The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bablue.236, 2021-05-07 01:54:09

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

“บนั ทึกการเรียนรู้”

-วชิ าการวิจัยเพ่ือพฒั นาการเรียนรู้-
ผูส้ อน: รองศาสตราจารย์ ดร.สาราญ กาจดั ภัย

นางสาวอธิษฐาน อภัยโส รหสั 61101201132
สาขาวชิ าการสอนภาษาไทยชนั้ ปที ี่ 3

คานา

สมดุ บนั ทกึ การเรยี นรู้เล่มนเ้ี ปน็ สว่ นหนึง่ ของรายวิชาการวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาการเรียนรู้
(21044010) จดั ทาข้นึ เพอ่ื บนั ทกึ การเรียนรรู้ ายสปั ดาห์ ทง้ั 15 สปั ดาห์ ซึ่งเนื้อหาในสมดุ
บนั ทึกการเรยี นรู้เก่ยี วกบั แนวคดิ เก่ียวกับการเรียนรู้ ความรเู้ บื้องตน้ เก่ียวกบั การวจิ ัย
ตวั แปรและประเภทของตวั แปร ขอ้ มลู และประเภทของขอ้ มลู ประชากรและกล่มุ ตวั อยา่ ง
ประชากร สมมตุ ิฐานทางการวิจยั และสมมตุ ฐิ านทางสถติ ิ เคร่ืองมอื ท่ใี ช้ในการเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู วิธตี รวจสอบคุณภาพเครือ่ งมือวิจัยและสถติ ิทใี่ ช้ วิจยั บทที่ 1-บทท่ี 5 การวเิ คราะห์
ขอ้ สอบ และการวิจัยปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรียน

ท้งั นี้ผู้จดั ทาหวงั ว่าสมุดบันทึกการเรียนรเู้ ลม่ นี้ จะเกดิ ประโยชน์ต่อผอู้ ่นื หาก
ผิดพลาดประการใดขออภัยมา ณ โอกาสนด้ี ว้ ย

น.ส.อธษิ ฐาน อภยั โส

สารบญั หนา้

ประวตั สิ ว่ นตัว 1
Week 1 แนวคดิ เกย่ี วกับการเรียนรู้ 2
Week 2 ความรเู้ บื้องต้นเกี่ยวกับการวิจยั 5
8
ตัวแปรและประเภทของตัวแปร 11
Week 3 ข้อมลู และประเภทของขอ้ มลู 14
Week 4 ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 17
Week 5 สมมตุ ิฐานทางการวจิ ยั และสมมุติฐานทางสถิติ 20
Week 6 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมูล 24
Week 7 วจิ ยั บทท่ี 1 27
Week 8 วธิ ตี รวจสอบคณุ ภาพเครอื่ งมือวจิ ัยและสถิติทใ่ี ช้ 30
Week 9 วิจัยบทท่ี 2 และบทที่ 3 33
Week 10 วจิ ยั บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 36
Week 11 วจิ ยั บทที่ 4 วิเคราะห์ประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล 39
Week 12 t-test 42
Week 13 วิจยั บทท่ี 5 45
Week 14 การวิเคราะหข์ ้อสอบโดยใช้ spss 48
Week 15 การวิจัยปฏบิ ัติการในชน้ั เรยี น 52
ความรู้สึก 53
สญั ญาการเรียน

1

ประวตั สิ ่วนตัว

ชอ่ื -นามสกุล : นางสาวอธษิ ฐาน อภยั โส
ชอ่ื เล่น : อายส์
รหสั นกั ศกึ ษา : 61101201132 ชัน้ ปีที่ 3
เรียนสาขาวชิ าการสอนภาษาไทย คณะครศุ าสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏสกลนคร
อายุ : 21 ปี
วัน/เดือน/ปี : 9 กรกฎาคม พ.ศ.2542
หมเู่ ลอื ด : โอ
ศาสนา : พุทธ
สัญชาติ : ไทย
เชอ้ื ชาติ : ไทย
ท่ีอยู่ : 104/57 หมู่ 7 ต. ธาตพุ นม อ. ธาตพุ นม จ. นครพนม
สถานศึกษาเดิม : โรงเรยี นธาตพุ นม ต. ธาตุพนม อ. ธาตุพนม จ. นครพนม
ของสะสม : นวนยิ าย
งานอดิเรก : อ่านนิยายและฟงั เพลง
ความสามารถพเิ ศษ : เล่นอูคูเลเล่
คตปิ ระจาใจ : อย่าทอ้ เพราะทอ้ มไี วใ้ ห้ลิงถอื

2

Week 1
“แนวคิดเกี่ยวกบั การเรียนรู้”

ความหมายของการเรยี นรู้
พฤติกรรมการเรียนรู้พุทธพิ ิสัย
พฤติกรรมการเรียนรจู้ ติ พิสยั
พฤตกิ รรมการเรียนรู้ทกั ษะพสิ ัย

3

4

“สรปุ แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรียนร”ู้

การเรียนร(ู้ Learning) หมายถงึ “การเปลย่ี น แปลงพฤติกรรม ที่คอ่ นข้างถาวร อนั เน่ืองมาจาก
การไดร้ บั ประสบการณ”์

ดา้ นพุทธิพสิ ัย ด้านจติ พิสัย ดา้ นทักษะพิสยั

1. ความรู้ (Knowledge) หรือความจา 1. ขน้ั รับรู้ (Receiving) 1. รับรู้และเลียนแบบ (Imitation)

2. ความเข้าใจ (Comprehension) 2. ขนั้ ตอบสนอง (Responding) 2. ลงมือปฏบิ ตั แิ ละทาตามได้ (Manipulation)
3. ขน้ั เห็นคุณคา่ หรอื สร้างค่านยิ ม (Valuing)
2.1 การแปลความ (Translation) 4. ขัน้ จดั ระบบคา่ นยิ ม (Organization) 3. ลดความผดิ พลาดจนสามารถทาไดถ้ ูกต้อง
2.2 การตคี วาม (Interpretation) 5. ขั้นสรา้ งลกั ษณะนสิ ยั จากค่านิยม (Precision)
2.3 การขยายความ (Extrapolation) (Characterization) 4. ปฏบิ ัตไิ ดอ้ ย่างชัดเจนและต่อเน่ือง
(Articulation)
3. การนาไปใช้ (Application)
5. ปฏิบัติได้อย่างเปน็ ธรรมชาติ
4. การวิเคราะห์ (Analysis) (Naturalization)

