The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การขยายพันธ์พืช

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ปิติ เกตุ, 2021-03-22 04:21:41

การขยายพันธ์พืช

การขยายพันธ์พืช

51

2. ดแู ลรกั ษาโรค แมลง และใหปุย จนกระทง่ั ออกดอก
3. ตดั ดอกแลวคอยลดจาํ นวนการใหนํา้ ประมาณ 2 เดอื น
4. เม่ือตนพักตัวและยอดแหงจงึ ขดุ เหงามาผ่ึงในทร่ี ม
5. เม่ือผิวเปลือกนอกแหงดีแลวจึงแยกเหงาใหมจากเหงาเกา จากนั้นจุม
สารปองกันกาํ จัดเชอ้ื ราเพือ่ ใชปลกู และขยายพนั ธุตอไป

หวั ใหม
ตาชาง

หนอหรอื หัวใหม
ขอ
ภาพที่ 28 สวนของเหงาที่ใชในการขยายพนั ธุ

2. การขยายพนั ธโุ ดยการแบง สว น (Propagation Division)
2.1 การแบงหวั (Tubers) เปนหวั ท่ีเกดิ จากตนอดั ตวั แนน เพื่อเปน ท่เี ก็บสะสม

อาหารของตนพืช เชน หัวมนั ฝรง่ั หัวเผอื ก หวั บอนสี ฯลฯ และหวั ท่เี กิดจากรากพองโตของ
ระบบรากเพ่ือใชเปน ทีเ่ ก็บสะสมอาหาร เชน หัวมนั เทศ หัวรกั เร ฯลฯ มขี ัน้ ตอนในการปฏบิ ตั ิ
ดงั นี้

1. นาํ หัวแกของตนพืชมาลางทาํ ความสะอาด แลวผึง่ ลมใหแหง
2. แบงหวั ดวยมีดสะอาดโดยใหแตละสวนมตี าติดไปดวยใหมพี ืน้ ท่รี อยตดั

นอยที่สุด
3. นาํ ชน้ิ สว นทตี่ ดั แบง จมุ สารปอ งกนั กาํ จดั เชอื้ ราจากนนั้ ผงึ่ ลมใหแ หง หมาดๆ
4. นําไปปลกู ในแปลงใหลกึ ประมาณ 3 นว้ิ
5. เมื่อตนมอี ายุ 30 วนั ใหพรวนดนิ กลบโคนตนเพ่ือใหกงิ่ ขางที่เจริญจาก

ตาโคนเปน หัว
6. เม่อื ตนมีอายุ 120 วนั หลงั จากปลกู หวั จะเร่ิมแกจึงทําการขุดหวั ข้ึนมา

ผ่ึงในทร่ี ม
7. คัดหวั ท่อี ยูในระยะพักตัวจงึ สามารถนํามาขยายพนั ธุตอไป

52

ตา
ภาพท่ี 29 สวนของหัวที่เกดิ จากตนท่ใี ชในการขยายพนั ธุ
2.2 การแบงแงง (Rhizomes) สวนใหญเปนพชื ประเภทใบเลยี้ งเดยี่ วท่ีมีลําตน
เจรญิ ในระดบั ผวิ ดนิ ทข่ี อจะมตี าขางอยูเหนอื กาบใบ สวนรากจะเกดิ ทข่ี อใตผวิ ดนิ เชน กลวย
ขิง ขา ขมิ้น หนอไมฝรงั่ ไผ ฯลฯ มีขนั้ ตอนในการปฏบิ ัติดังนี้
1. นาํ แงงทพ่ี รอมเจรญิ เตบิ โตสงั เกตไดจากปุมทต่ี าจะเรม่ิ บวม นาํ มาลางนา้ํ
2. จุมนาํ้ ยาปองกนั เชอ้ื ราซึง่ ผสมกบั นา้ํ ยาจบั ใบผง่ึ ลมใหแหง
3. นาํ มาตัดแบงเปน ทอนโดยใหแตละทอนมตี าตดิ ยู 2 ตา
4. ทาสวนที่เปนแผลดวยยาปองกนั เช้อื ราแลวผงึ่ ลมใหแหงหมาดๆ
5. วางในท่ีรม 2 วัน เพอื่ ใหสวนทีเ่ ปน แผลรอยตดั เร่มิ สมานตัว
6. นําไปชําหรือปลกู ขยายตอไป

แนวตัดแบง
ภาพที่ 30 สวนของแงงที่ใชในการขยายพันธุ

53

2.3 การแบงไหล (Runner) ไหลเปนสวนของตนที่เจริญเติบโตแบบทอดยอด
อยใู ตน า้ํ เชน บวั หลวง หรอื หนอื ผวิ ดนิ ทลี่ กั ษณะคลายรากทเี่ จรญิ แบบทอดยอด เชน ฟก ทอง
และสตรอเบอร่ี ดังน้ันการขยายพันธุโดยการใชไหลจะเปนการขยายพันธุตามธรรมชาติ
ซึง่ เปน ผลพลอยไดจากการปลูกพชื มีขัน้ ตอนการปฏบิ ตั ิดังน้ี

1. ปลูกตนพชื ทมี่ ไี หลในแปลงปลูกจนกระทงั่ เร่มิ เกดิ ไหล
2. เลอื กไหลทมี่ ียอดปลายเรม่ิ มปี ุมราก
3. นาํ สว นของไหลพาดบนถงุ เพาะชาํ ทใี่ สว สั ดเุ พาะชาํ โดยใหส วนของยอดอยู

กลางถงุ และใหส ว นโคนของยอดฝง จมอยใู นวสั ดเุ พาะชาํ โดยทไี่ หลยงั ตดิ อยู
กับตนแม
4. รดนาํ้ ใหช มุ จนกระทง่ั โคนยอดเกดิ ราก จงึ ตดั ไหลทเ่ี กดิ รากขยายพนั ธตุ อ ไป

ไหลท่ีเจริญเตบิ โตเปน ลําตน

ไหล
ภาพที่ 31 สวนของไหลทใ่ี ชในการขยายพันธุ
2.4 การแบงตะเกยี ง (Off-set) คือหนอทเ่ี จริญขึ้นจากลาํ ตนปลอมเกดิ ข้นึ เอง
ตามธรรมชาติเชน กลวยไม ไผ ปรงญี่ปุน และอนิ ทผาลัม ฯลฯ มขี ้นั ตอนในการปฏิบัติดังนี้
1.เลือกตนทม่ี ีขนาดใหญและมอี ายมุ ากพอสมควร
2.ตรวจดูกิ่งตะเกยี งตามโคนตน โดยเฉพาะกงิ่ ตะเกียงทม่ี ลี ักษณะอวนกลม
3.ใชป ลายมดี หรอื สวิ่ ขนาดเลก็ คอ ยๆ สะกดั สว นตอ ระหวา งตน แมใ หข าดจากกนั
4.ทาสวนท่เี ปนแผลดวยยาปองกนั เชือ้ ราแลวผึง่ ลมใหแหงหมาดๆ
5.นําก่ิงตะเกียงไปชาํ ในวสั ดปุ กชาํ
6.เม่อื กง่ิ ตะเกยี งออกรากดีแลวจงึ นําไปปลูกและขยายพนั ธุตอไป

54

2.5 การแบงจุก (Crown) จุกเปนสวนของตนท่ีแปลกปลอมอีกแบบหนึ่ง
เชน สับปะรด ฯลฯ มขี ้ันตอนในการปฏิบัตดิ งั น้ี

1. นาํ จกุ ทม่ี สี ภาพสมบรู ณลางทําความสะอาด
2. แบง จกุ ออกเปน 4 สว นหรอื ตามขนาดโดยใหแ ตล ะสว นมใี บจากจกุ ตดิ ไปดว ย
3. ทารอยเฉอื นดวยยาปองกนั เชอื้ ราแลวผึง่ ลมใหแหงหมาดๆ
4. นาํ ไปปก ชําในวสั ดปุ กชาํ แลวปฏิบตั เิ หมือนกบั การปก ชําท่ัวๆไป
2.6 การแบงหนอ (Suckers) คือตนพืชเลก็ ๆ ท่เี กดิ ขึ้นจากตนหรือเกดิ จากราก
ทโ่ี คนตนได เมอ่ื เกดิ รากดแี ลวจงึ แยกไปปลกู เชน กลวย สบั ปะรด มขี น้ั ตอนในการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี
1. เลอื กหนอทอี่ วบสมบรู ณ และมีความยาว 50 - 60 เซนตเิ มตร
2. ใชเสยี มขุดโคนหนอและเซาะหนอออกจากตนระวงั ไมใหหนอช้าํ
3. นาํ มาตัดปลายออกใหเหลือความยาว 20 เซนติเมตร
4. จุมลงในนาํ้ ยาปองกนั กําจัดเชื้อรา ผงึ่ ลมพอหมาดๆ
5. นาํ ไปชาํ ในถงุ เพาะชาํ ทเี่ ตรยี มไว รกั ษาความชน้ื อยเู สมอจนหนอ เรมิ่ แทงยอด
6. นาํ หนอท่เี ริ่มแทงยอดไปปลกู ในหลุมถาวรหรอื ขยายพันธุตอไป

จุกทีใ่ ชในการขยายพันธุ

หนอ ทเ่ี กดิ จากจากโคนตน สบั ปะรด

ภาพที่ 32 การขยายพนั ธุสบั ปะรดโดยใชจุกและหนอ

55

การขยายพนั ธโุ ดยการเพาะเล้ียงเนือ้ เย่ือพืช

คือการนาํ ชิน้ สวนตางๆของพชื เชน ตาขาง ตายอด หนอออน ใบ เมลด็ มาเพาะเลยี้ ง
ในอาหารสงั เคราะห ประกอบดวยเกลอื แร นา้ํ ตาล วติ ามนิ และสารควบคมุ การเจรญิ เตบิ โต
ภายใตสภาพแวดลอมที่ควบคุมได ปลอดจากเชื้อจุลินทรีย ใหพัฒนาเปนตนพืชที่สมบูรณ
เปนวิธีการขยายพันธุพืชที่มีประสิทธิภาพ สามารถผลิตพืชไดจํานวนมากในเวลาท่ีกําหนด
ตนพืชสมบรู ณแข็งแรง ปลอดโรคที่มสี าเหตจุ ากเชอ้ื ไวรัส เช้ือรา เชื้อแบคทีเรีย ทอ่ี าจติดมา
กับตนพันธุ ตลอดจนการอนรุ กั ษพนั ธกุ รรมพืชและการปรับปรุงพันธุพชื

พืชทนี่ ิยมขยายพนั ธุดวยวิธีนี้ ไดแก ไมยืนตน เชน ยูคาลปิ ตัส ไผ สกั หวาย ฯลฯ พืชผัก
เชน ขงิ หนอ ไมฝ รงั่ ปเู ล ฯลฯ ไมผ ล เชน กลว ย สบั ปะรด สตรอเบอรี่ สม ฯลฯ ไมด อกไมป ระดบั
เชน หนา ววั เบญจมาศ กลว ยไม วา นสท่ี ศิ เยอบรี า เฮลโิ คเนยี ฟโ ลเดนดรอน ฯลฯ พชื กนิ แมลง
เชน หยาดนํ้าคาง กาบหอยแครง หมอขาวหมอแกงลงิ
ขอ ดีของการเพาะเล้ียงเนอ้ื เยอ่ื พชื

1. เพมิ่ ปริมาณไดจาํ นวนมากในระยะเวลาสัน้
2. ตนท่ีไดมีลักษณะทางพนั ธกุ รรมเหมือนพอแม
3. ตนพชื ท่ไี ดจะเจรญิ เติบโตเรว็ มขี นาดสมํ่าเสมอ เก็บเกย่ี วผลผลติ ไดพรอมกนั

