The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

กิจกรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DCLC UBON, 2021-07-07 03:03:55

เอกสารสรุปรายงานผล โครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ 2564

กิจกรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นที่
กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนำขับเคลื่อนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

(ก)

คำนำ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนินการโครงการพัฒนาหม่บู ้านเศรษฐกิจพอเพยี ง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กจิ กรรมยอ่ ยที่ 1 สร้าง
และพฒั นากลไกขบั เคล่ือนในระดับพนื้ ท่ี กิจกรรมยอ่ ยที่ 1.1 สรา้ งแกนนาขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการใช้หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปน็ แนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน ใหม้ ี
ระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการท่ีเข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ม่ังคง กลุ่มเป้าหมาย
จานวนท้ังสิ้น 1,595 คน คือผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ท่ีสมัครใจเข้าร่วม
กิจกรรมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จาก 4 จังหวัด ในเขตพื้นท่ีให้บริการของศูนย์ศึกษาและ
พัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 791 คน ยโสธร จานวน 182 คน ศรีสะเกษ
จานวน 500 คน และอานาจเจรญิ จานวน 122 คน โดยแยกดาเนนิ การ 16 รุ่น ๆ ละ 5 วนั รนุ่ ท่ี 1 ดาเนนิ การ
ระหวา่ งวนั ท่ี 1–5 กุมภาพันธ์ 256 ณ หอประชมุ ค้าคูณ รนุ่ ท่ี 2 ดาเนินการระหว่างวนั ที่ 2–6 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ
ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 3 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 7–11 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 4
ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 8–12 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 5 ดาเนินการระหว่างวนั ที่ 13–17
กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 6 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 14–18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้อง
ประชมุ ชั้น 2 รุ่นท่ี 7 ดาเนินการระหวา่ งวนั ที่ 19-23 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 ณ หอประชุมคา้ คณู รุน่ ที่ 8 ดาเนนิ การ
ระหว่างวันที่ 20-24 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 9 ดาเนินการระหว่างวันที่ 25 กุมภาพันธ์-1
มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 10 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 26 กุมภาพันธ์-2 มีนาคม 2564 ณ ห้อง
ประชุมชั้น 2 รุ่นท่ี 11 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 3-7 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 12
ดาเนินการระหว่างวันท่ี 4-8 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นที่ 13 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 9-13
มนี าคม 2564 ณ หอประชุมคา้ คณู รุ่นท่ี 14 ดาเนนิ การระหว่างวันที่ 10-14 มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชุมช้ัน 2
ร่นุ ท่ี 15 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 15-19 มนี าคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ และรุ่นท่ี 16 ดาเนนิ การระหว่าง
วนั ที่ 16-20 มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชุมชั้น 2 ศนู ยศ์ กึ ษาและพฒั นาชมุ ชนอบุ ลราชธานี

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้สรุปผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาหมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมย่อยท่ี 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพ้ืนที่ กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สร้าง
แกนนาขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง รวมทั้งประเมินผลโครงการ เพ่ือทราบผลสัมฤทธ์ิ ข้อเสนอแนะ
ตา่ ง ๆ เพื่อเปน็ แนวทางในการนาไปปรบั ใช้ในการดาเนินงานครั้งต่อไป

ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี
เมษายน 2564

สารบัญ (ข)

คานา หน้า
สารบัญ (ก)
สารบัญตาราง (ข)
บทสรปุ สาหรบั ผบู้ ริหาร (ค)
ส่วนท่ี 1 บทนา (ง)

ความสาคัญ 1
วตั ถุประสงค์ 1
กลุ่มเปา้ หมาย 2
ขน้ั ตอนและวธิ ดี าเนนิ งาน 2
งบประมาณดาเนินการ 2
ระยะเวลาดาเนนิ การ 2
ขอบเขตเนอื้ หาหลักสูตร 3
ผลที่คาดวา่ จะไดร้ บั 3
ตวั ชวี้ ัดกจิ กรรม 3
ส่วนท่ี 2 สรุปเนื้อหาวชิ าการ
เน้อื หาวิชาหลกั 4
กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธแ์ บ่งกลุม่ มอบภารกิจ 5
เรียนรตู้ าราบนดนิ : กิจกรรมเดินชมพน้ื ที่ 8
ถอดบทเรยี นจากการฝึกปฏบิ ัติจากฐานการเรียนรู้ 9
ถอดบทเรยี นผ่านสือ่ “วิถีภมู ิปัญญาไทยกับการพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤต” 13
ถอดบทเรียนจากการฝกึ ปฏิบัติ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามอื้ สามัคคี พัฒนาพ้ืนท่ีตาม 15
หลักทฤษฎีใหม่
ถอดบทเรยี น “Team Building หาอยู่ หากนิ ” 16
การออกแบบภมู สิ ังคมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสังคมอย่างยงั่ ยืนเพ่ือการพงึ่ ตนเอง 18
และรองรับภัยพบิ ตั ิ
ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่อื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 24
ส่วนท่ี 3 การประเมินผลโครงการ
วธิ กี ารประเมนิ 31
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 33
เกณฑ์การประเมิน 34
ผลการประเมนิ 35
ภาคผนวก
ภาพกจิ กรรมการฝึกอบรม 52
ทะเบยี นรายชื่อกลุม่ เป้าหมาย 83
ตารางการฝึกอบรม 149
แบบประเมินโครงการ 150

สารบัญตาราง (ค)

ตารางที่ หน้า

1 แสดงข้อมลู ท่ัวไป 35
2 แสดงระดบั การบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องโครงการ 36
3 แสดงระดบั ความรู้และความเขา้ ใจด้านวชิ าการ (กอ่ นและหลงั เข้ารว่ มกจิ กรรม) 37
4 แสดงระดบั ความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั การนาความร้ไู ปปรบั ใชใ้ นการปฏบิ ัติงาน 43
5 แสดงระดับความพงึ พอใจต่อวทิ ยากร 45
6 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกยี่ วกบั ด้านการให้บริการ 46
7 แสดงระดบั ความพึงพอใจเกีย่ วกบั การให้บริการด้านอาคารและสถานที่ 47
8 แสดงระดบั ความพึงพอใจดา้ นคุณภาพ 48

(ง)

บทสรุปสำหรับผบู้ ริหำร

รายงานผลการดาเนินงานโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 กิจกรรมย่อยท่ี 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคล่ือนในระดับพ้ืนที่ กิจกรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนาขับเคลื่อน
หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง กรมการพัฒนาชุมชน ได้มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานีเป็นหน่วย
ดาเนินการฝึกอบรมโครงการดังกล่าว กลุ่มเป้าหมาย คือผู้แทนครัวเรือนพัฒนพ้ืนท่ีเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล”
ท่สี มคั รใจเขา้ รว่ มกิจกรรมการพัฒนาศูนยเ์ รียนรเู้ ศรษฐกิจพอเพียง จาก 4 จังหวัด ในเขตพื้นท่ีใหบ้ ริการของศนู ย์ศึกษา
และพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี ประกอบดว้ ย จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 791 คน ยโสธร จานวน 182 คน ศรีสะเกษ
จานวน 500 คน และอานาจเจริญ จานวน 122 คน รวมทั้งส้ิน จานวน 1,595 คน แยกดาเนินการ 16 รุ่นๆ ละ 5 วัน
รุ่นที่ 1 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 1–5 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 2 ดาเนินการระหว่างวันที่ 2–6
กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุม 2 รุ่นที่ 3 ดาเนินการระหว่างวันที่ 7–11 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ
รนุ่ ที่ 4 ดาเนินการระหว่างวันที่ 8–12 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมชั้น 2 รุ่นที่ 5 ดาเนินการระหว่างวันที่ 13–17
กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชมุ ค้าคูณ รุ่นที่ 6 ดาเนินการระหวา่ งวันที่ 14–18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ ชั้น 2
รุ่นท่ี 7 ดาเนนิ การระหว่างวันที่ 19-23 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมคา้ คูณ รุ่นที่ 8 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 20-24
กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมชั้น 2 รุ่นที่ 9 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 25 กุมภาพันธ์-1 มีนาคม 2564 ณ หอประชุม
ค้าคูณ รุ่นที่ 10 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 11 ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี
3-7 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 12 ดาเนินการระหว่างวันที่ 4-8 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2
รุ่นที่ 13 ดาเนินการระหว่างวันที่ 9-13 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นที่ 14 ดาเนินการระหว่างวันที่ 10-14
มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 15 ดาเนินการระหว่างวันที่ 15-19 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ และ
รุน่ ท่ี 16 ดาเนินการระหว่างวันที่ 16-20 มนี าคม 2564 ณ หอ้ งประชุมชัน้ 2 ศูนย์ศึกษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานี
โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน ให้มีระบบ
การบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณษการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ม่ังคง รูปแบบการฝึกอบรมใช้
กระบวนการแบบมีส่วนร่วม ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การบรรยายประกอบส่ือ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ และการฝึก
ปฏิบัติ กลุ่มเป้าหมายสาหรับการประเมินผล คือผู้เข้ารับการฝึกอบรม จานวน 1,595 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูล ใช้แบบสอบถามประเมินผลภาพรวมโครงการ แล้วนาผลทไ่ี ด้มาวิเคราะห์ขอ้ มูลเรียบเรยี งแบบร้อยแก้ว
เชิงพรรณนา ใชค้ า่ สถติ ิร้อยละ คา่ เฉล่ีย สรปุ ผลการฝึกอบรมได้ ดงั น้ี

ผลกำรฝกึ อบรม
1. ขอ้ มูลท่ัวไปของกลุ่มเปำ้ หมำย

พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 981 คน คิดเป็นร้อยละ 65.31
และเพศหญงิ จานวน 521 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 34.69 สว่ นใหญม่ ีอายุระหวา่ ง 41-50 ปี จานวน 505 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
33.62 รองลงมาตามลาดับคือ อายรุ ะหว่าง 51–60 ปี จานวน 485 คน คิดเปน็ ร้อยละ 32.29 อายุระหว่าง 31-40 ปี
จานวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 15.19 อายุ 60 ปีขึ้นไป จานวน 163 คน คิดเป็นร้อยละ 10.85 อายุระหว่าง
20-30 ปี จานวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 6.32 และ อายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 1.00
ผ้เู ขา้ อบรมส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จานวน 746 คน คิดเป็นร้อยละ 49.67 รองลงมาตามลาดับ
คือ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 397 คน คิดเป็นร้อยละ 26.43 จบการศึกษาระดับปริญญาตรี
จานวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 13.91 จบการศึกษาระดับอนุปริญญาจานวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 6.59 จบ
การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโท จานวน 33 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 2.20 และอนื่ ๆจานวน 18 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1.20

(จ)

2. ควำมพึงพอใจต่อโครงกำร
2.1 ควำมคิดเห็นต่อกำรบรรลุวตั ถุประสงค์ของโครงกำร
พบวา่ ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมสว่ นใหญ่มีระดบั ความคิดเห็นเก่ียวกับการบรรลุวัตถุประสงค์ของ

โครงการ โดยภาพรวม อยู่ในระดบั มากท่สี ุด ค่าเฉล่ีย 4.55
2.2 ควำมคิดเห็นต่อระดับควำมรู้ควำมเข้ำใจด้ำนวิชำกำรท้ังก่อนและหลังเข่ำร่วมกิจกรรม

จำนวน 18 วิชำ
พบวา่ ผ้เู ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญม่ ีระดับความรู้ ความเข้าใจตอ่ เนอ้ื หาวิชาก่อนเข้ารับการ

ฝึกอบรม โดยภาพรวมอยู่ในระดบั ปานกลาง ค่าเฉลีย่ 2.98 และหลงั การฝึกอบรมมรี ะดบั ความรู้ความเข้าใจต่อ
เน้อื หาวิชา โดยภาพรวมอยใู่ นระดบั มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ยี 4.53 และเม่ือพจิ ารณาเรยี งลาดับค่าเฉล่ยี เป็นรายวชิ า
ไดด้ งั น้ี

1. กิจกรรมกลุ่มสมั พันธ์ ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็น
เนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.06 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้
ความเข้าใจตอ่ ประเด็นเน้ือวชิ า อยใู่ นระดบั มากท่สี ุด ค่าเฉลย่ี 4.54

2. วิชา เรียนรู้ตาราบนดิน : กิจกรรมเดินชมพ้ืนที่ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้
ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.00 และหลังการ
ฝกึ อบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเดน็ เนอื้ วชิ า อยู่ในระดับมากทส่ี ดุ คา่ เฉลีย่ 4.54

3. วิชา “เข้าใจ เข้าถงึ พฒั นา ศาสตร์พระราชากับการพฒั นาทยี่ งั่ ยืน” ผเู้ ขา้ รับการฝกึ อบรมส่วน
ใหญม่ รี ะดบั ความรู้ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเน้ือหาวชิ าก่อนเข้ารบั การฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลยี่
3.04 และหลงั การฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อวิชา อยู่ในระดบั มากทสี่ ุด คา่ เฉลยี่ 4.57

4. วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติแบบเป็นข้ันตอน ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ส่วนใหญ่ มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบร มอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 2.99 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อวิชา อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉลี่ย 4.53

5. วชิ า ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง “ทฤษฎีบันได ๙ ข้ันสูค่ วามพอเพียง” ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย
3.01 และหลงั การฝกึ อบรมมีระดบั ความรู้ ความเข้าใจต่อประเดน็ เน้ือวชิ า อย่ใู นระดบั มากทีส่ ุด ค่าเฉล่ยี 4.56

6. วิชา “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อ
ประเด็นเนื้อหาวิชาก่อนเขา้ รับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.91 และหลงั การฝึกอบรมมีระดับ
ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดบั มากท่ีสดุ คา่ เฉลย่ี 4.54

7. ฝึกปฏิบัติฐานเรียนรู้ (คนมีน้ายา, คนมีไฟ, คนเอาถ่าน , คนรักษ์สขุ ภาพ, คนรกั ษ์ แม่ธรณี , คน
รกั ษ์โลกพระแม่โพสพ) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้า
รับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.97 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อ
ประเดน็ เน้อื วชิ า อยูใ่ นระดบั มากที่สุด คา่ เฉล่ีย 4.53

8. ถอดบทเรียนผ่านสื่อ “วิถีภูมิปัญญาไทยกบั การพ่ึงตนเองในภาวะวิกฤติ”ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉลี่ย 2.96 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย
4.49

(ฉ)

9. วิชา “สุขภาพพ่ึงตน พัฒนา 3 ขุมพลัง” พลังกาย พลังใจ พลังปัญญา ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง
ค่าเฉล่ีย 2.97 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่ในระดับมากที่สุด
คา่ เฉล่ีย 4.52

10. ฝึกปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่”ผู้เข้ารับ
การฝึกอบรมส่วนใหญม่ รี ะดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเนอ้ื หาวชิ ากอ่ นเขา้ รับการฝึกอบรมอย่ใู นระดบั ปาน
กลาง ค่าเฉลี่ย 3.05 และหลังการฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เนอื้ วิชา อยใู่ นระดบั มากที่สุด
คา่ เฉล่ีย 4.59

11. ถอดบทเรียนการฝกึ ปฏบิ ัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้ือสามัคคี พัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎี
ใหม่” ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม
อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 3.02 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่
ในระดับมากทสี่ ดุ คา่ เฉลย่ี 4.56