4.1 การวเิ คราะหส์ ่วนประกอบ (Analysis of Elements)
หรอื วิเคราะห์ความสาคญั
4.2 การวิเคราะหค์ วามสมั พันธ์ (Analysis of
Relationships)
4.3 การวิเคราะหห์ ลกั การ (Analysis of
Organizational Principles)

5. การสังเคราะห์ (Synthesis)

6. การประเมนิ คา่ (Evaluation)

5

Week 2

“ความรู้เบอ้ื งตน้ เกีย่ วกบั การวจิ ยั ”

ความหมายของการวจิ ยั
ความจริงกบั การค้นหาความจริง
ขัน้ ตอนท่วั ไปของการวจิ ัย
เป้าหมายของการวจิ ัย
จรรยาบรรณของนักวจิ ัย
การจัดประเภทของการวิจัย

6

7

“สรุปความรู้เบือ้ งตน้ เก่ียวกบั การวิจัย”

การวจิ ัย (Research) หมายถึง การค้นหาความจริง ในประเดน็ ทส่ี นใจศึกษา
โดยใช้วิธกี ารท่เี ปน็ ระบบ คาตอบหรือความจรงิ ทค่ี น้ พบ มคี วามถกู ต้องเชอ่ื ถอื ได้

ความจริงกับการค้นหาความจรงิ การดาเนินการวจิ ยั โดยท่ัวไป จรรยาบรรณของนักวิจยั

1. วธิ ี “นิรนยั (Deductive)” เป็นการนา 1. ตระหนักถึงปัญหา จรรยาบรรณของนักวจิ ัย หมายถึง หลกั เกณฑ์ควร
ความรูพ้ นื้ ฐานซง่ึ อาจเปน็ กฎ ขอ้ ตกลง ความเชื่อ 2. กาหนดขอบเขตของปัญหา ประพฤตปิ ฏิบัตขิ องนกั วิจยั ท่วั ไป เพือ่ ใหก้ ารดาเนินงาน
หรือบทนยิ าม ซงึ่ เปน็ สิง่ ท่ีรมู้ าก่อน และยอมรับว่า 3. ศึกษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง วิจัยตง้ั อยบู่ นพ้ืนฐานของจรยิ ธรรมและ
เปน็ ความจริงเพอ่ื หาเหตุผลนาไปสู่ข้อสรุป 4. ตั้งสมมุติฐานของการวจิ ยั หลกั วชิ าการที่เหมาะสม ตลอดจนประกนั มาตรฐานของ
5. เขยี นโครงรา่ งการวจิ ยั การศึกษาคน้ คว้าให้เป็นไปอย่างสมศักด์ศิ รแี ละเกียรตภิ ูมิ
2. วิธี “อปุ นยั (Inductive)” เปน็ 6. สรา้ งหรอื เลือกเครอื่ งมอื เกบ็ รวบรวมข้อมูล ของนกั วิจยั
วิธกี ารค้นหาความจริงผา่ นประสบการณ์ โดยใช้ 7. ดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
การสงั เกตดว้ ยประสาทสมั ผสั ทัง้ ห้า หรอื การ 8. ดาเนินการจดั กระทาข้อมลู หรอื วเิ คราะหข์ ้อมูล การจดั ประเภทของการวิจยั
ทดลองหลายครง้ั แล้วนeมาสรุปเปน็ ความรู้ 9. สรปุ ผลการวจิ ัย และเขยี นรายงานวิจยั
แบบทัว่ ไป 10. เผยแพร่ผลงานวจิ ยั (ถ้าต้องการ) 1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูลและวธิ กี ารได้มา

3. วธิ ีการทางวทิ ยาศาสตร์ เป้าหมายของการวิจยั - การวจิ ัยเชิงปริมาณ
ขั้นที่ 1 กาหนดปัญหา - การวจิ ัยเชิงคณุ ภาพ
ขน้ั ที่ 2 ต้งั สมมตุ ิฐาน 1. เป้าหมายเพ่อื บรรยายหรอื พรรณนา (Description)
ขั้นที่ 3 ลงมอื เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 2. เป้าหมายเพื่ออธบิ าย (Explanation) 2. แบ่งตามประโยชนก์ ารนาผลการวิจยั ไปใช้
ขนั้ ท่ี 4 นาขอ้ มูลท่ไี ดม้ าทาวิเคราะห์ 3. เปา้ หมายเพ่อื ท านาย (Prediction)
ขัน้ ท่ี 5 สรุปผลการวเิ คราะหข์ อ้ มูล 4. เปา้ หมายเพ่อื ควบคมุ (Control) - การวิจยั พ้ืนฐาน
- การวิจัยประยุกต์
- การวิจยั ปฏบิ ตั กิ าร

3. แบง่ ตามความต้องการข้อสรปุ เชงิ เหตุและผลหรอื ไม่

- การวจิ ัยเชิงทดลอง - การวิจยั เชงิ สหสมั พันธ์

- การวจิ ยั ศึกษายอ้ นหาสาเหตุ - การวจิ ัยเชงิ สารวจ

8

Week 2 (ต่อ)
“ตวั แปรและประเภทของตวั แปร”

ความหมายของการเรียนรู้
ประเภทของตัวแปร

9

10

“สรปุ ตัวแปรและประเภทของตัวแปร”

ชาย ตวั แปร (Variable) หมายถงึ คณุ ลักษณะของสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีสามารถแปรเปล่ียน ขนาใหญ่

หญงิ คา่ ได้ตงั้ แต่สองคา่ ขึ้นไป ไม่ว่าจะเปน็ ค่าทอ่ี ยู่ในรูปของปริมาณ หรือคณุ ภาพ ขนาดกลาง
ขนาดเล็ก