และผลผลิตไดมาตรฐาน
4. ตนท่ไี ดจะปลอดโรคที่มีสาเหตุจากเช้อื จลุ นิ ทรีย
ขอจาํ กัดของการเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยือ่ พืช
1. ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมทตี่ องการอาจเปลยี่ นแปลงไปจากเดมิ (ในกรณกี ารชกั นาํ ตน

จากแคลลัส)
2. พชื ประเภทไมเนอ้ื แข็งชกั นําการเกิดรากคอนขางยาก
3. การยายปลกู ในสภาพธรรมชาติคอนขางยุงยาก
4. การลงทนุ สงู เนอื่ งจากตอ งใชเ ครอื่ งมอื และสารเคมี รวมทงั้ ตอ งสรา งหอ งปฏบิ ตั กิ าร

ทําใหตนทนุ การผลติ คอนขางสูง
ประโยชนของการเพาะเลย้ี งเน้ือเยอ่ื พืช

1. เพ่ือขยายพนั ธุพชื ไดตนพชื ทสี่ ม่าํ เสมอเหมือนตนเดมิ และไดตนพืชจํานวนมาก
ในเวลาทก่ี าํ หนด

2. เพอื่ ผลิตพันธุพืชปลอดโรค ไดตนพืชปลอดเชอ้ื ไวรสั และปลอดเชอ้ื แบคทีเรยี
3. เพอื่ อนรุ กั ษพ นั ธพุ ชื เปน การเกบ็ รกั ษาพนั ธพุ ชื และการแลกเปลยี่ นพนั ธพุ ชื กบั ตา งประเทศ
4. เพ่อื ปรบั ปรงุ พันธุพืช เปนการสรางพันธุพชื ใหมๆ เชน การเพาะเล้ยี งเอมบรโิ อ

การรวมโปรโตพลาส และเปน การสรางพนั ธวุ ศิ วกรรม
5. เพอื่ การผลติ ยาหรอื ผลติ สารทตุ ยิ ภมู ิ สกดั ตวั ยาหรอื สว นผสมของยารกั ษาโรคจากพชื
6. เพื่อศึกษาทางชีวเคมี สรีรวิทยา และพนั ธศุ าสตร พชื ทเ่ี ลยี้ งในอาหารสังเคราะห

สามารถตดิ ตามการพัฒนาและการเปล่ียนแปลงในดานเหลานี้ไดงาย ชัดเจน
และถกู ตอ งแมน ยาํ เนอื่ งจากการควบคมุ ตวั แปรตา งๆ ทาํ ไดด กี วา ในสภาพปลกู ปกติ

56

ตารางที่ 3 ตัวอยางพชื ทนี่ ํามาเพาะเลยี้ งเนื้อเยื่อไดสําเร็จในประเทศไทย

ชอื่ พชื ชน้ิ สว นท่ี สูตร ฮอรโมนทใ่ี ช การเจริญ เอกสารอา งองิ
นาํ มาเลยี้ ง อาหาร ของเนื้อเยอื่

ขาว อับละออง N6 2,4 - D2 มก./ล+ แคลลัส ภทั รพร ภกั ดีฉนวน.
Oryza sativa L เกสร Kinetin 0.5 มก./ล.+ 2540
นํา้ ตาล 50 กรัม/ล.
แคลลัส IAA 0.5 มก./ล.+BA2 มก./ล.
ยอด MS - ยอด
MS - ตนและราก

รกั เร ตาขางใบ MS BA 0.3 มก./ล. ยอด กหุ ลาบ คงทอง.
MS BA 0.1 มก./ล.+NAA 0.1 แคลลสั 2539
มก./ล. หรอื NAA 0.3 มก./ล.
แคลลสั MS BA 0.1หรอื 0.5มก./ล.และ
NAA 0.1 มก./ล.
ยอด MS NAA 0.15 มก./ล. ราก

อะโลคาเซยี ปลายยอด MS ซ่ึงมี NAA 0.5 มก./ล. ตน ชลิตา พงศศภุ สมทิ ธิ์
Alocasia ปลายราก วิตามนิ ของ NAA 1 มก./ล.Kinetin แคลลสั
anazonica ตน ใบออน Nitsch & 1 มก./ล.+NAA 0.5 มก./ล ราก
กานใบออน
Nitsch

กลอ็ กซีเนยี กานดอกตมู MS Kinietin 2 มก./ล. หรือ ตน รงรอง วเิ ศษสุวรรณ,
Sinnigia Matozim MT 0.25มก./ล. ตน 2528
specionsa

กุหลาบ ตาขาง MS+นา้ํ ตาล4% BA 2 มก./ล. ยอด ประนอม พฤฒิพงษ
ยอด MS+นาํ้ ตาล4% - ราก และคณะ. 2531

แกลดโิ อลสั ปลายยอด MS BA 0.1 - 2 มก./ล. ยอดทวคี ณู วไิ ลลกั ษณ ชนิ ะจิตร,
Gladiolus ตาขาง MS NAA 0.5 มก./ล . ราก 2524
hydridus ยอดทเ่ี กดิ MS +นา้ํ มะพราว 15 % หรอื
จากปลาย MS Kinietin 0.1 - 0.5 มก./ล.
ยอดและ
ตาขางหวั BA 0.1 - 6 มก./ล. ยอดทวีคณู
Kinietin 0.5 มก./ล.+ แคลลัสและ
กานชอดอก
NAA 10 มก./ล. ราก

57

ตารางท่ี 3 ตวั อยางพืชทน่ี าํ มาเพาะเล้ียงเนือ้ เยอื่ ไดสําเร็จในประเทศไทย (ตอ )

ชอ่ื พืช ชน้ิ สว นท่ี สูตร ฮอรโ มนท่ใี ช การเจริญ เอกสารอางองิ
นาํ มาเล้ยี ง อาหาร BA 5 มก./ล. ของเนือ้ เยือ่
+2,4-D 2-4 มก./ล.
โกสน ปลายยอด MS แคลลัส วไิ ลลักษณ สุขจิต-
Codiscumvar- ลาํ ตน กาน MS ตานนท. 2528

iegatum ใบและ MS BA5 มก./ล.+NAA5 มก./ล. ยอด
ใบออน Kinetin 0.5 มก./ล. ตน
แคลลสั MS +NAA 1.0 มก./ล.
หรือน้าํ มะพราว15 % แคลลสั
คารเนชนั ปลายยอด MS BA 1 มก./ล. ชัยชุมพล สุรยิ ะ-
Diantus MS +NAA 1 มก./ล. ศักด.ิ์ 2526
caryophyllus
ชุตมิ า คุณาไทย.
บอนสี ใบออน 2526
Caladium
biocolor

บีโกเนยี เมลด็ BA 1 มก./ล. ตน สุมนา กิจไพฑรู ย.
Begonia sp. ตนออน NAA 1 มก./ล. 2528
Kinetin 5 มก./ล.
เบญจมาศ ตาขาง MS NAA 1 มก./ล. เพ่มิ จํานวน
ลําตน ใบ WPM Kinetin 2 มก./ล.
พุดสวน ตาขาง PM +NAA 0.02 มก./ล. แคลลสั ตน สุเมธ อรัญนารถ.
Ervatamia MS BA 16 มก./ล. 2524
Coronaria ยอด MS 2,4-D 1 มก./ล.
เฟรนกานดํา สปอร ยอด ประนอม พฤฒพิ งษ
Adintum Phothallus MS (1974) ยอด และคณะ. 2531
Capillus MS (1962)
Veneris Linn. เมล็ด นํ้ามะพราว15% Phothallus รงรอง วเิ ศษสุวรณ.
เยอบีรา ดอกออน MSH Matozim MT0.25 มก./ล. 2528
Gerbera
jamesonii Kinetin 0 มก./ล. เพมิ่ จํานวนตน รงรอง วิเศษ-สุวรรณ.
IAA 0.5 มก./ล. ตน 2528
BA 10มก./ล. วันดี ใจนมิ่ และคณะ.
BA 10 มก./ล. 2531

58

ตารางท่ี 3 ตัวอยา งพืชทนี่ ํามาเพาะเลยี้ งเน้อื เยื่อไดสาํ เรจ็ ในประเทศไทย (ตอ)

ชือ่ พชื ชิน้ สว นท่ี สตู ร ฮอรโ มนท่ีใช การเจริญ เอกสารอางอิง
นํามาเลยี้ ง อาหาร NAA 2 มก./ล. ของเนอ้ื เย่อื บันเทงิ บรรพศริ ิ.
MS หรอื
ยิบโซฟลลา ปลายใบ Vacin แคลลัส 2527
Gypso ปลอง & Went
แคลลสั BA 1- 4มก./ล. ยอด
phillaparivular MS +NAA 0.5 - 1 มก./ล. ยอดทวคี ูณ
Vacin
ยอดจาก & Went BA 0.5 มก./ล.
แคลลัส MS

วานส่ที ิศ กานชอดอก MS 2,4-D 0.5 - 1 มก./ล. ตน ศาลักษณ พรรณศริ ิ.
Hippeastrum อับเกสร MS 2526
hybridum และกานชู MS
เกสรตวั ผู WPM
รงั ไขกานชอ MS
ดอกยอย
กลีบดอก
ไขออน
กลบี หัว
สวนกลาง

สแตตสิ ตน IAA 0.5 มก./ล. ราก สมุ นา กิจไพฑูรย.
Staticaperizii เมอริโคลน 2528
จากญปี่ ุน

สปั ปะรดแคระ ตาขาง BA 2 มก./ล. แคลลัส ยอด สะอาด รม รนื่ สขุ ารมย
Ananas +NAA0.1มก.ล. ยอดทวีคูณ
แคลลัส BA 1 มก./ล.+NAA0.1มก./ล. ราก

ยี่หบุ ตาขาง BA 9มก./ล. ยอด มณฑิรา สาลกั ษณ.
Magnolia Coco IBA 2 มก./ล. ราก 2534

ผกั กาดขาวปลี ปลายยอด BA 2 – 4 มก./ล. ยอด สุนี รัตนวงศนรา.
Chinese ใบ กานใบ NAA 1 มก./ล. ราก 2530
cabbage

59

ตารางที่ 3 ตัวอยา งพืชทน่ี าํ มาเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยอ่ื ไดส ําเร็จในประเทศไทย (ตอ)

ชื่อพืช ชิ้นสว นท่ี สูตร ฮอรโมนทีใ่ ช การเจรญิ เอกสารอางองิ
นาํ มาเลีย้ ง อาหาร ของเนื้อเยือ่

หนาววั ตาขาง ใบ MS Kinetin 1 มก./ล. ตน จารวุ รรณ โตววิ ฒั น
Anthurium และกานใบ แคลลสั สรรลาภ สงวนดีกุล.
andracanum ใบออน MS BA 1 มก./ล.+2,4-D 1มก./ล.
หรือ BA 2 มก./ล.+2,4 –D ตน 2526
0.5 มก./ล.
แคลลสั Pierik (1976) BA 2 มก./ล. ยอด
นา้ํ ตาล20กรมั ราก
ตอลติ ร
Embryo MS Kinetin1 มก./ล.
ยอดจาก MS NAA0.5 มก./ล.หรอื
Embryo IAA 0.5 มก./ล.

กีวีฟรุต กานใบ MS 2 iP 2 มก./ล. ตน สาธิต ริยาภรณ.
Actindia ปลอง ขอ 2529
Chinensis

ไลอาทสิ กานชอดอก MS BA 3 มก./ล. นํา้ ตาล 4% ยอด รุงนภา วงศวจิ ิตร.
Liatrisspicata IAA 0.8 มก./ล. 2533

หวายตะคาทอง ลําตนออน MS NAA, BA5 x 106 M ยอด จารวุ รรณ โตววิ ัฒน
Calamus MS
cacsius 2,4- D 2 มก./ล. แคลลัส ทวพี งศ สุวรรณโร.
อินทผลมั ตนยอด +นา้ํ ตาล4.5%+ ถาน 3 ก/ล. ตน 2529
Date Plam (ตายอด) หนอ
แคลลัส NAA 4.0 มก./ล. ประพนั ธุ ปญ ญา-บาล
Kinetin 0.4 มก./ล.
กระเทียม ตายอด MS
Garlic 2 iP 2 มก./ล.
NAA 0.1 มก./ล.

