นทบ่ี า้ นดว้ ยเอกสาร เช่น หนังสือ แบบฝึกหดั ใบงาน ในรูปแบบ
ผสมผสาน หรืออาจใช้วธิ ีอนื่ ๆ
9.3 สำหรบั การจัดการเรียนการสอนแบบ On-line นัน้ ขณะน้ี ศธ.เตรียมจัดทำเว็บไซต์
“ครพู รอ้ ม” ขน้ึ มาใหม่เพอื่ เสรมิ แพลตฟอรม์ ตา่ งๆท่หี น่วยงานในสังกดั ศธ.มีอยู่ โดยจะเป็นคลัง
28
สอ่ื ขอ้ มลู การเรียนรู้ ตลอดจนรปู แบบการจดั กิจกรรม ซ่ึงมีขอ้ มลู ทั้งของสำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน (สพฐ.) สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา (สอศ.) สำนกั งาน
คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน (สช.) และสำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอธั ยาศยั (กศน.) มกี ารจดั แบง่ หวั ข้อหมวดหม่ตู ามความสนใจ เป็นการบรู ณาการเพ่อื
ความสะดวกรวดเรว็ ในการใชง้ าน ชว่ ยอำนวยความสะดวกให้ผเู้ รยี นทกุ กลมุ่ ทั้งครู ผู้บรหิ าร และ
ผู้ปกครอง สามารถเข้าถงึ ไดผ้ า่ นระบบกลาง ส่วนกิจกรรมรปู แบบ Off-line นั้น สถานศึกษา
สำนักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษา (สพท.) จะเป็นผ้อู อกแบบกจิ กรรมรว่ มกบั ศบค. จงั หวัด ซึง่ คิดข้ึนมา
จากเหตกุ ารณร์ ่วมสมัยท่ที นั ต่อสถานการณ์ ท่ีสำคัญคอื ทุกคนสามารถเลอื กหัวขอ้ หรือกิจกรรมท่ี
ต้องการเรยี นรไู้ ด้ดว้ ยตวั เอง
9.4 ทีมการศึกษา มองความพยายามในการจัดการเรยี นการสอนในยคุ นิวนอรม์ อล ไว้ถึง 5
รปู แบบ คอื ความพยายามในการเตรยี มความพร้อมของ ศธ. และหน่วยงานตา่ งๆทเ่ี ก่ียวขอ้ ง เพอ่ื เสาะ
แสวงหารปู แบบที่หลากหลายในการจดั การเรียนการสอนในสถานการณท์ ีไ่ ม่ปกติในขณะน้ี แม้ ณ
วันน้ีจะยงั ไม่มีอะไรที่จะสามารถการันตีไดว้ ่าสิง่ ตา่ งๆทพี่ ดู มานจ้ี ะถูกผลกั ดันไปสูก่ ารปฏบิ ตั ไิ ด้จริง
อยา่ งท่ีพูดหรือไมแ่ ต่อย่างนอ้ ยกถ็ ือเปน็ จุดเรม่ิ ต้นทดี่ ีที่ “กล้าคิด” ส่วนจะชว่ ยหนี “กับดกั ” การ
พัฒนาการศกึ ษาชว่ งการแพร่ระบาดของเช้อื โควิด-19 ครั้งน้ไี ดห้ รอื ไม่ หรอื จะซำ้ เติมปัญหาความ
เหลอ่ื มล้ำทางการศกึ ษาใหห้ นกั หนาสาหัสมากยิง่ ข้ึน
10. งานวจิ ัยทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
วไลพรรณ อาจารีวัฒนา และคณะไดจ้ ดั ทำวิจยั เร่ือง การศึกษาสภาพการจดั การเรียนการ
สอนออนไลนใ์ นสถานการณ์การแพร่ระบาดเชอื้ ไวรัสโคโรนา่ ของนักศึกษาโครงการพิเศษ หลักสูตร
บรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิตผลการวิจยั พบว่า
1. นักศกึ ษาโครงการพเิ ศษหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิตสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง
อายุ 21-37 ปี (Gen Y) อาชพี พนกั งานบรษิ ทั เอกชน มีรายได้ต่อเดอื น 15,001-30,000 บาท และ
สว่ นใหญใ่ ช้ Laptop เป็นอุปกรณใ์ นการเรยี น
2. นกั ศกึ ษาโครงการพิเศษหลักสูตรบรหิ ารธรุ กิจมหาบณั ฑติ มีความพงึ พอใจ
เกยี่ วกบั สภาพการจดั การเรียนการสอนออนไลนใ์ นสถานการณ์การแพร่ระบาดเช้อื ไวรัสโคโรน่าโดย
ภาพรวมอยูใ่ นระดับมาก โดยดา้ นทีม่ ีค่าเฉล่ียสงู สุด คอื ดา้ นบุคลากร และด้านที่มีคา่ เฉลยี่ ต่ำสุด คือ
ดา้ นเน้ือหาและสื่อการสอน ดา้ นระบบสารสนเทศและการสื่อสารและด้านสภาพแวดล้อม
3. นกั ศกึ ษาโครงการพเิ ศษหลักสตู รบรหิ ารธรุ กิจมหาบัณฑิตท่ีมอี ายุอาชพี และ
รายไดต้ ่างกันมีความพึงพอใจเกย่ี วกับสภาพการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่
ระบาดเช้อื ไวรสั โคโรน่าแตกตา่ งกนั อยา่ งมีนัยสำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดบั 0.05
29