ประเภทของตัวแปร

1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล 2. แบง่ ตามความเปน็ เหตเุ ปน็ ผล 3. แบง่ ตามประเภทของการวิจัย
ตอ่ กนั
1.1 ตัวแปรเชิงปริมาณ มคี ่าเป็น 3.1 ถ้าเป็นการวิจัยเชงิ ทดลอง
จานวนหรือตัวเลข สามารถบวก 2.1 ตัวแปรอสิ ระ ตวั แปรท่ี 3.1.1 ตัวแปรจดั กระทา
ลบ คูณ หารได้ เช่น อายุ น้าหนกั เกดิ ข้ึนกอ่ นถอื วา่ เปน็ เหตุ
คะแนนสอบ เป็นตัวแปรอสิ ระอย่างหนึ่ง
2.2 ตัวแปรตาม ตวั แปรที่ 3.1.2 ตัวแปรตาม อันเนอ่ื งมา
1.1.1 ตวั แปรต่อเน่อื ง เช่น เกดิ จากผล อนั เนอื่ งมาจาก
ตัวแปร“น้าหนักของสง่ิ ของ” ไดร้ ับอิทธิพลจากตัวแปรอสิ ระ จากการกระทาของตวั แปรจัดกระทา
3.1.3 ตัวแปรแทรกซ้อน
1.1.2 ตัวแปรไม่ต่อเนอ่ื ง
เช่น ตวั แปร“หนา้ ของลกู เต๋า” คาดวา่ จะมีผลต่อตวั แปรตาม(ควบคุม)
3.1.4 ตวั แปรสอดแทรก
1.2 ตวั แปรเชิงคณุ ภาพ แปรค่า
ไดแ้ ตไ่ ม่ไดอ้ ยใู่ นรูปแบบจานวนว มีผลต่อตัวแปรตาม (ไมไ่ ดค้ วบคมุ ไว้)
หรอื ตัวเลข เช่น เพศ เชอ้ื ชาติ 3.1.5 ตวั แปรกลาง สนใจทจี่ ะดึง
ศาสนา
เขา้ มาศกึ ษาร่วมกับ “ตัวแปรจดั กระทา”

11

Week 3
“ข้อมลู และประเภทของขอ้ มลู ”

ความหมายของขอ้ มลู
ประเภทของขอ้ มูล

12

13

“สรุปขอ้ มลู และประเภทของข้อมลู ”

ขอ้ มูล คอื ขอ้ เท็จจรงิ หรือรายละเอียดของสิง่ ตา่ ง ๆ ทีเ่ กบ็ รวบรวมมาจากการนับ การวดั ดว้ ยแบบทดสอบหรอื แบบสอบถาม
การสงั เกต ฯลฯ ซง่ึ อาจเป็นตวั เลขหรอื ไมใ่ ช่ตวั เลข ท่สี ามารถนามาวเิ คราะหเ์ พ่อื หาคาตอบในสง่ิ ที่ผู้วจิ ยั ตอ้ งการศึกษา

ประเภทของข้อมูล

1. แบ่งตามลักษณะขอ้ มลู 2. แบ่งตามแหล่งที่มาของขอ้ มูล 3. แบง่ ตามระดับของการวัด

1.1 ข้อมลู เชงิ ปริมาณ เป็นข้อมูลท่ีวดั คา่ 2.1 ขอ้ มลู ปฐมภูมิ ไดม้ าโดยผู้วจิ ยั 3.1 ขอ้ มูลระดบั นามบัญญตั ิ คือ ขอ้ มูล
ออกมาเปน็ ตัวเลขได้วา่ มคี ่ามากหรือน้อย เกบ็ รวบรวมดว้ ยตนเองจากตน้ ตอหรือ ทมี่ ลี ักษณะเป็นเพยี งการจดั ประเภท ของ
เพยี งใด แหลง่ กาเนิดของขอ้ มลู โดยตรง ได้มา คน สัตว์ ออกเปน็ กลุ่มหรือพวก
จากการสัมภาษณ์ ทดลอง การสารวจ
1.1.1 ขอ้ มูลแบบต่อเนื่อง เป็นขอ้ มูลทมี่ ี หรอื การเก็บรวบรวมด้วยแบบสอบถาม 3.2 ขอ้ มลู ระดับเรียงอันดบั คอื ข้อมูลท่ี
คา่ ได้ทกุ คา่ ในชว่ งท่กี าหนด เช่น ข้อมลู ตา่ ง ๆ มลี ักษณะเปน็ การจดั ประเภท ให้เป็นกล่มุ
เกยี่ วกบั น้าหนกั หรือพวกแบบลดหลนั่ กันเปน็ ข้ัน
2.2 ข้อมลู ทตุ ิยภูมิ เป็นข้อมูลท่ี
1.1.2 ข้อมูลแบบไมต่ ่อเนื่อง เปน็ ข้อมูลที่ ผวู้ ิจัยไม่ได้เกบ็ รวบรวม จาก 3.3 ข้อมลู ระดับอันตรภาค คอื ข้อมูลที่
มีคา่ เป็นได้เฉพาะจานวนเตม็ หรอื จานวนนับ แหลง่ กาเนดิ โดยตรง แต่ไดม้ าโดย มีลกั ษณะเป็นเชงิ ปริมาณ ข้อมลู คา่ เริ่มต้น
เชน่ จานวนคน สัตว์ และสิง่ ของตา่ ง ๆ อ้างอิงหรือคัดลอกจากผอู้ ่ืนทไ่ี ดเ้ กบ็ ไม่ใช่ศูนย์แท้ แตเ่ ป็นศูนย์สมมุติ
รวบรวมไว้
1.2 ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพ เป็นขอ้ มูลที่ไม่ 3.4 ข้อมลู ระดบั อตั ราส่วน คือ ขอ้ มูลท่ี
สามารถระบไุ ด้วา่ มากหรือน้อย มกั จะอยู่ใน มีลกั ษณะเป็นเชงิ ปริมาณ ค่าทีไ่ ดจ้ ากการ
รปู ข้อความ เช่น ขอ้ มลู เกย่ี วกบั เพศ วัดสามารถนามาบวก ลบ คูณ หารกนั ได้
ลกั ษณะพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออก สีผม

14

Week 4
“ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง”

ประชากร
กลุม่ ตวั อยา่ ง
เหตุผลของการเลือกตัวอยา่ ง
การกาหนดขนาดตัวอย่าง

15

16

“สรปุ ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง”

“ประชากร (Population)” หมายถงึ “กลุ่มตวั อยา่ ง (Sample)” หมายถงึ ส่วนหน่งึ ของ
ทั้งหมดของทุกหนว่ ยของสิง่ ท่ีเราสนใจศึกษา ประชากรท่ีถกู เลือกขน้ึ มาดว้ ย เทคนคิ การเลอื กกลมุ่ ตวั อย่างท่ี
ซึ่งหนว่ ยต่าง ๆ อาจเปน็ บคุ คล องคก์ ร ฯลฯ เหมาะสม กลุม่ ตวั อยา่ ง “ตอ้ งเป็นตวั แทนทีด่ ีของประชากร” จงึ
จะชว่ ยให้การสรุปอา้ งองิ ถงึ ประชากรมีความถูกตอ้ งและเช่ือถอื ได้

1. เหตผุ ลของการเลือกตวั อยา่ ง การกาหนดขนาดและเลอื กตัวอยา่ ง 3. เทคนคิ การเลือกกลมุ่ ตัวอย่าง