ที่มา : จริ า ณ หนองคาย. 2551: 343- 347

60

หอ งปฏิบัติการเพาะเล้ยี งเนื้อเยือ่ พืชแบงพืน้ ท่ีเปน 3 สวน
ตามลักษณะการใชงาน ดังนี้
1. หอ งเตรยี มอาหารสงั เคราะห (Laboratory or Preparation room) ควรเปน หอ งทม่ี เี นอ้ื ที่

กวา งขวางพอควรทจ่ี ะจดั วางเครอ่ื งมอื อปุ กรณต า งๆ เชน โตะ เตรยี มอาหาร โตะ วางเครอื่ งมอื
ตเู กบ็ เอกสาร ขวดเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ เครอ่ื งแกวตางๆ อางนา้ํ ลางเครอื่ งมอื และตูเยน็ สาํ หรบั
เกบ็ สารเคมบี างชนิดท่ีตองเกบ็ ในที่เยน็ และสารละลายเขมขน

2.หองยายเนอื้ เย่ือหรือหองถายเนอื้ เย่ือพชื (Clean room or Transfer room) เปนหอง
ทสี่ ะอาด ปลอดเชอ้ื มกี ารผา นเขา ออกนอ ยทสี่ ดุ ควรจะมแี ตเ จา หนา ทที่ ม่ี หี นา ทย่ี า ยเนอื้ เยอ่ื พชื
อุปกรณทีส่ าํ คญั คือ ตูยายเน้ือเยื่อ กลองจลุ ทรรศน และอุปกรณเก่ียวกบั การฟอกฆาเช้ือ

3. หองเพาะเลย้ี งเนื้อเย่ือพืช (Culture room) ตองเปนหองทีส่ ะอาด ปลอดเชื้อ ปดสนทิ
มกี ารเขาออกนอยทสี่ ดุ เฉพาะเจาหนาทที่ จ่ี ะนาํ ขวดเพาะเลยี้ งไปเพาะเลย้ี ง และตรวจเชค็ ผล
การทดลอง

หอ งทาํ งานเจา หนาท่ี หองเกบ็ สารเคมี

หอ งยายเนอ้ื เย่อื พชื หองเตรยี มอาหาร อางน้ํา

ตูย ายเนอื้ เยือ่ พืช โตะ เตรยี มอาหาร

หองเพาะเลีย้ ง ช้ันวาง
เนอ้ื เยอื่ เนอ้ื เยือ่ พืช

เคร่อื งปรบั อากาศ

ภาพที่ 33 แผนผังหองปฎิบัติการเพาะเลย้ี งเน้อื เยอื่ พชื

61

ตารางที่ 4 เคร่ืองมอื และอปุ กรณท่จี ําเปนในการเพาะเลย้ี งเนอื้ เย่ือพชื

รายการท่ี รายการ จาํ นวน ราคา/หนว ย รวม

1 ตูตดั เนอ้ื เยอื่ ไม 90 x 60 x 90 ซม. 2 ตัว 15,000 30,000

2 ตูตดั เนื้อเย่ือเหล็ก 90 x 60 x 90 ซม. 1 ตัว 22,000 22,000

3 ขาตัง้ ตูปลอดเชอื้ 3 ตวั 800 2,400

4 ชน้ั วางขวดตนเนอ้ื เย่อื 6 ชุด 10,000 60,000

5 ตูเกบ็ สารเคมี 1 ตวั 10,000 10,000

6 เคร่อื งชั่งไฟฟา 2 ตาํ แหนง 1 เครอ่ื ง 6,900 6,900

7 เคร่ืองชั่งไฟฟา 4 ตาํ แหนง 1 เคร่อื ง 32,700 32,700

8 ตูเย็น 6.4 ควิ 1 เครื่อง 7,200 7,200

9 หมอน่ึงความดันไอน้าํ 1 ชดุ 21,300 21,300

10 เตาแกสเตรียมอาหาร 2 ชดุ 1,500 3,000

11 ถงั แกส ขนาด 48 กิโลกรัม (รวมแกส 900 บาท) 2 ถงั 2,500 5,000

12 เคร่ืองกรองน้าํ 1 เครื่อง 30,000 30,000

13 เคร่อื งปรับอากาศ 3 เครื่อง 20,000 60,000

14 เกาอ้ี 3 ตวั 1,000 3,000

15 รถเข็นสาํ หรับวางอปุ กรณ 3 คัน 500 1,500

รวม 295,000

62

ตารางท่ี 5 สารเคมีทใี่ ชส าํ หรบั เพาะเล้ยี งเน้อื เยื่อ

ลาํ ดบั สารเคมี ขนาดบรรจุ ราคา จาํ นวน เปนเงิน
ที่ หนวยละ (บาท)
1 แอมโมเนียมไนเตรท 1,000 กรัม/ขวด 2,200 1 2,200

2 โพแทสเซยี มไนเตรท 1,000 กรมั /ขวด 370 1 370

3 แคลซียมคลอไรด 500กรัม/ขวด 300 1 300

4 แมกนเี ซียมซัลเฟต 1,000 กรมั /ขวด 558 1 558

5 โพแทสเซยี มไดไฮโดรเจน 500 กรัม/ขวด 405 1 405
ฟอสเฟต

6 บอรคิ แอซิค 1,000กรัม/ขวด 588 1 588
526 1 526
7 แมงกานสี ซัลเฟต 500 กรัม/ขวด 342 1 342
2,675 1 2,675
8 ซิงคซัลเฟต 500กรัม/ขวด 4,100 1 4,100
700 1 700
9 โพแทสเซยี มไอโอไดด 1,000 กรมั /ขวด 2,836 1 2,836
670 1 670
10 โซเดียมโมลิบเดต 500กรัม/ขวด 440 1 440
907 1 907
11 คอปเปอรซลั เฟต 1,000 กรัม/ขวด 1,227 1 1,227
1,862 1 1,862
12 โคบอลทคลอไรด 500 กรัม/ขวด 2,140 1 2,140
10,752 1 10,752
13 โซเดียม อดี ที เี อ 500กรมั /ขวด 15,200 1 15,200
28 20 560
14 เฟอรสั ซัลเฟต 500 กรัม/ขวด 14,200 3 42,600
782 1 782
15 ไกลซนี 500 กรมั /ขวด 160 1 160
1,050 2 2,100
16 นโิ คตนิ คิ แอซิค 100 กรมั /ขวด
95,000
17 ไพรีดอกซินไฮโดรคลอไรด 25กรมั /ขวด

18 ไทอามนี ไฮโดรคลอไรด 25 กรัม/ขวด

19 มายโออนิ โนซทิ อล 1,000 กรัม/ขวด

20 เบนซิลอะมโิ นพวิ รนี 25 กรัม/ขวด

21 นาํ้ ตาลซูโครส 1 กิโลกรมั /ถุง

22 ผงวุน 10 กโิ ลกรมั /ปบ

23 ทวีน 20 500 มิลลลิ ติ ร/ขวด

24 โซเดียมไฮโปคลอไรด (คลอล็อก) 2.83 ลติ ร/แกลลอน

25 แอลกอฮอล 95 % 18 ลิตร/ปบ
รวม

63

ตารางที่ 6 วัสดอุ ปุ กรณทใี่ ชในการเพาะเล้ยี งเนื้อเย่ือ

ลําดบั วัสดอุ ปุ กรณ/ เคร่ืองมือ ขนาดบรรจุ ราคา จาํ นวน เปน เงนิ
ที่ หนว ยละ (บาท)
1 ถุงรอน 3.5 x 6 น้วิ 1 กก. 83 50 4,150

2 ถงุ หหู ิว้ 9 x 18 นวิ้ 1 กก. 57 50 2,850

3 ปากกาเคมี 12 ดาม/กลอง 132 1 132

4 ไฟแช็ค 12 อนั 60 1 60

5 ลวดเยบ็ กระดาษ เบอร 10 24 กลอง/แพ็ค 142 1 142

6 ทเ่ี ยบ็ กระดาษ 1 อัน 180 3 540

7 ดามมีด เบอร 3 1 อนั 55 12 660

8 ใบมดี เบอร 11(carbon still) 100 ใบ/กลอง 200 3 600

9 ปากคีบขนาด 8 นว้ิ 1 อนั 200 12 2,400

10 ตะแกรงลวดสแตนเลส 1 อนั 240 3 720

11 ตะเกียงแอลกอฮอล 1 อนั 70 3 210

12 ตะกราพลาสติก33x44x15 ซม. 1 ใบ 128 12 1,536

13 กระบอกฉดี 1 อนั 50 3 150

14 หมอตมอาหารพรอมทต่ี ักสแตนเลส 1 ชุด 1,000 1 1,000

15 ขวดแกวสาํ หรบั เกบ็ สต็อกอาหาร 1 ขวด 230 7 1,610

16 กระดาษรองตดั (ใชกระดาษรไี ซเคิล)

17 บกี เกอร 2000 มล. 1 ใบ 440 1 440

18 บกี เกอร 1,000 มล. 1 ใบ 240 1 240

19 บีกเกอร 500 มล. 1 ใบ 120 1 120

20 กระบอกตวง100 มล. 1 อนั 175 1 175

21 กระบอกตวง50 มล. 1 อนั 165 1 165

22 เสอื้ กาวน 1 ตัว 320 3 960
รวม 18,860

64

ขน้ั ตอนการเพาะเลย้ี งเนอื้ เย่อื พืช
1. คัดเลอื กตนพนั ธุดี
2. ผลติ แมพนั ธุพชื ตนกําเนิดปลอดโรค ทผ่ี านการตรวจสอบความปลอดโรค
3. ขยายและเพ่ิมปริมาณตนพืชในหองปฏบิ ัติการ
4. อนบุ าลตนออนพชื
5. อนุบาลขยายและเพ่ิมปรมิ าณตนพชื ในโรงเรือน
6. กระจายพันธุพชื

วิธีการเพาะเล้ยี งเนอื้ เยื่อพชื
1. คัดเลือกชิ้นสวนพืช สวนของพืชแทบทุกสวนไมวาจะเปนลําตน ตา ดอก ราก แม

กระทัง่ เนอ้ื เย่อื เซลล หรือโปรโตพลาส สามารถนํามาเพาะเลย้ี งเนื้อเยื่อและพัฒนาใหเกิด
เปน ตนพืชได ท้ังน้ขี ึน้ อยูกบั ชนดิ พชื และวัตถุประสงคที่ทําการเพาะเลีย้ งเนอื้ เย่ือ

2. การทาํ ความสะอาดชน้ิ สว นทนี่ าํ มาทาํ การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอื่ ควรเปน ชน้ิ สว นทสี่ ะอาด
ปราศจากเช้อื จุลินทรียตางๆ ดังนน้ั จึงตองนาํ มาฆาเช้อื ดวยวิธีการฟอกฆาเช้ือ แลวลางดวย
นํ้านึ่งท่ีผานการฆาเชื้อแลว

3. การตัดเน้ือเยื่อ ชิ้นสวนพืชที่ทําการฆาเชื้อแลว นําเขาตูปลอดเช้ือตัดเปนชิ้นเล็กๆ
วางลงบนอาหารสงั เคราะหท่ผี านการฆาเชอื้ แลว

