The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by grad school, 2020-12-21 23:32:18

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา

ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

2020 GRADUATE STUDENT HANDBOOK

คู่มอื นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

สารจากคณบดบี ัณฑิตวิทยาลัย

การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เป็นการศึกษาที่มีความมุ่งหวังให้ผู้สำเร็จการศึกษาสามารถสร้าง
องค์ความรู้ใหม่ได้ด้วยตนเอง จากการค้นคว้าวิจัย และสามารถนำองค์ความรู้ใหม่ที่สร้างขึ้นนั้นไปใช้ประโยชน์
ในการพัฒนาสังคมประเทศชาติ ซึ่งการจัดการศึกษาระดับนี้จะประสบผลสำเร็จได้ สถาบันที่จัดการศึกษา
ต้องมีความพร้อมและมีการเตรียมการอย่างเป็นระบบ ประกอบด้วย นโยบายการจัดการศึกษาระดับ
บัณฑิตศกึ ษา ระบบการจัดการเรยี นการสอน ระบบอาจารยท์ ี่ปรึกษา ระบบตดิ ตามการชว่ ยเหลือนกั ศกึ ษา แหล่ง
ค้นคว้าอ้างองิ ท่ีทันสมยั ตลอดจนกิจกรรมสง่ เสริมคุณลักษณะบณั ฑิตตามจุดเนน้ ของแต่ละสาขา

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ได้จัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ตั้งแต่ปีการศึกษา 2541 ซึ่ง
ในปกี ารศึกษา 2563 นี้ ไดเ้ ปิดรับนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาโท จำนวน 12 สาขาวิชา และระดบั ปริญญาเอก จำนวน
5 สาขาวิชา โดยมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตศึกษาในสาขาที่เป็นจุดเด่นของมหาวิทยาลัย เป็นไปตามความต้องการ
ของท้องถิ่น และมีมาตรฐานการศึกษาตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ทั้งนี้เพื่อเป็นการ
ขยายโอกาส และสร้างทางเลือกให้แก่บุคลากรในในท้องถิ่นที่ต้องการศึกษาในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งเป็นการ
เพม่ิ พนู ความรวู้ ิชาการและทกั ษะด้านการวิจยั อนั จะเปน็ ประโยชน์ในการพัฒนาท้องถิน่ อยา่ งยงั่ ยืนตอ่ ไป

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นหน่วยงานระดับคณะที่มีหน้าที่หลักในการ
ดำเนินการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา โดยดำเนินการประสานงานกับคณะต่าง ๆ และคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรทุกสาขาวิชา เพื่อวางมาตรฐานการเรียนการสอนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน และจัดกิจกรรม
สง่ เสริมคุณลักษณะบัณฑิตอย่างหลากหลาย รวมทั้งการศึกษาดูงานท้งั ในและต่างประเทศเพ่ือสร้างวิสยั ทัศน์และ
ความมัน่ ใจในการปรับเปลย่ี นแนวทางในการปฏิบตั งิ านใหม้ ีประสิทธิภาพมากขึ้น

คูม่ ือนกั ศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษาฉบับน้ี จัดทำขน้ึ เพื่อให้นกั ศึกษาได้ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติตน
ตลอดระยะเวลาที่ทำการศึกษา โดยมุ่งหวังให้นักศึกษาได้ทราบถึงขั้นตอน กระบวนการดำเนินการต่าง ๆ
ในระเบียบหรือข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการ แผนการเรียน และหน่วยงานให้บริการในมหาวิทยาลัย
และคาดหวังว่า คู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาในการวางแผนและดำเนินการศึกษา
ตามแผน จนสามารถสำเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาท่ีกำหนดอย่างมคี ุณภาพต่อไป

(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร. สมเกียรติ ทานอก)
คณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลัย



คู่มือนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

สารบญั หน้า

สารจากคณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั ก
สารบัญ ข

ตอนที่ 1 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 1
ตอนที่ 2 บัณฑิตวิทยาลัย 9
ตอนท่ี 3 ระเบียบ ข้อบงั คับ และประกาศ ที่เกี่ยวข้องกบั นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 18
ตอนท่ี 4 แผนการเรยี น 78
ตอนที่ 5 หน่วยงานให้บรกิ าร 86
ตอนท่ี 6 การประกันคณุ ภาพการศึกษาและขอ้ ควรทราบ 99
ตอนที่ 7 ขอ้ มูลการตีพิมพเ์ ผยแพรบ่ ทความวิจัย 109
ตอนที่ 8 การใชง้ านระบบอกั ขราวิสุทธเิ์ บ้อื งตน้ 117

ภาคผนวก 123

คณะผู้จัดทำ 131



ตอนท่ี 1

มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า

บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

1. ปรัชญาของมหาวิทยาลยั
แหลง่ วิชาการ สรา้ งสรรคค์ นดี มีคณุ ธรรม นำสงั คม

2. อัตลกั ษณข์ องมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
“ทพ่ี ึ่งของทอ้ งถน่ิ ”

3. อัตลกั ษณข์ องบณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
“สำนกึ ดี มคี วามรู้ พรอ้ มสู้งาน”
สำนึกดี หมายถงึ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจติ สำนกึ และตระหนกั ในความสำคญั ของจรรยาบรรณวชิ าชพี