1. ประหยัดค่าใช้จ่าย 2. การกาหนดขนาดตัวอยา่ ง 3.1 ใชห้ ลกั ความนา่ จะเป็น
2. ประหยัดเวลาและแรงงาน -สุ่มอย่างง่าย
3. สะดวกในการปฏิบตั ิ และ เป็นการประมาณว่าเรอ่ื งท่ี -ส่มุ เป็นระบบ
สามารถปฏบิ ตั จิ รงิ ได้ ตอ้ งการศึกษาควรใชก้ ลมุ่ ตวั อย่าง -สมุ่ แบบแบง่ ช้นั
4. มีความถกู ต้องแมน่ ยาและ ขนาดเท่าใด -สุ่มแบบแบง่ กลุ่ม
เชื่อถือไดม้ ากกวา่ -สุ่มแบบหลายขัน้ ตอน
5. สามารถศกึ ษาข้อมูลได้ การประมาณขนาดตัวอยา่ งท่ี
กวา้ งขวางและลึกซ้ึง ใช้ในงานวิจยั (เน้นการวิจยั เชงิ 3.2 ไม่ใช้หลกั ความนา่ จะเปน็
บรรยาย) สามารถประมาณได้ 2 -แบบตามสะดวก/โดยบังเอิญ
แบบ คอื -แบบโควตา
(1) แบบใช้สูตรคานวณ -แบบเจาะจง
(2) แบบใช้ตารางสาเรจ็ รปู -แบบลูกโซ่

17

Week 5

“สมมตุ ฐิ านทางการวิจัยและสมมุติฐานทางสถิติ”

สมมตุ ฐิ านทางการวจิ ัย
สมมตุ ฐิ านทางสถิติ

18

19

“สรปุ สมมุตฐิ านทางการวจิ ยั และสมมุตฐิ านทางสถติ ิ”

สมมตุ ิฐานทางสถติ ิ

สมมติฐานทางการวจิ ัย สมมุติฐานทางสถิติ เป็นสมมตุ ิฐานทีผ่ ู้วิจยั
กาหนดข้นึ สาหรบั ใชเ้ พ่ือการทดสอบตาม
สมมตฐิ านทางการวิจยั เขียนขึน้ เพื่อแสดง กระบวนการทางสถิติ
คาตอบของปัญหาการวจิ ยั ทีผ่ ู้วจิ ยั คาดคะเนไว้
ลว่ งหนา้ อย่างมีเหตุผล 1. สมมุติฐานกลาง เขียนแทนด้วย H0 ซ่งึ แสดงให้
เห็นว่าค่าพารามเิ ตอรข์ องประชากรเหล่านั้น ไมม่ ีความ
1. แบบไมม่ ีทิศทาง เปน็ การเขียนที่ไมไ่ ดร้ ะบุทิศทาง แตกต่างหรือไม่มีความสมั พันธร์ ะหว่างตวั แปร
ของความสัมพนั ธ์ของตวั แปร ระบวุ า่ มีความสัมพันธ์
กันหรอื แตกตา่ งกันเทา่ นน้ั 2. สมมตุ ิฐานทางเลอื ก เขยี นแทนด้วย H1 ตอ้ งเขยี นให้
สอดคล้องกบั สมมตฐิ านทางการวิจยั ทต่ี งั้ ไว้
2. แบบมีทศิ ทาง เป็นการเขียนโดยระบทุ ศิ ทางของ
ความสัมพนั ธข์ องตวั แปรวา่ สัมพันธใ์ นทางใด (สมั พนั ธ์ ทดสอบ H0
กนั ทางบวก หรอื ทางลบ) หรอื ถา้ เปน็ การเปรียบเทียบก็ ยอมรับ H0 TF
สามารถ ระบถุ งึ ทิศทางของความแตกต่างได้วา่ มากกวา่ ปฏิเสธ H0
หรอื นอ้ ยกว่า

ตัดสนิ ใจ ตดั สนิ ใจผิด
ถกู ต้อง Type II error

ตัดสินใจผดิ ตัดสินใจ
Type I error ถูกต้อง

20

Week 6

“เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล”

การสังเกต
การสมั ภาษณ์
แบบสอบถาม
แบบทดสอบ
การประเมินจากการปฏบิ ตั ิ

21

“สรปุ เครอ่ื งมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มูล” 22

การสงั เกต แบบสอบถาม

ผู้สังเกต ทาหนา้ ที่ วดั โดยใช้ประสาทสมั ผสั ทางการไดเ้ ห็น และได้ยนิ เป็นสาคัญ แบบสอบถาม เป็นชุดของข้อคาถามทสี่ ร้างขนึ้ ในรปู ของเอกสารทั้งใน
ขอ้ มูล จากแหลง่ ปฐมภมู ิและส่วนใหญม่ กั เป็นขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ (ผสู้ ังเกตมักเขียน ลกั ษณะที่กาหนดและไมไ่ ด้กาหนดคาตอบ
บันทึกในเชงิ บรรยายเปน็ ขอ้ ความ) ขอ้ มูล เปน็ ขอ้ มูลเกี่ยวกบั ความคดิ เห็น ความรู้สกึ ความเชอ่ื ความต้องการ
สงั เกตโดยตรง ผสู้ ังเกตต้องตดิ ตามเฝ้าดูเหตุการณ์ ความสนใจ ความพงึ พอใจตอ่ ส่งิ ใดสิง่ หนง่ึ
แบบสอบถามชนิดปลายเปดิ ผ้ตู อบสามารถเขียนคาตอบไดอ้ ย่างอิสระ
-แบบมสี ่วนรว่ ม ผสู้ งั เกตเข้าไปมสี ว่ นร่วมในเหตุการณห์ รอื กจิ กรรม โดยผถู้ กู แบบสอบถามชนดิ ปลายปดิ ผตู้ อบสามารถเลือกตอบไดต้ ามตอ้ งการ
สังเกตอาจจะรู้ตัวหรอื ไมร่ ้ตู ัวก็ได้
-แบบตรวจสอบรายการ
-แบบไม่มีส่วนรว่ ม ผสู้ ังเกตไม่ไดเ้ ข้าไปมีสว่ นร่วมในเหตกุ ารณ์หรือกิจกรรมนัน้ ๆ -แบบจัดอนั ดบั
มกั ใช้วธิ ีลอบสงั เกตแบบไม่ให้ผูถ้ กู สงั เกตรตู้ ัว -แบบมาตรประมาณค่า
สังเกตโดยออ้ ม ผสู้ ังเกตไม่ไดเ้ ห็นเหตกุ ารณห์ รือพฤตกิ รรมทเี่ กดิ ข้ึนด้วยตนเอง
แตอ่ าศยั การถา่ ยทอดดว้ ยเครือ่ งมอื อยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ แบบทดสอบ