12. วิชา การออกแบบเชิงภมู ิสงั คมไทยตามหลักการพฒั นาภูมิสังคมอย่างยั่งยนื เพอ่ื การพึ่งตนเอง
และรองรับภัยพิบัติ ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับ
การฝกึ อบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลยี่ 2.90 และหลังการฝกึ อบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็น
เนือ้ วิชา อยู่ในระดบั มากทส่ี ุด คา่ เฉล่ยี 4.53

13. ฝึกปฏิบัติการ สร้างหุ่นจาลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง นา
โมเดล ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรม
อยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 2.91 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือวิชา อยู่
ในระดบั มากทีส่ ดุ ค่าเฉลย่ี 4.53

14. ฝึกปฏิบัติการ Team Building การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากิน ผู้เข้ารับ
การฝกึ อบรมสว่ นใหญม่ รี ะดับความรู้ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เน้อื หาวชิ ากอ่ นเขา้ รับการฝึกอบรมอยใู่ นระดับปาน
กลาง ค่าเฉลี่ย 3.01 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเดน็ เนื้อวิชา อยูใ่ นระดบั มากทส่ี ุด
ค่าเฉลย่ี 4.55

15. ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่หากิน ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปาน
กลาง ค่าเฉล่ีย 3.01 และหลังการฝึกอบรมมีระดบั ความรู้ ความเขา้ ใจต่อประเด็นเนือ้ วิชา อยู่ในระดบั มากท่ีสุด
คา่ เฉลยี่ 4.54

16. วิชา การขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357 ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มี
ระดับความรู้ความเข้าใจต่อประเด็นเน้ือหาวิชาก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.90
และหลงั การฝึกอบรมมรี ะดบั ความรู้ ความเขา้ ใจตอ่ ประเด็นเนอ้ื วชิ า อยู่ในระดบั มาก คา่ เฉลีย่ 4.47

17. การจัดทาแผนปฏบิ ตั ิการ “ยุทธศาสตรก์ ารขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ าร
ปฏิบัติ” ผู้เข้ารบั การฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดบั ความร้คู วามเขา้ ใจต่อประเดน็ เนือ้ หาวชิ าก่อนเข้ารับการฝึกอบรมอยู่ใน
ระดับปานกลาง ค่าเฉล่ีย 2.93 และหลังการฝึกอบรมมีระดับความรู้ ความเข้าใจต่อประเด็นเนื้อวิชา อยู่ใน
ระดบั มากทสี่ ุด ค่าเฉลยี่ 4.50

18. นาเสนอ “ยทุ ธศาสตร์การขบั เคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั ิ” ผู้เข้ารบั
การฝึกอบรมสว่ นใหญม่ รี ะดบั ความรู้ความเข้าใจต่อประเดน็ เนื้อหาวิชาก่อนเขา้ รบั การฝึกอบรมอย่ใู นระดับปาน

(ช)

กลาง คา่ เฉลย่ี 2.92 และหลังการฝกึ อบรมมรี ะดบั ความรู้ ความเข้าใจต่อประเดน็ เนือ้ วิชา อยู่ในระดับมากท่สี ดุ
คา่ เฉลย่ี 4.50

2.3 ควำมคิดเห็นเกย่ี วกับกำรนำควำมรไู้ ปใช้ประโยชน์
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความม่ันใจต่อการนาความรู้ที่ได้รับไปใช้ประโยชน์ใน

การปฏิบตั ิงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.32 และเมื่อพิจารณาเรยี งลาดับเป็นรายประเด็นจาก
มากไปหาน้อย พบว่า ผู้เข้ารับการฝกึ อบรมมีความม่ันใจในการนาความรู้ฝึกปฏบิ ตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอา
มื้อสามัคคี พัฒนาพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่” อยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.47 รองลงมาตามลาดับคือ ม่ันใจใน
การนาความรู้วิชา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎีบันได ๙ ขั้นสู่ความพอเพียง” อยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 4.45 ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “จิตอาสาพัฒนาชุมชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพื้นท่ีตามหลักทฤษฎี
ใหม”่ ฝึกปฏิบตั ิการ สรา้ งหุ่นจาลองการจัดการพ้นื ที่ตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดลและ
ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากิน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.44
ฝึกปฏิบัติการ Team Building การบริหารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่ หากิน อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.43
วิชา “หลักกสิกรรมธรรมชาติ”มีค่าเท่ากับการจัดทาแผนปฏิบัติการ “ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบัติ” อย่ใู นระดบั มาก คา่ เฉล่ีย 4.42 ฝึกปฏิบัติฐานเรยี นรู้ (คนมีน้ายา, คนมีไฟ, คน
เอาถ่าน , คนรักษ์สุขภาพ, คนรักษ์แม่ธรณี , คนรักษ์โลกพระแม่โพสพ)มีค่าเท่ากับวิชา การออกแบบเชิงภูมิ
สังคมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพื่อการพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบัติ อยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 4.41 วิชา “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ศาสตร์พระราชามีค่าเท่ากับ วิชา การขับเคล่ือนสืบสานศาสตร์
พระราชา กลไก 357 อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์มีค่าเทา่ กับวชิ า เรยี นรตู้ าราบนดิน
: กิจกรรมเดินชมพื้นที่ วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติแบบเป็นข้ันตอน ถอดบทเรียน
ผ่านส่ือ “วิถีภูมิปัญญาไทยกับการพ่ึงตนเองในภาวะวิกฤติ” วิชา “สุขภาพ พ่ึงตน พัฒนา 3 ขุมพลัง” พลัง
กาย พลังใจ พลังปัญญาและนาเสนอ “ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ”
อยู่ในระดบั มาก มีค่าเฉล่ยี เท่ากันคอื 4.39

2.4 ควำมพึงพอใจต่อกำรให้บรกิ ำร
2.4.1 ดำ้ นวิทยำกร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านวิทยากร

โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรม
ส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉล่ีย 4.52 รองลงมา
ตามลาดับ คือ พึงพอใจต่อความรู้ ความสามารถในการถ่ายทอด/บรรยาย อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลย่ี 4.51
พึงพอใจต่อเทคนิคและวิธีการท่ีใช้ในการถ่ายทอดความรู้ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.48 และพึงพอใจต่อการ
เปดิ โอกาสให้ซกั ถามแสดงความคดิ เห็น อยูใ่ นระดบั มาก มีคา่ เฉลี่ย 4.46

2.4.2 ดำ้ นกำรให้บริกำร
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อด้านการให้บริการ โดย
ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉล่ีย 4.40 และเมื่อพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วน
ใหญ่มีความพึงพอใจต่อเจ้าหน้าท่ีกระตือรือร้นในการให้บริการ อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.56 รองลงมา
ตามลาดบั คอื พึงพอใจต่อเจ้าหน้าทีม่ ีกริ ยิ า มารยาท และการแต่งกายเหมาะสม อยูใ่ นระดับมากท่สี ุด คา่ เฉล่ีย
4.54 พึงพอใจต่อห้องฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมีความสะอาดอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉล่ีย 4.49 พึงพอใจต่ออาหาร/อาหารว่าง/เคร่ืองด่ืม มีคุณภาพเหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45
พึงพอใจต่อโสตทัศนูปกรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เครื่องเสียงฯลฯ) เหมาะสม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.41

(ซ)

พึงพอใจต่อสัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.22 และมีความพึงพอใจต่อสัญญาณ
wifi ในห้องพกั อยใู่ นระดบั มาก ค่าเฉล่ยี 4.12

2.4.3 ดำ้ นอำคำรและสถำนท่ี
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจต่อการให้บริการด้านอาคารและ
สถานที่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.49 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการ
ฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อประเด็นห้องพัก มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.52
รองลงมาตามลาดับคือพึงพอใจตอ่ ขนาดห้องฝกึ อบรม มีความเหมาะสมกับจานวนผู้เข้าอบรม อยู่ในระดบั มาก
ที่สุด ค่าเฉล่ีย 4.51 พึงพอใจต่อห้องอาหาร มีความเหมาะสม ถูกสุขลักษณะ อยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.47
และความพงึ พอใจต่อห้องน้าอาคารฝกึ อบรม มีความสะอาด อยูใ่ นระดบั มาก คา่ เฉล่ยี 4.46
2.4.4 ดำ้ นคุณภำพ
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดับความพึงพอใจด้านคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.54 และเม่ือพิจารณาเป็นรายประเด็นพบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีความ
พึงพอใจต่อความคุ้มค่าของการฝึกอบรม อยู่ในระดับมากท่ีสุด ค่าเฉลี่ย 4.59 รองลงมาตามลาดบั คือ พึงพอใจ
ตอ่ ความสอดคลอ้ งของเน้ือหาหลกั สูตรกับความต้องการ อยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 ความพงึ พอใจต่อ
ความรู้ท่ไี ด้รับสามารถนาไปปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานได้ อยู่ในระดับมากทส่ี ุด ค่าเฉลยี่ 4.52 และความพึงพอใจ
ตอ่ เนื้อหาหลักสูตรเปน็ ปัจจุบนั ทันตอ่ การเปลย่ี นแปลง อยใู่ นระดับมากที่สดุ คา่ เฉลี่ย 4.50
3. ข้อเสนแนะเชิงนโยบำย
3.1 ขยายผูแ้ ทนครัวเรือนพฒั นาพื้นท่ีเรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ใหค้ รอบคลมุ ทุก
หมู่บ้าน
3.2 ประชาสมั พันธ์โครงการใหก้ วา้ งขวางและชัดเจนย่ิงขนึ้

1

สว่ นที่ 1
บทนำ

ควำมสำคัญ
สถานการณ์โลกปัจจุบัน มีความผันแปรสูงท้ังในด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ

เทคโนโลยี ซึ่งล้วนส่งผลถึงประเทศไทยท่ีเริ่มเปลี่ยนจากสังคมเกษตรสู่สังคมอุตสาหกรรม อีกทั้ง ประเทศไทย
เปน็ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกจิ แบบเปดิ การค้าระหวา่ งประเทศ จึงมีบทบาทสาคญั ในฐานะกลไกในการพฒั นา
และนาความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ประเทศ รวามท้ังมีส่วนร่วมสาคัญในการผลักดันให้เศรษฐกิจของประเทศขยาย
ตัวอย่างรวดเร็ว ซ่ึงเศรษฐกิจและการค้าของไทยในระยะท่ีผ่านมาขยายตัวในอัตราท่ีสูงมาก แต่จาก
สถานการณเ์ ศรษฐกิจและการคา้ ของโลกที่กาลังเปล่ียนแปลง ได้มีการนามาตรการใหม่ ๆ มาเป็นข้ออ้างในการ
กีดกันการค้ามากข้ึน ผู้ท่ีสามารถเข้าถึงทรัพยากรได้มากกว่าก็สามารถสร้างความม่ันคงได้มากกว่า กล่าวคือ
“คนรวยก็รวยขึ้น คนจนก็จนลง” เกิดเป็นปัญหาความเหล่ือมล้าด้านรายได้ ส่งผลกระทบเป็นลูกโซ่ท้ังในส่วน
ของเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง

ยทุ ธศาสตรช์ าติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) มุ่งเน้นการพัฒนาประเทศไทยให้บรรลุวิสัยทัศน์
“ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” จึงเป็นการพัฒนาให้ประชาชนคนไทยมีคุณภาพชีวิตท่ีดี มีความสุข สร้างพ้ืนฐานการ
พึ่งพาตนเอง ลดความเหลื่อมล้าในระดับครัวเรือน ชุมชน และส่งผลให้ประเทศมีความเข้มแข็ง ในการใช้
ความสามารถบริหารจัดการชีวิตและการบริหารจัดการชุมชน ส่งเสริมการสร้างรายได้ พัฒนาเศรษฐกิจฐาน
ราก ส่งเสรมิ ความเสมอภาคและเปน็ ธรรม

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการน้อมนาแนวพระราชดารัสในพระบาทสมเดจ็ พระบรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไปสู่การปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาที่สมดุลเป็นธรรม
และมีภูมิคุ้มกันกับผลกระทบการเปล่ียนแปลงท้ังจากภายในชุมชน ประเทศและภายนอกจากสังคมโลก ท่ีจะ
ส่งผลต่อครอบครัว การเตรียมความพร้อมแต่ละครัวเรือนให้ได้รับการพัฒนาอย่างบูรณาการตามแนวทาง
เศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา โดยสอดคล้องกับภูมิสังคมที่แต่ละพ้ืนที่มีความแตกต่างกันของ
ปัจจัยพื้นฐาน ด้านศักยภาพวิถีชีวิต วัฒนธรรมและอัตลักษณ์ ตัวอย่าง เช่น การบริหารจัดการน้าและพื้นท่ี
การเกษตรด้วย “โคก หนอง นา โมเดล” ด้านการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงมาใชบ้ ริหาร
จัดการน้า และพื้นที่การเกษตรผสมผสานกับภูมิปัญญาพ้ืนบ้านได้อย่างสอดคล้องกัน ดังน้ัน จึงได้มอบหมาย
ให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วยดาเนินการโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพ้ืนที่ กิจกรรม
ยอ่ ยที่ 1.1 สร้างแกนนาขบั เคลอ่ื นหมูบ่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง

วตั ถุประสงค์
เพ่ือส่งเสริมการใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้าน ให้มี

ระบบการบริหารจัดการชมุ ชนแบบบรู ณาการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกจิ ชุมชนใหม้ งั่ คง

2

กลุม่ เป้ำหมำย
ผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ที่สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการ

พัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จานวนทั้งสิ้น 1,595 คน จาก 4 จังหวัด ในเขตพื้นที่ให้บริการของศูนย์
ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนอุบลราชธานี ประกอบด้วย

1. จงั หวดั อุบลราชธานี จานวน 791 คน
2. จังหวัดยโสธร จานวน 182 คน
3. จงั หวัดศรสี ะเกษ จานวน 500 คน
4. จงั หวดั อานาจเจรญิ จานวน 122 คน

ขนั้ ตอนและวธิ ดี ำเนนิ งำน
1. ศึกษาแนวทางการดาเนนิ งานตามโครงการจากส่วนกลาง
2. ประชมุ ทมี เจ้าหน้าทศี่ ูนย์ศกึ ษาและพฒั นาชุมชนอุบลราชธานีเพอื่ เตรียมความพรอ้ ม
3. ประสานวิทยากร
4. เสนอโครงการขออนมุ ัตดิ าเนนิ งานตามโครงการ
5. จัดทาคาสง่ั แตง่ ตงั้ คณะทางาน
6. จัดเตรียมสถานที่/ฐานการเรียนรู้/ห้องฝึกอบรม/หอพัก/วัสดุอุปกรณ์/โสตทัศนูปกรณ์/

เคร่อื งเสียง
7. ดาเนินงานตามโครงการ
8. ประเมนิ ผล/สรปุ ผลการดาเนินงาน/รายงานผลตอ่ ผ้บู ริหารกรมการพัฒนาชมุ ชน

งบประมำณดำเนินกำร
งบประมาณดาเนินการ จานวนทง้ั สนิ้ 7,177,500 บาท (เจ็ดลา้ นหนึง่ แสนเจ็ดหมืน่ เจ็ดพัน

หา้ รอ้ ยบาทถว้ น)