มีสำนกึ ในความเปน็ ไทย และมคี วามรัก และความผูกพันตอ่ ท้องถ่ิน
มคี วามรู้ หมายถึง มีความรคู้ วามสามารถทางวชิ าการและวชิ าชพี มที ักษะทางปญั ญา

การคิดวิเคราะห์ การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
พร้อมสงู้ าน หมายถงึ มีความรับผิดชอบตอ่ หนา้ ท่ี อุทิศเวลาใหก้ ับงาน มีภาวะผนู้ ำในการแกป้ ัญหา

มคี วามคิดรเิ ร่ิมและใหค้ วามร่วมมอื ในการแก้ปญั หา และมีการพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่อื ง

4. เอกลกั ษณ์ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
4.1 สถาบนั วิจยั ไมก้ ลายเป็นหนิ และทรพั ยากรธรณีภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ เฉลมิ พระเกียรติ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏ

นครราชสมี า เปน็ แหลง่ เรียนรู้ด้านบรรพชีวนิ ระดับนานาชาตทิ ่โี ดดเด่นในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต้
4.2 เปน็ ผ้นู ำด้านการศึกษาพิเศษในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4.3 เป็นผูน้ ำหนึง่ ในหา้ ของประเทศในการผลิตครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษามอื อาชพี
4.4 การวจิ ยั เพอ่ื พัฒนาต่อยอดภูมปิ ัญญาท้องถ่ินของจังหวัดนครราชสมี า ด้านอาหาร ผ้า และการทอ่ งเท่ยี ว
4.5 การสบื สานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดำรใิ นการแกป้ ญั หาและใชป้ ระโยชนจ์ ากดินเค็ม

5. ประวัติมหาวทิ ยาลยั
พ.ศ. 2457 การฝกึ หัดครูได้เรม่ิ ในมณฑลนครราชสีมา เม่อื กระทรวงธรรมการให้เปิดสอนหลักสตู รประโยคครู

มูลสามัญ (ป.) ในโรงเรียนตัวอย่างประจำมณฑลนครราชสมี า โดยรับนักเรียนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 เข้าศึกษา
หลักสตู ร 2 ปี เมือ่ สำเรจ็ การศึกษาจะไดร้ บั บรรจเุ ป็นขา้ ราชการครู

พ.ศ. 2466 กระทรวงธรรมการได้จัดต้งั โรงเรียนฝกึ หัดครูมลู กสิกรรมที่ขา้ งวดั โพธ์ิ ตำบลโพธิ์กลาง อำเภอเมือง
จังหวัดนครราชสีมา เปดิ สอนหลักสูตรประโยคครมู ูลสามญั (ป.) และประโยคครปู ระกาศนียบตั รจังหวดั (ว.) ตอ่ มา
ในปี พ.ศ. 2478 ไดเ้ ปลี่ยนชื่อเปน็ “โรงเรียนฝึกหัดครปู ระกาศนยี บัตรจังหวัดนครราชสีมา” เปดิ สอนเฉพาะหลกั สูตร
ประโยคครปู ระกาศนียบัตรจงั หวัด (ว.)

พ.ศ. 2481 ย้ายไปอยู่แทนที่โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม อำเภอโนนสูง จังหวัดนครราชสีมา และในปี
พ.ศ. 2485 เปลี่ยนช่ือเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูมูลโนนสูง” เปิดสอน 3 หลักสูตรได้แก่ ประโยคครูประกาศนยี บัตร
จังหวัด (ว.) ประโยคครปู ระชาบาล (ป.บ.) และประโยคครมู ลู (ม.)

2

คู่มอื นักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563

พ.ศ. 2490 ยา้ ยเขา้ มาอยู่ ณ ทตี่ ง้ั ปัจจุบันในอำเภอเมือง จังหวดั นครราชสีมา และเปลี่ยนชื่อเปน็ “โรงเรียน
ฝึกหัดครูนครราชสีมา” ในปี พ.ศ. 2495 ได้ยุบเลิกหลักสูตรเดิม 3 หลักสูตรและเปิดสอนหลกั สูตรประกาศนียบตั ร
ประโยคครูประถม (ป.ป.) จนถึงปี พ.ศ. 2497 จึงเปิดสอนหลักสตู รประกาศนียบตั รวชิ าการศึกษา (ป.กศ.) แทน
หลกั สตู รประกาศนียบัตรประโยคครปู ระถม (ป.ป.)

พ.ศ. 2502 ได้รับการยกฐานะเป็น “วิทยาลัยครูนครราชสีมา” และเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชา
การศกึ ษาช้นั สูง (ป.กศ. ช้นั สูง) ตอ่ จากระดับ ป.กศ.

พ.ศ. 2518 ไดร้ ับการยกฐานะเปน็ สถาบนั อุดมศกึ ษาสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการตามพระราชบญั ญัติวิทยาลัยครู
พทุ ธศักราช 2518 จงึ ขยายการผลติ ครถู ึงระดบั ปรญิ ญาตรีครศุ าสตรบณั ฑติ (ค.บ.)