การสมั ภาษณ์ แบบทดสอบ ใชว้ ัดความสามารถของบคุ คลในดา้ นสตปิ ัญญา
โดยสร้างเป็นชดุ ของข้อคาถามตา่ ง ๆ
การสัมภาษณ์ เปน็ การสนทนาอยา่ งมจี ุดมงุ่ หมายระหว่าง จาแนกตามการอา้ งองิ หรือการแปลผล
ผูส้ ัมภาษณ์ (ผเู้ กบ็ รวบรวมข้อมูล) กบั ผู้ถูกสมั ภาษณ์ (ผ้ใู หข้ ้อมูล)
ขอ้ มลู เกย่ี วกับความร้สู ึก ความสนใจ ความคดิ เห็น และทัศนคติในเรอ่ื งต่าง ๆ -แบบทดสอบองิ กลมุ่ สร้างโดยยึดเนื้อหากว้าง ๆ
การสมั ภาษณ์แบบมโี ครงสร้าง สมั ภาษณ์ตามแบบฟอร์มของคาถามที่ไดส้ ร้างขึ้นหรือกาหนด -แบบทดสอบอิงเกณฑ์ สร้างโดยยดึ การเรยี นเพื่อความรอบรู้
ไว้ลว่ งหนา้ แลว้ จาแนกตามลักษณะการสร้างของข้อคาถามและการเขยี นตอบ
-แบบทดสอบความเรยี ง
-ชนิดกาหนดคาตอบหรอื ชนดิ ปลายปิด -แบบทดสอบถูกผดิ
-ชนิดปลายเปดิ ตอบอย่างเสรี -แบบทดสอบจบั คู่
การสัมภาษณ์แบบไมม่ โี ครงสร้าง ไม่มกี ารกาหนดรายการคาถามไวล้ ว่ งหน้า -แบบทดสอบชนดิ เติมคาและชนิดตอบแบบสั้น
-แบบเจาะจง ผสู้ มั ภาษณ์จะต้องพยายามชักจูงผถู้ ูกสัมภาษณ์ตอบให้ตรงประเดน็ -แบบทดสอบชนดิ เลอื กตอบ
-แบบเชิงลกึ ผ้สู ัมภาษณจ์ ะต้องพยายามลว้ งเอาความจริงจากผู้ถกู สัมภาษณ์ใหม้ ากที่สุด
แบบไมม่ กี ารช้ีนา ผูส้ มั ภาษณจ์ ะไม่มกี ารชักจงู หรือนาทางคาถามปล่อยให้
ผ้ถู ูกสมั ภาษณ์ตอบหรอื ระบายความในใจออกมาตามความพอใจ

23

“สรปุ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมูล” (ต่อ)

การประมนิ จากการปฏบิ ตั ิ

กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เก่ียวกบั พฤติกรรมการเรียนรขู้ องผู้เรียน ผา่ นการลงมือปฏิบตั จิ รงิ ตามภาระงานท่ีได้ออกแบบไว้
แลว้ นาข้อมลู ทีไ่ ด้มาวิเคราะห์ใหไ้ ด้สารสนเทศสาหรบั พฒั นาผเู้ รยี น

การประเมินการปฎิบัตติ ้องมีภาระงาน เครือ่ งมอื การใหค้ ะแนนการปฎบิ ัติ
-งานที่สอดคล้องกับชีวติ จรงิ หรอื ไมก่ ไ็ ด้ ความหมายของ Rubrics รายการประเมนิ ที่ออกแบบอย่าง
-งานท่ีทาเป็นรายบุคคลหรือเปน็ รายกลุ่ม
-งานท่ตี อ้ งใช้ความสามารถดา้ นใดกไ็ ด้ สอดคลอ้ งกับเปา้ หมายการเรยี นรู้
-งานประเภทท่ีปฏิบัติแลว้ แกผลงานหรอื ช้ินงาน
องคป์ ระกอบของ Rubrics
สามารถประเมนิ พฤติกรรมการเรียนรูไ้ ด้ท้ัง 1.เกณฑ์หรือประเด็นที่จะประเมนิ
-ทักษะพสิ ยั 2.ระดับความสามารถหรือระดบั คุณภาพ
-ทักษะสมอง 3.การบรรยายคุณภาพของแต่ละระดบั
-คุณลักษณะนิสัยในการทางาน
ประเภทของ Rubircs
ประเมินไดจ้ ากกระบวนการปฏิบตั ิหรอื ผลงานหรือชิ้นงาน -Holistic rubrics (ให้คะแนนภาพรวม)
ประเมนิ เพ่ือพัฒนาผู้เรยี นและเพ่ือสรุปผลหรือตดั สนิ ผลการเรยี น -Analytic rubrics(ให้คะแนนแยกแยะตามประเด็น)
การประเมนิ ปฏิบัติมากมคี วามเป็นอัตนัย -General rubrics(ใชเ้ กณฑ์ประเมินกวา้ ง ๆ )
เนน้ ประเมินกระบวนการปฏิบัติ -Task specific rubrics(ประเมนิ งานที่เฉพาะเจาะจง)

กระบวนการประเมินการปฎบิ ัติ
-กาหนดจดุ มงุ่ หมาย
-กาหนดรายการทกั ษะ
-ออกแบบงานหรอื ภาระงาน
-พัฒนาเกณฑ์การประเมิน
-เลือกวธิ กี าร/เครอื่ งมือในการรวบรวมขอ้ มูล
-จดั ทาใบงานเพอ่ื ชี้แจง

-วางแผนและดาเนินการ

24

Week 7

“วิจัยบทท่ี 1”

ตั้งชื่อเรือ่ ง
เลือกแบบแผนการทดลองใชน้ วตั กรรม
คาถามของการวจิ ัย
ความมุง่ หมายของการวจิ ยั
ความสาคญั ของกาวิจยั
สมมุติฐานของการวจิ ัย

25

“สรุปวิจยั บทที่ 1” 26

ต้ังชือ่ เร่ือง ประสิทธิภาพตามเกณฑ์ E1/E2

การพัฒนา..........(นวัตกรรม)............. เมื่อ E1 = ค่าเฉลยี่ คิดเปน็ รอ้ ยละของคะแนนระหว่าง
สาหรับ............(กลุ่มเปา้ หมาย).......... การทดลองใชน้ วตั กรรม