ระยะเวลำดำเนินกำร
ดาเนินการ 16 รุ่น ๆ ละ 5 วนั ณ ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนอบุ ลราชธานี ดงั นี้
รนุ่ ที่ 1 ดาเนินการระหว่างวนั ท่ี 1 – 5 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ หอประชมุ ค้าคูณ
รนุ่ ที่ 2 ดาเนนิ การระหว่างวันท่ี 2 – 6 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ ชน้ั 2
รุ่นที่ 3 ดาเนินการระหว่างวนั ที่ 7 – 11 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชมุ ค้าคูณ
รุน่ ท่ี 4 ดาเนนิ การระหว่างวันท่ี 8 – 12 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ หอ้ งประชุมชั้น 2
ร่นุ ท่ี 5 ดาเนินการระหว่างวนั ที่ 13 – 17 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมคา้ คูณ
รนุ่ ท่ี 6 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 14 – 18 กมุ ภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชมุ ชัน้ 2
รุ่นที่ 7 ดาเนินการระหวา่ งวนั ที่ 19 – 23 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ
รนุ่ ท่ี 8 ดาเนินการระหว่างวนั ที่ 20 – 24 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ ห้องประชุมช้นั 2
รุ่นท่ี 9 ดาเนินการระหว่างวันที่ 25 กมุ ภาพันธ์ – 1 มนี าคม 2564 ณ หอประชุมคา้ คูณ
รุ่นท่ี 10 ดาเนนิ การระหว่างวันท่ี 26 กุมภาพันธ์ – 2 มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชุมชัน้ 2
รุน่ ท่ี 11 ดาเนนิ การระหวา่ งวันที่ 3 – 7 มนี าคม 2564 ณ หอประชมุ คา้ คูณ
รุ่นที่ 12 ดาเนนิ การระหวา่ งวันท่ี 4 – 8 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชมุ ช้ัน 2
รุ่นที่ 13 ดาเนนิ การระหว่างวนั ที่ 9 – 13 มนี าคม 2564 ณ หอประชุมคา้ คูณ

3

รนุ่ ท่ี 14 ดาเนินการระหวา่ งวันท่ี 10 – 14 มีนาคม 2564 ณ หอ้ งประชุมชน้ั 2
รุ่นที่ 15 ดาเนินการระหว่างวนั ท่ี 15 – 19 มีนาคม 2564 ณ หอประชมุ คา้ คูณ
รนุ่ ที่ 16 ดาเนนิ การระหวา่ งวันที่ 16 – 20 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมชัน้ 2

ขอบเขตเนื้อหำหลกั สตู ร
1. การมอบนโยบาย
2. กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์
3. เรียนรตู้ าราบนดนิ : กจิ กรรมเดินชมพืน้ ที่
4. เข้าใจ เขา้ ถึง พัฒนาศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทย่ี ั่งยนื
5. การแปลงปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั แิ บบเป็นข้นั เป็นตอน
6. ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎี บันได 9 ขัน้ สูค่ วามพอเพียง
7. หลักกสกิ รรมธรรมชาติ
8. แบ่งกลุม่ ฝกึ ปฏิบัตติ ามฐานเรียนรู้ 6 ฐาน
9. ถอดบทเรยี นผา่ นสือ่ “วถิ ภี ูมิปัญญาไทยกับการพึ่งตนเองในภาวะวกิ ฤต”
10. “สขุ ภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขมุ พลัง” พลงั กาย พลงั ใจ พลงั ปัญญา
11. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชมุ ชน เอาม้ือสามัคคี พฒั นาพนื้ ทต่ี ามหลกั ทฤษฎใี หม่
12. การออกแบบเชิงภมู ิสังคมไทยตามหลกั การพฒั นาภูมสิ ังคมอยา่ งยงั่ ยนื เพื่อการพ่ึงตนเอง

และรองรับภัยพบิ ัติ
13. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่

ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
14. นาเสนองานสร้างหุ่นจาลองการจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง

นา โมเดล
15. Team Building ฝึกปฏบิ ัตกิ ารบรหิ ารจดั การในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากนิ
16. ถอดบทเรยี นการฝึกปฏิบตั ิการบรหิ ารจดั การในภาวะวิกฤต หาอยู่ หากิน
17. กตญั ญตู ่อสถานที่ พัฒนาจติ ใจ
18. การขบั เคล่ือนสืบ สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
19. จัดทาแผนปฏบิ ตั กิ าร “ยุทธศาสตร์การขบั เคลือ่ นปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติ
20. นาเสนอยทุ ธศาสตร์การขบั เคลือ่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ผลที่คำดวำ่ จะไดร้ ับ
ครัวเรือนพัฒนาพ้ืนที่เรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” มีความรู้ ความเข้าใจหลักการ แนว

ทางการพัฒนาหมู่บ้านตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถเป็นแกนนาในการขับเคล่ือนการ
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่การปฏิบัติในรูปแบบ “โคก หนอง นา
โมเดล” ในพ้ืนท่ีเป้าหมายได้

ตวั ชวี้ ัดกจิ กรรม
กลุ่มเป้าหมายจากผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพ้ืนท่ีเรียนรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ได้รับการ

พัฒนา จานวน 1,595 คน

4

ส่วนที่ 2
สรปุ เนือ้ หาวชิ าการ

กรมการพัฒนาชุมชน มอบหมายให้ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี เป็นหน่วย
ดาเนนิ งานโครงการพฒั นาหมู่บา้ นเศรษฐกจิ พอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กิจกรรมย่อยท่ี 1 สรา้ ง
และพัฒนากลไกขับเคลื่อนในระดับพื้นท่ี กจิ กรรมยอ่ ยท่ี 1.1 สร้างแกนนาขับเคลื่อนหมบู่ ้านเศรษฐกิจพอเพียง
โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพอ่ื ส่งเสริมการใช้หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นแนวทางในการพัฒนาหมบู่ ้าน ใหม้ ี
ระบบการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการที่เข้มแข็ง และพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้ม่ันคง กลุ่มเป้าหมาย
จานวนท้งั สิ้น 1,595 คน คอื ผแู้ ทนครัวเรือนพัฒนาพ้ืนที่เรยี นรู้ “โคก หนอง นา โมเดล” ท่ีสมัครใจเข้ารว่ มกจิ กรรม
การพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จาก 4 จังหวัด ในเขตพื้นที่ให้บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
อุบลราชธานี ประกอบด้วย จังหวัดอุบลราชธานี จานวน 791 คน ยโสธร จานวน 182 คน ศรีสะเกษ จานวน
500 คน และจังหวัดอานาจเจริญ จานวน 122 คน โดยแยกดาเนินการ 16 รุ่น ๆ ละ 5 วัน รุ่นท่ี 1 ดาเนินการ
ระหว่างวันที่ 1–5 กุมภาพันธ์ 256 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 2 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 2–6 กุมภาพันธ์ 2564
ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 3 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 7–11 กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 4
ดาเนินการระหว่างวันท่ี 8–12 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมชั้น 2 รุ่นที่ 5 ดาเนินการระหว่างวนั ท่ี 13–17
กุมภาพันธ์ 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 6 ดาเนินการระหว่างวันที่ 14–18 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้อง
ประชุมช้ัน 2 รุ่นที่ 7 ดาเนินการระหว่างวันที่ 19-23 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ หอประชมุ คา้ คณู รุน่ ที่ 8 ดาเนนิ การ
ระหว่างวันท่ี 20-24 กุมภาพันธ์ 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 9 ดาเนินการระหว่างวันที่ 25
กุมภาพันธ์- 1 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 10 ดาเนินการระหว่างวันที่ 26 กุมภาพันธ์ -
2 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 รุ่นท่ี 11 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 3-7 มีนาคม 2564 ณ หอประชุม
ค้าคูณ รุ่นท่ี 12 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 4-8 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมชั้น 2 รุ่นท่ี 13 ดาเนินการระหว่าง
วันท่ี 9-13 มีนาคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ รุ่นท่ี 14 ดาเนินการระหว่างวันที่ 10-14 มีนาคม 2564 ณ หอ้ ง
ประชมุ ช้นั 2 ร่นุ ท่ี 15 ดาเนินการระหว่างวันท่ี 15-19 มนี าคม 2564 ณ หอประชุมค้าคูณ และรนุ่ ที่ 16 ดาเนินการ
ระหว่างวันท่ี 16-20 มีนาคม 2564 ณ ห้องประชุมช้ัน 2 ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ได้กาหนด
ประเดน็ เนือ้ หาวชิ าหลักตามหลกั สูตร จานวน 20 หวั ข้อวชิ า ดงั น้ี

เนือ้ หาวิชาหลัก
จานวน 20 วชิ า
1. การมอบนโยบาย
2. กจิ กรรมกล่มุ สัมพันธ์
3. เรียนร้ตู าราบนดิน : กจิ กรรมเดินชมพน้ื ท่ี
4. การแปลงปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัติแบบเปน็ ขน้ั เปน็ ตอน
5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “ทฤษฎี บันได 9 ขัน้ สคู่ วามพอเพียง
6. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
7. แบ่งกล่มุ ฝกึ ปฏิบตั ติ ามฐานเรยี นรู้ 6 ฐาน
8. ถอดบทเรยี นผา่ นสอื่ “วถิ ีภูมิปญั ญาไทยกบั การพึ่งตนเองในภาวะวิกฤต”
9. “สุขภาพพ่ึงตน พัฒนา 3 ขมุ พลัง” พลงั กาย พลงั ใจ พลังปญั ญา

5

10. ฝกึ ปฏบิ ตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชุมชน เอามอ้ื สามัคคี พัฒนาพ้นื ทต่ี ามหลักทฤษฎใี หม่
11. สรปุ บทเรียน “จิตอาสาพัฒนาชมุ ชนเอามอื้ สามัคคีพฒั นาพืน้ ท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่
12. การออกแบบเชิงภูมสิ ังคมไทยตามหลกั การพฒั นาภูมสิ งั คมอยา่ งย่ังยืนเพื่อการพง่ึ ตนเอง
และรองรบั ภัยพบิ ตั ิ
13. ฝึกปฏิบัติการสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล
14. นาเสนองานสร้างหุ่นจาลองการจัดการพื้นท่ีตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล
15. Team Building ฝึกปฏบิ ตั กิ ารบรหิ ารจดั การในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากิน
16. สรปุ บทเรียนฝึกปฏบิ ัติการบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ
17. กตัญญตู ่อสถานท่ี พฒั นาจติ ใจ
18. การขบั เคลอ่ื นสบื สานศาสตรพ์ ระราชา กลไก 357
19. จดั ทาแผนปฏิบัติการ “ยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคล่ือนปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏิบัติ
20. นาเสนอยุทธศาสตรก์ ารขับเคลอื่ นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การเรียนรู้ในแตล่ ะวชิ ายึดผู้เรยี นเปน็ ศูนยก์ ลางการเรียนรู้ ด้วยรปู แบบ วิธกี าร เทคนคิ
ที่หลากหลายมุ่งเน้นใหผ้ ู้เรียนมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ จากประสบการณ์ตรง และการฝกึ ปฏิบัติจริงโดยใช้
กระบวนการแบบมสี ่วนรว่ มที่สามารถนาไปปรบั ใช้ในการปฏบิ ัตงิ านไดจ้ รงิ ดังน้ี

1. การบรรยายประกอบสอื่ Power Point
2. เวทแี ลกเปลยี่ นเรยี นรู้
3. การฝึกปฏบิ ัติ

สรุปสาระสาคัญของเนื้อหาวชิ าได้ ดงั นี้

วชิ า กิจกรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์แบ่งกล่มุ มอบภารกิจ

วตั ถุประสงค์
1. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มเป้าหมายด้วยกัน และทีมวิทยากรทาให้เกิดบรรยาย

กาศทีด่ ีในการเรียนรู้
2. เพอ่ื แบง่ กลุม่ การร่วมกิจกรรมในแตล่ ะวิชา

ระยะเวลา 1 ช่วั โมง

ขอบเขตเนอ้ื หา
1. การสร้างกจิ กรรมกลุ่มสมั พันธด์ ้วยการละลายพฤตกิ รรม การสรา้ งผนู้ ากล่มุ /ผนู้ าร่นุ
2. การแนะนาตนเอง การสร้างความคนุ้ เคย
3. การสรา้ งสญั ลักษณร์ ่วม
4. การปรับฐานการเรียนรู้
5. การแบ่งกลุม่
6. การรบั ผ้าพันคอ

6

7. การมอบหมายบทบาทหนา้ ท่ี
8. การสร้างความคาดหวงั

เทคนคิ /วิธีการ
ทีมวิทยากรแนะนาตัวเองและเกริ่นนาถึงวัตถุประสงค์ของการปรับฐานการเรียนรู้และการ

ละลายพฤติกรรม เป็นการสร้างบรรยากาศที่ดีและปลอดภัย ซึ่งการเรียนรู้ท่ีจะทาให้ทุกคนมีส่วนร่วมได้นั้น
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องเปิดใจ “ถอดหัวโขน” ลดอายุให้เหมาะสมแก่กิจกรรม โดยใช้หลัก 3 ค คือ คึกคัก
คล่องแคล่ว ครนื้ เครง จึงเชิญชวนใหท้ ุกคนทเ่ี ข้ารบั การฝกึ อบรมรว่ มทากิจกรรม ดงั น้ี

ทีมวิทยากรนาผู้เข้ารับการฝึกอบรมทุกคนเข้าสู่กระบวนการสร้างความพร้อมด้วยการ
จัดรูปแบบการน่ัง โดยให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมยกเก้าอี้ออกแล้วน่ังกับพื้น แล้วส่ังปรบมือ 1 คร้ัง 2 ครั้ง 3 คร้ัง
เสร็จแล้ววิทยากร สั่งปรบ 3 คร้ัง ..ปรบมือ 3 ครัง้ .. ปรบมือ 7 คร้ัง.. ลองส่ัง 3 เท่ยี ว จากนน้ั วทิ ยากรแบ่งทีม
ผ้เู ข้าอบรมออกเป็น 2 ฝง่ั โดยให้ฝัง่ หน่ึงรอ้ งเพลง “ชา้ ง” อกี ฝงั่ หนง่ึ รอ้ งเพลง “ย้ิม” เริ่มดว้ ยการรอ้ งทีละฝั่งให้
อีกฝั่งน่ังฟัง 1 – 2 รอบ และร้องเพลงของฝ่ังตนเองพร้อมกันทั้ง 2 ฝั่ง จากนั้นให้แต่ละฝ่ังรอ้ งเพลงตัวเองในใจ
สุดท้ายของเนอื้ รอ้ งทกุ คนต้องร้อง “เฮ” พร้อมชมู ือขน้ึ

วทิ ยากรแบ่งทมี ชาย – หญิง แลว้ ใหท้ กุ คนจบั คู่กันเปา่ ยงิ ฉบุ เพอ่ื หาผู้ชนะ ผูท้ แี่ พ้ตอ้ งไปต่อ
แถวของคู่เราท่ีชนะ ดาเนินการต่อไปเร่ือย ๆ จนเหลือผู้ท่ีชนะฝ่ายชาย และผู้ชนะฝ่ายหญิง ให้ทั้ง 2 ฝ่าย เป่า
ยงิ ฉบุ กันหาฝ่ายชนะ วิทยากรสงั่ ใหฝ้ ่ายท่ีชนะอยากใหฝ้ ่ายทแ่ี พ้ทาอะไรสามารถส่งั ได้เลย