พ.ศ. 2520 เริ่มโครงการอบรมครูและบคุ ลากรทางการศึกษาประจำการ (อคป.) แล้วพัฒนามาเป็นโครงการ
จดั การศึกษาเพือ่ ปวงชน (กศ.ปช.) ในปจั จุบนั

พ.ศ. 2527 เริ่มเปิดสอนสาขาวิชาชีพอื่นนอกเหนือจากสาขาวิชาการศึกษาในระดับอนุปริญญาและขยายถึง
ระดับปริญญาตรีในระยะต่อมา ปัจจุบันมี 5 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และ
วิทยาศาสตรป์ ระยกุ ต์ สาขาวชิ าศิลปศาสตร์ สาขาวิชาบริหารธุรกจิ และสาขาวชิ านิติศาสตร์

พ.ศ. 2537 เปล่ยี นแปลงฐานะเปน็ “สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา” สามารถเปดิ สอนในระดับท่สี งู กวา่ ปรญิ ญาตรี
พ.ศ. 2541 เร่ิมเปิดสอนระดบั ปริญญาโท สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา และปตี อ่ ๆ มา ตั้งแต่
พ.ศ. 2542-2545 ได้เปิดสอนสาขาอืน่ เพิม่ อกี 6 สาขาวชิ า ไดแ้ ก่ สาขาวชิ าเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา สาขาวิชา
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน สาขาวิชาสังคมศาสตร์
เพื่อการพฒั นา และสาขาวิชาการพฒั นาสุขภาพชุมชน
พ.ศ. 2546 เปดิ สอนระดบั ประกาศนยี บตั รบัณฑติ เพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าการบริหารการศกึ ษา
15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2547 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวภูมิพลอดุลยเดช ไดท้ รงลงพระปรมาภไิ ธยประกาศใน
ราชกจิ จานเุ บกษา เริ่มใช้พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 เมอื่ วันท่ี 10 มถิ ุนายน 2547 อันเป็น
ผลใหส้ ถาบนั ราชภฏั นครราชสมี าเปลยี่ นไปเปน็ “มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา”
พ.ศ. 2548 เปดิ สอนระดบั ปริญญาโทเพ่มิ อีก 1 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรศ์ ึกษา
พ.ศ. 2549 เปดิ สอนระดับปรญิ ญาเอก สาขาวิชาภาวะผนู้ ำทางการบรหิ ารการศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาโทเพมิ่ อกี
1 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าเทคโนโลยกี ารจัดการส่ิงแวดล้อม
พ.ศ. 2550 เปดิ สอนระดับปรญิ ญาโทเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าจิตวิทยาการศึกษา และระดับประกาศนยี บัตร
บัณฑติ เพมิ่ อกี 1 สาขาวชิ า คือ สาขาวชิ าการศกึ ษา
พ.ศ. 2551 เปิดสอนระดับปริญญาโทเพ่ิมอีก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาการบรหิ ารธุรกิจ และสาขาวชิ าการสอน
ภาษาอังกฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ
พ.ศ. 2552 เปิดสอนระดบั ปริญญาโทเพ่ิมอีก 2 สาขาวชิ า คือ สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ และ
สาขาวิชาคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการสอน
พ.ศ. 2555 เปดิ สอนระดับปริญญาเอกเพมิ่ อีก 2 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าการบรหิ ารการศกึ ษา และสาขาวชิ า
เทคโนโลยีการจัดการสิง่ แวดล้อม และเปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาโทเพมิ่ อีก 3 สาขาวชิ า คือ สาขาวิชาการจัดการการ
ส่อื สารแบบบรู ณาการ สาขาวิชารฐั ประศาสนศาสตร์ และสาขาวชิ าวิจัยและประเมนิ ผลการศึกษา

3

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

พ.ศ. 2557 เปิดสอนระดับปริญญาเอกเพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คือ สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน ระดบั
ประกาศนียบตั รบัณฑิต เพิ่มอีก 1 สาขาวิชา คอื สาขาวิชาวิชาชีพครู

พ.ศ. 2558 เปิดสอนระดบั ปรญิ ญาเอกเพม่ิ อีก 1 สาขาวชิ า คอื สาขาวิชาบรหิ ารธรุ กจิ
พ.ศ. 2560 เปดิ สอนระดับปริญญาโทเพ่ิมอกี 1 สาขาวิชา คอื สาขาวชิ าการพฒั นาศกั ยภาพมนษุ ย์
พ.ศ. 2561 เปิดสอนระดบั ปริญญาเอกเพม่ิ อีก 1 หลกั สตู ร คือ หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ และ
ปริญญาโท เพมิ่ อกี 1 สาขาวชิ า คอื สาขาวิชาระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ิทัล
พ.ศ. 2562 เปิดสอนระดับปริญญาโทเพม่ิ อกี 1 สาขาวชิ า คือ สาขาวชิ าภาษาไทย
พ.ศ. 2563 เปิดสอนระดับปริญญาเอกเพม่ิ อกี 1 สาขาวชิ า คอื สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน

6. คตธิ รรมประจำมหาวิทยาลัย
ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ ผูป้ ระพฤตธิ รรมยอ่ มอยู่เป็นสขุ

