The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by bablue.236, 2021-05-07 01:54:09

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

บันทึกการเรียนรู้ น.ส.อธิษฐาน อภัยโส รหัส 132

48

Week 15

“การวิจยั ปฏบิ ตั กิ ารในชั้นเรียน”

ความหมาย เป้าหมาย และความสาคญั ของ
การวิจัยปฏิบตั กิ ารในชัน้ เรียน
ลกั ษณะของการวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารในช้ันเรียน

กระบวนการทางวิจัยปฏบิ ัติการในชน้ั เรียน
ปญั หาและการคัดเลือกปัญหา
เพอ่ื ทาวิจัยปฏบิ ัตกิ ารในชัน้ เรียน
แนวทางการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
แนวทางการเขยี นรายงานวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการในชั้นเรยี น

49

50

“สรุปการวิจยั ปฏิบัติการในชัน้ เรยี น”

การวิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในช้ันเรียน (Classroom action research) เป็นการวจิ ยั ปฏบิ ตั ิการอย่างหนึง่ ทีผ่ ู้ทาวจิ ัยคือ
ครูผูส้ อนในห้องเรยี นทร่ี ับผดิ ชอบ ไดด้ าเนินการแกไ้ ขปญั หาหรือพัฒนาผูเ้ รยี นหรือพัฒนาการเรียนการสอนของตนให้ดขี ้นึ

ความสาคญั ของการวิจยั ปฏบิ ัติการในชนั้ เรยี น กระบวนการทาวจิ ัยปฏิบตั ใิ นช้นั เรียน

1. ผลดีตอ่ ผเู้ รียน ขั้นตอนที่ 1 สารวจปัญหา
2. ผลดตี อ่ ตวั ครูผ้ทู าวจิ ยั ข้นั ตอนที่ 2 ระบุปัญหา วเิ คราะหแ์ ละค้นหาสาเหตุ
3. ผลดีตอ่ สภาพการเรียนการสอน ขน้ั ตอนท่ี 3 ระบแุ นวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนา
4. ผลดีตอ่ วงการวชิ าการและวงการวิชาชพี ครู ขั้นตอนท่ี 4 วางแผนแกป้ ญั หาหรือพฒั นา
ข้ันตอนที่ 5 สรา้ งหรือเลือกเครอ่ื งมือในการวิจัย
ลักษณะของการวิจยั ปฏบิ ัตกิ ารในชน้ั เรียน ขน้ั ตอนท่ี 6 ดาเนินการแก้ปัญหาหรอื พฒั นา
ตรวจสอบ และปรับปรุงแกไ้ ขการปฏิบัตงิ าน
1. ครเู ป็นนกั วจิ ัย ท้งั ในแง่ผูผ้ ลติ (ผทู้ าวิจยั ) และผู้บรโิ ภค (ผู้ใช้ผลการวจิ ัย) ขนั้ ตอนที่ 7 เกบ็ รวบรวมข้อมลู และวเิ คราะหข์ ้อมลู
2. ปญั หาการวิจัยตอ้ งเก่ียวขอ้ งกับงานในหน้าที่ ขน้ั ตอนที่ 8 สรปุ ผลการวจิ ัย และสะทอ้ นความคิดเหน็
3. ไม่ได้มงุ่ สร้างองค์ความร้ใู หม่ แต่มุ่งแก้ไขปญั หา หรอื พัฒนาการเรยี นรขู้ องผ้เู รยี น ขน้ั ตอนที่ 9 จดั ทารายงานการวจิ ยั
4. กล่มุ เปา้ หมายอาจเป็นรายบคุ คล รายกลมุ่ ท้ังห้องเรยี น หรอื หลายหอ้ งเรียน
5. สามารถดาเนินการวิจัยควบคไู่ ปกบั การปฏิบัติงานตามปกติได้ ปัญหา
6. ลักษณะของการท าวจิ ยั นยิ มใช้วงจรการวจิ ัยปฏบิ ัติการ PAOR
7. ไม่ได้เน้นการสร้างกรอบความคดิ ตามโครงสร้างเชิงทฤษฎี 1. ปญั หาเชงิ แกไ้ ข
8. เกบ็ ขอ้ มูลทัง้ เชิงปรมิ าณและคุณภาพ แต่เน้นข้อมูลเชิงคุณภาพ 2. ปัญหาเชงิ ปอ้ งกนั
9. การเขยี นรายงานการวจิ ัยไมเ่ คร่งครดั ในรปู แบบ 3. ปัญหาเชงิ พฒั นา
10. ครสู ามารถใช้ผลการวิจยั พฒั นาตนและพฒั นางานในหน้าทีไ่ ด้
11. สามารถทาวจิ ัยได้ทุกวนั ทุกสปั ดาห์
12. ไม่ไดม้ ุง่ ใหค้ รทู าเพอ่ื ขอผลงาน

51

“สรุปการวิจยั ปฏิบัตกิ ารในชนั้ เรยี น” (ตอ่ )

การเลอื กปญั หามาทาวิจัยปฏิบตั ิการในช้ันเรียน แนวทางการเขยี นรายงานวิจัยปฏิบัตกิ ารในชน้ั เรียน