เลอื กแบบแผนการทดลองใช้นวตั กรรม E2 = ค่าเฉลีย่ คิดเปน็ รอ้ ยละของคะแนน หลังการ
ทดลองใชน้ วัตกรรม (Posttest)
1.ประสทิ ธภิ าพของนวตั กรรม (ประเด็นน้จี าเปน็ ต้องใช้
แบบการทดลองแบบ 4) ความม่งุ หมายของการวจิ ยั
2.ประสิทธิผลของนวัตกรรม
3.ผลการใช้นวัตกรรมทีเ่ กดิ กับตัวแปรตามต่าง ๆ ต้องตงั้ ใหส้ อดคล้องกับคาถามของการวิจัย
4.ความพึงพอใจ/ความคดิ เห็นทมี่ ตี อ่ การใชน้ วัตกรรม
สมมตุ ฐิ านของการวิจยั
ภมู ิหลัง
เป็นคาตอบที่ผูว้ ิจัยคาดคะเนไวล้ ่วงหนา้ อยา่ งมีเหตผุ ล
หนงึ่ ย่อหน้าหนงึ่ ใจความหลกั 1. แบบไมม่ ีทิศทาง เปน็ การเขียนทไ่ี มไ่ ด้ระบุทิศทางของ
ยอ่ หน้าต่าง ๆ ตอ้ งสอดคลอ้ งเชอ่ื มโยงกนั ความสมั พันธ์ของตัวแปรเพยี งแต่ระบวุ า่ มี “ความสมั พนั ธ์กัน” หรอื
“แตกต่างกนั ”
2. แบบมีทิศทาง ระบุทศิ ทางของความสัมพนั ธข์ องตัวแปรว่า
สัมพนั ธ์ในทางใด (สัมพันธ์ทางบวก หรอื ทางลบ) สามารถระบุ

ทศิ ทางของ ความแตกตา่ งได้วา่ “มากกวา่ ” หรอื “นอ้ ยกวา่ ”

27

Week 8

“วิธีตรวจสอบคณุ ภาพเครื่องมือวิจัยและสถติ ทิ ่ีใช้”

ความเป็นปรนัย
ความเที่ยงตรง
อานาจจาแนก
ความยาก
ความเช่อื ม่นั

28

29

“สรปุ วธิ ีตรวจสอบคุณภาพเครอ่ื งมือวจิ ยั และสถติ ิทีใ่ ช้”

ความเป็นปรนยั 4

1. คาถามชดั เจนอ่านแลว้ เขา้ ใจตรงกัน ความยาก
2. การตรวจให้คะแนนมคี วามคงที่
3. การแปลความหมายคะแนนมคี วามชดั เจนตรงกนั การหาความยากจะใชเ้ ฉพาะกรณีเคร่อื งมือวจิ ยั เป็น
ประเภทแบบทดสอบท่วี ัดด้านพุทธิพสิ ยั หรอื สติปัญญา
ความเทีย่ งตรง โดยเฉพาะแบบทดสอบประเภทอิงกล่มุ ส่วนแบบทดสอบ
ประเภทอิงเกณฑไ์ ม่นิยมหาความยาก เน่ืองจากข้อสอบแต่
ระดบั คุณภาพของเครือ่ งมือวิจยั ท่บี ง่ บอกว่า ขอ้ มูลหรือ ละขอ้ มงุ่ วดั ใหต้ รงและครอบคลมุ จดุ ประสงค์การเรียนรู้
ผลการวดั ตวั แปร คุณลักษณะ หรอื สง่ิ ทต่ี ้องการวัดด้วย
เครอ่ื งมือนั้น ๆ มีความถูกตอ้ งหรอื ไม่ เพียงใด “ถอื ว่ามี 5
ความสาคญั ทีส่ ุด”
ความเช่อื มั่น
อานาจจาแนก
ความเชือ่ มั่น เป็นคุณสมบตั ิของเคร่อื งมอื วดั ผล หรือ
นิยมใชก้ ับเครือ่ งมือประเภทแบบทดสอบ และ เคร่ืองมือวิจยั รวมทัง้ ฉบบั ท่ีสามารถวัดเร่ืองราวหรือคุณลักษณะที่
แบบสอบถาม ซึง่ ขอ้ มูลที่รวบรวมได้มกั อยู่ในรปู ตอ้ งการวัดได้คงเส้นคงวา วดั กี่ครัง้ ก็ได้ผลเหมือนเดมิ หรือ
ข้อมลู เชงิ ปริมาณ ใกล้เคียงกับของเดิม ท้งั นีต้ ้องอยภู่ ายใตส้ ภาพการณ์ท่ี
เหมือนเดมิ หรอื ใกลเ้ คียงกับสภาพการณเ์ ดมิ

30

Week 9
“วิจัยบทที่ 2 และ บทที่ 3”

วจิ ยั บทท่ี 2
วิจัยบทที่ 3

31

32

“สรุปวิจัยบทที่ 2 และ บทที่3”

บทท่ี 2 ประโยชน์ของการศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง
การศกึ ษาเอกสารและงานวจิ ัยที่เกย่ี วขอ้ ง
1. ทราบขอ้ เทจ็ จริง ทฤษฎี หลกั การ และไดค้ วามรตู้ ่าง ๆ
เป็นการศกึ ษาเอกสารทางวชิ าการ และงานวิจัยของ 2. นยิ ามปญั หาที่ตนจะทาไดอ้ ยา่ งชดั เจนยิ่งข้นึ
นกั วจิ ัยคนอ่ืน ๆ ทีจ่ ดั ทาขึ้นท้ังในอดตี และปจั จุบนั ท่มี ีเนอื้ หา 3. เลอื กใชต้ ัวแปรในการวิจยั ได้เหมาะสม
เก่ยี วข้องหรอื สัมพนั ธ์กับชอ่ื เรือ่ งตวั แปรทีส่ นใจศึกษา 4. เกิดความคดิ ตลอดจนหาทางควบคมุ ตัวแปรแทรกซ้อนไดอ้ ย่างรัดกมุ
5. ตั้งสมมตฐิ านในการวจิ ัยไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
ประเภทของการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 6. สามารถกาหนดกลุ่มตัวอย่างและวิธกี ารส่มุ ตัวอย่าง
7. ทราบแนวทางในการเลอื ก การสรา้ ง และการหาคุณภาพเคร่อื งมือ
1. หนังสอื หรอื ตารา 8. กาหนดวธิ กี ารเก็บรวบรวมข้อมลู อย่างเหมาะสม
2. รายงานการวจิ ยั /วิทยานพิ นธ์หรอื ปรญิ ญานพิ นธ์ 9. เลอื กใช้สถิตทิ ่จี ะนามาวิเคราะหข์ ้อมลู ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง
3. บทคัดยอ่ งานวิจยั /วิทยานพิ นธ์ 10. ทราบแนวคิดในการแปลความหมายและสรปุ อภปิ รายผล
4. บทความทางวิชาการ/บทความวิจัย จากวารสารตา่ งๆ 11. รู้หลกั ในการทางานวจิ ัยจากการศึกษารปู แบบฟอรม์ การเขียนของผอู้ ่ืน
5. สารานุกรม/พจนานุกรม/อน่ื ๆ 12. อน่ื ๆ
6. รายงานประจาปขี องหนว่ ยงานตา่ ง ๆ
7. คมู่ ือ บทท3ี่
8. การสืบคน้ จากฐานขอ้ มลู /อนิ เตอรเ์ นต็ วธิ ดี าเนินการวจิ ยั
9. อน่ื ๆ
1. การกาหนดประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
หลกั การนาเสนอเอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง 2. การสรา้ งและหาคุณภาพเคร่ืองมอื
3. การเก็บรวบรวมข้อมูล
1. นาเสนอสาระทสี่ อดคลอ้ งกับชือ่ เร่ืองและความมุ่งหมายของการวิจยั 4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู
2. จัดลาดับหวั ขอ้ ใหเ้ ข้าใจงา่ ย 5. สถิติที่ใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมลู
3. เขียนเชือ่ มโยงเนอ้ื หาตา่ ง ๆ ให้สละสลวย
4. สรปุ ประเดน็ สาคญั และการวิเคราะห์เพมิ่ เตมิ ในแตล่ ะหวั ขอ้
5. ลาดบั เรื่องตามเวลาจากเก่ามาใหม่
6. ใช้ภาษาเขียนท่ถี ูกตอ้ งและส่อื ความไดช้ ัดเจน
7. ทบทวนสิ่งทีไ่ ดเ้ ขียนหลาย ๆ คร้งั