วิทยากรให้ทั้ง 2 ทีม ยืนเข้าแถว นับ 1 – 6 ไปเร่ือย ๆ เพื่อทาการแบ่งกลุ่ม เม่ือได้หมายเลข
แล้วให้นั่งจับกลุ่มรวมกัน และให้สมาชิกแต่ละกลุ่มทาความรู้จักกัน จากน้ันให้แต่ละกลุ่มคัดเลือกผู้ใหญ่บ้าน
ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน และน้องเล็กตามลาดับ พร้อมแนะนาบทบาทหน้าท่ีของแต่ละตาแหน่ง จากนั้นให้แต่ละกลุ่ม
ตั้งช่ือบ้าน สโลแกนพร้อมท่าทางประกอบ เพื่อใช้ในประกอบกิจกรรมการเข้าฐานเรียนรู้ เสร็จแล้วสาธิตให้
เพอ่ื นดูทีละกล่มุ

วิทยากรให้ทุกกลุ่มสีนั่งเป็นแถวตอน และให้ผู้ใหญ่บ้าน ทั้ง 6 กลุ่มสี เลือก “กานัน” หรือ
ผนู้ ารนุ่ เสร็จแลว้ ใหก้ านนั เลือกสารวตั รกานนั แนะนาบทบาทหน้าที่ วิทยากรทบทวนวิธกี าร การใชค้ าสงั่ “ใส่
รหัส” จากน้ันแจกบัตรคาให้ผูเ้ ขา้ รบั การฝึกอบรมเขียนกฎกติกาการอย่กู นั และความคาดหวงั จากการเข้าร่วม
โครงการ สรุปได้ ดังน้ี

กฎ กติกาการอยรู่ ว่ มกนั ความคาดหวงั

1. ตรงต่อเวลา 1. ได้รบั ความรู้
2. มีมารยาท 2. สามารถนาไปปฏบิ ตั ิต่อยอดได้
3. มีความสามัคคี 3. มีเครือขา่ ย
4. รกั ษาความสะอาด 4. ออกแบบไดอ้ ย่างมืออาชพี
5. พูดจาไพเราะ 5. คุณภาพชวี ิตดีขึ้น
6. ซ่ือสัตย์ อดทน 6. สามารถประกอบอาชพี ยง่ั ยนื
7. เอื้อเฟ้ือเผอื่ แผ่
8. ห้ามดม่ื สรุ า
9. ห้ามเล่นการพนัน

7

วิทยากรอธิบายข้ันตอน/วิธีการการเข้ารับ “ผ้าพนั คอสี” โดยให้ผใู้ หญ่บา้ นตวั แทนกลุ่มสีเป็น
ผู้เข้ารับผ้าพันคอสีต่อหน้าพระบรมฉายาลักษณ์ของในหลวง ร.9 และ ร.10 เสร็จแล้วตัวแทนกลุ่มสีกลับเข้า
ประจากลมุ่ สีแล้วส่งผา้ ผา้ พันคอสีให้สมาชิกจนครบ วิทยากรให้ทุกคนวางผ้าพันคอสีไว้บนมือขวา ตกั ขวา และ
หลับตาเพอื่ ราลกึ ถงึ พระราชกรณียกจิ ของในหลวงท้ัง 2 พระองค์ จากน้นั สัง่ ลมื ตาและกล่าวคาปฏญิ าณตนตาม
กล่าวจบวิทยากรให้พ่ีเลี้ยงแนะนาวิธีการผูกผ้าพันคอสี และมอบภารกิจการดูแลพื้นท่ีของแต่ละกลุ่มสี โดยดู
ตามตารางภารกจิ

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดความสนุกสนาน คุ้นเคยกันมากขึ้น สังเกตจากการมีส่วน

ร่วมในการทากิจกรรมร่วมกัน และมีความพร้อมที่จะเรียนรู้ในเน้ือหาวิชาต่างๆ และทุกคนได้ร่วมกันกาหนด
กฎ กตกิ าการอยกู่ นั ในระหว่างการฝึกอบรมตลอด 5 วนั 4 คนื

วชิ า เรยี นรตู้ าราบนดิน : กิจกรรมเดนิ ชมพืน้ ที่

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื สารวจและศกึ ษาเรียนรตู้ าราจากผนื ดนิ จากพื้นท่ศี ึกษาและพฒั นาชุมชนอบุ ลราชธานี
2. เพ่อื วิเคราะหแ์ ละนาเสนอส่งิ ทส่ี งั เกตเหน็ และส่งิ ทไี่ ดจ้ ากการลงพ้ืนทใี่ นการเรียนรู้

ระยะเวลา 1 ชว่ั โมง

ขอบเขตเน้ือหาวชิ า
1. ศึกษา สารวจพนื้ ท่ี
2. บนั ทึกผลการเรียนรตู้ ามประเดน็ ต่าง ๆ
3. แลกเปลีย่ นเรียนรู้เตมิ เม

เทคนคิ /วธิ กี าร
วิทยากรมอบภารกิจให้แต่ละกลุ่มสีสารวจพื้นท่ีตามใบงาน ให้บันทึกผลการเรียนรู้ตาม

ประเดน็ ต่าง ๆ โดยมวี ิทยากรประจากลุม่ สพี าไปสารวจในพ้นื ท่ีแต่ละโซน ก่อนปลอ่ ยให้ไปพน้ื ท่ีสารวจของจริง
วทิ ยากรเนน้ ยา้ “อย่าด้วยตัดสินใจ ไมแ่ นะนา ไม่คดิ ชว่ ยแกไ้ ขปัญหา” ประเด็นคาถามตามใบงาน

- ทา่ นเหน็ อะไรจากการสารวจ
- ท่านได้อะไร จากการสารวจ ให้นา/หยิบ สิ่งของเหล่านั้นมา 1 ช้ิน เพ่ือนาเสนอกับเพ่ือนใน
ห้อง
เสร็จแล้วส่งตัวแทนนาเสนอส่ิงที่ได้จากการสารวจ และสิ่งที่ได้มาต่อที่ประชุมใหญ่ วิทยากร
กระบวนการเตมิ เตม็

สรุปสง่ิ ที่ไดจ้ ากกจิ กรรมเดินชมพนื้ ที่
1. เห็นอะไรจากการสารวจ
1) แปลงสาธติ
2) สระน้า
3) คลองไสไ้ ก่

8

4) เรือนเพาะชา
5) สวนสมุนไพร
6) พชื ผกั ชนิดต่าง ๆ
7) การปลูกป่า 5 ระดับ
2. เรยี นร้จู ากการสารวจ
1) การวางระบบน้า
2) การออกแบบวางแปลน การจดั การพ้นื ท่ี
3) การปอ้ งกนั การพงั ทลายของดนิ โดยการปลูกหญ้าแฝก
4) การหม่ ฟางเพ่อื ใหพ้ ชื ช่มุ ช้ืน
5) การขดุ สระแบบลาดเอียง
6) การปลกู ปา่ 5 ระดับ
7) มแี หลง่ อาหารในครัวเรือน
8) ระบบการจัดการแบบเกอ้ื กูลกนั
9) การจัดสรรพน้ื ท่ใี ห้เกิดประโยชนส์ งู สดุ
10) รปู แบบการจดั การพ้ืนท่ี
11) รปู แบบ โคก หนอง นา โมเดล
ส่งิ ท่หี ยิบมา
1) ฟาง ประโยชน์

- ใช้ในการรกั ษาความชื้นของหน้าดนิ
- เปน็ ปุ๋ย
- เปน็ อาหารสัตว์
2) ใบกลว้ ย ประโยชน์
- ใบใช้หอ่ อาหาร ทาพานบายศรี
- ผล แกท้ ้องผกู ประกอบอาหาร บารงุ หวั ใจ
- ลาต้น เปน็ อาหารสัตว์
3) ใบหมอ่ น ประโยชน์
- ใชต้ ้มกบั นา้ ดื่มเปน็ ยาระงับประสาท ชว่ ยแก้อาการปวดศีรษะ แก้

กระหายน้า เปน็ ยาชว่ ยขับลม

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมใหค้ วามสนใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการกระตือรือร้นในการเดิน

ชมพื้นท่ี การมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การพูดคุย ซัก-ถาม การแสดงความ
คดิ เหน็ และช้นิ งานท่ไี ดจ้ ากการสารวจพืน้ ท่ี

9

วชิ า ถอดบทเรยี นจากการฝึกปฏบิ ัตฐิ านการเรยี นรู้

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมรูแ้ ละเข้าใจถึงการน้อมนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

มาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั และสามารถปฏิบตั ิจนเป็นวิถีชีวติ
2. เพอ่ื ใหผ้ เู้ ข้ารบั การฝึกอบรมมที กั ษะ ความรู้ในแต่ละฐานการเรยี นรูแ้ ละนาไปปฏิบัตไิ ด้
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนาความรู้และเทคนิคในฐานต่าง ๆ ไปประยุกต์ใช้

เป็นอาชพี เสรมิ ในครัวเรอื น เพ่ือให้เกิดรายได้และพงึ่ พาตนเองได้

ระยะเวลา 6 ชว่ั โมง

ขอบเขตเน้อื หาวชิ า
เรียนรู้ฐานคนมีน้ายา, ฐานรักษ์สุขภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถ่าน, ฐานคนรักษ์แม่ธรณี

และฐานคนรักษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ

เทคนิค/วธิ ีการ
วิทยากรกระบวนการแนะนาฐานการเรียนรู้แต่ละฐาน ท้ังหมด 6 ฐานการเรียนรู้

ประกอบดว้ ย ฐานคนมีน้ายา, ฐานรกั ษ์สขุ ภาพ, ฐานคนมีไฟ, ฐานคนเอาถา่ น, ฐานคนรักษ์แมธ่ รณี และฐานคน
รักษ์โลกพระแม่โพสพ ซ่ึงแต่ละฐานการเรียนรู้จะมีทีมวิทยากรประจาฐานท่ีจะให้ความรู้ สาธิต และแนะนาผู้
เข้ารับการฝึกอบรม จากนั้นวิทยากรแบ่งกลุ่มผ้เู ข้ารบั การฝึกอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมาย
งาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการเรียนรู้ในแต่ละฐานในประเด็น สิ่งท่ีได้จากการเรียนรู้ และจะ
นาไปใช้ประโยชน์หรือต่อยอดอย่างไร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามที่ปรากฏ
ดงั นี้

สรปุ ผล/ถอดบทเรียนการฝกึ ปฏบิ ตั ิจากฐานการเรียนรู้

ฐานเรียนรู้คนมนี า้ ยา

ขอ้ ดี
1. ลดค่าใช้จา่ ยในครวั เรือน
2. นาเจลแอลกอฮอลล์ ้างมือไปใช้ในชีวติ ประจาวันในชว่ งสถานการณโ์ ควิค 19
3. นาวธิ ีการทาเจลลา้ งมอื ไปต่อยอด โดยการถ่ายทอดองค์ความรแู้ ก่คนในชมุ ชนให้สามารถนาไป

ปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั
4. ส่งเสรมิ การรวมกล่มุ อาชีพ สรา้ งรายไดใ้ ห้แก่ครัวเรอื นและชมุ ชน
5. มคี วามปลอดภยั ต่อผู้บรโิ ภค
6. เพ่ือพัฒนาท้องถิ่นให้มรี ายได้

ความรทู้ ่ไี ด้รับ
1. ร้วู ธิ กี ารทาเจลล้างมอื ไว้ใช้เอง และสามารถนาความร้ไู ปถ่ายทอดส่ชู ุมชนต่อไปได้
2. ไดค้ วามสามัคคใี นหมู่คณะ และฝึกสมาธิ (ทาให้ใจเยน็ ) ในกระบวนการผลิต

10

ฐานคนรกั ษ์สขุ ภาพ

สิง่ ทไ่ี ด้
1. เร่อื งสมุนไพร
- ประเภท
- ประโยชน/์ สรรพคณุ
- การนาไปใช้
2. การทาสปาเทา้
- ใชส้ มุนไพรใกลต้ ัว เชน่ ผวิ มะกรูด มะนาวหั่นช้ินเป็นแว่น ขมิ้น ไพล ใบมะขาม ใบเปา้

ใบหนาด เกลือ นา้
สรรพคณุ

1. ช่วยขบั สารพิษในร่างกาย
2. ช่วยใหผ้ อ่ นคลาย
การนาไปใช้/ต่อยอด
1. สมุนไพรอบแห้งเพ่ือสร้างรายได้
2. การแปรรูป
- ลกู ประคบสมนุ ไพร
- เครอ่ื งดม่ื สมนุ ไพร
- สมุนไพรพอกหน้า
- น้ามันไพล

ฐานคนมีไฟ

ขอ้ ดี
1. ลดค่าใช้จ่ายในครวั เรือน ประหยดั ตน้ ทุน
2. ต่อยอดเป็นพลงั งานทดแทน
3. รกั ษ์โลก ไม่ทาลายสงิ่ แวดล้อม
4. สะดวก ขอใหม้ ีแสงอาทติ ย์
5. มีความปลอดภยั
6. บารงุ รกั ษางา่ ย
7. ใช้งานงา่ ย
8. ไดพ้ ลงั งานสะอาด
9. เป็นพลงั งานธรรมชาตทิ ไี่ ม่มวี นั หมดอายุ
10. ใชส้ ูบน้าเขา้ นาข้าว

ขอ้ เสีย
- ต้องมที ักษะด้านช่าง

11

ฐานคนเอาถ่าน

จากการปลูกป่า 3 อย่าง ประโยชน์ 4 อยา่ ง เช่น
- ไมอ้ าหาร/สมนุ ไพร
- ไมใ้ ช้สอย
- ไม้เศรษฐกิจ

สิ่งทไี่ ด้
1. สภาพแวดลอ้ มทดี่ ี
2. วิธีการเผาถา่ นโดยใช้ถงั นา้ มนั 200 ลิตร และการสร้างเตาผลติ ถ่าน
3. รู้วธิ ีกลนั่ น้าสม้ ควนั ไมแ้ ละการนาไปใชป้ ระโยชน์
4. ทราบประโยชน์ของถ่าน “ชาโคล”
5. การจดั การของเหลอื ใชจ้ ากการทาการเกษตร เชน่ เปลือกผลไม้
6. วธิ ีการทาถา่ นอัดแท่งจากเศษถ่าน

การนาไปใช้ประโยชน์
1. ทีม่ าของธนาคารต้นไม้
2. ประโยชนจ์ ากการตัดแต่งก่ิงไม้

ฐานคนรกั ษ์โลกรักแมโ่ พสพ

สิ่งท่ีได้
1. วิธปี ลกู ข้าว กข 43
2. ปลูกพชื ใช้นา้ นอ้ ย โดยใช้ปยุ๋ นา้ ชาม/แหง้ ชามวธิ ีเล้ียงหอย กงุ้ ปู
3. โครงสร้างของดิน
1) อากาศ 25 %
2) อนินทรีย์วัตถุ 45 %
3) น้า 25%
4) อินทรียวตั ถุ 5%
4. วิธกี ารเตรยี มดิน ห่มดนิ โดยการนาฟางขา้ วมาคลุมดนิ โคนต้นไม้ให้เหมอื นขนม “โดนทั ”
1) แหง้ ชาม คือใสป่ ุ๋ยแหง้
2) นา้ ชาม คอื ใสจ่ ุลินทรยี ์นา้ หมกั หน่อกลว้ ย (รสจดื )

ประโยชน์ทไี่ ด้รบั คือ ผลผลิตเพ่ิมขนึ้ ปลอดสารเคมี และที่สาคญั ดนิ ดี ปลูกอะไรกง็ าม
ต่อยอด

การนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวัน

+

12

คนรักษแ์ มธ่ รณี

สงิ่ ท่ไี ด้
1. หลกั กสิกรรมธรรมชาติ
1) ดนิ
2) น้า
3) ลม
4) ไฟ
2. คาถาเลีย้ งดิน “เล้ียงดิน ให้ดนิ เล้ยี งพืช”
1) หม่ ดนิ ดว้ ยฟาง ใบไม้ ใบหญา้
2) แห้งชาม/นา้ ชาม ใชบ้ ารุงดิน
3. วธิ กี ารทาปุ๋ยแห้งชาม/น้าชาม โดยใช้สมุนไพร 7 รส ประกอบด้วย
- รสจืด
- รสขม
- รสฝาด
- รสเปรี้ยว
- เมาเบ่อื
- หอมระเหย
- รสเผด็ ร้อน

สูตรน้าชาม 3:1:1:10
3 = สมนุ ไพร
1 = หวั เช้อื
1 = นา้ ตาลทรายแดง
10 = นา้ สะอาด

สูตรแห้งชาม
1 : มลู สตั ว์
1 : แกลบ/ใบไม้
1 : ราละเอยี ด
1 : หัวเชอ้ื จลุ ินทรยี ์
10 : น้าสะอาด

4. องค์ประกอบของดนิ ดี

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดี สังเกตจากการกระตือรือร้นในการ

เรียนรู้ในแต่ละฐาน การมีส่วนร่วมในกิจกรรม การฝึกปฏิบัติ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกัน การพูดคุย
ซกั -ถาม การแสดงความคดิ เห็น และชนิ้ งานที่ไดจ้ ากการถอดบทเรียน

13

วชิ า ถอดบทเรยี นผา่ นสอ่ื “วถิ ีภมู ปิ ัญญาไทยกบั การพ่งึ ตนเองในภาวะวิกฤติ”

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่ือให้ผู้เข้ารับฝึกอบรมได้สังเคราะห์ความรู้ท่ีได้รับจากวิทยากรที่ได้มาบรรยายในแต่ละ

วิชา
2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความรู้ความเข้าใจสถานการณ์โลกปัจจุบันกับการ

เปล่ียนแปลงของดิน ฟ้า อากาศ และตระหนกั ถงึ วิกฤติปัญหาด้าน ดิน นา้ ลมไฟ โรคตดิ ต่อระบาดทอ่ี าจเกิดข้ึน
ในประเทศไทยและการปอ้ งกันภยั

3. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของการน้อมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปประยกุ ตใ์ ช้ในการดารงชวี ติ

ระยะเวลา 2 ช่ัวโมง

ขอบเขตเนื้อหาวิชา
1. ภาวะวกิ ฤติสงั คมโลก สงั คมไทย
2. ถา้ เข้าสภู่ าวะวิกฤติจะเอาตัวรอดอย่างไร
3. ทางออกวิกฤติ ดิน นา้ ป่า คน ด้วยโคก หนอง นา

เทคนคิ /วธิ กี าร
วิทยากรแนะนาตวั กล่าวทกั ทายผูเ้ ขา้ รับการฝึกอบรม เกริน่ นาถึงวตั ถุประสงคข์ องวิชา แลว้

เชิญชวนผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมชมคลิปวิดที ัศน์ “แผ่นดินวิกฤติ” จากน้ันวิทยากรแบ่งกลมุ่ ผูเ้ ข้ารับการฝึกอบรม
ออกเป็น 6 กลุ่ม (กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มถอดบทเรียนจากการชมสื่อใน
ประเด็น ได้ข้อคิด/มุมมองอะไรบ้าง และจะทาอย่างไรต่อไป เสร็จแล้วส่งผ้แู ทนนาเสนอกลุ่มละ 7 นาที และ
เปดิ เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนรู้ สรุปภาพรวมตามที่ปรากฏ ดงั นี้

ถอดบทเรียนผ่านส่ือ “วถิ ีปัญญาไทยกบั การพง่ึ ตนเองในภาวะวกิ ฤติ”

สงั คมโลก/สงั คมไทย ถ้าเข้าสู่ภาวะวกิ ฤตทา่ นจะเอาตวั ท่านจะช่วยเหลือชุมชน/ครวั เรอื นใหร้ อด

รอดอยา่ งไร จากวิกฤตอย่างไร

- ส่งิ แวดลอ้ มถูกทาลาย - คืนสรู่ ากเหงา้ ยดึ ทางสายกลาง - สง่ เสรมิ ให้ประชาชนนอ้ มนาหลัก

- เกดิ ภัยพบิ ัติทางธรรมชาติ อย่อู ยา่ งพอเพียง ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปฏิบตั ิ

- การเปลี่ยนแปลงทางภมู ิอากาศโลก - ปรับตัวเอง/ทบทวนตวั เอง/ จนเปน็ วถิ ีชีวิต

มรผลกระทบต่อความมั่นคงทางอาหาร เรียนรู้ - ส่งเสริมการปรบั เปล่ียนวิธคี ดิ ทศั นคติ

- ความเหล่อื มล้าทางสังคม - ฟื้นฟู พัฒนาทรัพยากรท้องถ่นิ คนในชมุ ชน

- ขาดการวางแผนชีวติ - พ่ึงพาตนเอง/ยึดหลักความ - แนะนาการทาเกษตรแบบผสมผสาน

- ภาวะวกิ ฤตโลก (ความขัดแยง้ , พอเพยี ง - ตงั้ สติ/ให้ความรู้ โดยการสนับสนุนให้

ภัยพบิ ตั ิ,โรคภยั ) - ความสามคั คี คนในชุมชนพ่ึงพาตนเองและทรัพยากรท่ี

- คนตกงาน - การน้อมนาหลักปรัชญาของ มี เพ่อื ให้พอกนิ /พอใช้/พออยู่/พอร่มเย็น

- ระบบทุนนยิ มทาใหโ้ ลกหายนะ เศรษฐกิจพอเพียงมาปฏบิ ัติใน - การเข้าถงึ แหลง่ ความรูข้ องคนในชุมชน

- ผลกระทบของการกระทาของมนุษย์ ชวี ติ ประจาวนั - สง่ เสรมิ การขับเคล่ือน โคก หนอง นา

ทท่ี าลายธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม - สร้างภมู คิ ุ้มกนั ทางอาหาร โมเดล ใหส้ าเรจ็

14

- ขาดความสมดุล - ตงั้ สติ/อดทน - สร้างความมัน่ คงทางอาหาร
- รณรงค์การปลกู ผักสวนครัว รัว้ กินได้
- เห็นความสาคัญของการสร้างความ - หาสาเหตปุ ญั หา แล้สหา - เรยี นรูอ้ ดตี
- ส่งเสริมการจดั ตั้งกลมุ่ อาชีพสูค่ วาม
มนั่ คงทางอาหาร ทางออก ยั่งยนื
- ประสานหนว่ ยงานภาคีชว่ ยเหลอื
- เกิดภาวะภยั แล้ง/ภาวะโลกร้อน - ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม - สง่ เสรมิ ใหพ้ ง่ึ พาธรรมชาติ
- สงั คมเกื้อกูล
- ภยั นา้ ทว่ ม - ลดการพงึ่ พาคนอ่ืน สรา้ งโลก - สร้างความปรองดอง
- หนั หลงั ดอู ดตี มองหน้าสู่เปา้ หมายใหม่
- ความอดอยาก ใหมด่ ว้ ยเศรษฐกิจพอเพยี ง - สร้างสัมมาชีพชมุ ชน
- รู้จกั วางแผนการจดั การชวี ติ โดยใช้
- การอพยพแรงงาน - การสรา้ งเครือขา่ ย ธรรมะเข้ามาช่วย
- ใหค้ วามรู้ถงึ สถานการณภ์ ัยทีจ่ ะมาถงึ
- การบริโภคนิยม - รกั ษาสุขภาพและจติ ใจให้ - แนวทางการป้องกันและแนวทางแก้ไข

- ครอบครัวลม่ สลาย เข้มแข็ง

- การแยง่ ชงิ ทรัพยากร - การพ่ึงตนเอง/ช่วยเหลือ/

- การใชท้ รพั ยากรธรรมชาตทิ ี่เกินฟื้นฟู แบง่ ปนั /ทาน

สง่ ผลต่อระบบเศรษฐกิจ สงั คม - คืนถ่ินอยู่อยา่ งพอเพียง

การเมือง - สรา้ งความมนั่ คงทางอาหารใน

- ต้นเหตขุ องความทกุ ขค์ ือ ระบบทุน ครัวเรือน

นยิ มทส่ี ามารถทาลายโลกได้ โดย

นาไปสรู่ ะเบดิ 4 ลูก ในปัจจุบัน

1) วกิ ฤตสง่ิ แวดล้อม

- นา้ ท่วม

- ภัยแลง้

- น้าแข็งข้ัวโลกละลาย

- ดนิ โคลนถลม่

2) วิกฤตสังคม

- ความเหลือ่ มล้าทางสังคม

3) วิกฤตเศรษฐกิจ

- ตกงาน

- หน้ีสิน

4) วิกฤตการแยง่ ชิง (การเมือง)

- รัฐบาลขาดเสถยี รภาพ

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการชมส่ือวิดีทัศน์ เพราะทุกคนเป็น

ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสยี สงั เกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคดิ เห็น การแลกเปล่ยี น
เรยี นรู้ และช้ินงานทไี่ ดจ้ ากการถอดบทเรียน

15

วชิ า ถอดบทเรยี นจากการฝกึ ปฏิบตั ิ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอาม้ือสามคั คี พัฒนาพนื้ ทีต่ าม
หลักทฤษฎใี หม”่

วตั ถุประสงค์
เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมเกิดการแลกเปลี่ยนแรงงาน เอามื้อสามัคคี และเป็นการ

แลกเปล่ียนองค์ความรู้ในด้านการพัฒนาพื้นที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มักรู้จักในช่ือ
กิจกรรม “ลงแขก” หรือ “เอาแรง” ซ่ึงเป็นวัฒนธรรมชุมชนท่ีอยู่คู่กับสังคมไทยมาอย่างช้านาน โดยในช่วง
ระยะหลังนอกจากจะเป็นการแลกเปล่ียนในด้านแรงงานแล้วยังไดเ้ กิดการสร้างความรู้ทีเ่ หมาะสมกับสภาพพน้ื ท่ี

ระยะเวลา 7 ช่ัวโมง

ขอบเขตเนอ้ื หาวชิ า
การทากิจกรรมร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมพลังกันในการประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง พฒั นาพ้ืนที่ตามหลกั ทฤษฎใี หม่

เทคนิค/วธิ ีการ
วทิ ยากรกระบวนการแนะนาทมี วทิ ยากรครูพาทา และเกรนิ่ นาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา

แล้วเชื่อมโยงสู่การบรรยายประกอบส่ือ Power Point ในประเด็นการสารวจพื้นท่ี การวางแผนการดาเนินงาน
การลงมือปฏิบัติโดยมีกิจกรรมท่ีดาเนินการตามบริบทของพื้นท่ี เช่น การขุดคลองไส้ไก่ ห่มดิน ปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อยา่ ง (กระบวนการ 10 ขนั้ ตอน) จากนัน้ วิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น 6 กลุ่ม
(กลุ่มสีเดิม) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัตจิ ริงในพ้ืนท่ี และถอดบทเรียนจากการ
ทากิจกรรมเอาม้ือสามัคคีในประเด็น ได้อะไรจากการเข้าร่วมกิจกรรมเอาม้ือสามัคคี และนาไปใช้ประโยชน์
อยา่ งไร เสร็จแลว้ สง่ ผู้แทนนาเสนอกลมุ่ ละ 5 นาที สรุปภาพรวมตามท่ปี รากฏ ดังนี้

สรปุ ผล/ถอดบทเรยี นจิตอาสาพัฒนาชุมชน เอาม้อื สามคั คพี ัฒนาพื้นท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่

ได้อะไรจากการเขา้ ร่วมกจิ กรรมเอา นาไปใชป้ ระโยชน์อย่างไร จะส่งเสรมิ ชมุ ชนตามหลักกสกิ รรม
มอ้ื สามัคคี ธรรมชาตอิ ยา่ งไร
1. ใชอ้ งคค์ วามรู้ในพื้นท่จี รงิ
1. เรียนรหู้ ลกั กสกิ รรมธรรมชาติ 2. คนสาราญ งานสาเร็จ 1. แนะนาและสง่ เสริมการทาเกษตร
2. เรียนรู้การจดั การพนื้ ท่ี 3. ปรับใช้กับตนเอง ครอบครัว ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ 10
3. การบรหิ ารจดั การ/การวางแผน และแนะนาครัวเรือนเป้าหมาย ขั้นตอน อย่างถูกต้อง
4. การบริหารจดั การดนิ และนา้ ชุมชน และผสู้ นใจ 2. ลงมือปฏิบตั ิเป็นแบบอยา่ งทีด่ ี
5. การแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า 4. การแบ่งงานรบั ผิดชอบตาม (ตวั อย่างที่ดีมคี ่ากวา่ คาสอน) โดยเริม่
6. การออกแบบพนื้ ที่ ความถนัดของแต่ละบุคคล ที่ตัวเราก่อน เพราะการทจี่ ะเป็น
7. การมสี ว่ นร่วม 5. เก้ือกลู แบ่งปนั น้าใจ แบบอย่างให้กบั คนอื่นนน้ั เราตอ้ ง
8. ความสามคั คี 6. การนาความรู้ไปปรบั ใชใ้ นพืน้ ท่ี มนั่ ใจแล้ววา่ สิ่งท่ีเราไดเ้ รยี นรู้มานน้ั
9. ความอบอนุ่ อย่างเหมาะสม เปน็ ส่งิ ที่ถกู ต้อง และเหมาะสมกับ
10. องค์ความรู้ 7. การจดั ระบบ สังคมน้นั ๆ
11. การแบ่งงาน 8. การปรบั สภาพดนิ ใหเ้ หมาะสม 3. เปล่ยี นแนวความคดิ จากทาคน
12. เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติจรงิ เดียวมาเป็นการรวมกลุ่ม

13. กระบวนการ 10 ขน้ั ตอน 9. การบรหิ ารจัดการ 16
14. ออกกาลงั กาย 10. การจัดการพ้นื ที่
15. พฒั นาตนเอง 11. การออกแบบพนื้ ท่ี 4. เป็นครัวเรอื นต้นแบบ
16. ความสนกุ สนาน 12. การพฒั นาทีมงาน/ภาคี 5. นาความรู้ไปสง่ เสรมิ และสรา้ ง
17. ความอดทน เครือข่าย เครอื ข่ายในชุมชน
18. อุดมการณ์ 13. การทางานเป็นทีม 6. เชญิ ชวน/รณรงคใ์ หค้ นในชมุ ชน
19. คดิ สร้างสรรค์ 14. การวางแผน รว่ มทาเกษตรแบบอินทรยี ์
20. คิด/วางแผน/ดาเนินงาน/
ประเมินผลความสาเร็จ

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

วางแผนการดาเนนิ งาน เร่ิมจากการสารวจพืน้ ที่ การออกแบบ และลงมือปฏิบัติ โดยนาข้อมูลจากพ้ืนท่ีจริงมา
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น การ
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การลงมอื ปฏบิ ัติ และช้นิ งานท่ไี ดจ้ ากการฝึกปฏบิ ตั ิ

วชิ า ถอดบทเรียน “Team Building หาอยู่ หากิน”

วัตถุประสงค์
1. เพ่อื ให้ผูเ้ ข้ารับการฝกึ อบรมเข้าใจการพงึ่ ตนเอง และการใช้ทรัพยากรทม่ี ีอยู่อยา่ งจากัดให้