1. เป็นปญั หาเร่งด่วน แบบไมเ่ ป็นทางการ
2. เปน็ ปญั หาของคนส่วนใหญ่หรือทง้ั ช้ัน รปู แบบทย่ี ดื หยนุ่ นาเสนอเนอื้ หาโดยสรปุ สน้ั ๆ (อาจหนา้ เดียว หรอื
3. ปญั หาดา้ นพฤติกรรมการเรยี นทม่ี ักเกิดกบั ผเู้ รยี นบางคนเทา่ น้ัน
4. พฤตกิ รรมทเี่ ปน็ ปญั หาต้องเปน็ ปญั หาจริง ๆ มากกวา่ บา้ งเลก็ น้อย) นยิ มเขียนในลักษณะความเรยี ง แยกเปน็ ย่อหนา้ ต่าง ๆ
5. ปญั หาบางอยา่ งสุดวสิ ัยหรอื ยากเกนิ ความสามารถทคี่ รูจะแก้ กไ็ ม่ควรเลอื กทา ตามประเด็นสาคญั ทตี่ อ้ งการนาเสนอ
6. ปญั หาท่งี า่ ยต่อการแกไ้ ขก็ไมค่ วรเลอื กทาวิจยั
7. ปัญหาทต่ี อ้ งใช้เวลานานเกนิ ไปในการแกไ้ ข แบบเปน็ ทางการ
เหมือนรูปแบบการเขียนรายงานการวจิ ยั ทางวิชาการท่วั ไป
การวเิ คราะห์ข้อมูลต้องวิเคราะห์เปน็ รายบุคคล
กล่าวคอื แบง่ เน้อื หาออกเป็น 5 บท ได้แก่ บทที่ 1 “บทนา” บทท่ี 2
เน่ืองจากปัญหาท่ีเกดิ ขนึ้ ในชนั้ เรียน มกั เปน็ ปญั หาของนักเรียน “เอกสารและงานวจิ ยั ท่ีเกย่ี วข้อง” บทที่ 3 “วธิ ดี าเนนิ การวิจัย
บางคน บางกลุ่มเท่าน้ัน เช่น ปัญหาการขาดเรียนบอ่ ยของเด็กชายแดง ”บทที่ 4“ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล” และบทที่ 5 “สรปุ อภปิ รายผล
ปัญหาการไม่ตงั้ ใจเรียนของนกั เรยี น 3 คน ปญั หาการอ่านคาควบกลา้ ไม่ และข้อเสนอแนะ”
ถูกต้องของนักเรียน 5 คน เปน็ ต้น และการแกป้ ญั หาในลกั ษณะนี้
ครผู ู้สอนจะต้องทาการตรวจสอบผลการแกป้ ัญหาเป็นรายบุคคล น่ันคอื แบบกึ่งทางการ
เกบ็ รวบรวมข้อมลู และวิเคราะห์ขอ้ มูลแยกเปน็ คนๆ ซ่งึ จะทาใหท้ ราบวา่ คลา้ ยกับรปู แบบเปน็ ทางการ แตไ่ ม่ได้แบ่งเนอ้ื หาออกเป็น
ปัญหาของนักเรียนแต่ละคน หลังไดร้ ับการแก้ไขแล้ว มีการเปลี่ยนแปลง
หรอื ไม่ อยา่ งไร บท ๆ ไม่เน้นส่วนนาและส่วนอ้างองิ ไมเ่ น้นเน้อื หาสาระเก่ยี วกับ
เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เนือ้ หาสาระท่ีนาเสนอจะเปน็ แบบสั้น ๆ
แตไ่ ด้ใจความสมบรู ณ์

52

ความรสู้ กึ

ความร้สู กึ ทมี่ ีตอ่ การเรยี นวิชาการวิจยั เพือ่ พัฒนาการ
เรยี นรู้ ท่านอาจารย์สอนดมี าก ๆ คะ่ อธิบายเนือ้ หาได้
ละเอียดและยกตัวอย่างใหส้ ามารถเขา้ ใจได้ง่าย เวลาเรยี น
ตอ้ งมีสติตลอดเวลา ระเบยี บวนิ ัยสาคญั มาก ทา่ นอาจารย์
จะคอยกระตนุ้ ใหม้ สี ว่ นร่วมในการเรียนอยูต่ ลอด

สุดทา้ ยน้หี นูร้สู กึ ขอบพระคณุ ทา่ นอาจารยม์ าก ๆ ค่ะ
ทไ่ี ดใ้ ห้ความรแู้ ละชี้แนะตลอด 1 ภาคเรยี นนี้ และจะนาเอา
ความรูท้ ่ไี ดไ้ ปใชก้ ับการเรยี นการสอนในอนาคตค่ะ

53

สญั ญาการเรยี น

IF YOU DON’ t READ,

YOU WON’ t KNOW ANYTHING.

ถ้าคุณไมอ่ ่านหนงั สือ คุณจะไม่รอู้ ะไรเลย

- ศิลป์ พรี ะศรี -


Click to View FlipBook Version