33

Week 10

“วจิ ัยบทท่ี 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล”

ตอนท่ี 1
ตอนที่ 2
ตอนที่ 3
ตอนท่ี 4
ตอนที่ 5
วิเคราะหข์ ้อมูลโดยใชโ้ ปรแกรม spss

34

35

“สรุปวิจัยบทที่ 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล”

การวจิ ัยเรื่อง..............ผู้วิจัยไดน้ าเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู ตามลาดับ ดังนี้

ตอนท่ี 1 ผลการประเมินความเหมาะสมของ.......(นวตั กรรม)...โดยผเู้ ช่ียวชาญ
ตอนท่ี 2 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของ....(นวตั กรรม)...
ตอนที่ 3 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธผิ ลของ ....(นวตั กรรม)..
ตอนที่ 4 ผลการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรียนระหวา่ งกอ่ น
เรยี นและหลงั เรียนดว้ ย....(นวัตกรรม)..
ตอนที่ 5 ผลการวิเคราะห์ความพงึ พอใจของนกั เรยี นทีม่ ตี อ่ การเรียนด้วย.....(นวตั กรรม)..

36

Week 11

“วิจยั บทท่ี 4 วเิ คราะหป์ ระสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ล”
ตอนที่ 2
ตอนท่ี 3

37

“สรปุ วจิ ยั บทท่ี 4 วิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ล” 38

ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของ....(นวตั กรรม)... ตอนท่ี 3 ผลการวเิ คราะหป์ ระสทิ ธิผลของ....(นวตั กรรม)...

ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธภิ าพของ.......(นวตั กรรม)...ตามเกณฑ์ ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิผลของ.......(นวัตกรรม)...ตามเกณฑ์
80/80 ปรากฏดงั ตาราง 2 ดชั นปี ระสทิ ธผิ ลต้ังแตร่ ้อยละ 50 ปรากฏดังตาราง 3

ตาราง 2 ผลการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพของ.......(นวตั กรรม)... ตาราง 3 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธผิ ลของ.......(นวัตกรรม)...
ตามเกณฑ์ 80/80 ตามเกณฑ์ดัชนปี ระสิทธิผลตง้ั แตร่ ้อยละ 50

ช่วงการวัดผล คะแนน n S.D. รอ้ ยละ ประสทิ ธิภาพ ร้อยละดัชนี
เต็ม E1/E2 ประสทิ ธิผล
ระหว่างเรยี น ชว่ งการวัดผล คะแนนเตม็ n S.D.
ครงั้ ที่ 1
ครง้ั ท่ี 2 กอ่ นเรยี น
คร้ังที่ 3 หลังเรียน
คร้งั ที่ 4
รวมระหว่างเรียน จากตาราง 3 พบว่า ประสิทธผิ ลของ...นวัตกรรม...มคี ่าดชั นี
ประสทิ ธิผลเทา่ กับ......ซ่งึ ผา่ นเกณฑท์ ตี่ ้งั ไว้ที่ต้ังแต่ร้อยละ 50
หลงั เรยี น

จากตาราง 2 พบวา่ ประสิทธิภาพของ...นวตั กรรม...เท่ากับ......ซง่ึ สูงกว่าเกณฑ์
ทตี่ ั้งไว้ที่ 80/80 (บรรยายรายละเอยี ดเพิ่มเตมิ ได้)

39

Week 12
“t-test”

One sample t-test
Dependent samples t-test
Independent samples t-test

40

41

“สรุป t-test”

One Sample t-test Dependent Samples t-test Iependent Samples t-test

ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลย่ี (Mean) ทดสอบความแตกตา่ งระหวา่ งค่าเฉล่ยี (Mean) ทดสอบความแตกตา่ งระหว่างคา่ เฉล่ยี (Mean)
ของประชากรกลุ่มเดียว กับ คา่ เกณฑ์ หรือ Norm ของประชากรสองกล่มุ ท่ไี มอ่ ิสระกนั ของประชากรสองกลุ่มท่อี สิ ระกนั
ที่กาหนด
1. ตัวอย่างกลุ่มเดยี ว ถกู วัดตวั แปรตาม 2 ครัง้ เช่น ความแปรปรวนของประชากรทัง้ สองเท่ากันหรอื ไม่
ข้อตกลงเบอื้ งตน้ Pretest กบั Posttest
2. กลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม แต่เลอื กมาโดยวธิ จี ับคู่ เท่ากนั
1. คา่ ของตวั แปรตามวัดไดใ้ นมาตราอันตรภาคหรืออตั ราสว่ น (Matching) ตามตวั แปรใดตวั แปรหน่งึ ที่ต้องการ ใช้ t-test แบบ Independent Samples
2. กลุม่ ตวั อย่างได้มาโดยวิธีการส่มุ จากประชากร ควบคุมไมใ่ หม้ อี ทิ ธพิ ลตอ่ ตวั แปรตาม วดั ครัง้ เดียว ชนดิ ความแปรปรวน 2 กลุม่ เทา่ กนั
3. คา่ ของตัวแปรตามที่วัดในแตล่ ะหน่วยตัวอย่างเป็นอิสระกนั พร้อมกนั
4. ค่าของตัวแปรตามของประชากรมีการแจกแจงแบบปกติ ไมเ่ ท่ากัน
สถติ ทิ นี่ ิยมใช้ ใช้ t-test แบบ Independent Samples
การตรวจสอบข้อตกลง ชนดิ ความแปรปรวน 2 กลมุ่ ไมเ่ ทา่ กัน
Dependent Samples หรือ
โดยใช้ Kolmogorov-Smirnovtest Paired Sample t – test
หรอื Shapiro-Wilk test
ที่ระดบั นยั สาคญั ทางสถติ ิ .05 หรอื .01