เกิดประโยชน์สูงสดุ ในการดารงชวี ติ
2. เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การฝกึ อบรมรจู้ กั การดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบัติ
3. เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การฝึกอบรมร้จู กั การวางแผนการทางานเปน็ ทีม ไดฝ้ ึกวนิ ยั และคุณธรรม
4. เพื่อการพ่ึงพาตนเอง และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์

สงู สุด
5. เพื่อเสริมสรา้ งปฏิสมั พนั ธ์การทางานเป็นทีม

ระยะเวลา 2 ชว่ั โมง

ขอบเขตเนื้อหาวชิ า
1. การทากิจกรรมแบบพ่ึงตนเอง และใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด

ดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภัยพิบตั ิ วางแผนการทางานเปน็ ทีม ฝกึ วินยั และคุณธรรม
2. การดารงชวี ติ ในภาวะวกิ ฤต/การประสบภยั พิบตั ิ
3. รจู้ กั การวางแผนการทางานเปน็ ทีม ไดฝ้ ึกวนิ ยั และคุณธรรม
4. ความหมาย/เป้าหมาย/รปู แบบ/ความสาคัญ Team Building
5. กติกาการทากิจกรรม
6. สภาพพนื้ ทีใ่ นการดาเนินกิจกรรม

17

เทคนิค/วธิ ีการ
วิทยากรกระบวนการเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา ช้ีแจงกฎกติกาการทากิจกรรม

แบบพึ่งตนเอง และการใช้ทรัพยากรท่ีมีอย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือดารงชีวิตในภาวะวิกฤต/การ
ประสบภยั พิบตั ิ แบง่ กล่มุ ผูเ้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมออกเป็น 6 กลมุ่ (กล่มุ สีเดมิ ) มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้
แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการหาอยู่ หากินในพ้ืนท่ีกาหนดให้ และร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน การ
กาหนดเมนูอาหารตามวัตถุดิบท่ีมีพร้อมลงมือประกอบอาหาร และรบั ประทานอาหารร่วมกนั จากนนั้ วทิ ยากร
ให้แต่ละกลุ่มสีถอดบทเรียนจากการหาอยู่ หากิน ในประเด็น ปัญหาที่พบ นาปัญหาไปต่อยอดสร้างแรง
บันดาลใจ ข้อคิดท่ีได้ และประมาณการค่าอาหาร เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 5 นาที สรุปภาพรวม
ตามที่ปรากฏ ดังนี้

สรปุ บทเรียนจากการฝกึ ปฏิบตั ิการบริหารจดั การในภาวะวกิ ฤต หาอยู่ หากนิ

ปัญหาทพี่ บ นาปัญหาไปต่อยอดสรา้ ง ข้อคิด ประมาณการค่าอาหาร
แรงบันดาลใจ
1. ทรัพยากรไม่เพียงพอ 1. การบรหิ ารจดั การ - คา่ อาหารประมาณ
2. ความคิดแตกตา่ ง 1. สรา้ งเครอื ข่าย/แบ่งปนั
3. ขาดทกั ษะการหาอาหาร 2. สรา้ งทมี 2. คนในครัวเรือนรูจ้ กั 365 บาท สาหรบั คน 18 คน
4. ขาดอปุ กรณ์จาเปน็ ใน 3. เพมิ่ ทกั ษะอาชีพ
การหาอยู่หากนิ 4. สรา้ งครัวชมุ ชน บทบาทหนา้ ที่ เฉล่ียคนละ 21 บาท ตาม
5. วัตถดุ ิบจากดั 5. ปรับตวั ตามสถานการณ์
6. ความชานาญในการ 6. กนิ อยอู่ ย่างง่าย กนิ ส่ิงท่ี 3. อย่าไว้ใจทางอยา่ รายการอาหาร ดังน้ี
ประกอบอาหาร มี
7. หลงไหลในความ 7. คน้ หาเมนูท่หี ลากหลาย วางใจคน 1. ไข่เจยี ว (9 ฟอง) 50 บาท
สะดวกสบาย 8. รู้ รัก สามัคคี
8. อาหารตามแหล่ง 9. การบริหารจัดการภาวะ 4. วธิ เี อาตวั รอดเมื่อใน 2. อ่อมหมูผักรวม 120 บาท
ธรรมชาติมนี อ้ ย จากดั
9. ไม่มที ักษะในการหา 10. ปลกู ผกั เส้ียงสตั ว์ไว้ สถานการณว์ กิ ฤต 3. ผัดถ่วั งอกนา้ มนั หอย
อาหาร บรโิ ภคเอง
10. พ้ืนที่หากินจากัด 11. การเฝา้ ระวงั ความ 5. การแบ่งปนั /เอ้ือ 15 บาท
11. ไม่รสู้ ภาพพื้นท่ี ปลอดภัยในชวี ติ และ
12. อุปกรณ/์ เครือ่ งมือหา ทรพั ยส์ นิ อารีย์/แลกเปล่ียนกนั 4. หมยู า่ งบวกนา้ จม้ิ 90 บาท
อยหู่ ากนิ ไม่เหมาะกับสภาพ 12. สรา้ งความม่นั คงทาง
พ้ืนที่ อาหาร 6. รอบคอบระมดั ระวัง 5. ส้มตา 30 บาท
13. มกี ารลกั ขโมยของกิน 13. เดนิ ตามรอยเท้าพ่อ
ของใช้ สานตอ่ ส่ิงท่ีพ่อทา ในการใชท้ รัพยากร 6. ผกั ชบุ ไขท่ อด 10 บาท
14. ขาดข้อมูลประกอบการ 14. ปลกู ทุกอยา่ งที่กินกิน
ตดั สินใจ ทกุ อย่างทปี่ ลกู 7. การเตรยี มการ 7. ขา้ วสวย 20 บาท
15. ใช้ทรัพยากรให้คมุ้ คา่
16. ความคดิ สรา้ งสรรค์ รองรับภาวะวกิ ฤต 8. ถ่าน 10 บาท

8. ตอ้ งรู้จกั แก้ไขปญั หา 9. ผักสด 20 บาท

เฉพาะหน้า

9. การแบง่ หนา้ ที่

10. การต้งั อยู่ในความ

ไม่ประมาท

11. สร้างภูมิคุ้มกัน

สรา้ งความมนั่ ทาง

อาหาร

12. สร้างเครือข่าย

13. สรา้ งกฎระเบียบ

ร่วมกนั

18

17. ผลติ เครอื่ งมือหาอยู่ 14. ใชท้ รัพยากรทม่ี ีให้
หากนิ เกิดประโยชน์สงู สดุ
15. เก็บเตรียมเมล็ด
พันธพ์ุ ชื /ผกั /สัตว์
16. สร้างนวตั กรรม
ทดแทนอาหาร

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีความกระตือรือร้นเป็นอย่างดี สังเกตจากการมีส่วนร่วมใน

กิจกรรมกลุ่ม การวางแผนการดาเนินงาน เช่น การพูดคุย การมอบหมายภารกิจ การแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ การลงมอื ปฏิบตั ิ และช้ินงานทไ่ี ดจ้ ากการฝกึ ปฏบิ ตั ิ

วิชา การออกแบบภูมสิ งั คมไทยตามหลักการพัฒนาภูมิสงั คมอย่างยั่งยืนเพ่อื การพึ่งตนเอง
และรองรับภัยพิบัติ

วตั ถปุ ระสงค์
เพอ่ื ให้ผเู้ ขา้ รับการฝึกอบรม มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการออกแบบพ้ืนท่ีเชิงภมู สิ ังคมไทย ตาม

หลกั การพัฒนาภูมิสงั คมอยา่ งย่งั ยนื เพ่ือการพ่ึงตนเองและรองรับภยั พิบัติ “โคก หนอง นา โมเดล”

ระยะเวลา 2 ชวั่ โมง

ขอบเขตเนอื้ หาวชิ า
1. สถานการณแ์ ละภาวะวกิ ฤตของโลก ประเทศ ชมุ ชน (นา้ อาหาร พลงั งาน)
1.1 ทรัพยากรนา้
1) การใช้ประโยชน์จากทรพั ยากรน้า
2) สถานการณท์ างน้า
1.2 วิกฤตการณ์เกยี่ วกับแร่และพลังงาน
- การขาดแคลนพลังงาน
2. แนวทางการแกไ้ ขและรองรบั ภัยพบิ ตั ดิ ้วยการบรหิ ารจดั การพน้ื ท่ี “โคก หนอง นา”
3. กรณศี ึกษาความสาเรจ็ “โคก หนอง นา โมเดล”

เทคนิค/วธิ ีการ
วิทยากรแนะนาตัว และเกร่ินนาถึงวัตถุประสงค์ของหัวข้อวิชา แล้วเชื่อมโยงสู่การออกแบบ

เชิงภูมิสังคมไทยท่ีเหมาะสม โดยวิทยากรต้ังคาถามว่า ทาไมต้องออกแบบพื้นท่ี จาเป็นหรือไม่ วิทยากรเล่าถึง
สถานการณแ์ ละวิกฤตของประเทศไทยพร้อมยกตัวอย่างเพื่อนาเข้าสู่ประเดน็ เน้ือหาการออกแบบภูมิสังคมไทย
ตามหลักการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน เพ่ือการพึ่งพาตนเองและรองรับภัยพิบัติ “โคก หนอง นา โมเดล”
การออกแบบพ้ืนที่ชีวิต พร้อมยกตัวอย่างแบบจาลองการจัดการพื้นท่ีกสิกรรมประกอบ เพื่อให้เห็นชัดเจน
ย่ิงขึ้น วิทยากรสรุปเติมเต็มและให้คาแนะนากับผู้เข้ารับการฝึกอบรม จากนั้น วิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการ
ฝกึ อบรมตามลักษณะพน้ื ที่ เช่น หม่บู า้ นเดียวกัน ตาบลเดียวกัน โดยการคละชว่ งอายุ เพ่อื มอบหมายภารกิจให้

19

ฝึกปฏิบัติการจริงสร้างหุ่นจาลอง (กระบะทราย) การจัดการพ้ืนที่ตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ โคก หนอง
นา โมเดล ดังตัวอยา่ งทีป่ รากฏ

20

21

22

23

24

ผลจากการเรียนรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการ

ออกแบบพ้ืนท่ี การปฏิบัติจริง สังเกตจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเห็น
การแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ การลงมอื ปฏิบัติ และชิ้นงานที่ได้จากการฝึกปฏบิ ัติ

วชิ า ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

วัตถปุ ระสงค์
1. เพ่อื ให้ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมมีทกั ษะในการดารงชีวิตแบบพ่ึงพาตนเอง สามารถปฏบิ ตั ิได้มี

การปรบั เปลย่ี นวถิ ชี ีวิต และนาไปสู่การใช้ชวี ิตแบบพอเพยี ง
2. เพื่อกาหนดแนวทาง/เป้าหมายในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่

สอดคล้องกับบรบิ ทพื้นทขี่ องตนเอง
3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมตระหนักถึงความสาคัญของสถาบันพระมหากษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลท่ี 9 ) ท่ีทรงงาน
หนักเพื่อประชาชนและประเทศไทย

4. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการฝึกอบรมสามารถนายุทธศาสตร์การขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งของตัวเองได้

ระยะเวลา 2 ชั่วโมง

ขอบเขตเนอ้ื หาวิชา
1. การกาหนดเปา้ หมายของชวี ติ บนวถิ ีชวี ติ เศรษฐกจิ พอเพียง
2. ออกแบบพ้นื ท่ชี วี ติ การดารงอยบู่ นพืน้ ฐานของการพึง่ พาตนเอง
3. วิเคราะห์บรบิ ทพืน้ ที่ รูเ้ รา รเู้ ขา รู้สถานการณ์ รู้ดินฟา้
4. กาหนดยทุ ธศาสตร์การขบั เคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติสถานทจี่ ริง

เทคนิค/วิธีการ
วิทยากรแนะนาตวั และเกร่นิ นาถงึ วัตถุประสงค์ของหวั ข้อวชิ า แล้วเช่ือมโยงจากการบรรยาย

การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชากลไก 357 สู่การบรรยายประกอบส่ือ Power Point ในประเด็นการ
กาหนดเป้าหมายของชีวิตบนวิถีชีวิตเศรษฐกิจพอเพียง การออกแบบพื้นที่ชีวิตการดารงอยู่บนพื้นฐานของการ
พ่งึ พาตนเอง การวิเคราะหบ์ รบิ ทพ้ืนท่ี รู้เรา รู้เขา รู้สถานการณ์ รู้ดินฟา้ และการกาหนดยุทธศาสตร์การขับเคลื่อน
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติสถานที่จริง จากน้ันวิทยากรแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการฝึกอบรมออกเป็น
กลุ่มจังหวัด จานวน 5 กลุ่ม มอบหมายงานตามใบงาน โดยให้แต่ละกลุ่มลงมือฝึกปฏิบัติจริงในการวางแผน
ยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ เสร็จแล้วส่งผู้แทนนาเสนอกลุ่มละ 10 นาที
ดงั ตัวอยา่ งทีป่ รากฏ

25

กลุ่มที่ 1

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รเู้ รา : เรามีความสามารถถ่ายทอดองคค์ วามรู้แก่ครัวเรือนเปา้ หมายได้มากน้อยเพยี งใด
1.2 รเู้ ขา : กลมุ่ เป้าหมายทจ่ี ะเข้ารว่ มกิจกรรมมีองคค์ วามรู้เก่ียวกบั เกษตรอินทรีย์มากน้อยเพยี งใด
1.3 ร้สู ถานการณ์ : ต้องรจู้ ักกาหนดระยะเวลาท่ีเหมาะสมของกลุ่มเป้าหมายทจ่ี ะเข้ารว่ มกิจกรรม
1.4 รู้ฟา้ รูด้ นิ : รสู้ ภาพดนิ ฟ้า อากาศของพน้ื ที่

2. วิเคราะห์ปญั หาหรือจดุ ตาย : ขาดแหล่งนา้ ในการทาการเกษตร
3. กาหนดเป้าหมายทีจ่ ะตอ้ งเอาชนะ : ขดุ สระกักเกบ็ น้า
4. วิธกี ารทจี่ ะไปใหเ้ ปา้ หมายท่ีจะต้องเอาชนะ

4.1 ขุดสระ ขุดเจาะบ่อบาดาล
4.2 ขุดคลองไสไ้ ก่
4.3 ขุดคลุมขนมครก
5. แผนการปฏิบตั ิงานทจี่ ะให้ถึงเป้าหมาย
5.1 ให้ความร้ศู าสตร์พระราชา หลักสิกรรม ทฤษฎบี ันได 9 ขัน้
5.2 เอาม้ือสามัคคี (ลงแขก) ครง้ั ท่ี 1 ประเมินความสุขมวลรวม GVH
5.3 เอาม้ือสามคั คี (ลงแขก) คร้ังที่ 2 ประเมนิ ความสุขมวลรวม GVH
5.4 สนบั สนุนอาชีพ
5.5 ประเมนิ หมู่บ้านเศรษฐกจิ พอเพียง 4 ด้าน 23 ตัวชี้วดั