สรุปได้วา่ การเรยี นการสอนออนไลน์ในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดเช้ือไวรัสโคโรน่าของ
นกั ศกึ ษา โครงการพิเศษหลักสูตรบริหารธรุ กจิ มหาบัณฑติ นน้ั เป็นการสื่อสารสองทางระหวา่ ง
โครงการฯ และนกั ศึกษา ซงึ่ สองฝา่ ยจะตอ้ งมีความพรอ้ มในดา้ นเวลาอปุ กรณ์และความรู้
ความสามารถในการเขา้ ถึงสอื่ เทคโนโลยีที่ใช้ในการเรียนการสอน เพ่ือทำให้การเรยี นการสอน
ออนไลนเ์ ปน็ ไปอย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธิผลสงู สุด
วทิ ศั น์ ฝักเจริญผล และคณะได้จัดทำวจิ ัยเร่อื ง ความพร้อมในการจดั การเรียนการสอน
ออนไลน์ ภายใตส้ ถานการณร์ ะบาดไวรสั Covid-19 ผลการสำรวจพบว่า ครูบางสว่ นไม่พรอ้ มในการ
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ และประเมนิ วา่ มนี กั เรยี นจำนวนมากท่ีไมส่ ามารถเขา้ ถงึ ระบบการเรียน
การสอนออนไลน์ได้ (หากใชจ้ รงิ ) พร้อมเรยี กร้องความชว่ ยเหลือจากโรงเรยี น และรัฐบาลในการจัด
อบรมเชิงปฏิบตั ิการในการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์อยา่ งเรง่ ด่วน รวมถึงการจัดหาอินเทอรเ์ นต็
ความเรว็ สูงและอปุ กรณส์ อื่ สารสำหรับนักเรยี นทกุ คน หากจำเป็นตอ้ งจัดการเรียนการสอนออนไลน์
เม่อื เปิดภาคเรยี นในวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 นี้
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการศกึ ษา
โครงการศกึ ษาความคดิ เหน็ ต่อการเรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกสท์ างไกลของ
นักศึกษาสาขาวิชาบรหิ ารธรุ กจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี ในคร้งั นี้ ผศู้ ึกษาได้ดำเนินงานตามลำดับ
ขัน้ ตอนตอ่ ไปน้ี
1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง
2. เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษา
3. ขน้ั ตอนในการสรา้ งเครอื่ งมอื
4. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู
5. วิธกี ารวเิ คราะห์ข้อมลู และสถติ ิที่ใช้ในการศึกษา
1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง
1.1 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่
1.1.1 นกั ศึกษาระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าชีพชั้นสงู (ปวส.) ชน้ั ปีที่ 2 กลุม่ 1 2 และ 3
สาขาวิชาการบญั ชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2564 วทิ ยาลยั อาชวี ศึกษาชลบรุ ี จำนวน 82 คน
1.1.2 นักศึกษาระดับประกาศนยี บัตรวิชาชีพช้นั สูง (ปวส.) ช้นั ปีที่ 2 กลุ่ม 1 และ 2
สาขาวชิ าเทคโนโลยีธรุ กิจดิจิทลั ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน
51 คน
1.1.3 ครูผสู้ อนในสาขาวชิ าการบญั ชี ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลัย
อาชวี ศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
1.1.4 ครูผสู้ อนในสาขาวชิ าเทคโนโลยธี รุ กิจดิจิทัล ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564
วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบรุ ี จำนวน 8 คน
1.2 กล่มุ ตวั อย่างที่ใชใ้ นการศกึ ษาครง้ั นี้ ได้แก่
1.2.1 นกั ศึกษาระดับประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) ชนั้ ปที ี่ 2 กลมุ่ 1 สาขาวชิ า
การบญั ชี ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี จำนวน 26 คน
1.2.2 นักศึกษาระกับประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ชน้ั สงู (ปวส.) ชน้ั ปีท่ี 2 กลุ่ม 1 สาขาวิชา
เทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจิทลั ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษาชลบุรี จำนวน 24 คน