4. การบมเล้ียงเน้อื เย่ือ นําขวดอาหารท่มี ีชิ้นสวนพืชวางบนชน้ั ทม่ี ีแสงสวาง 2,000 -
4,000 ลักซ วนั ละ 12 - 16 ช่ัวโมง ในหองท่คี วบคมุ อุณหภูมิ 25 - 28 OCจนกระทั่งช้นิ สวน
ของพชื มกี ารพัฒนาเปน ตนทีส่ มบูรณ

5. การตดั แบงและเลี้ยงอาหาร ตัดแบงชิน้ สวนพืช และเปล่ยี นอาหารเพื่อเพมิ่ ปริมาณ
ของตนพืชทุก 1 - 2 เดอื น ขึ้นอยูกับชนิดของพชื และระยะการเจริญเตบิ โต ทาํ การเปลยี่ น
อาหารจนกระทง่ั พืชเจรญิ เติบโตเปนตนทสี่ มบรู ณ

6. การยายปลูกในสภาพธรรมชาติ นาํ ตนพืชที่มยี อดและรากทสี่ มบรู ณออกจากขวด
ลา งวนุ ทต่ี ดิ กบั รากออกใหหมดดว ยนาํ้ สะอาด และผง่ึ ลมใหแหง แชนาํ้ ยาปอ งกนั กาํ จดั เชอ้ื รา
นาํ ไปปลกู ในวสั ดทุ โี่ ปรง สะอาดระบายนา้ํ ไดด ี นาํ ไปวางไวใ นทร่ี ม และพรางแสง 60 เปอรเ ซน็ ต
ประมาณ 4 สปั ดาหหรือจนกระทงั่ ตนพืชตง้ั ตัวได

65

ภาพท่ี 34 การเพาะเล้ยี งเน้ือเยอ่ื ปูเล
ก. คดั เลือกและตดั แตงชนิ้ สวนพชื
ข. ทําความสะอาดฟอกฆาเชอื้
ค. นาํ เขาเครอ่ื งเขยาฟอกฆาเช้ือ
ง. ชน้ิ สวนพชื ทผ่ี านการฟอกฆาเชื้อแลว
จ. ตัดชน้ิ สวนพืชวางลงบนอาหารสังเคราะห
ฉ. ตดั แบง ขยาย เพิม่ ปริมาณ

66

ภาพที่ 34 การเพาะเล้ียงเนอ้ื เย่ือปูเล (ตอ)
ช. ชน้ิ สวนพืชวางลงบนอาหารสังเคราะห
ซ. เพาะเลี้ยงในสภาพแวดลอมที่ควบคุมได
ฌ. ปเู ลพรอมท่จี ะเขาระบบอนุบาล
ญ. อนุบาลปูเล

การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยื่อพืชในเชงิ พาณิชย
การนาํ ความรูดงั กลาวมาประยกุ ตเขากบั ธรุ กจิ เชงิ พาณชิ ย จะเปน ทางเลอื กอาชพี หนง่ึ

ทีส่ รางรายไดใหกับเกษตรกรหรอื ผูทีส่ นใจอยางตอเนอ่ื ง
เงื่อนไขการดําเนินธุรกจิ

1. ผูทท่ี าํ ธรุ กจิ ตองมคี วามรูหรอื ผานการอบรมการเพาะเลย้ี งเนือ้ เย่อื พชื มากอน
ควรมีนักวิชาการทมี่ ีความรูและประสบการณเปน ทป่ี รึกษา

2. ตองมเี งนิ ทุนหมนุ เวยี นในการทําธรุ กิจอยางนอย 200,000 บาท
3. มีตลาดรองรบั

67

ตนทุนการผลิตและผลตอบแทน
1. ตนทนุ เรม่ิ ตนคอ นขา งสงู โดยเฉพาะเครอื่ งมอื และอปุ กรณอ ยา งนอ ย 500,000 บาท
2. ผลตอบแทนท่ไี ดรับจากการทําธรุ กจิ จะไดประมาณชวงปที่ 4 เปน ตนไป
อยางนอย 30,000 บาทตอเดอื น
3. ธรุ กจิ ไดรบั ผลตอบแทนอยางตอเนอื่ ง เนอื่ งจากสามารถขยายพนั ธพุ ชื ไดตลอดทง้ั ป
4. ผลตอบแทนระยะยาว คอื มกี ารตดิ ตอ จากกลมุ ลกู คา ทต่ี อ งการพนั ธไุ มอ ยา งตอ เนอ่ื ง

ขน้ั ตอนทคี่ วรดาํ เนินการ
1. วางแผนและเปาหมายการผลติ ในเชงิ ธุรกิจทงั้ ในระยะสน้ั และระยะยาว
2. วิเคราะหความเปน ไปไดทางการผลิต ขอมลู การลงทนุ ขอมลู การตลาด
และศึกษากลยุทธทางการตลาด
3. ควบคุมปรมิ าณและคณุ ภาพผลผลิตใหไดตามตองการ
4. หากลุมลูกคาเปาหมาย หรือการหาตลาดรองรับเช่อื มโยงกับธุรกจิ การเพาะเลย้ี ง
เนอ้ื เยอ่ื อ่ืนๆ
5. แกไขปญ หาทเ่ี กดิ ขึ้นในขณะทก่ี าํ ลงั ทําธุรกจิ
6. ศกึ ษาขอ มลู เกย่ี วกบั เทคโนโลยกี ารเพาะเลยี้ งเนอ้ื เยอื่ พชื และการพฒั นาอยา งตอ เนอ่ื ง
7. ประเมินผลความกาวหนาของการดําเนินธุรกจิ

พืชทค่ี วรดําเนนิ การในเชิงการคา
1. พืชเศรษฐกจิ เชน หนอไมฝรัง่ กลวย สับปะรด ฯลฯ
2. พชื กินแมลง เชน หมอขาวหมอแกงลงิ กาบหอยแครง ฯลฯ
3. ไมดอกไมประดบั เชน กลวยไม หนาวัว เบญจมาศ บอนสี
อะโกลนมี า ฟโลเดนดรอนฯลฯ
4. ไมน้าํ เชน อะนูเบยี ส ชบานา้ํ อะเมซอน ฯลฯ

68

บทสรุปการขยายพันธุพืช

การขยายพนั ธุพชื แบงไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คอื การขยายพันธุแบบอาศัยเพศ
หรอื แบบเพาะเมล็ด และการขยายพันธุแบบไมอาศยั เพศ หรอื การขยายพันธุดวยเนื้อเย่ือช้นิ
สวนตางๆ ของพชื โดยมวี ตั ถปุ ระสงคและเปาหมายทแี่ ตกตางกนั ทง้ั นี้ การนาํ การขยายพนั ธุ
พืชมาใชใหประสบความสําเร็จมากนอยเพียงใด ข้ึนอยูกับผูปฏิบัติตองมีความรูความเขาใจ
รวมทงั้ มที กั ษะและประสบการณท ฝ่ี ก ฝนจนเกดิ ความชาํ นาญ จงึ สามารถนาํ มาปรบั ประยกุ ต
ใชใหเกิดประโยชนตอภาคการเกษตรไดอยางมีประสิทธภิ าพ

การขยายพนั ธพุ ชื แบบอาศยั เพศหรอื แบบเพาะเมลด็ จะประสบผลสาํ เรจ็ มาก
นอยเพยี งใด ขนึ้ อยกู บั ปจ จยั ทสี่ าํ คญั คอื เมลด็ ตอ งมคี ณุ ภาพดี มลี กั ษณะทางพนั ธกุ รรมตาม
ตองการ ไดเมล็ดพันธุจากแหลงท่ีมีคุณภาพ พนจากสภาพการพักตัว และมีเปอรเซ็นต
การงอกสูง ดังนั้น กอนเพาะควรมีการทดสอบคุณภาพของเมล็ดพันธุ โดยวิธีการทดสอบ
ความงอกของเมล็ด และเลอื กวิธีทเี่ หมาะสมกับพืชแตละชนดิ

การขยายพันธุโดยการปกชํา การขยายพันธุโดยวิธีนี้จะประสบความสําเร็จ
มากนอยเพยี งใด ขน้ึ อยกู บั การคดั เลอื กชนดิ พชื และกงิ่ พนั ธทุ นี่ าํ มาขยาย พนั ธตุ องนาํ มาจาก
ตน แมพ นั ธทุ ส่ี มบรู ณ ปราศจากโรค และแมลงศตั รู เมอ่ื นาํ ไปปก ชาํ จะมเี ปอรเ ซน็ ตก ารรอดสงู
ตง้ั ตวั ไดเ รว็ เจรญิ เตบิ โตไดด ี และถกู ตอ งตามลกั ษณะสายพนั ธขุ องพชื แตล ะชนดิ ซงึ่ ในปจ จบุ นั
เปน วธิ ที ี่นยิ มทํากนั เปนอตุ สาหกรรม โดยเฉพาะกลุมพืชประเภทไมดอกไมประดับ เน่ืองจาก
เปน วธิ ที ปี่ ฏบิ ตั ไิ ดง า ย ใชร ะยะเวลาในการผลติ ตน พนั ธสุ นั้ ตน ทนุ ตา่ํ และผลติ ไดค รงั้ ละจาํ นวนมาก
จงึ กอ ใหเ กดิ กลมุ เกษตรกรทผ่ี ลติ ขยายพนั ธพุ ชื ในเชงิ การคา ทปี่ ระสบความสาํ เรจ็ อยา งมากมาย
เชนกลุมเกษตรกร คลอง 15 ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก และตลาดไมดอกไม
ประดับภายในตลาดไท เปน ตน

การขยายพันธโุ ดยการตอนกงิ่ เปน วิธกี ารขยายพันธุทง่ี าย ทําไดสะดวก ปจจุบัน
การขยายพนั ธุดวยวธิ กี ารตอนกงิ่ จะมวี ธิ กี ารปฏบิ ตั แิ ละดแู ลเปน พเิ ศษ ประกอบกบั พชื แตละ
ชนิดมีการเจริญเติบโต และการออกรากท่ีแตกตางกัน เน่ืองจากมีพันธุกรรมท่ีแตกตางกัน
ดังน้ันผูปฏิบัติควรสังเกตพืชแตละชนิดเหมาะสมกับการขยายพันธุแบบใด การตอนก่ิงควร
เลือกก่ิงที่ยังมีสีเขียวปนน้ําตาล หรือกิ่งก่ึงออนกึ่งแก เน่ืองจากจะกระตุนในการออกรากดี
กวากิง่ ทมี่ ีสนี าํ้ ตาลลวนหรือกิ่งแก

69

การขยายพนั ธโุ ดยการตดิ ตา ตอ กง่ิ และทาบกง่ิ เปน การขยายพนั ธทุ ห่ี วงั ประโยชน
จากตนตอ คือ ชวยหาอาหาร ทนตอโรค ตนตอที่ไดจะไดจากวิธีการเพาะเมล็ด การขยาย
พนั ธุดวยวธิ ดี งั กลาวนจี้ ะประสบผลสาํ เรจ็ มากหรอื นอย ขน้ึ อยูกบั ความสามารถในการเชอ่ื ม
ประสานตดิ ของรอยแผล ทง้ั จากของตนตอและจากก่ิงพนั ธุ ดงั น้ันเทคนิคและวิธีปฏบิ ัตติ อง
ทําแผลใหสะอาด วางประกบรอยแผลใหบริเวณเนื้อเยื่อเจริญของพืชทั้งสองแนบสนิทกัน
ใหมากท่ีสุด และควบคุมสภาพแวดลอมในระยะการเชื่อมประสานติดรอยแผล สิ่งท่ีสําคัญ
ท่ีสุดของการขยายพันธุดวยวิธีน้ีคือ ความสัมพันธทางพันธุกรรมของพืชจะตองอยูในสกุล
(Genus) เดยี วกัน