H0 : คะแนนความสามารถด้านการคิดวเิ คราะหข์ องประชากร
มีการแจกแจงแบบปกติ
H1 : คะแนนความสามารถดา้ นการคดิ วเิ คราะหข์ องประชากร
มีการแจกแจงไม่เปน็ แบบปกติ

42

Week 13

“วิจัยบทท่ี 5”

ความมงุ่ หมายของการวจิ ยั
ขอบเขตของการวจิ ัย
เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการวจิ ัย
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวเิ คราะห์ข้อมลู
สรุปผลการวิจยั
อภปิ รายผลการวจิ ัย
ขอ้ เสนอแนะ

43

44

“สรุปวิจัยบทที่ 5”

สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ

ความม่งุ หมายของการวจิ ยั สรปุ ผลการวิจยั
นามาจากบทท่ี 1
ขอบของการวิจัย ผลการวจิ ัยเร่ือง........สรปุ ไดด้ งั นี้
นามาจากบทท่ี 1
อภปิ รายผลการวจิ ยั
เคร่ืองมือท่ใี ช้ในการวิจัย
นามาจากบทท่ี 3 (ไม่ตอ้ งระบวุ ธิ ีสร้าง) เป็นการแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ ผลการวิจยั ทเ่ี กิดขึ้น
ว่าเปน็ เพราะอะไร
การวิเคราะหข์ ้อมลู
นามาจากบทท่ี 3 อาจใชเ้ หตผุ ลของผ้วู จิ ัยเอง และ/หรอื ตามแนวคดิ
หลักการ ทฤษฎี ตา่ ง ๆ ท่ีผู้วิจยั นามาใช้ (ต้องอ้างองิ ดว้ ย)
และ/หรือผลการวิจยั นัน้ ๆ สอดคล้องกับงานวิจัยของใครที่
ทามากอ่ น(อ้างอิงด้วย)

ข้อเสนอแนะ

1. ขอ้ เสนอแนะในการนาผลการวิจัยไปใช้
(นานวตั กรรมไปใช้)

2. ข้อเสนอแนะในการทาวจิ ยั ครง้ั ต่อไป

45

Week 14

“การวิเคราะหข์ ้อสอบโดยใช้ spss”

กรณีขอ้ สอบใหค้ ะแนน 0 กบั 1
กรณเี ป็นแบบมาตรประมาณคา่

46



47

“สรุปการวเิ คราะห์ข้อสอบโดยใช้ spss”

กรณีขอ้ สอบใหค้ ะแนน 0 กับ 1 กรณเี ปน็ แบบมาตรประมาณคา่

ขัน้ ท่ี 1 สรา้ งไฟลข์ อ้ มลู ของกลุ่มทดลองใช้ N คน คดั ขอ้ คาถามทีค่ ่าอานาจจาแนกรายข้อ (r) ผา่ นเกณฑ์
ขัน้ ที่ 2 รวมคะแนนทงั้ ฉบับของแตล่ ะคน เทา่ กับจานวนข้อทว่ี างแผนไว้ เพื่อนาไปหาค่าความเช่ือมั่นทั้ง
ฉบบั โดยใช้ วิธีสมั ประสทิ ธ์ิแอลฟา (alpha coefficient)
โดยใชค้ าสง่ั Compute variable
ขั้นที่ 3 เรยี งคะแนนจากนอ้ ยไปหามาก โดยใชค้ าสง่ั Sort case
ข้ันที่ 4 คานวณหาจานวนคนในกลุ่มสงู (Nu) และจานวน คนในกลมุ่ ตา่ (Nl)

โดยใช้สตู ร 20% ของ N
เช่น ถา้ N = 50
20% ของ N=(27/100)*(50)≈ 14 คน
นน่ั คือ Nu=Nl=14

ขัน้ ท่ี 5 สรา้ งตัวใหม่ ต้งั ชือ่ Group โดยกาหนดค่า (Value) ให้ 1 แทน
กล่มุ ต่า (L) 2 แทนกลมุ่ กลาง (M) และ 3 แทนกลุ่มสงู (U)

ขั้นท่ี 6 คยี ์ข้อมลู ตวั แปร Group โดย กลุม่ ต่าพมิ พ์เลข 1 กลมุ่ สูงพมิ พ์เลข 2 และ
กลุม่ กลางพมิ พเ์ ลข 3

ขน้ั ท่ี 7 ตัดข้อมูลกลุ่มกลางออกทงั้ หมด จากนนั้ บนั ทกึ ไฟล์ โดยตง้ั ชอื่ ไฟล์ใหม่
หรอื ใช้คาสงั่ Select case เลอื กเฉพาะ Group=1 or Group=3

ขนั้ ที่ 8 วเิ คราะหข์ อ้ มลู เพ่อื หาคานวณจานวนคนตอบถกู ในกลมุ่ ตา่ (Rl) และ4
จานวนคนตอบถกู ในกล่มุ สูง (Ru) ของขอ้ สอบแต่ละขอ้
โดยใช้คาส่งั Crosstabs

ข้นั ท่ี 9 คดั เลอื กขอ้ สอบทที่ ง้ั ค่า p และ r ผา่ นเกณฑ์ ให้ไดจ้ านวนขอ้ สอบตาม
ทวี่ างแผนไว้

ขน้ั ที่ 10 วเิ คราะห์ความเช่ือมน่ั ของแบบทดสอบทงั้ ฉบบั โดยใช้สตู ร KR-20
ซึ่งในโปรแกรมเลือก alpha ให้ใชไ้ ฟลข์ อ้ มูลของกล่มุ ทดลองใช้ทม่ี ี
ทง้ั กลุ่มสูง กลาง ต่า


Click to View FlipBook Version