7. ตราสัญลักษณป์ ระจำมหาวิทยาลัย

ตราสัญลกั ษณป์ ระจำมหาวทิ ยาลยั เปน็ รปู พระราชลัญจกรประจำพระองค์รชั กาลที่ 9 ซง่ึ เป็นรูปพระท่ีนั่งอัฐทิศ
ประกอบด้วย วงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็น อุ หรือเลข 9 รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรปู
เศวตฉัตร 7 ชั้น ตั้งอยู่บนพระทีน่ ัง่ อัฐทิศ แปลความหมายว่า ทรงมีพระบรมเดชานุภาพในแผน่ ดิน โดยที่วันบรม
ราชาภิเษกตามโบราณราชประเพณไี ดเ้ สด็จประทับเหนือพระทน่ี ั่งอัฐทิศ สมาชิกรฐั สภาถวายนำ้ อภิเษกจากทิศทงั้ แปด
รอบนอกของตราดา้ นบนมีตวั อกั ษรภาษาไทยว่า “มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า” ด้านล่างมตี ัวอกั ษรภาษาอังกฤษ
ว่า “NAKHON RATCHASIMA RAJABHAT UNIVERSITY”

สขี องตราสญั ลกั ษณม์ ี 5 สี คือ
สนี ้ำเงนิ แทน สถาบันพระมหากษตั รยิ ์ผูใ้ หก้ ำเนิดและพระราชทานนาม ‘‘มหาวิทยาลัยราชภฏั ’’
สเี ขยี ว แทน แหลง่ ทต่ี ้ังของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏ 40 แห่งในแหลง่ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมท่สี วยงาม
สีทอง แทน ความเจริญรงุ่ เรอื งทางปญั ญา
สสี ้ม แทน ความร่งุ เรอื งของศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถน่ิ ทกี่ า้ วไกลใน ๔๐ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สขี าว แทน ความคิดอนั บรสิ ุทธขิ์ องนกั ปราชญ์แหง่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หวั ฯ

4

คู่มือนักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

8. สีประจำมหาวทิ ยาลัย เขียว – เหลือง

9. ดอกไม้ประจำมหาวิทยาลัย ดอกราชพฤกษ์

10. ภาพรวมของมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เป็นมหาวิทยาลัยอุดมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

โดยปรบั เปลยี่ นสภาพมาจากสถาบนั ราชภัฏ ซ่ึงตามพระราชบัญญตั สิ ถาบนั ราชภัฏพทุ ธศักราช 2538 ไดก้ ำหนดให้เป็น
สถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นที่สามารถจัดการศึกษา ได้หลายรูปแบบ เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และ
ชแี้ นะทศิ ทางการพัฒนาท้องถน่ิ ไดอ้ ย่างเหมาะสมและต่อเน่ืองจากพระราชบัญญัติสถาบนั ราชภัฎ พทุ ธศักราช 2538
มาตรา 7 และจากสถานะของสถาบันราชภัฏที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาจึงได้กำหนดปรัชญา
วัตถุประสงค์ วสิ ัยทศั น์ และภารกิจของมหาวทิ ยาลัยไวด้ ังน้ี

10.1 ปรชั ญาและปณธิ านของมหาวิทยาลัย
แหล่งวิชาการ สร้างสรรคค์ นดี มีคุณธรรม นำสังคม
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มุ่งพัฒนาเป็นแหล่งวิชาการเพื่อเป็นกลไกในการพัฒนาให้เหมาะสม

ทั้งทางรา่ งกาย จิตใจ สังคม สติปัญญา และการประกอบอาชพี มคี วามสำนกึ เพื่อบ้านเมอื ง มคี ุณธรรมนำชีวติ เปน็ ผูน้ ำ
การเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรใู้ หม่ เพ่อื การพัฒนาท้องถิน่ และประเทศทยี่ ่งั ยืน

10.2 วัตถุประสงคข์ องมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มีวัตถปุ ระสงค์ ให้การศึกษา สง่ เสริมวชิ าการและวชิ าชีพชั้นสงู ทำการวจิ ัย

ใหบ้ ริการทางวิชาการแก่สงั คม ปรับปรงุ ถ่ายถอด และพฒั นาเทคโนโลยี ทะนุบำรงุ ศลิ ปวัฒนธรรม ผลิตครแู ละส่งเสริม
วิทยฐานะครู

10.3 วสิ ยั ทัศน์ของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาเป็นมหาวิทยาลัยอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ที่มุ่งมั่นจัดการศึกษา

เพือ่ พฒั นาทรพั ยากรมนษุ ยใ์ นทอ้ งถน่ิ ด้วยรูปแบบท่ีหลากหลาย เพอ่ื ให้ทกุ คนได้มีโอกาสเรยี นรู้ตลอดชีวิต ช่วยให้ผเู้ รียน
สามารถใชช้ ีวิตอยู่ในท้องถิ่นได้อย่างสงบสุข เปน็ มหาวิทยาลัยท่ชี ่วยยกระดับความเปน็ อยู่ของคน ชุมชน และสังคมให้
พฒั นาไปดว้ ยกนั ไดอ้ ย่างสมดลุ มหาวิทยาลัยจะต้องมีบทบาทสำคญั ในการผลติ ครแู ละผดงุ วิชาชพี ครูใหเ้ ป็นวิชาชีพที่มี
เกียรตมิ ีศกั ด์ศิ รี จะตอ้ งเนน้ การศกึ ษาวจิ ัยและพฒั นาเพือ่ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ ควบคู่ไปกบั ภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น ถ่ายถอด
และพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมให้กับท้องถิ่น และเป็นสื่อกลางให้คนในท้องถิ่นเข้าถึงแก่นของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมทอ้ งถิ่น และของชาติอื่น เพื่อสร้างความสมั พันธ์ทีด่ ีและความรว่ มมือระดับนานาชาติ โดยพัฒนาศักยภาพ
ของมหาวิทยาลัยท้ังในด้านบุคลากรและระบบการบรหิ ารให้มปี ระสิทธิภาพ และร่วมมือกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งภายใน
ทอ้ งถิน่ ภายในประเทศ และต่างประเทศเพ่ือปฏิบัติภารกิจของมหาวิทยาลัย