การขยายพันธุโดยการแบงสวนและแยกสวน จะนิยมใชวิธีการนี้ขยายพันธุกับ
พชื ทมี่ ีสวนของราก หรอื ลาํ ตนเจรญิ อยูใตดนิ หรือระดับผวิ ดิน ซ่งึ ทําหนาที่เกบ็ สะสมอาหาร
เม่ือเกดิ การแตกหนอ แตกกอ ไหล หรอื จกุ จะใชวิธีการแบงสวนหรือแยกสวน โดยจะใชวธิ ี
การขยายพันธุดวยวิธีการตอนก่ิง การติดตา การตอก่ิง และการทาบกิ่งไมได เปนวิธีการ
ขยายพันธุที่งาย ไมตองการเทคนิคพิเศษมากนัก การที่จะไดจาํ นวนตนพืชมากหรือนอยข้นึ
อยกู บั การแตกหนอ หวั เหงา ไหล หรอื จกุ ของพชื แตล ะชนดิ ดงั นน้ั การขยายพนั ธโุ ดยการแบง สว น
และแยกสวน ควรศกึ ษาวธิ ีทเี่ หมาะสมกับพชื แตละชนิดใหมากที่สุด จงึ จะประสบผลสาํ เร็จ
ในการขยายพนั ธุดวยวธิ ดี งั กลาวนี้

การขยายพันธุโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเย่ือ ปจจุบันการขยายพันธุโดยการ
เพาะเล้ียงเนื้อเยื่อมีการแขงขันท่ีสูงมาก เนื่องจากในตลาดภาคการเกษตรทั้งในประเทศ
และตางประเทศ ตองการพชื พันธุดี มีคณุ ภาพ ปลอดจากโรค และแมลงศตั รู ยังมปี รมิ าณ
ไมเพยี งพอตอความตองการ พชื เศรษฐกจิ ทสี่ าํ คญั เชน กลวยไม กลวย ออย และหนอไมฝรง่ั
นยิ มขยายพนั ธดุ ว ยวธิ กี ารเพาะเลย้ี งเนอื้ เยอ่ื ดงั นน้ั การเพาะเลย้ี งเนอ้ื เยอ่ื พชื จงึ เขา มามบี ทบาท
สําคญั ในการพฒั นาเทคนิคดานการขยายพนั ธุพืช เพ่ือใหไดตนพชื จํานวนมากอยางรวดเร็ว
ในเวลาท่ีกําหนด โดยคณุ ภาพของตนพชื ยังเหมือนเดิมทกุ ประการ

70

สบื คนแหลงขอ มูลเพม่ิ เตมิ

กรมสง เสรมิ การเกษตร. กลมุ พชื สวน. กองสง เสรมิ พนั ธพุ ชื . ม.ป.ป. คมู อื การขยายพนั ธพุ ชื .
เจรญิ รฐั การพิมพ.

กรมสงเสรมิ การเกษตร. 2546. การเพาะเลี้ยงเนอ้ื เย่ือกบั การขยายพนั ธพุ ืช. กรุงเทพฯ :
โรงพมิ พชุมนมุ สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากดั .

จิรา ณ หนองคาย. 2551. หลกั และเทคนคิ การขยายพนั ธุพืชในประเทศไทย. กรุงเทพฯ :
สํานักพมิ พโอเดียนสโตร.

จวงจนั ทร ดวงพตั รา. 2521. เทคโนโลยเี มล็ดพันธ.ุ พมิ พครั้งท่ี 2. กรุงเทพฯ :
ภาควชิ าพืชไร มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร.

ณฐั หทยั เอพาณิช. 2547. การตรวจสอบคุณภาพเมล็ดพันธุ.
สาํ นักวจิ ยั พัฒนาเทคโนโลยชี วี ภาพ กรมวชิ าการเกษตร.

นันทิยา วรรธนะภูต.ิ 2538. การขยายพันธุพชื . พมิ พคร้งั ท่ี 2. กรงุ เทพฯ :
โอ.เอส.พรนิ้ ต้งิ เฮาส.

ทองพูล วรรณโพธ์.ิ 2552. คูม อื การขยายพนั ธพุ ชื . พิมพครั้งท่ี 8. กรุงเทพฯ :
สาํ นกั พิมพนาคา.

มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร. สาํ นกั สง เสรมิ และฝก อบรม. ศนู ยส ง เสรมิ และฝก อบรมการเกษตร
แหง ชาต.ิ 2530. การขยายพนั ธพุ ชื . มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร วทิ ยาเขตกาํ แพงแสน :
โรงพมิ พศูนยสงเสรมิ และฝกอบรมการเกษตรแหงชาติ.

สนนั่ ขําเลศิ . 2541. หลักการและวิธปี ฏบิ ัติการขยายพนั ธพุ ืช. พมิ พครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ :
สาํ นกั พมิ พรั้วเขียว.

แสนสุข รตั นผล และชยั ยงค ชูจันทร. 2546. การอนุบาลพืชและโรงเรอื นขยายพนั ธุพืช.
สํานกั พัฒนาคณุ ภาพสินคาเกษตร กรมสงเสริมการเกษตร.

Peter, Klock. 1997. Plant Propagation. London : Wellington House.
www.mahasarakham.doae.go.th
www.bwc.ac.th
www.aopdhoz.doae.go.th/propagation.pdf
www.tistr.or.th
www.mastergardenproduct.com

71

ตารางท่ี 7 ชนดิ พืชและวิธีการขยายพนั ธุพ ชื

วธิ ีการขยายพนั ธุ
อาศยั รากจากตน เอง อาศัยรากจากตนอื่น
ชื่อพืช การแยกสว น การแบงสว น
เพาะเม ็ลด
การตอน
การ ปก ํชา
ก่ิงตะเกียง
เห งา
หัว
ห นอ
ไหล
หัว
แงง
จุก
การตอก่ิง
การติดตา
การทาบก่ิง

พชื ผัก - สมุนไพร x x x
xx
1. มนั ฝรั่ง x x x
2. แคนตาลูป x
3. กะเพรา โหระพา x x
4. มะเขือเทศ มะเขือเปราะ x x x
5. ขิง x
6. กะหลํ่าปลี กะหล่าํ ดอก x x
7. ผกั ชีฝรั่ง x
8. หอมแดง หอมหัวใหญ x
9. กระเทียม x
10. แตงโม แตงกวา ฟก ทอง xx
11. มะระจนี x
12. พรกิ x
13. กระเจยี๊ บเขยี ว
14. หนอไมฝ รั่ง x
15. ผกั บงุ คะนา กวางตุง
16. ถ่วั ฝก ยาว ถั่วพู
17. ขม้ินชนั
18. วานหางจระเข
19. ตะไครหอม

72

ตารางท่ี 7 ชนิดพชื และวิธีการขยายพันธพุ ชื (ตอ)

วิธีการขยายพันธุ
อาศัยรากจากตนเอง อาศัยรากจากตน อ่ืน
ชอื่ พชื การแยกสวน การแบง สว น
เพาะเม ็ลด
การตอน
การ ปก ํชา
ก่ิงตะเกียง
เห งา
หัว
ห นอ
ไหล
หัว
แงง
จุก
การตอก่ิง
การติดตา
การทาบก่ิง

20. ฟาทะลายโจร x x
21. หนุมานประสานกาย xxx x
22. พญายอ x
23. เพชรสังฆาต x
24. บอระเพด็ x
25. พรกิ ไทย x
26. มะแวง เครือ x
27. ไพล xx
28. กวาวเครอื
29. บุกเนื้อทราย x
30. สม แขก x

ไมด อก ไมประดับ x

1. กลวยไม x xx x x
2. มะลิ x xx
3. ดาวเรือง
4. ดอกรัก xx
5. กหุ ลาบ xx
6. เบญจมาศ
7. หนาวัว x
8. บอนสี xx
xx

x

73

ตารางท่ี 7 ชนดิ พืชและวิธีการขยายพันธุพชื (ตอ )

วธิ กี ารขยายพนั ธุ
อาศัยรากจากตนเอง อาศัยรากจากตนอ่นื
ชื่อพืช การแยกสว น การแบงสว น
เพาะเม ็ลด
การตอน
การ ปก ํชา
ก่ิงตะเกียง
เห งา
หัว
ห นอ
ไหล
หัว
แงง
จุก
การตอก่ิง
การติดตา
การทาบก่ิง

9. บวั หลวง x xx

10. ชบา x

11. เข็ม x

12. วา นสี่ทศิ xx

13. ชวนชม xx x
x
14. ลีลาวดี xx

15. อะโกลนีมา xx

16. บานชนื่ ดาวกระจาย ดาวเรอื ง x

17. ผกากรอง เฟอ งฟา x

18. โกสน x

19. โปยเซยี น เทียนทอง นอี อน x

พชื ไร x

1. ขาว

2. ออ ย x

3. ขาวโพด x

4. ขาวฟาง x

5. ยาสูบ x

6. ลกู เดอื ย ถ่วั เหลอื ง ถั่วเขยี ว x

7. ถว่ั ลสิ ง ทานตะวนั งา x

8. มันสําปะหลงั x

74

ตารางท่ี 7 ชนิดพชื และวธิ กี ารขยายพนั ธพุ ืช (ตอ )

วิธีการขยายพันธุ
อาศยั รากจากตนเอง อาศยั รากจากตน อน่ื
ชอื่ พชื การแยกสว น การแบงสว น
เพาะเม ็ลด
การตอน
การ ปก ํชา
ก่ิงตะเกียง
เห งา
หัว
ห นอ
ไหล
หัว
แงง
จุก
การตอก่ิง
การติดตา
การทาบก่ิง

9. ฝาย ปอ x
10. สบั ปะรด xx

ไมผ ลไมยืนตน x

1. กลวย x xxx
2. แกว มงั กร xxx xxx
3. ทุเรยี น xx
4. ฝรง่ั xx x
5. ขนุน xxx xx
6. ชมพู xxx
7. ลาํ ไย xx xxx
8. ลองกอง ลางสาด xx xxx
9. ล้ินจ่ี xx xx
10. มะมว ง xx
11. มงั คุด xx xx
12. มะละกอ xx xx
13. สมโอ xx
14. เงาะ xx x
15. สละ ระกํา xx xx
16. นอ ยหนา xx
x

75

ตารางท่ี 7 ชนดิ พืชและวธิ กี ารขยายพันธพุ ืช (ตอ)

วิธกี ารขยายพนั ธุ
อาศัยรากจากตนเอง อาศยั รากจากตน อนื่
ชือ่ พืช การแยกสว น การแบงสวน
เพาะเม ็ลด
การตอน
การ ปก ํชา
ก่ิงตะเกียง
เห งา
หัว
ห นอ
ไหล
หัว
แงง
จุก
การตอก่ิง
การติดตา
การทาบก่ิง

17. กระทอน xx xxx
18. มะนาว xxx x
19. มะขามหวาน มะขามเปรย้ี ว xxx xxx
20. สม เขียวหวาน xxx xx
21. มะปราง มะยงชดิ xxx xxx
22. สตรอเบอรร ี x
23. องุน xxx xxx
24. มะพราว x
25. ชา xx xx
26. กาแฟ x
27. ยางพารา x x

พชื นาํ้ มัน x
x
1.ปาลม นํา้ มัน
2. สบดู าํ

76

ตารางที่ 8 แหลงผลิตขยายพนั ธไุ มด อกไมประดบั เพื่อการคา

ชนิดพชื แหลง ผลติ ทอี่ ยู/เบอรโทรศพั ท

ไมประดบั นงพร เนอสเซอร่ี 33/2 หมู 4 ถ.รังสิต-นครนายก ต.บงึ สนั่นรักษ
อ.ธญั บรุ จี .ปทมุ ธานี 12110 โทรศพั ท 086-602-6869

ไมประดับ สวนรวมพันธุ 111 หมู 5 ต.เอกราช อ.ปาโมก จ.อางทอง 14130
โทรศพั ท 081-917-2571