26

กลุ่มที่ 2

1. วิเคราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : มีองค์ความรู้ด้านหลกั กสกิ รรมข้ันพน้ื ฐาน
1.2 รูเ้ ขา : ร้สู ภาพแวดลอ้ ม และตน้ ทนุ ของกลุม่ เป้าหมาย 30 ครวั เรอื น
1.3 ร้สู ถานการณ์ : ปัญหาสงั คม การขาดแคลนด้านทรพั ยากร
1.4 รฟู้ า้ รู้ดิน : สภาพอากาศท่เี ปลยี่ นแปลง ความแหง้ แล้ง นา้ ท่วม ดนิ เค็ม

2. วเิ คราะห์ปัญหาท่มี ี หรือจุดตาย : ปญั หาภัยแลง้
3. กาหนดเปา้ หมายทีจ่ ะตอ้ งเอาชนะ : ศึกษาหาความรู้เพิ่มเตมิ มีการวางแผนจัดทาระบบนา้ ใหด้ ี
4. วิธกี ารท่ีจะไปให้ถึงเปา้ หมายท่ีจะต้องเอาชนะ

4.1 ขุดสระกักเก็บน้า สร้างธนาคารน้าในชุมชน
4.2 ปรับสภาพภูมสิ งั คมใหเ้ หมาะสม
4.3 วางระบบการบริหารจดั การนา้
5. แผนการปฏบิ ตั ิงานที่จะให้ถึงเป้าหมาย
5.1 ให้ความรศู้ าสตร์พระราชา หลักสกิ รรม ทฤษฎีบนั ได 9 ขัน้
5.2 เอาม้ือสามัคคี (ลงแขก) คร้ังท่ี 1 ประเมนิ ความสุขมวลรวม GVH
5.3 เอาม้ือสามัคคี (ลงแขก) คร้งั ท่ี 2 ประเมนิ ความสุขมวลรวม GVH
5.4 สนบั สนนุ อาชพี
5.5 ประเมินหมูบ่ า้ นเศรษฐกิจพอเพยี ง 4 ดา้ น 23 ตัวชวี้ ดั

27

กลุม่ ที่ 3

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : รจู้ กั ตวั ตน
1.2 รูเ้ ขา : รจู้ กั เพื่อนบ้าน 30 ครัวเรอื น
1.3 รู้สถานการณ์ : ร้จู ักสิ่งแวดล้อม โรคระบาด วกิ ฤตเศรษฐกิจ วกิ ฤตสงั คม
1.4 รูฟ้ า้ รู้ดนิ : รู้จกั วเิ คราะห์ดนิ ทิศทางลม ทิศทางนา้

2. วิเคราะหป์ ัญหาหรือจุดตาย : ไมม่ ีแหลง่ น้าใช้ในการทาการเกษตร
3. กาหนดเปา้ หมายทีจ่ ะเอาชนะ : ตอ้ งการแหล่งนา้ เพ่ือใช้ในการเกษตรตลอดปี
4. วธิ ีการท่ีจะไปให้ถึงเป้าหมายที่จะต้องเอาชนะ

4.1 ขุดสระน้าเพ่ือกักเกบ็ นา้ ฝน ติดต้ังแผงโซล่าเซลล์
4.2 ขุดเจาะบ่อบาดาล
4.3 ขดุ คลองไสไ้ ก่ และขดุ หลุมขนมครก
5. แผนการปฏิบตั งิ านทจี่ ะไปให้ถงึ เป้าหมาย
5.1 ใหค้ วามรู้ศาสตร์พระราชา หลักสิกรรม ทฤษฎีบนั ได 9 ข้นั
5.2 เอาม้ือสามคั คี (ลงแขก) ครง้ั ท่ี 1 ประเมินความสุขมวลรวม GVH
5.3 เอาม้ือสามัคคี (ลงแขก) ครง้ั ที่ 2 ประเมนิ ความสุขมวลรวม GVH
5.4 สนับสนุนอาชีพ
5.5 ประเมินหมูบ่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 4 ด้าน 23 ตวั ชีว้ ัด

28

กลุ่มท่ี 4

1. วิเคราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : องคค์ วามรูใ้ นการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ใหเ้ หมาะสม
1.2 ร้เู ขา : พืน้ ฐานด้านการเกษตรของ 30 ครัวเรอื น
1.3 ร้สู ถานการณ์ : รู้สถานการณป์ ัญหาดา้ นเศรษฐกิจ สังคม เกิดโรคระบาด เราต้องพ่ึงพาตนเอง
1.4 รดู้ ินฟ้าอากาศ : สภาวะโลกร้อน ฝนไม่ตกต้องตามฤดกู าล เกิดภยั แลง้

2. วิเคราะหป์ ญั หาหรือจดุ ตาย : แหลง่ น้าเพ่ือการเกษ
3. วิธีท่ีจะเอาชนะ : ขุดสระ และเรียนรูก้ ารนาระบบโซลา่ เซลล์มาใช้
4. จะไปให้ถงึ เปา้ หมายได้อย่างไร

4.1 ขุดเจาะบ่อบาดาลเพือ่ นาระบบโซลา่ เซลลม์ าใช้
4.2 ขุดสระกักเก็บน้า ขดุ คลองไสไ้ ก่
4.3 ปลกู ปา่ 5 ระดับ
5. แผนการปฏิบัตงิ านที่จะไปใหถ้ งึ เป้าหมาย
5.1 ให้ความร้ศู าสตร์พระราชา หลักสกิ รรม ทฤษฎบี ันได 9 ข้ัน
5.2 เอามื้อสามคั คี (ลงแขก) ครง้ั ท่ี 1 ประเมินความสุขมวลรวม GVH
5.3 เอาม้ือสามัคคี (ลงแขก) ครง้ั ที่ 2 ประเมินความสุขมวลรวม GVH
5.4 สนบั สนุนอาชพี
5.5 ประเมินหมบู่ า้ นเศรษฐกจิ พอเพียง 4 ด้าน 23 ตวั ชว้ี ัด

29

กลมุ่ ที่ 5

1. วเิ คราะห์ 4 รู้
1.1 รู้เรา : ตัวเรามีความรู้ ความสามารถมากน้อยเพียงใด ต้องการตวั ชว่ ยหรือไม่
1.2 ร้เู ขา : ครัวเรือนเป้าหมาย 30 ครัวเรอื น น้นั มีพน้ื ฐานด้านการเกษตรมากนอ้ ยเพียงใด
1.3 รู้สถานการณ์ : ทุกสว่ นพร้อมหรือไม่
1.4 ร้ฟู ้าดนิ : สภาพดิน ฟา้ อากาศ น้าอานวยหรือไม่

2. ปญั หาหรอื จุดตาย : น้าท่ีใช้ในการเกษตรไมเ่ พียงพอ
3. กาหนดเปา้ หมาย :

3.1 ขุดสระน้าเพือ่ กักเกบ็ นา้
3.2 ขุดคลองไส้ไก่ ทาหลมุ ขนมครก และตะพักน้า
3.3 ติดตง้ั แผงโซล่าเซลล์
3.4 ปลูกต้นไม้ ห่มดนิ ทาปุ๋ยหมัก นา้ หมัก
4. วธิ ีการทจี่ ะไปให้ถึงเปา้ หมาย
4.1 เราต้องเป็นครวั เรอื นตน้ แบบของกล่มุ เป้าหมาย 30 ครัวเรอื น
4.2 เราตอ้ งมีการวางแผนการดาเนินงาน
5. แผนการปฏบิ ัตงิ านทจี่ ะไปใหถ้ ึงเปา้ หมาย

30

ผลจากการเรยี นรู้
พบว่า ผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ความสนใจเป็นอย่างดีในการระดมความคิดเห็นเก่ียวกับการ

จดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ ารยทุ ธศาสตรก์ ารขับเคลื่อนปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏบิ ัติ สงั เกตจากการมสี ่วน
ร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การพูดคุย การแสดงความคิดเหน็ การแลกเปล่ียนเรียนรู้ การลงมือปฏิบัติ และช้ินงานท่ี
ได้จากการฝึกปฏิบัติ

31

ส่วนท่ี 3
การประเมินผลโครงการ

การประเมินผลโครงการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2564 กิจกรรมย่อยที่ 1 สร้างและพัฒนากลไกขับเคล่ือนในระดับพื้นที่ กิจกรรมย่อยท่ี 1.1 สร้างแกนนา
ขับเคล่ือนหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ประเมินได้ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เข้ารับการฝึกอบรม
โดยใช้แบบประเมนิ สาหรบั กลุ่มเปา้ หมาย จานวน 1,595 คน โดยแยกออกเปน็ 16 รุ่น

วธิ ีการประเมิน
1. กลุ่มเป้าหมายที่ใชใ้ นการประเมนิ คือ ผู้แทนครัวเรือนพัฒนาพื้นที่เรียนรู้ “โคก หนอง

นา โมเดล” ท่ีสมัครใจเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จาก 4 จังหวัด ในเขตพ้ืนท่ี
บริการของศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนอุบลราชธานี ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 1,595 คน โดยแยกการ
ดาเนินการฝกึ อบรมออกเป็น 16 รนุ่

2. เคร่ืองมือท่ีใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้แบบประเมินผลภาพรวมโครงการ โดย
แยกออกเปน็ 5 ตอน ดงั น้ี

การประเมินผลโครงการภาพรวม จานวน 3 ตอน ประกอบดว้ ย

ตอนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไป แยกเป็น
1.1 เพศ
1.2 อายุ
1.3 การศกึ ษา

ตอนที่ 2 ความคิดเหน็ ต่อโครงการ
2.1 การบรรลุวตั ถปุ ระสงคข์ องโครงการ
2.2 การประเมินผลระดับความรู้ความเข้าใจและทักษะด้านวิชาการ (ก่อนและหลัง เข้า

ร่วมกิจกรรม) การฝกึ อบรม จานวน 18 ประเด็น ดังนี้
1) กจิ กรรมกลมุ่ สมั พนั ธ์
2) วิชา เรียนรู้ตาราบนดนิ : กิจกรรมเดนิ ชมพนื้ ที่
3) วิชา “เขา้ ใจ เขา้ ถึง พัฒนา ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาทยี่ ่งั ยืน”
4) วชิ า การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบัติแบบเป็นขน้ั ตอน
5) วิชา ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎบี ันได ๙ ข้นั สู่ความพอเพียง”
6) วชิ า “หลักกสิกรรมธรรมชาติ”
7) ฝกึ ปฏิบตั ิฐานเรยี นรู้ (คนมนี า้ ยา, คนมไี ฟ, คนเอาถ่าน , คนรักษ์สขุ ภาพ, คนรกั ษ์
แม่ธรณี , คนรกั ษโ์ ลกพระแม่โพสพ)
8) ถอดบทเรยี นผ่านส่ือ “วิถีภูมิปัญญาไทยกบั การพงึ่ ตนเองในภาวะวกิ ฤติ”
9) วชิ า “สขุ ภาพพึ่งตน พฒั นา 3 ขุมพลงั ” พลังกาย พลังใจ พลงั ปัญญา

32

10) ฝึกปฏิบตั ิ “จติ อาสาพฒั นาชุมชน เอามอ้ื สามคั คี พฒั นาพื้นที่ตามหลักทฤษฎี
ใหม”่

11) ถอดบทเรยี นการฝกึ ปฏบิ ัติ “จติ อาสาพฒั นาชุมชน เอาม้อื สามัคคี พัฒนาพน้ื ที่
ตามหลักทฤษฎใี หม่”

12) วชิ า การออกแบบเชิงภูมิสงั คมไทยตามหลกั การพฒั นาภูมิสังคมอยา่ งยงั่ ยืน เพอ่ื
การพึ่งตนเองและรองรบั ภยั พิบัติ

13) ฝึกปฏิบัติการ สรา้ งหนุ่ จาลองการจดั การพน้ื ท่ีตามหลกั ทฤษฎีใหม่ ประยุกตส์ ู่
โคก หนอง นา โมเดล

14) ฝกึ ปฏิบัตกิ าร Team Building การบรหิ ารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยู่
หากนิ

15) ถอดบทเรยี นการฝกึ ปฏบิ ัติ “การบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤตหาอยู่หากิน
16) วิชา การขับเคลื่อนสืบสานศาสตร์พระราชา กลไก 357
17) การจดั ทาแผนปฏิบตั กิ าร “ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิ”
18) นาเสนอ “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคล่อื นปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การ

ปฏิบตั ิ”
2.3 การประเมินผลระดับความคิดเห็นต่อการนาความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงาน
จานวน 18 ประเดน็ ดังน้ี

1) กจิ กรรมกลมุ่ สัมพันธ์
2) วชิ า เรยี นรู้ตาราบนดิน : กิจกรรมเดนิ ชมพ้ืนที่
3) วชิ า “เขา้ ใจ เข้าถงึ พฒั นา ศาสตร์พระราชากับการพฒั นาที่ยัง่ ยนื ”
4) วิชา การแปลงปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั แิ บบเป็นขัน้ ตอน
5) วชิ า ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง “ทฤษฎบี นั ได 9 ขัน้ สคู่ วามพอเพยี ง”
6) วิชา “หลักกสกิ รรมธรรมชาติ”
7) ฝึกปฏิบตั ิฐานเรยี นรู้ (คนมนี า้ ยา, คนมีไฟ, คนเอาถา่ น , คนรกั ษส์ ุขภาพ, คนรักษ์

แม่ธรณี , คนรักษโ์ ลกพระแม่โพสพ)
8) ถอดบทเรยี นผา่ นสอื่ “วิถภี มู ปิ ัญญาไทยกับการพง่ึ ตนเองในภาวะวิกฤติ”
9) วชิ า “สขุ ภาพพึ่งตน พัฒนา 3 ขุมพลงั ” พลังกาย พลังใจ พลังปญั ญา
10) ฝึกปฏิบัติ “จิตอาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามัคคี พฒั นาพน้ื ที่ตามหลกั ทฤษฎี

ใหม”่
11) ถอดบทเรยี นการฝกึ ปฏิบตั ิ “จติ อาสาพัฒนาชุมชน เอามื้อสามัคคี พัฒนาพ้ืนที่

ตามหลกั ทฤษฎใี หม่”
12) วชิ า การออกแบบเชิงภมู ิสงั คมไทยตามหลักการพัฒนาภมู สิ งั คมอยา่ งยงั่ ยืน เพ่อื
การพึ่งตนเองและรองรับภัยพิบตั ิ
13) ฝึกปฏิบัติการ สรา้ งหุ่นจาลองการจัดการพน้ื ที่ตามหลักทฤษฎใี หม่ ประยกุ ต์สู่

โคก หนอง นา โมเดล
14) ฝกึ ปฏิบตั กิ าร Team Building การบริหารจัดการในภาวะวกิ ฤตหาอยู่

หากิน
15) ถอดบทเรียนการฝึกปฏิบัติ “การบรหิ ารจัดการในภาวะวิกฤตหาอยูห่ ากิน

33

16) วชิ า การขบั เคล่ือนสบื สานศาสตร์พระราชา กลไก 357
17) การจดั ทาแผนปฏบิ ัติการ “ยทุ ธศาสตร์การขบั เคลอ่ื นปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบตั ิ”
18) นาเสนอ “ยุทธศาสตรก์ ารขับเคลอ่ื นปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การ

ปฏิบัติ”
2.4 การประเมนิ ผลระดบั ความพงึ พอใจตอ่ ภาพรวมของโครงการจานวน 4 ดา้ น ดังน้ี

1) ดา้ นวิทยากร
(1) ความรู้ ความสามารถในการถา่ ยทอด/บรรยาย
(2) เทคนคิ และวธิ ีการท่ใี ช้ในการถา่ ยทอดความรู้
(3) การเปิดโอกาสใหซ้ กั ถามแสดงความคดิ เหน็
(4) การสร้างบรรยากาศการเรยี นรู้