10.4 ภารกิจของมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา มีภารกิจสำคัญ 6 ดา้ น ดังนี้
10.4.1 ด้านการจดั การศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ในฐานะสถาบนั อดุ มศกึ ษาเพือ่ การพัฒนาทอ้ งถิน่ ต้องมีหน้าที่

ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อตอบสนองความต้องการด้านกำลังคน และเพื่อรองรับการขยายตัวของสังคม
มหาวิทยาลัยจะต้องจัดการศึกษาเพื่อสนองตอบความต้องการด้านการศึกษา เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ

5

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

ประชาชน โดยมุ่งเน้นการระดมสรรพกำลังและความร่วมมือจากองค์กรต่าง ๆ ในการจัดการศึกษา การปรับปรุง
รูปแบบและวิธีการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับพัฒนาการทางเทคโนโลยีในอนาคต การเสริมสร้างโลกทศั น์
สากลและจิตสำนักท่ีดีต่อท้องถิ่นและสังคม ร่วมทั้งพัฒนากลไกการรับนักศึกษาใหเ้ ป็นเครื่องมือกระจายโอกาสและ
ความเสมอภาคแก่คนในทอ้ งถ่นิ และเน้นการพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษาและคณุ ภาพบัณฑติ เปน็ สำคญั

10.4.2 ดา้ นการวิจัย
เรง่ พัฒนาขีดความสามารถของมหาวทิ ยาลัยในด้านการวจิ ัย ให้สามารถสรา้ งและผสมผสานองค์

ความรู้สากล เทคโนโลยแี ละภูมปิ ัญญาไทย เพอื่ ปรบั ปรุงประสิทธิภาพ การจดั การศึกษา และเพอ่ื การพัฒนาประเทศ
มุ่งเน้นการวจิ ยั และพัฒนาท่ีสามารถนำผลไปใช้ในด้านการจัดการศึกษาและการพฒั นาถ้องถนิ่ ได้ มุ่งสนบั สนุนให้ท้องถิ่น
สามารถนำผลการวจิ ัยของมหาวิทยาลัยไปใชใ้ หก้ ่อประโยชน์ต่อการพฒั นาท้องถน่ิ ตลอดจนการระดมทรัพยากรและ
ความร่วมมอื ด้านการวจิ ยั จากแหล่งตา่ ง ๆ อย่างกวา้ งขวาง

10.4.3 ด้านการใหบ้ รกิ ารทางวชิ าการแก่สังคม
มุง่ ขยายขอบเขตและรูปแบบของการบริการทางวชิ าการ ใหเ้ ป็นกลไกใหม่ในการกระจายโอกาส

และความเสมอภาคทางการศึกษา และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ให้มุ่งระดม ทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ ในท้องถิ่น
ควบคู่กบั การพัฒนาองค์กรบริหารวิชาการใหม้ คี วามหลากหลายและมปี ระสทิ ธิภาพย่ิงข้ึน รวมถึงการพัฒนาความร่วมมือ
กับองค์กรภายนอกเพือ่ สร้างเครือขา่ ยการเรียนรู้ และการให้บริการท่ีมปี ระสิทธิภาพ และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย
อย่างกวา้ งขวาง

10.4.4 ด้านการปรับปรุง ถ่ายทอด และพฒั นาเทคโนโลยี
มุ่งเน้นการปรบั ปรงุ ถา่ ยทอดและพัฒนาเทคโนโลยีสมัยใหมใ่ หส้ อดคล้องกับสภาพท้องถน่ิ ตลอดจน

การนำทรพั ยากรธรรมชาติมาใชใ้ นการพฒั นาเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมเพอ่ื ให้เกิดการพัฒนายัง่ ยืน มหาวทิ ยาลยั ต้องระดม
และประสานความร่วมมือกับบุคลากรทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยให้เข้ามามี ส่วนร่วมในการปฏิบัติภารกิจ
ดังกลา่ ว

10.4.5 ดา้ นการทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
มุ่งเน้นการศึกษาศิลปวฒั นธรรมของท้องถิ่นเพ่ือการอนุรักษพ์ ัฒนาสง่ เสริมสบื สานและเผยแพร่