ไมประดับ นายพชิ ญะ วัชจติ พนั ธ 7 แยก 9 ซ.หมูบานเสรวี ิลลา ถ.ศรีนครินทร
แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรงุ เทพฯ 10250

ไมประดบั บริษัทไทยซิงทรอพปคอล 99 หมู 5 ต.เจดยี หัก อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000
พลานทเนซิ เซอรี จาํ กดั โทรศพั ท 02-561-0995-6

ไมประดับ สวนกฤษณาเฟองฟาแฟนซี 25/1 หมู 6 ต.บางแมนาง อ.บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140
โทรศพั ท 089-969-0988

ไมป ระดบั ชวนชม สวนไพสฐิ ฟารม 93 หมู 6 ต.วดั เพลง อ.วัดเพลง จ.ราชบรุ ี 70170

ไมประดับ สวนสมนึกพันธุไม 31/4 หมู 8 ต.ชะอม อ.แกงคอย จ.สระบุรี 18110
ยืนตนขนาดใหญ

ไมประดับ นางสาวเพญ็ วดี กันกาญจนะ 99/5163 หมบู า นประดบั ดาว 5-6 ซ.ทา อฐิ ถ.รตั นาธเิ บศก
ต.ทาอิฐ อ.ปากเกรด็ จ.นนทบรุ ี 11120
โทรศัพท 089-669-1931

ไมประดบั สวนไม ส.รุงเรือง 17 หมู 4 ต.คลองใหญ อ.องครักษ จ.นครนายก 26120
ยืนตนขนาดใหญ

ไมประดบั สวนสมนึกพนั ธุไม 31/4 หมู 8 ต.ชะอม อ.แกงคอย จ.สระบุรี 18110
ยนื ตนขนาดใหญ

ไมประดับ นายอาทิตย ปญ ญาเมา 107 หมู 10 ต.บานแม อ.สนั ปาตอง จ.เชยี งใหม 50120
โทรศัพท 082-220-5483

ไมประดับ นายจักรพนั ธ วนชิ กลุ 18/13 หมู 6 ต.ทาชุมพล อ.โพธาราม จ.ราชบุรี 70120
โทรศัพท 032-741-3478

ไมประดับ นายวรพนั ธ บาํ รงุ ไทยชยั ชาญ 2 หมู 4 ซ.เพชรหึงษ 22 ต.บางกระสอบ อ.พระประแดง
จ.สมุทรปราการ 10130 โทรศัพท 085-326-3377

77

ตารางท่ี 8 แหลง ผลติ ขยายพันธไุ มดอกไมประดบั เพ่อื การคา (ตอ)

ชนิดพืช แหลงผลติ ทอี่ ยู/เบอรโ ทรศัพท

ลีลาวดี สวนสามพรานพนั ธุไม 10 หมู 4 ต.หอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110
โทรศัพท 081-942-8068

ลีลาวดี ชวนชม สวนชวนชมลลี าวดปี รชี า 70 ม.2 ต.บางพลับ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120

ชวนชม นางสาวพวงพยอม 81 หมู 5 ต.ขุนพทิ กั ษ อ.ดําเนินสะดวก จ.ราชบุรี 70130
ปานพงษา โทรศพั ท 081-945-7394

ชวนชม สวนอรอนงค ชวนชม 87 หมู 13 ต.รางหวาย อ.พนมทวน จ.กาญจนบุรี 71170
โทรศัพท 081-856-7799

เฟองฟา นายสวรรค แกวบญุ นาํ 38/ 52 หมู 14 ต.บางแมนาง อ.บางใหญ จ.นนทบรุ ี 11140
โทรศัพท 081-914-8033

อโกลนีมา นายอนชุ า จกุ มงคล 8/1 หมู 8 ต.แหลมบัว อ.นครชยั ศรี จ.นครปฐม 73120
โทรศพั ท 081-482-9279

อโกลนมี า นายวิระ แนวพญา 13/ 13 หมู 9 ซ.เพชรหึง 22 ต.บางยอ อ.พระประแดง
จ.สมุทรปราการ 10130

อโกลนีมา งาชาง สวนบรรณนาไศย หมู 1 ต.เกษตรสวุ รรณ อ.บอทอง จ.ชลบรุ ี 20270
ลิน้ มังกร โทรศัพท 081-864-9344

อโกลนมี า หนา ววั นางสาวรชั นี พงษแ สนยาธรรม 7/4 หมู 3 ต.เกษตรพฒั ตา อ.บานแผว
เดป โฮยา จ.สมุทรสาคร 74120 โทรศพั ท 081-441-3120

งาชาง ล้ินมังกร สวนณฐั ชา หมู 8 ต.บางระกาํ อ.บางเลน จ.นครปฐม 73130

ตนพันธุกุหลาบ คุณเกษม ชยั เฉพาะ หมู 8 ต.หนองหาร อ.สันทราย จ.เชียงใหม
โทรศพั ท 085-617-1895

งาชาง ลน้ิ มงั กร นายพนั ทวี ทองสขุ 10/12 หมู 4 ต.วดั ละมุด อ.นครชยั ศรี จ.นครปฐม 73120
โทรศพั ท 081-763-6139

กระบองเพชร สวนกระทอมลุงจรณ 81/6 หมู 2 ซ.วดั สิงห ถ.ปทมุ ธานี-สามโคก ต.สามโคก
โปยเซยี น ปรง อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี 12160

กลวยไม สวน Grandiflora 102 หมู 3 ต.แมโปง อ.ดอยสะเก็ด จ.เชียงใหม 50220

78

ตารางท่ี 8 แหลง ผลิตขยายพันธไุ มดอกไมประดบั เพ่อื การคา (ตอ )

ชนดิ พชื แหลงผลติ ทอี่ ย/ู เบอรโ ทรศพั ท

กลวยไม สวนพราวออรคิดส 130 หมู 6 ต.ปาตุม อ.พราว จ.เชยี งใหม 50190
เนสิ เซอรรี่

กลวยไม บรษิ ทั แอร ออรคิดส แอนด 23/1ม.3 ต.นราภิรมย อ.บางเลน จ.นครปฐม
แลป จาํ กัด โทรศพั ท 034-298-238, 089-494-9090

กลวยไม บริษทั มานะออรคิดส 116 ม.1 ถ.บรมราชชนนี ต.บางเตย อ.สามพราน จ.นครปฐม
โทรศัพท 081-809-9932

กลวยไม บริษทั บางกอก 34/19 หมู 7 ถ.เพชรเกษม หนองแขม กรงุ เทพฯ
ฟลาวเวอรเซน็ ต จาํ กัด โทรศพั ท 02-421-0020-4

กลวยไม บรษิ ัทอเนก 309 ถ.ดาํ รงครกั ษ แขวงคลองมหานาค
ออคดิ จํากัด เขตปอ มปราบศตั รพู า ย กรงุ เทพฯ โทรศพั ท 02-811-0778

กลวยไม บรษิ ัทไพฑรู ย สะพลี จํากดั 93/57 ชั้น 5 เดอะโมเดอรนกรูปทาวเวอร ถ.แจงวฒั นะ
ต.คลองเกลือ อ.ปากเกร็ด จ.นนทบรุ ี 11120
โทรศพั ท 02-981-4203

กลวยไม บรษิ ทั ประยรู 51/164 หมู 2 อสุ าหะ 2 ถ.รังสติ -นครนายก
ออรคดิ จํากดั อ.ธญั บรุ ี จ.ปทุมธานี โทรศพั ท 02-990-9357

กลวยไม บริษัทออรคิเม็กซ โกลเบิล 16/5 หมทู ี่ 4 ต.ออ มนอ ย อ.สามพราน จ.นครปฐม โทรศพั ท
เทรด จํากดั 02 - 812–5562-4

กลวยไม บริษัทสภุ าออรคดิ จํากดั 559/77 หมู 3 ถ.เพชรเกษม ซ.92 บางแค
ภาษีเจริญ กรงุ เทพฯ โทรศพั ท 02-413-0784

กลวยไมสกุล บ. แอร ออรค ดิ ส แอนด แลป 23/1 ม. 3 ตาํ บลนราภริ มย อาํ เภอบางเลน จงั หวดั นครปฐม
หวาย จาํ กัด โทรศัพท 034-298-238, 08–9494-9090

กลวยไมสกุล บ. ประยรู ออรคดิ จํากัด 1/164 หมู 2 อสุ าหะ 2 รงั สติ -นครนายก ธญั บรุ ี ปทุมธานี
หวาย โทรศัพท 02-990-9357

กลว ยไมส กลุ หวาย บ.ออรค เิ มก็ ซ โกลเบลิ เทรด 16/5 หมูที่ 4 ตาํ บลออมใหญ อําเภอสามพราน
และสกลุ มอ็ คคารา จํากดั จงั หวัดนครปฐม โทรศัพท 02-812-5562-4

79

ตารางที่ 8 แหลงผลติ ขยายพันธุไมดอกไมประดับเพือ่ การคา (ตอ)

ชนดิ พืช แหลง ผลิต ทอี่ ย/ู เบอรโ ทรศพั ท

ม็อคคารา บ. สภุ าออรคดิ จํากดั 559/77 หมู 3 ถ.เพชรเกษม ซ.92 บางแค ภาษเี จรญิ กทม
โทรศพั ท 02-413-0784, 454-0797

หญานวลนอย สวนสุพจนไรหญา หมูที่ 8 ต.หนองสามวงั อ.หนองเสอื จ.ปทมุ ธานี 12170

มะลิ สวนคณุ ธนพรรณ เลศิ ปรชี า ตลาดไมด อกไมป ระดบั คลอง 15 อ.องครกั ษ จ.นครนายก
โทรศพั ท 037-322-188 ,082-711-5720, 081-772-5321

ดาวเรืองและ AFM Group 1. สํานกั งานใหญ จ.เชียงใหม 399 ม.5
ไมดอก ถ.เชยี งใหม-แมโจ ต.หนองหาร อ.สันทราย
ไมกระถาง จ.เชยี งใหม โทรศพั ท 053-353-8105

2. สํานกั งานกรงุ เทพ ฯ(ปากคลอง) 98 ถ.จกั รเพชร
แขวงวงั บูรพาภิรมย เขตพระนคร กรงุ เทพ ฯ
โทรศพั ท 02-226-21301

ตน พนั ธเุ บญจมาศ มูลนิธิโครงการหลวง สาํ นกั งานโครงการหลวง 65 ถนนสเุ ทพ ต.สุเทพ
อ.เมือง จ.เชียงใหม 50200
โทรศพั ท 053-278332, 278204, 277094

ตน พนั ธเุ บญจมาศ ศนู ยส ง เสรมิ และพฒั นาอาชพี 85 ถนนเกษตร ตาํ บลโนนสูง อําเภอโนนสูง
การเกษตร จ.นครราชสีมา จังหวดั นครราชสีมา 30160
(พนั ธุพชื เพาะเลีย้ ง) โทรศพั ท 044-379617 โทรสาร 044-379617 ตอ 100

ตน พนั ธเุ บญจมาศ สวนสตางคทอง อาํ เภอแมลาว จงั หวดั เชยี งราย โทรศพั ท 089-8515668

พนั ธุไมผล สวนปาลมพันธุไม 79/2 หมู 4 ต.หอมเกร็ด อ.สามพราน จ.นครปฐม 73110
โทรศพั ท 081-825-5066

ดาวเรืองและไม Thai seed&AgricultureCo.,ltd 1/1 พหลโยธนิ 40 ซ.เสนานิคม เขตจตจุ ักร
ดอกไมกระถาง
กรงุ เทพฯ 10900

โทรศพั ท 02-940-1698-9

ดาวเรืองและไม บรษิ ทั ทองเฉลมิ โกลด จาํ กดั 1.211/4 ม.8 ต.สวนหลวง อ.กระทุมแบน
ดอกไมกระถาง
จ.สมุทรสาคร 74100