31
1.2.3 ครผู ู้สอนในสาขาวชิ าการบัญชี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 วิทยาลยั
อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 4 คน
1.2.4 ครูผู้สอนในสาขาวิชาเทคโนโลยีธรุ กิจดิจทิ ัล ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2564
วทิ ยาลยั อาชีวศกึ ษาชลบรุ ี จำนวน 2 คน
2. เครอ่ื งมอื ท่ใี ช้ในการศกึ ษา
แบบสอบถามการศกึ ษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเล็กทรอนกิ สท์ างไกล
เพ่อื ทราบความคดิ เหน็ ของผเู้ รียนและผู้สอน แบง่ เปน็ 4 ด้าน คือ ดา้ นความสอดคล้องกบั สถานการณ์
ดา้ นผเู้ รียน ด้านผู้สอน ด้านการวัดและการประเมินผลการเรยี นการสอน
3. ข้ันตอนในการสร้างเครือ่ งมอื
เคร่อื งมือที่ใช้ในการสอบถามความคดิ เห็น แบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ดงั นี้
1. การศกึ ษาข้อมูลพนื้ ฐานทว่ั ไป เพศ ชว่ งอายุ สถานะ และสาขาวิชา
2. การศึกษาความคดิ เห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทางไกล ผูว้ จิ ยั
พิจารณาจากแบบสอบถามความพงึ พอใจ
3. การศึกษาความคดิ เห็นของผเู้ รียนผู้สอนเกีย่ วกับความรู้ ทักษะ หรอื คุณลกั ษณะเป็นไป
ตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูใ้ นการเรยี นรู้ ผู้วจิ ยั ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยดำเนนิ การสรา้ ง
แบบสอบถาม ตามขั้นตอนดงั นี้
3.1. ศกึ ษาคน้ คว้าความรู้ทางวชิ าการ ภายใต้กรอบแนวคดิ ทจี่ ะศึกษาเพ่ือนำมาเป็น
แนวทางในการสรา้ งแบบสอบถามความคิดเห็นและความพงึ พอใจ
3.2. กำหนดขอบเขตของแบบสอบถามความคดิ เห็นและความพงึ พอใจ โดยใช้
วตั ถุประสงคข์ องการศึกษาความคิดเห็นและความพึงพอใจตอ่ การเรยี นการสอนผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกลเป็นหลกั การต้งั คำถามเพ่อื มุง่ เนน้ ให้ได้คำตอบทีส่ ามารถบรรลเุ ปา้ หมายตาม
วัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั โดยแบง่ รายละเอยี ดออกเปน็ 3 ตอน คอื
ตอนท่ี 1 ขอ้ มูลพน้ื ฐานท่วั ไป
1. เพศ
2. ชว่ งอายุ
3. สถานะ
4. สาขาวิชา
32
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเพ่อื ทราบข้อมลู เกยี่ วกับการการศกึ ษาความคิดเหน็ ต่อการ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล แบง่ เปน็ 4 ด้าน คอื ด้านความสอดคลอ้ งกบั
สถานการณ์ ด้านผเู้ รียน ด้านผู้สอน และดา้ นการวัดและประเมินผลการเรียนการสอน เป็น
แบบสอบถามแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า 5 ระดบั โดยแบง่ แบบสอบถามออกเปน็ 4 ด้าน
1. ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ได้แก่ นโยบายและวธิ ีการ การ
จดั การเรียนการสอนของวิทยาลัยให้เหมาะสมและสอดคล้องตอ่ สถานการณ์ covid-19
2. ด้านผู้เรียน ไดแ้ ก่ ระดับความรู้ความพึงพอใจและความพรอ้ มของ
ผูเ้ รยี น
3. ด้านผ้สู อน ได้แก่ ความพรอ้ มในการเตรียมตัวการจดั การเรยี นการ
สอน และการให้คำแนะนำอภปิ รายข้อมลู ข่าวสารภายในวทิ ยาลยั อาชีวศึกษาชลบุรี
4. ด้านการวดั และประเมินผลการเรียนการสอน ไดแ้ ก่ การใช้เทคนิค
และกระบวนการ ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอนรายวิชา
ตอนท่ี 3 เปน็ คำถามปลายเปิด เปน็ การแสดงข้อเสนอแนะหรือความคดิ เหน็ ที่
เกีย่ วขอ้ งกบั การศกึ ษาความคิดเหน็ ตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ทางไกล
4. การดำเนนิ การและเก็บรวบรวมข้อมลู
4.1 ผวู้ ิจัยทำการรวบรวมข้อมลู จากแบบสอบถามความพึงพอใจทีส่ ่งใหก้ ลมุ่ เป้าหมาย