สรา้ งความพรอ้ ม และความตระหนกั ใหแ้ ก่สงั คม เพอ่ื ให้เห็นคุณคา่ มรดกทางวฒั นธรรมของท้องถิน่ การอยู่รอดร่วมกัน
อย่างมีเอกลักษณ์และศักดิ์ศรตี ลอดจนเป็นกลไก เสริมสร้างบทบาทของสถาบันอุดมศึกษา เพื่อการพัฒนาท้องถิน่ ใน
การปลูกฝังคุณลักษณะทางวัฒนธรรมที่พึงประสงค์ให้แก่ผู้เรียน เพื่อร่วมมือและแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับประเทศ
เพ่อื นบา้ น และประเทศในภูมภิ าคอ่ืน

10.4.6 ดา้ นการผลิตครูและส่งเสรมิ วทิ ยฐานะครู
มุ่งใหค้ วามสำคัญเปน็ ลำดบั สูงต่อการปฏิรูปการฝึกหัดครู เพอื่ ให้ไดค้ รูที่มีคุณภาพสูง ท่ีจะส่งผล

ต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในระดับตา่ ง ๆ เสริมสรา้ งใหว้ ชิ าชพี ครูเป็นวชิ าที่มีเกยี รติศักดศ์ิ รีสามารถจูงใจคนเก่ง
และคนดเี ขา้ ศกึ ษาวิชาชพี ครู ร่วมทั้งเร่งรัดการพัฒนาครูประจำการและบคุ ลากรทางด้านการศกึ ษา โดยต้องมวี ิธีการสรร
หาท่ีดีเพื่อคดั เลอื กผู้ที่มคี วามเหมาะสมเข้าเรียนวิชาชีพครู ตอ้ งมกี ารปฏริ ูปการเรียนการสอนในสถาบนั อย่างจรงิ จงั และ
ควรพฒั นาคณาจารยท์ างครุศาสตร์อย่างสม่ำเสมอและตอ่ เนอื่ ง

6

ค่มู ือนักศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

11. การแบ่งสว่ นราชการในมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
11.1 หน่วยงานสนับสนุนของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา มดี งั ต่อไปน้ี
11.1.1 สำนักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน
11.1.2 สำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
11.1.3 สถาบันวิจัยและพัฒนา
11.1.4 สำนกั ศิลปะและวฒั นธรรม
- พิพิธภัณฑ์เมืองนครราชสมี า
11.1.5 สถาบนั วิจัยไม้กลายเป็นหนิ และทรัพยากรธรณี
11.1.6 สำนักคอมพวิ เตอร์
11.1.7 สถาบันภาษา
11.1.8 สำนกั งานอธิการบดี ประกอบไปดว้ ยกองตา่ ง ๆ ดังน้ี
1) กองกลาง ประกอบไปด้วยส่วนงาน 4 งาน ไดแ้ ก่
1.1) งานเลขานกุ าร
1.2) งานประชาสมั พนั ธ์
1.3) งานธรุ การ
1.4) งานพัสดุ
2) กองบริหารงานบคุ คล
3) กองนโยบายและแผน
4) กองพัฒนานกั ศกึ ษา ประกอบไปด้วยสว่ นงาน 3 งาน ได้แก่
4.1) งานทนุ และงานแนะแนว
4.2) ทน่ี ่ีมงี านทำ งานทนุ และงานแนะแนว
4.3) ศษิ ย์เกา่ ชาวเขยี ว-เหลือง
5) กองกิจการพเิ ศษ
- สวสั ดกิ ารออมทรพั ย์
6) กองคลัง
7) กองวเิ ทศสัมพนั ธ์
8) กองประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
9) สำนกั งานสภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
10) โครงการจัดต้งั กองอาคารสถานที่และบริการ
11) คณะกรรมการอทุ ธรณแ์ ละรอ้ งทุกขป์ ระจำ ม.ร.นม. (ก.อ.ม.)
11.1.9 ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วิชาชพี ทับแกว้
11.1.10 ศูนยบ์ ม่ เพาะวิสาหกจิ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
11.1.11 ศูนยจ์ ัดการทรพั ยส์ ินทางปญั ญาและถ่ายทอดเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
11.1.12 ศนู ย์แพทย์ชุมชน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

7

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

11.1.13 องค์การนกั ศึกษา
11.1.14 สโมสรบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
11.2 หนว่ ยงานด้านการจดั การศึกษา
11.2.1 คณะครศุ าสตร์

1) โรงเรียนสาธติ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
2) ศนู ย์การศกึ ษาพิเศษ

2.1) หน่วยบรกิ ารสนับสนุนนักศึกษาพกิ าร
2.2) หนว่ ยบริการระยะแรกเริม่
2.3) หน่วยฝึกทกั ษะอาชพี เพื่อการดำรงชีวิตอสิ ระ
2.4) โปรแกรมวิชาการศกึ ษาพเิ ศษ
3) ศูนย์การศกึ ษาการพัฒนาครู
11.2.2 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
11.2.3 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1) ศนู ยว์ ทิ ยาศาสตร์
2) คลนิ ิกเทคโนโลยี
11.2.4 คณะวิทยาการจดั การ
11.2.5 คณะเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม
11.2.6 คณะสาธารณสขุ ศาสตร์
11.2.7 บณั ฑิตวทิ ยาลัย

8

ตอนท่ี 2

บณั ฑิตวิทยาลยั

บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

1. ความเป็นมาของบัณฑติ วิทยาลัย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในฐานะท่ีเป็นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิน่ มีภารกิจตามมาตรา 7