โทรศพั ท 034-460-769, 081-846-6694

80

ตารางท่ี 8 แหลงผลติ ขยายพันธไุ มดอกไมประดับเพอ่ื การคา (ตอ)

ชนิดพืช แหลง ผลิต ท่ีอย/ู เบอรโทรศพั ท

มะลิ สวนคณุ ธนพรรณ เลศิ ปรชี า ตลาดไมด อกไมป ระดบั คลอง 15 อ.องครกั ษ จ.นครนายก
โทรศพั ท 037-322-188 082-711-5720 081-772-5321

ตนพันธุหนาวัว บริษทั เอส พี เอฟ อนิ เตอร 300/9 ลาดพราวซอย 1 , แขวงลาดยาว
เนชนั่ แนล จาํ กดั (ตวั แทนนาํ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ
เขาตนพนั ธุหนาวัว) โทรศัพท 02-5125450, 081-3411802

หัวพันธุปทมุ มา สวนอุบลรัตน 132 หมู 1 บา นทงุ ยาว ต.ปา ปอ ง อ.ดอยสะเกด็ จ.เชยี งใหม
โทรศพั ท 089-6344305

หวั พนั ธปุ ทมุ มารบั บริษทั เชยี งใหมเซทคอน 178 หมู 5 ตําบลทาทุงหลวง อําเภอแมทา ลําพนู 51170
ซือ้ และสงออก จาํ กัด โทรศัพท 053-574949

หัวพันธุปทุมมา นางลาํ พู เมฆคนอง 9/13 หมู 2 ต.หนองจอม อ.สันทราย จ.เชียงใหม
รบั ซอ้ื และสง ออก โทรศพั ท 089-6353931

หัวพันธุปทุมมา นางบวั ไหล เคหา 108 หมู 10 ต.หนองหาร อ.สนั ทราย จ.เชียงใหม
รบั ซอ้ื และสง ออก โทรศพั ท 083-8695556

หวั พนั ธปุ ทมุ มารบั นายวิเชยี ร จอมวง 23/3 หมู 3 ต.แมหอพระ อ.แมแตง จ.เชียงใหม
ซ้ือและสงออก โทรศพั ท 086-1165539

81

ตารางที่ 9 แหลง ผลติ ขยายพันธุสมนุ ไพรเพอื่ การคา

ชนดิ พืช แหลงผลิต ท่ีอย/ู เบอรโ ทรศัพท

สมนุ ไพร นายบุญชวย สทุ ธธิ รรม 305 หมู 6 ต.วังนาํ้ เยน็ อ.วังนํ้าเย็น
จ.สระแกว 27210
โทรศพั ท 037-251-387, 081-313-4892

สมนุ ไพร นายเฉลมิ สดุ ตา 46 หมู 11 ต.ทาคลอ อ.แกงคอย
จ.สระแกว 18110
โทรศพั ท 036-221-950, 047-205-183

สมนุ ไพร คณุ ณฐั วดี ศรีละพนั ธ 42/1 หมู 8 ต.คลองขอย อ.ปากเกรด็
จ.นนทบรุ ี 11120
โทรศัพท 087-559-2274

สมนุ ไพร สวนจตจุ ักรโครงการ 4 ประตู 3 โทรศพั ท 089-895-7431
(ตรงขามกรมขนสงทางบก)

สมนุ ไพร คุณศรัญญา สุไลมาน สหกรณตนไม ราบ 11 พัน 2 ร.อ. ถ.พหลโยธิน
บางเขน กทม.
โทรศัพท 089 - 123-8210, 081 - 642-6041

สมนุ ไพร แกนจนั ทรพันธุไม 37/1 หมู 9 ต.ดอนตะโก อ.เมอื งราชบุรี
จ.ราชบรุ ี 70000
โทรศพั ท 081-442-7027

สมนุ ไพร สวนพฤกษศาสตรภ าคตะวนั ออก อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชงิ เทรา 21120
(เขาหินซอน) โทรศพั ท 038-899-113

สมุนไพร คุณวิบลู ย เขม็ เฉลมิ , 257 หมู 1 ต.ลาดกระทงิ อ.สนามชยั
คณุ ครรชติ เข็มเฉลิม จ.ฉะเชงิ เทรา 24160
โทรศัพท 081-306-0781, 089-936-5020

สมนุ ไพร ชมรมลาํ ปางรกั ษสมุนไพร 177 หมู 12 บานเขลางคทอง ถ.คันเหมือง ต.บอแฮว
อ.เมอื ง จ.ลาํ ปาง 52100
โทรศพั ท 054-350-787, 054-313-918

82

ตารางท่ี 10 แหลง ผลิตขยายพันธพุ ืชไรเ พือ่ การคา

ชนดิ พชื แหลงผลติ ทอี่ ยู/ เบอรโทรศพั ท

ทอนพนั ธุ สถาบนั พฒั นามันสาํ ปะหลงั 1. ต.หวยบง อ.ดานขุนทด จ.นครราชสมี า
มนั สาํ ปะหลงั มูลนธิ สิ ถาบันพัฒนามนั สาํ ปะหลงั โทรศพั ท 044-313 394

แหงประเทศไทย 64 ม.15 ต.ลาดบวั ขาว อ.สคี ้ิว จ.นครราชสีมา
โทรศพั ท 089-846 - 3295
ทอนพันธุ อาจารยมนตรี ศรสี ุระ 40 ม. 6 บานบัตรเจริญ ต.กุดโบสถ อ.เสิงสาง
มนั สาํ ปะหลงั จ.นครราชสมี า โทรศัพท 081-282 - 7482
โทรศพั ท 089-895-7431
ทอนพันธุ นายสมศักดิ์ นอยปญจมิตร
มนั สาํ ปะหลงั

สมุนไพร สวนจตุจักรโครงการ 4 ประตู 3
(ตรงขามกรมขนสงทางบก)

83

ตารางท่ี 11 ผปู ระกอบการสดา นผลติ พนั ธูพืชเพาะเลีย้ งเน้ือเยื่อเชิงพาณชิ ย

ลาํ ดบั ที่ ชอ่ื สถานทีต่ ิดตอ

1 บริษทั ริเวอรแลนดจาํ กัด 31/86 ซ.สุมวทิ 103 (อุดมสุข) ถ.สขุ มุ วทิ
แขวงหนองบอน เขตประเวศ กทม.

2 บรษิ ัท ยเู ซนฟลาวเวอร 163 ช้ัน 11 อาคารไทยสมทุ รพาณชิ ยประกันภัย
(ประเทศไทย) จํากัด ถ.สุรวงค แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กทม.

3 บรัท เอส.ซ.ี บี ไบโอเทค จํากดั 130-132 อาคารสริ ินธร 2 ชัน้ 14 ถ.วทิ ยุ
แขวงลมุ พนิ ี เขตปทมุ วนั กทม.

4 บริษทั สหกวริ ิยาออรคดิ จํากดั 28/1 อาคารประภาวทิ ย ชนั้ 8 ถ.สรุศักด์ิ
แขวงสลี ม เขตบางรกั กทม.

5 บรษิ ทั เอเชียเทค กรุป จํากัด 223/13-16 อาคารคนั ทรีทาวเวอร ชน้ั 8
มหาชน ถ.สรรพาวธุ แขวงบางนา เขตบางนา กทม.

6 บรษิ ทั ไบโอฟอเรสท จาํ กัด 34/19 หมู 7 ถ.เพชรเกษม หนองแขม กทม.

7 บรษิ ัท บางกอกฟลาวเวอร 34/19 หมู 7 ถ.เพชรเกษม หนองแขม กทม.
โทร. 02-421-0020-4

8 BOTANICAL GARDENS 687 ต.คหู าสรรค ภาษีเจริญ กทม. 10160
BANGKOK โทร. 02-421-0500

9 บริษทั เอกเซลออรคดิ 63/3 ถ.เพชรเกษม 63 หนองแขม กทม. 10160
โทร. 02-455-6974-80

10 บรษิ ทั มีนบรุ ี ออรคิด เนิสเซอร่ี 9 หมู 8 ถรามคําแหง มนี บรุ ี กทม. 10510
โทร. 02-543-8298

11 บรษิ ัท สุภาออรคิด จํากัด 559/77 หมู 3 ถเพชรเกษม ซ. 92 บางแค
ภาษเี จริญ กทม. 10160 โทร. 02-413-0784

12 บรษิ ัท ไทยออรคิดแลป จํากดั 73/4 หมู 3 ถ.พทุ ธบชู า บางมด ราชบรู ณะ กทม.
โทร. 02-870-6267

13 บริษัท TOC lab 73/3 ม.3 ซ.พุทธบูชา 39 ถ.พุทธบชู า บางมด
เขตทุงครุ กทม.

84

ตารางที่ 11 ผปู ระกอบการสดา นผลิตพันธูพชื เพาะเลีย้ งเน้อื เยื่อเชิงพาณิชย (ตอ)

ลาํ ดบั ที่ ชือ่ สถานท่ีติดตอ

14 หางหุนสวนจํากดั เจาพระยา 63/2 ม.1 ถ.สามโคก –เสนา อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี
ออรคิด เนสิ เซอร่ี โทร. 02-593-1389-91

15 บรษิ ัท กรงุ เทพอุสาหกรรม 187 ม.13 ต.พัฒนานิคม อ.พฒั นานิคม จ.ลพบุรี
เมล็ดพนั ธุ จํากดั โทร. 03649-1355-6

16 อาร ออรคดิ ส (R .Orchid) 99/22 ลาดยาว จตจุ กั ร กรงุ เทพฯ
โทร. 02-5611255

17 พนมพร วรรณประเสริฐ 95/84 ซ.13/5 หมูบานบวั ทอง ถ.ตลง่ิ ชัน-สุพรรณบุรี
ต.บางรักพฒั นา อ.บางบวั ทอง
จ.นนทบุรี 11110 โทร. 080-9098933

18 บรษิ ทั กฤษณะ เอ็สเซ็นทออล 126/2050 ซ.19/1 ถ.ติวานนท ปากเกร็ด นนทบรุ ี
จาํ กดั โทร. 02-9643488,086-9759959

19 หจก.สวนพฤกษศาสตรกรุงเทพ ถ.เลยี บคลองทวีวัฒนา ปากทางเขาสนามหลวง 2
(แลบผูการ) โทร. 02-4210500

20 ฟารม มทส. (โคราช) ตําบลในเมือง อ.เมอื งนครราชสมี า จ.นครราชสีมา
โทร. 044-225023

21 BB Laboratory (แลบเรณู) ซ.ทุงมงั กร18 ถ.ทุงมงั กร ตล่ิงชนั โทร.02-8804801

22 ปากเกรด็ ฟลอรคิ ลั เจอร (แลป 46/6 ม.1 ถ.ตวิ านนท บางพดู ปากเกร็ด
ปากเกร็ด) โทร. 02-9619955

23 บรษิ ทั ไพฑรู ยสะพลี จํากัด 93/57 ช้นั 5 The Modern Group Tower
ถ.แจงวัฒนะปากเกรด็ นนทบุรี โทร. 02-9814203

24 BANKGOK RUBBERLAND 611/270-271 ซ.วัดจนั ทรในราชอุทศิ 2 บางโคล
ENGINEERING. CO.LTD บางคอแหลม กทม. โทร. 02-291-7738

25 Biolab Scientific Ltd. Biolab Scientific Ltd.New Zealand
โทร. 64-9-980-6700

26 Contherm Scientific Ltd Contherm Scientific Ltd New Zealand

27 Selby Biolab Pty Ltd. Selby Biolab Pty Ltd. Australia
โทร. 61-3-9263-4300

85

ตารางท่ี 11 ผูประกอบการสดา นผลิตพันธพู ืชเพาะเลีย้ งเนอ้ื เยอ่ื เชงิ พาณิชย (ตอ )