4.2 ผูว้ จิ ัยทำการวบรวมขอ้ มลู จากงานวิจยั เวบ็ ไซต์ เอกสารที่เก่ียวขอ้ ง
4.3 ผลการศึกษาในรายวชิ า รายวชิ า โครงการ ของกลุ่มเป้าหมาย
5. วธิ ีการวิเคราะหข์ ้อมลู และสถิตทใ่ี ช้ในการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมลู ประกอบดว้ ย 2 สว่ นดังนี้
5.1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะสว่ นบุคคลของผูต้ อบแบบสอบถาม สถิตทิ ใ่ี ช้เปน็ ค่า
รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลยี่ เลขคณติ (Arithmetic Mean) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน
(Standard Deviation S.D.) โดยรวบรวมขอ้ มลู การหาค่าสถิติพ้นื ฐาน คอื รอ้ ยละ ค่าเฉล่ีย และส่วน
เบ่ียงเบนมาตรฐานของคะแนนทไ่ี ด้ โดยใช้สูตรดังนี้
5.1.1 ค่ารอ้ ยละ (Percentage) × 100
P=
เมอ่ื P แทน รอ้ ยละ
F แทน ความถ่ีที่ต้องการแปลงค่าใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ
n แทน จำนวนความถท่ี ้ังหมด
33
5.1.2 ค่าเฉลย่ี เลขคณิต (Mean)
̅ = ∑
เม่ือ ̅
แทน คา่ เฉลี่ย
∑x แทน ผมรวมของคะแนนท้งั หมดในกลุ่ม
N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่
5.1.3 สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)
S.D. = √ ∑ 2−(∑ )2
เมือ่ S.D. ( −1)
∑x แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตฐาน
แทน ผลรวมของคะแนนแต่ละตัว
N แทน จำนวนคะแนนในกลมุ่
5.2 วิเคราะหข์ อ้ มลู เกี่ยวกับการศึกษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผา่ นระบบ
อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทางไกล และความพงึ พอใจของผ้เู รียนผู้สอน แบ่งเป็น 4 ด้าน คอื ด้านความสอดคล้อง
กบั สถานการณ์ ด้านผเู้ รียน ด้านผู้สอน และด้านการวดั และประเมนิ ผลการเรยี นการสอน โดยใช้
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation S.D.) โดย
แบ่งระดบั การแปลผลเป็น 5 ระดับ ดงั นี้
คะแนนคา่ เฉลีย่ หมายถงึ ระดบั การแปลผล
1.00 - 1.80 หมายถงึ มีระดับความคิดเหน็ ด้วยนอ้ ยที่สุด
1.81 - 2.60 หมายถึง มรี ะดบั ความคดิ เหน็ ดว้ ยนอ้ ย
2.61 - 3.40 หมายถึง มีระดับความคดิ เห็นด้วยปานกลาง
3.41 - 4.20 หมายถงึ มรี ะดบั ความคิดเหน็ ด้วยมาก
4.21 - 5.00 มรี ะดับความคดิ เหน็ ด้วยมากทสี่ ุด
บทท่ี 4
การวเิ คราะหข์ ้อมลู
การดำเนนิ โครงการ โครงการศกึ ษาความคดิ เหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบ
อเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกลของ นักศกึ ษาสาขาวิชาบริหารธุรกจิ วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษาชลบุรี ในคร้งั น้ี ผู้
ศึกษาไดด้ ำเนินงานตามลำดับขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้
4.1 สญั ลักษณ์ท่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มลู
แทน จำนวนคนในกลุ่มตัวอย่าง
̅ แทน คะแนนเฉลีย่
S.D. แทน สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน
4.2 การนำเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล
การวเิ คราะหข์ อ้ มูลในการศึกษาน้ี ผู้ศกึ ษาไดท้ ำการวเิ คราะห์ออกเปน็ 3 ตอนดงั น้ี
ตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนท่ี 2 แบบสอบถามเพื่อทราบขอ้ มูลเก่ยี วกบั การการศกึ ษาความคิดเห็นตอ่ การ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ สท์ างไกลของผเู้ รียนผู้สอน แบง่ เป็น 4 ดา้ น คอื ด้านความ
สอดคล้องกับสถานการณ์ ดา้ นผเู้ รยี น ด้านผู้สอน ดา้ นการวัดและการประเมนิ ผลการเรยี นการสอน