2) ด้านการใหบ้ รกิ าร
(1) เจ้าหนา้ ทมี่ กี ิรยิ า มารยาท และการแตง่ กายเหมาะสม
(2) เจ้าหนา้ ทกี่ ระตอื รอื รน้ ในการให้บริการ
(3) สัญญาณ wifi ในห้องฝึกอบรม
(4) สญั ญาณ wifi ในหอ้ งพกั
(5) โสตทศั นปู กรณ์ (ชุดโปรเจคเตอร์ เคร่ืองเสียงฯลฯ) เหมาะสม
(6) หอ้ งฝึกอบรม ห้องพัก ห้องน้า โรงอาหาร และบริเวณโดยรอบมี
ความสะอาด
(7) อาหาร/อาหารวา่ ง/เคร่อื งด่ืม มคี ุณภาพเหมาะสม

3) ดา้ นอาคารและสถานที่
(1) ขนาดหอ้ งฝึกอบรม มคี วามเหมาะสมกบั จานวนผูเ้ ข้าอบรม
(2) หอ้ งอาหารมคี วามเหมาะสม ถกู สุขลักษณะ
(3) ห้องพักมีความเหมาะสม
(4) ห้องน้าอาคารฝกึ อบรม มีความ สะอาด

4) ด้านคณุ ภาพ
(1) ความสอดคลอ้ งของเน้ือหาหลักสูตรกบั ความต้องการ
(2) เน้อื หาหลกั สตู รเป็นปจั จบุ นั ทนั ต่อการเปล่ียนแปลง
(3) ความรูท้ ไ่ี ดร้ ับสามารถนาไปปรบั ใชใ้ นการปฏิบัตงิ านได้
(4) ความค้มุ คา่ ของการฝึกอบรม

2.5 กรมการพัฒนาชุมชนควรเพิ่มเติมความรู้เรื่องใด หรือฝึกทักษะด้านใดให้แก่ท่าน เพ่ือ
ประโยชน์ในการปฏิบัตงิ าน นอกเหนอื จากที่ทา่ นไดร้ บั จากการฝึกอบรมหลกั สตู รนี้

ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นและขอ้ เสนอแนะอื่น ๆ

การวิเคราะหข์ อ้ มูล
1. การวิเคราะห์ข้อมลู ท่ัวไปของกลมุ่ เปา้ หมายใช้คา่ ร้อยละ

2. การวิเคราะหค์ วามคิดเห็นท่ีไดจ้ ากแบบสอบถาม ใชค้ ่าเฉลย่ี x ซึ่งเป็นคาถาม

34

เชิงนิมาน (เชิงบวก) คือ มากท่ีสุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยท่ีสุด โดยการกาหนดเกณฑ์ให้คะแนน
ดงั น้ี

มากที่สดุ มีคา่ เท่ากบั 5
มาก มีคา่ เทา่ กบั 4
ปานกลาง มีคา่ เท่ากับ 3
นอ้ ย มีค่าเทา่ กบั 2
นอ้ ยท่ีสุด มคี ่าเทา่ กบั 1

เกณฑก์ ารประเมนิ
การแปลความหมายระดับความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรมโครงการพัฒนาพ้ืนท่ี

ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ ประยุกต์สู่ "โคก หนอง นา โมเดล" กิจกรรมที่ 1
ฝึกอบรมเพิ่มทักษะระยะส้ันการพัฒนากสิกรรมสู่ระบบเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล

จานวน 537 คน โดยพิจารณาจากคะแนนที่ได้จากแบบสอบถามนามาหาค่าเฉลี่ย xแล้วใช้แปล

ความหมายตามเกณฑก์ ารประเมนิ คา่ ความคิดเห็น ดังน้ี
- ค่าเฉลย่ี ที่ได้รับจากการวิเคราะหร์ ะหวา่ ง 4.50-5.00 มคี ่าเท่ากับ มากทส่ี ดุ
- ค่าเฉลี่ยทไ่ี ดร้ บั จากการวเิ คราะหร์ ะหวา่ ง 3.50-4.49 มีคา่ เท่ากับ มาก
- ค่าเฉลี่ยท่ีไดร้ ับจากการวเิ คราะห์ระหว่าง 2.50-3.49 มีคา่ เท่ากับ ปานกลาง
- ค่าเฉลย่ี ทไ่ี ดร้ ับจากการวิเคราะหร์ ะหวา่ ง 1.50-2.49 มีค่าเท่ากบั นอ้ ย
- ค่าเฉลี่ยทไ่ี ด้รบั จากการวิเคราะหร์ ะหว่าง 1.00-1.49 มีค่าเท่ากบั นอ้ ยที่สุด

เกณฑ์การประเมนิ ทีถ่ อื ว่าผา่ นเกณฑ์จะต้องมีค่าเฉล่ยี ไม่นอ้ ยกวา่ 2.50

35

การประเมินผลภาพรวมของโครงการพัฒนาหม่บู า้ นเศรษฐกิจพอเพียง ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
กิจกรรมย่อยที่ 1 สรา้ งและพัฒนากลไกขบั เคล่ือนในระดบั พืน้ ที่ กจิ กรรมย่อยที่ 1.1 สร้างแกนนาขับเคลอ่ื น
หมบู่ ้านเศรษฐกจิ พอเพียง ฝกึ อบรมหลกั สูตรเพิม่ ทักษะระยะสนั้ การพัฒนากสิกรรมสรู่ ะบบเศรษฐกจิ
พอเพียง รูปแบบ โคก หนอง นา โมเดล (ผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 1,502 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 94.16)
สว่ นที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไป
ตารางท่ี 1 แสดงขอ้ มูลท่ัวไป

ประเดน็ จานวน ร้อยละ
1) เพศ

- ชาย 981 65.31
- หญงิ 521 34.69
2) อายุ

- ตา่ กว่า 20 ปี 15 1.00
- 20–30 ปี 95 6.32
- 31–40 ปี 239 15.91
- 41–50 ปี 505 33.62
- 51–60 ปี 485 32.29
- 60 ปขี ้ึนไป 163 10.85
3) วุฒิการศึกษา

- ประถมศกึ ษา 397 26.43
- มัธยมศกึ ษา 746 49.67
- อนปุ ริญญา 99 6.59
- ปริญญาตรี 209 13.91
- ปรญิ ญาโท 33 2.20
- อื่นๆ 18 1.20

จากตารางท่ี 1 พบว่า
ผู้เข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 981 คน คิดเป็นร้อยละ 65.31 และเพศหญิง

จานวน 521 คน คิดเป็นร้อยละ 34.69 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 41-50 ปี จานวน 505 คน คิดเป็นร้อยละ

36

33.62 รองลงมาตามลาดับคือ อายุระหว่าง 51–60 ปี จานวน 485 คน คิดเป็นร้อยละ 32.29 อายุระหว่าง
31 - 40 ปี จานวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 15.19 อายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 163 คน คิดเป็นร้อยละ 10.85
อายุระหว่าง 20-30 ปี จานวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 6.32 และ อายตุ ่ากวา่ 20 ปี จานวน 15 คน คดิ เป็น
ร้อยละ 1.00 ผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา จานวน 746 คน คิดเป็นร้อยละ 49.67
รองลงมาตามลาดับคือ จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวน 397 คน คิดเป็นร้อยละ 26.43 จบ
การศึกษาระดับปริญญาตรี จานวน 209 คน คิดเป็นร้อยละ 13.91 จบการศึกษาระดับอนุปริญญาจานวน
99 คน คิดเป็นร้อยละ 6.59 จบการศึกษาระดับปริญญาโท จานวน 33 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2.20 และอื่น ๆ
จานวน 18 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 1.20

ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ตอ่ โครงการ

ตารางท่ี 2 แสดงระดบั การบรรลวุ ัตถุประสงค์ของโครงการ

สว่ นที่ 2.1 การบรรลุวัตถุประสงค์ของ ระดบั ความคดิ เห็น

โครงการ ระดับคะแนน คา่ การ

วัตถุประสงค์ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลีย่ แปรผล
ทีส่ ุด กลาง ทีส่ ุด

เพื่อส่งเสริมการใชห้ ลกั ปรชั ญาของ

เศรษฐกิจพอเพียงเปน็ แนวทางในการ 902 529 66 5 0 4.55 ระดับ
พัฒนาหมบู่ ้าน ให้มีระบบการบรหิ าร (60.05) (35.22) (4.39) (0.33) (0.00) มากที่สดุ
จัดการชมุ ชนแบบบรู ณาการที่เข้มแข็ง และ

พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนให้มน่ั คง

ระดับ

ภาพรวม 4.55 มาก

ที่สดุ

จากตารางที่ 2 พบวา่
ผเู้ ข้ารับการฝึกอบรมส่วนใหญ่มีระดบั ความคดิ เห็นเกี่ยวกับการบรรลวุ ตั ถุประสงคข์ องโครงการ

โดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด คา่ เฉลีย่ 4.55

2.2 ความรคู้ วามเขา้ ใจและทักษะก่อนและหลังฝึกอบรม

ตารางที่ 3 แสดงระดบั ความรู้และความเข้าใจด้านวิชาการ (ก่อนและหลังเข้าร่วม

กอ่ นเขา้ รว่ มกิจกรร

ประเดน็ ระดับคะแนน

มาก มาก ปาน นอ้ ย
ท่ีสุด กลาง

1. กิจกรรมกลมุ่ สัมพนั ธ์ 176 336 499 379

(11.72) (22.37) (33.22) (25.23) (
2. วชิ า เรยี นรตู้ าราบนดนิ : กจิ กรรม 176 333 446 410
เดินชมพ้ืนที่

(11.72) (22.17) (29.69) (27.30) (
3. วชิ า “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ศาสตร์ 190 323 466 410
พระราชา

(12.65) (21.50) (31.03) (27.30) (
4. วชิ า การแปลงปรชั ญาเศรษฐกจิ 186 302 448 447
พอเพียงสู่การปฏิบตั ิแบบเปน็ ขัน้ ตอน

(12.38) (20.11) (29.83) (29.76) (

37

มกิจกรรม)

รม หลงั เขา้ ร่วมกิจกรรม

ค่า การ ระดับคะแนน คา่ การ

น้อย เฉลย่ี แปรผล มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เฉลี่ย แปร
ทสี่ ุด ทีส่ ุด กลาง ท่สี ดุ ผล

112 ระดับ 868 577 55 2 0 ระดับ

ปาน มาก
(7.46) 3.06 กลาง (57.79) (38.42) (3.66) (0.13) (0.00) 4.54 ที่สดุ

137 ระดับ 878 556 65 2 1 ระดับ

ปาน มาก
(9.12) 3.00 กลาง (58.46) (37.02) (4.33) (0.13) (0.07) 4.54 ท่สี ดุ

113 ระดบั 890 548 72 1 1 ระดบั

ปาน มาก

(7.52) 3.04 กลาง (59.25) (36.48) (4.79) (0.07) (0.07) 4.57 ทส่ี ดุ

119 ระดับ 878 542 80 2 0 ระดบั

ปาน มาก
(7.92) 2.99 กลาง (58.46) (36.09) (5.33) (0.13) (0.00) 4.53 ทีส่ ุด

ก่อนเข้ารว่ มกจิ กรรม

ประเดน็ ระดบั คะแนน

5. วิชา ปรชั ญาของเศรษฐกจิ มาก มาก ปาน นอ้ ย น้อ
พอเพยี ง “ทฤษฏบี นั ได ๙ ขัน้ สู่ ท่ีสุด กลาง ทสี่
ความพอเพียง” 212
6. วชิ า “หลักกสิกรรมธรรมชาติ” 299 412 454 12
(14.11)
178 (19.91) (27.43) (30.23) (8.
272 435 472 14

7. ฝกึ ปฏิบตั ิฐานเรยี นรู้ (คนมี (11.85) (18.11) (28.96) (31.42) (9.
นา้ ยา, คนมีไฟ, คนเอาถ่าน , คน 198 272 451 449 13
รักษ์สขุ ภาพ, คนรักษ์แมธ่ รณี , คน
รักษโ์ ลกพระแมโ่ พสพ) (13.18) (18.11) (30.03) (29.89) (8.
155 293 498 448 10
8. ถอดบทเรยี นผ่านสื่อ “วิถีภมู ิ
ปัญญาไทยกบั การพึ่งตนเองใน (10.32) (19.51) (33.16) (29.83) (7.
ภาวะวิกฤติ” 169 287 485 449 11

9. วิชา “สุขภาพพึ่งตน พฒั นา 3 (11.25) (19.11) (32.29) (29.89) (7.
ขมุ พลัง” พลงั กาย พลงั ใจ พลัง
ปัญญา

38

หลังเขา้ รว่ มกจิ กรรม

คา่ การ ระดบั คะแนน ค่า การ

อย เฉล่ยี แปรผล มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย เฉลย่ี แปร
สดุ ท่สี ุด กลาง ท่ีสุด ผล

25 ระดับ 917 506 77 1 1 ระดับ

ปาน มาก

.32) 3.01 กลาง (61.05) (33.69) (5.13) (0.07) (0.07) 4.56 ท่สี ดุ

45 ระดับ 876 558 65 3 0 ระดบั

ปาน มาก

.65) 2.91 กลาง (58.32) (37.15) (4.33) (0.20) (0.00) 4.54 ทส่ี ุด

32 ระดบั 876 552 71 3 0 ระดับ

ปาน มาก

.79) 2.97 กลาง (58.32) (36.75) (4.73) (0.20) (0.00) 4.53 ทสี่ ุด

08 ระดับ 844 549 106 2 1 ระดับ

.19) 2.96 ปาน (56.19) (36.55) (7.06) (0.13) (0.07) 4.49 มาก
กลาง

12 ระดับ 869 554 74 4 1 ระดบั

ปาน มาก

.46) 2.97 กลาง (57.86) (36.88) (4.93) (0.27) (0.07) 4.52 ท่สี ดุ

ก่อนเข้ารว่ มกิจกรรม

ประเดน็ ระดับคะแนน

10. ฝกึ ปฏบิ ัติ “จติ อาสาพัฒนา มาก มาก ปาน นอ้ ย น
ชมุ ชน เอาม้ือสามคั คี พฒั นาพ้นื ท่ี ท่สี ดุ กลาง ท
ตามหลกั ทฤษฎีใหม่” 209
290 470 430 1
11. ถอดบทเรยี นการฝกึ ปฏบิ ัติ “จติ (13.91)
อาสาพฒั นาชมุ ชน เอามื้อสามคั คี 189 (19.31) (31.29) (28.63) (6
พัฒนาพ้ืนทีต่ ามหลักทฤษฎีใหม่” 298 478 433 1
(12.58) (19.84) (31.82) (28.83) (6
12. วชิ า การออกแบบเชิงภมู ิ 167 281 435 480 1
สังคมไทยตามหลกั การพัฒนาภมู ิ
สังคมอย่างย่งั ยนื เพื่อการพง่ึ ตนเอง (11.12) (18.71) (28.96) (31.96) (9
และรองรับภัยพิบัติ 170 259 463 488 1
13. ฝึกปฏิบตั ิการ สรา้ งหนุ่ จาลอง
การจดั การพืน้ ท่ตี ามหลักทฤษฎีใหม่ (11.32) (17.24) (30.83) (32.49) (8
ประยุกตส์ ู่ โคก หนอง นา โมเดล


Click to View FlipBook Version