ลําดับท่ี ช่ือ สถานทีต่ ดิ ตอ

28 Biolab Scientific Ltd. Biolab Scientific Ltd.Pacific Island.
โทร. 64-9-980-6700

29 C V Prajasa C V Prajasa Fmi .62-31-592-0569
โทร. 62-31-592-20569

30 SPD Scientific Pte Ltd. SPD Scientific Pte Ltd. Singapore 65-775-3345

31 Hai – ou Company Hai – ou Company Malaysia 60-3-5635-4625

32 Quicklab Sdn Bhd. Quicklab Sdn Bhd. Malaysia 60-4-281-2413

33 Industrial & Laboratory Inst. Industrial & Laboratory Inst. Vietnam.
โทร. 84-8-91-02117

34 VenKtron Co.Ltd VenKtron Co.Ltd. Unit Arab Emirates
โทร. 971-6-532-9797

35 Jaguar Instrument Technologirs Jaguar Instrument Technologirs India
โทร. 91-44-491-4053

36 Valley Tissue Culture 1 Valley Tissue Culture 56548

37 Harrisons Malayalam Limited. A2 Sidco Industrial Estste , Husur 635123 India

38 Vitro Plus P.O. Box 54 , 4325 Zh Renesse , Holland
โทร. +31-111-468088

39 Labland Biotechs Private 8 th KM,KRS , Main Road Mysore 570016
Limited. Karnataka India โทร. 0091821

40 Propagation Technology Bonnets,Hawkins Hill Little Sampford
Saffron Walden Essex โทร. 0044-1371 810225

41 Heavenly Garden 1069 Amity Rd. Galloway Ohio
โทร. 43119-9304

42 Kitchen Culture Kits , Inc. Carol M.Stiff,PHd . Kitchen Culture Kits ,Inc.
โทร. 936-699-3551

86

ตารางท่ี 11 ผูประกอบการสดา นผลติ พันธูพชื เพาะเล้ยี งเนอื้ เย่อื เชิงพาณิชย (ตอ )

ลําดับท่ี ชอื่ สถานที่ตดิ ตอ

43 Shasta Nursery,Inc. P.O. Box 897 Anderson, California.96007
โทร. 530-365-2767

44 Oglesby Plant International, Inc. 26664 SR 71 N, Aleha, Florida 32421 USA
โทร. 800-762-0022

45 Succlent Tissue Culture Office Address/ Contact AddressSint
Netherlands โทร. +31-113-556001

46 Kelsey Creek Laboratories. P.O. Box 53564 Bellevus, WA 98015
โทร. 800-499-1171

47 Growmore BIO – tech P Ltd. 41-B, SiPCOT Phase Hosur -635109 India.
โทร. +9104344 560565

48 Quantum Tubers Corporation. P.O. Box 569, Delavan ,Wisconsin
53115-0569 โทร. 262-728-8815

49 The Sheveroy Estates Ltd. Plot No.10 &11,CRPZ Cochin 682030 India
โทร. 0091-484-4222414

50 CIC Agri Businesses 205 DR Wijewardena Mawatha,Colombo 10,
Sri Lanka โทร. 94-01-6882000-2

51 SAPAD Head Quarters P.O. Box 1806,Dammam 31441
KSA. โทร. +966-03-822 3850/822 3858

52 Winterberry Fams Tissue 202 Lillie Patrick RC.Gcy GA 30218
Culture โทร. 076-538-1003

53 Prolongaction Central Oriente S/N Plaza Commercial Kamico,Local 4 30700
โทร. 962-6250-615

54 Benzue Nurseies Ltd. Tirat Yehuda 8 ,73175 Israel
โทร. 972-3-9712348

55 Lab Focus Co.Ltd. Lab Focus Co.Ltd. Thailand.
โทร. 02-0376-0406

87

ตารางท่ี 11 ผูประกอบการสดานผลิตพันธพู ชื เพาะเลีย้ งเนื้อเยื่อเชงิ พาณชิ ย (ตอ )

ลําดบั ที่ ชื่อ สถานทต่ี ิดตอ

56 Valley Tissue Culture RuRal Route1 Box 263 Halstad. Minnesota56548
P.O. Box 54, 4325 Zh Renesse , Holland
57 Vitro Plus โทร. +31-111-468088
8 th KM,KRS , Main RoadMysore 570016
58 Labland Biotechs Private Karnataka India โทร. 0091821
Limited. Bonnets,Hawkins Hill Little Sampford
Saffron Walden Essex โทร. 0044-1371 810225
59 Propagation Technology Office Address/ Contact AddressSint Netherlands
โทร. +31-113-556001
60 Succlent Tissue Culture 41-B, SiPCOT Phase Hosur -635109 India.
โทร. +9104344 560565
61 Growmore BIO – tech P Ltd.

88
ทปี่ รึกษา

นางพรรณพิมล ชัญญานวุ ัตร
อธบิ ดกี รมสงเสรมิ การเกษตร
นายนําชัย พรหมมีชยั
รองอธบิ ดกี รมสงเสรมิ การเกษตร
นายวทิ ยา อธิปอนันต
รองอธบิ ดกี รมสงเสรมิ การเกษตร
นายสุรพล จารุพงศ
รองอธิบดีกรมสงเสริมการเกษตร
นายพรชยั พรี ะบูล
ผูอํานวยการสาํ นกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี
นางสุกญั ญา อธปิ อนนั ต
ผูอํานวยการสาํ นกั พัฒนาคุณภาพสนิ คาเกษตร
นางอรสา ดสิ ถาพร
ผูเชี่ยวชาญดานสงเสรมิ และจดั การการผลิตไมดอกไมประดับและพชื สมนุ ไพร
นางนิดา สักกทัตตยิ กุล
ผูอํานวยการสวนสงเสริมและเผยแพร

89

ประสานงาน
นางสาวภทั รมาศ พานพมุ
นกั วชิ าการเกษตรชาํ นาญการ

เรยี บเรยี ง
นางสาวแสนสขุ รตั นผล
ผูอํานวยการสวนพัฒนาการเพาะเลี้ยงและจดั การพนั ธุพชื
นายวชิ ัย ตแู กว
ผูอาํ นวยการกลุมงานเพาะเลยี้ งเนอ้ื เย่ือ
นางสาวเสาวรส ธรรมเพยี ร
นักวชิ าการเกษตรปฏบิ ัติการ
นางสาวณฐั ทยิ า หาญณรงค
นักวชิ าการเกษตรปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวเสาวนีย แกว พระเวช
นกั วชิ าการเกษตรปฏบิ ตั กิ าร
นายสุรเชษฐ ชมเงิน
นักวิชาการเกษตร

90

จัดทํา
นางอมรทพิ ย ภริ มยบรู ณ
นางสาวอัจฉรา สุขสมบูรณ
นายพงษเพชร วงศโสภา
นางสาวอาํ ไพพงษ เกาะเทียน
นางสาวรฐั ฐา ศรญี าณลักษณ
กลมุ สอ่ื สงเสริมการเกษตร สว นสง เสรมิ และเผยแพร
สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร

เอ้ือเฟอขอมลู
นายชัยรตั น ธนยากร
นักวชิ าการสงเสริมการเกษตรชาํ นาญการ
ศูนยส งเสรมิ และพฒั นาอาชพี การเกษตร จ.ฉะเชงิ เทรา (พชื สวน)
กลมุ เกษตรกรทําสวนบางปลากด อ.องครกั ษ จ.นครนายก
สวนวรญั ญา (ลงุ เสาร) 43 หมู 3 (คลอง 15) ต.คลองใหญ อ.องครกั ษ จ.นครนายก
สวนสามพี่นอง 18 หมู 3 ต.คลองใหญ อ.องครกั ษ จ.นครนายก

ภาพ
นายมนตชยั โกฎเพชร
นักวิชาการเผยแพร 6 ว
นายสุรเชษฐ ชมเงิน
นักวชิ าการเกษตร

91

รายชอื่ คณะทํางานจัดทาํ
คมู ือการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตพชื
1. นางอรสา ดสิ ถาพร

ผูเช่ยี วชาญดานสงเสรมิ และจดั การการผลติ พชื ผัก
ไมดอกไมประดับและพชื สมนุ ไพร
สํานักสงเสริมและจดั การสินคาเกษตร
ประธานคณะทํางาน
2. นายมนู โปสมบรู ณ
ผูอาํ นวยการสวนสงเสริมการผลติ ไมผล ไมยนื ตน และยางพารา
สาํ นักสงเสรมิ และจดั การสินคาเกษตร
คณะทํางาน
3. ดร.เศรษฐพงศ เลขะวัฒนะ
ผูอํานวยการสวนสงเสริมการผลติ ผัก ไมดอกไมประดับ
และพืชสมนุ ไพร สาํ นกั สงเสริมและจัดการสินคาเกษตร
คณะทาํ งาน
4. นางวิลาวลั ย วงษเ กษม
ผูอํานวยการกลุมพชื เสนใยและพชื หวั
สํานักสงเสรมิ และจัดการสนิ คาเกษตร
คณะทํางาน

92
5. นางสาวจริ าภา จอมไธสง
ผูอาํ นวยการกลุมสงเสรมิ การผลติ ผกั
สาํ นกั สงเสริมและจดั การสนิ คาเกษตร
คณะทาํ งาน
6. นางศรีสดุ า เตชะสาน
ผูอํานวยการกลุมสงเสริมการผลติ พชื นา้ํ มนั และพืชตระกูลถั่ว
สํานักสงเสรมิ และจัดการสินคาเกษตร
คณะทาํ งาน
7. นายธงชัย สทุ ธิพงศเ กยี รติ์
หัวหนาฝายพฒั นาการผลิตและควบคุมศตั รูผัก ผลไมเพือ่ การสงออก
สาํ นักพฒั นาคณุ ภาพสินคาเกษตร
คณะทํางาน
8. นางสาวแสนสุข รัตนผล
ผูอํานวยการกลุมงานเพาะเลยี้ งเนอื้ เยือ่
สํานักพฒั นาคณุ ภาพสนิ คาเกษตร
คณะทํางาน

93
9. นายจมุ พล ไทยสชุ าติ

ผูอํานวยการกลุมงานสงเสริมและพัฒนาการบรกิ ารอารกั ขาพชื
สํานักพฒั นาคุณภาพสนิ คาเกษตร
คณะทํางาน

10. นางชัญญา ทพิ านุกะ
นกั วิชาการเกษตรชาํ นาญการพเิ ศษ
สาํ นกั สงเสริมและจัดการสินคาเกษตร
คณะทาํ งาน

11. นางสาวเพญ็ ระพี ทองอินทร
นักวิชาการเกษตรชํานาญการพเิ ศษ
สํานักสงเสรมิ และจดั การสนิ คาเกษตร
คณะทํางาน

12. นางภัสรา ชวประดษิ ฐ
นักวิชาการเกษตรชาํ นาญการพิเศษ
สํานกั สงเสริมและจดั การสินคาเกษตร
คณะทํางาน

13. นายนเรศน รังสิมนั ตศิริ
หัวหนาฝายชาง
กองสงเสรมิ วศิ วกรรมเกษตร
คณะทาํ งาน

94

14. นางสาวภัทรมาศ พานพมุ
นักวชิ าการเกษตรชํานาญการ
สาํ นกั สงเสริมและจัดการสินคาเกษตร
เลขานกุ ารคณะทํางาน

15. นางสาวสุภัทธริ า โคตรศลิ ากูล
นักวิชาการเกษตรปฏิบัติการ
สํานักพัฒนาคุณภาพสนิ คาเกษตร
ผูชวยเลขานุการคณะทาํ งาน

16. นายพงษเพชร วงศโ สภา
นกั วิชาการเผยแพรชาํ นาญการ
สํานกั พัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี
ผูชวยเลขานกุ ารคณะทาํ งาน


Click to View FlipBook Version