ตอนที่ 3 ขอ้ เสนอแนะและความคิดเห็น
35
ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ตอนท่ี 1 ข้อมูลท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตารางท่ี 1 แสดงความถแี่ ละรอ้ ยละของกลุ่มตวั อยา่ ง จำแนกตามเพศ
สถานภาพ กลมุ่ ตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
เพศ
ชาย 8 14.29
หญงิ 48 85.71
รวม 56 100.00
จากตารางที่ 1 พบว่ากลุ่มตวั อย่างส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง จำนวน 48 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
85.71 และเพศชาย จำนวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.29 ตามลำดับ
14.29% ชาย
หญิง
85.71%
ภาพที่ 1 จาแนกตามเพศ
36
ตารางท่ี 2 แสดงความถี่และรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จำแนกตามชว่ งอายุ
สถานภาพ กลุ่มตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
อายุ
18 - 19 ปี 33 58.93
20 - 21 ปี 16 28.57
22 - 25 ปี 0 0.00
26 - 30 ปี 1 1.78
31 - 40 ปี 3 5.36
41 ปขี ้นึ ไป 3 5.36
รวม 56 100.00
จากตารางท่ี 2 พบวา่ กล่มุ ตัวอยา่ งสว่ นใหญ่ อายุ 18 - 19 ปี จำนวน 33 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 58.93 รองลงมา อายุ 20 - 21 ปี จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 28.57 อายุ 31 - 40 ปี
จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5.36 41 ปีข้ึนไป จำนวน 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.3657 อายุ 26 - 30
ปี จำนวน 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.78 และอายุ 22 - 25 ปี จำนวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.00
ตามลำดับ
5.36% 18-19 ปี 20-21 ปี
5.36% 22-25 ปี 26-30 ปี
1.78% 31-40 ปึ 41 ปขี นึ้ ไป
0.00%
28.57%
58.93%
ภาพท่ี 2 จาแนกตามชว่ งอายุ
37
ตารางท่ี 3 แสดงความถี่และร้อยละของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสถานะ
สถานภาพ กลมุ่ ตวั อยา่ ง = 56
จำนวน ร้อยละ
สถานะ
นกั ศกึ ษา 50 89.29
ครผู ู้สอน 6 10.71
รวม 56 100.00
จากตารางที่ 3 พบวา่ กลมุ่ ตัวอยา่ ง นกั ศึกษา จำนวน 50 คน คิดเปน็ ร้อยละ 89.29
และครูผู้สอน จำนวน 6 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10.71 ตามลำดับ
10.71% นักศกึ ษา
ครูผสู้ อน
89.29%
ภาพท่ี 3 จาแนกตามสถานะ
38
ตารางท่ี 4 แสดงความถ่ีและร้อยละของกลุ่มตวั อย่าง จำแนกตามสาขาวชิ า
สถานภาพ กลมุ่ ตัวอยา่ ง = 56
จำนวน รอ้ ยละ
สถานะ
สาขาวิชาการบัญชี 30 53.57
สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกิจดิจิตอล 26 46.43
รวม 56 100.00
จากตารางท่ี 3 พบวา่ กลุม่ ตวั อย่าง สาขาวชิ าการบญั ชี จำนวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
53.57 และสาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดิจติ อล จำนวน 26 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 46.43 ตามลำดบั
สาขาวชิ าการบญั ชี
46% สาขาวิชาเทคโนโลยธี ุรกจิ ดจิ ิทัล
54%
ภาพที่ 4 จาแนกตามสาขาวชิ า
ตอนท่ี 2 ขอ้ มูลเกีย่ วกบั การศึกษาความคิดเห็นตอ่ การเรียนการสอนผ่านระบบอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ทางไกล แบ่งเป็น 4 ดา้ น คือ ดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ ดา้ นผ้เู รียน ดา้ นผู้สอน และ
ด้านการวัดและประเมนิ ผลการเรียนการสอน
39
ตารางที่ 5 แสดงค่าเฉลีย่ และส่วนเบ่ยี งเบนแบบมาตรฐาน ความคิดเหน็ ของกลมุ่ ตัวอยา่ งทีม่ ีต่อการ
เรยี นการสอนผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนิกสท์ างไกล
ดา้ นความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์
รายการประเมนิ ระดับความคิดเหน็
̅ S.D. ระดับแปลผล
1. นโยบายการจัดการเรยี นการสอนออนไลน์ของวทิ ยาลยั 3.53 0.89 มาก
เหมาะสมหรอื สอดคล้องกบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19 3.50 0.97 มาก
2. วธิ กี ารจัดการเรียนการสอนออนไลนข์ องวทิ ยาลัย
เหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพรร่ ะบาด
ของเชอ้ื ไวรัส covid-19 3.46 0.93 มาก
3. ผูเ้ รียนได้รับการชแี้ จง และการสนบั สนนุ การเตรยี มตัว
เพอื่ การจัดการเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย
เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19
4. ผ้เู รยี นมีระดบั ความพึงพอใจโดยรวมต่อการจัดการเรยี น 3.50 0.90 มาก
การสอนออนไลนข์ องวิทยาลัยเหมาะสมหรอื สอดคล้อง
กับสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัส covid-19
รวม 3.46 0.81 มาก
จากตารางท่ี 5 พบวา่ การศึกษาความคิดเหน็ ต่อการเรยี นการสอนผ่านระบบ
อิเลก็ ทรอนกิ สท์ างไกล ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์ โดยรวมมีความคิดเหน็ เหมาะสมในระดบั
มาก ( ̅ = 3.46 และ S.D. = 0.81) และเมอ่ื พจิ ารณาเป็นรายข้อแล้ว นโยบายการจดั การเรยี นการ
สอนออนไลนข์ องวิทยาลัยเหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรัส
covid-19 มีความคดิ เห็นเหมาะสมในระดับมาก ( ̅ = 3.53 และ S.D = 0.89) รองลงมาคือ วธิ กี าร
จัดการเรยี นการสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรอื สอดคล้องกับสถานการณก์ ารแพร่ระบาด
ของเชือ้ ไวรสั covid-19 มีความคิดเหน็ เหมาะสมในระดบั มาก ( ̅ = 3.50 และ S.D = 0.97) ผู้เรยี น
ได้รับการชแี้ จง และการสนับสนุนการเตรยี มตวั เพ่ือการจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย
เหมาะสมหรอื สอดคลอ้ งกบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้อื ไวรสั covid-19 มีความคดิ เห็น
เหมาะสมในระดบั มาก ( ̅ = 3.46 และ S.D = 0.93) และผเู้ รียนมรี ะดบั ความพึงพอใจโดยรวมต่อ
การจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ของวิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคลอ้ งกับสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของเชื้อไวรสั covid-19 มคี วามคิดเหน็ เหมาะสมในระดับมาก ( ̅ = 3.50 และ S.D = 0.90)
ตามลำดบั
40
5.00
4.00 3.53 3.50 3.46 3.50
3.00
2.00
1.00 0.89 0.97 0.93 0.90
0.00 สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน
คา่ เฉล่ีย
นโยบายการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของวิทยาลัย เหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณ์การ
แพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั covid-19
วธิ ีการจดั การเรยี นการสอนออนไลนข์ องวิทยาลัย เหมาะสมหรอื สอดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพร่
ระบาดของเชื้อไวรัส covid-19
ผเู้ รียนไดร้ บั การชีแ้ จง และการสนับสนนุ การเตรยี มตวั เพื่อการจดั การเรยี นการสอนออนไลน์ของ
วิทยาลยั เหมาะสมหรือสอดคล้องกบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชอ้ื ไวรสั covid-19
ผู้เรียนมรี ะดบั ความพงึ พอใจโดยรวมตอ่ การจัดการเรียนการสอนออนไลนข์ องวทิ ยาลยั เหมาะสมหรอื
สอดคลอ้ งกบั สถานการณก์ ารแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส covid-19
ภาพที่ 5 ด้านความสอดคลอ้ งกับสถานการณ์