แห่งพระราชบัญญัติสถาบันราชภัฏ พ.ศ. 2538 คือทำหน้าที่ให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง ทำการวิจัย
ให้บริการทางวิชาการแก่สังคม ปรับปรุงถ่ายทอดและพัฒนาเทคโนโลยที ำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ผลิตครูและส่งเสรมิ
วิทยฐานะครู โดยเฉพาะภารกิจการให้การศึกษาวิชาการและวิชาชีพชนั้ สูง ซึง่ เปน็ เร่ืองจำเปน็ เรง่ ด่วนสำหรับท้องถิ่น
เพราะการที่ท้องถิ่นจะพัฒนาศักยภาพของทรัพยากรมนุษย์ที่ดีที่สุด คือการให้การศึกษาซึ่งมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสีมา นอกจากจะผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรีแล้วยังจำเป็นที่จะต้องผลิตมหาบัณฑิต เพื่อออกไปพัฒนา
ทอ้ งถิน่ ใหม้ คี วามเจริญมากขนึ้ สอดคล้องกับสงั คมของการแขง่ ขันในปัจจบุ ัน มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี าจึงจัดตงั้
บัณฑิตวิทยาลยั ขึ้นเป็นหน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลัยมีฐานะเทียบเท่าคณะ ทำหน้าที่ดำเนินการจัดการศึกษาระดับ
บณั ฑติ ศึกษา ตง้ั แต่ปกี ารศกึ ษา 2541 และเปดิ สอนระดบั บัณฑิตศึกษาตัง้ แตน่ ้นั เรอ่ื ยมาจนถงึ ปจั จุบัน

2. ปรชั ญา และวิสยั ทัศนข์ องบณั ฑติ วทิ ยาลยั
ปรัชญา
คณุ ภาพคู่คุณธรรม ผูน้ ำทางปัญญา เพ่ือพฒั นาทอ้ งถ่ิน
วิสัยทัศน์
เปน็ เลิศทางวิชาการ เพอ่ื พฒั นาท้องถิ่น สมู่ าตรฐานสากล

3. หลักสตู รสาขาวชิ าระดบั บัณฑติ ศกึ ษา เริม่ เปดิ สอนปีการศึกษา 2546
3.1 ระดับประกาศนยี บตั รบัณฑิต เรม่ิ เปิดสอนปีการศึกษา 2550
หลักสตู รประกาศนียบัตรบัณฑิต เริ่มเปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2557
สาขาวิชาการบรหิ ารการศกึ ษา
สาขาวิชาการศกึ ษา เริ่มเปดิ สอนปีการศกึ ษา 2541
สาขาวชิ าวชิ าชพี ครู เรม่ิ เปดิ สอนปกี ารศึกษา 2542
3.2 ระดับปริญญาโท เรม่ิ เปิดสอนปีการศกึ ษา 2545
หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต เรม่ิ เปดิ สอนปีการศกึ ษา 2545
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา เริ่มเปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2550
สาขาวิชาเทคโนโลยีและส่อื สารการศึกษา เริ่มเปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2551
สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน เรม่ิ เปดิ สอนปีการศกึ ษา 2555
สาขาวชิ าการส่งเสริมสขุ ภาพ เรม่ิ เปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2560
สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว เรม่ิ เปิดสอนปีการศึกษา 2562
สาขาวชิ าการศกึ ษาพเิ ศษ
สาขาวิชาวจิ ยั และประเมนิ ผลการศกึ ษา
สาขาวชิ าคณติ ศาสตรศกึ ษา
สาขาวิชาภาษาไทย

10

คูม่ อื นกั ศึกษาระดับบัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

หลักสูตรศลิ ปศาสตรมหาบณั ฑิต เรม่ิ เปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2545
สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพฒั นา เรม่ิ เปดิ สอนปกี ารศึกษา 2551
สาขาวชิ าการสอนภาษาองั กฤษเปน็ ภาษาต่างประเทศ เรม่ิ เปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2560
สาขาวชิ าการพฒั นาศกั ยภาพมนุษย์
เรม่ิ เปิดสอนปีการศกึ ษา 2543
หลกั สูตรวิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ เร่มิ เปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2548
สาขาวิชาระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร์ เริ่มเปิดสอนปีการศกึ ษา 2549
สาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรศกึ ษา เรม่ิ เปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2552
สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจดั การส่ิงแวดลอ้ ม เริ่มเปิดสอนปกี ารศึกษา 2555
สาขาวชิ าคณิตศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีการสอน เริ่มเปดิ สอนปกี ารศึกษา 2552
สาขาวชิ าคณติ ศาสตร์ศึกษา (ปรับปรุง) เรม่ิ เปดิ รบั ปีการศึกษา 2559
สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศ เริ่มเปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2561
สาขาวิชาบรรพชวี นิ วทิ ยา (หลกั สูตรนานาชาติ)
สาขาวชิ าระบบสารสนเทศและนวตั กรรมดจิ ิทลั เร่ิมเปิดสอนปีการศกึ ษา 2546
เรม่ิ เปิดสอนปีการศึกษา 2560
หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการพฒั นาสุขภาพชุมชน เรม่ิ เปดิ สอนปกี ารศกึ ษา 2551

หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต เรม่ิ เปิดสอนปีการศึกษา 2555
หลกั สตู รบริหารธรุ กิจมหาบณั ฑิต
เรม่ิ เปดิ สอนปีการศึกษา 2555
สาขาวิชาบริหารธุรกิจ
หลักสตู รนิเทศศาสตรมหาบัณฑิต เรมิ่ เปดิ สอนปกี ารศึกษา 2549

สาขาวิชาการจดั การการสื่อสารแบบบูรณาการ เริ่มเปดิ สอนปีการศกึ ษา 2555
หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต เริ่มเปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2555
เริ่มเปิดสอนปกี ารศกึ ษา 2557
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ เรม่ิ เปิดสอนปีการศกึ ษา 2563
3.3 ระดบั ปรญิ ญาเอก
เรม่ิ เปิดสอนปีการศึกษา 2558
หลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต เร่ิมเปิดสอนปกี ารศึกษา 2561
สาขาวชิ าภาวะผนู้ ำทางการบริหารการศึกษา

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต
สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
สาขาวิชาเทคโนโลยีการจดั การสิง่ แวดลอ้ ม
สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน
สาขาวชิ าการจดั การภาครัฐและเอกชน

หลกั สูตรบริหารธรุ กิจดุษฎบี ัณฑิต
สาขาวิชาบริหารธรุ กิจ

หลักสตู รสาธารณสุขศาสตรดุษฎบี ณั ฑิต

11

บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

4. โครงสร้างการบรหิ ารงานของบัณฑติ วิทยาลยั ประกอบด้วย

4.1 คณะกรรมการบรหิ ารงานบัณฑติ ศกึ ษา ประกอบด้วย

1) อธกิ ารบดี ประธานกรรมการ

2) รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวชิ าการ รองประธานกรรมการ

3) คณบดีทุกคณะท่ีมกี ารเปิดสอนในระดบั บัณฑติ ศึกษา กรรมการ

4) ผู้อำนวยการสำนกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กรรมการ

5) ผู้อำนวยการสถาบันภาษา กรรมการ

6) ผู้อำนวยการกองนโยบายและแผน กรรมการ

7) ผ้อู ำนวยการสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น กรรมการ

8) ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตรระดับบัณฑิตศึกษา

ทกุ สาขาวชิ าท่ีเปดิ สอน กรรมการ

9) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย กรรมการและเลขานุการ

10) รองคณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลัย ผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร

11) หวั หนา้ สำนักงานคณบดบี ัณฑิตวทิ ยาลัย ผูช้ ่วยเลขานุการ

หน้าท่ี

1) เสนอแนะนโยบายการจัดการศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ส่งเสริม และกำกับใหก้ ารจัดการศกึ ษา

เปน็ ไปตามเกณฑ์มาตรฐาน

2) ใหค้ วามเหน็ ชอบในการแต่งตง้ั คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รระดับบณั ฑิตศกึ ษา

3) ให้ความเหน็ ชอบแผนการรบั นกั ศึกษา การจดั แผนการเรยี น อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รและอาจารย์

ผสู้ อนระดบั บณั ฑิตศกึ ษา

4) ใหค้ วามเหน็ ชอบในการเปดิ หรอื ปิดหลกั สูตร พฒั นาและปรับปรงุ หลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา

5) ให้ความเหน็ ชอบแผนงานและงบประมาณเพ่อื เสนอต่อมหาวิทยาลยั

6) งานอ่ืนๆ ทม่ี หาวิทยาลัยมอบหมาย

รายชื่อคณะกรรมการบรหิ ารงานบณั ฑติ ศกึ ษา

1) ผศ.ดร.อดศิ ร เนาวนนท์ อธิการบดี ประธานกรรมการ

ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร

ปรชั ญาดษุ ฎีบัณฑิต

สาขาวชิ าหลักสูตรและการสอน

2) ผศ.ดร.กิตพิ งษ์ ลอื นาม รองอธกิ ารบดฝี า่ ยวชิ าการ รองประธานกรรมการ

3) ผศ.ดร.รฐั กรณ์ คิดการ คณบดีคณะครุศาสตร์ กรรมการ

ประธานกรรมการบริหารหลักสตู ร

ครุศาสตรมหาบัณฑติ

สาขาวชิ าเทคโนโลยแี ละส่อื สารการศึกษา

4) ผศ.ดร.พเิ ศษ ตกู้ ลาง คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรรมการ

5) ผศ.สกลุ วงษ์กาฬสินธ์ุ คณบดีคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ กรรมการ

12

คมู่ ือนกั ศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

6) ดร.ยุทธกร ฤทธิ์ไธสง คณบดีคณะวทิ ยาการจัดการ กรรมการ

7) รศ.ดร.พฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศ์ทิพย์ คณบดีคณะสาธารณสุขศาสตร์ กรรมการ

8) ผศ.ดร.แสงเพ็ชร พระฉาย ผอู้ ำนวยการสำนักส่งเสริมวชิ าการ กรรมการ

และงานทะเบยี น

9) ผศ.ดร.พิกุล ภูมิโคกรักษ์ ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสูตร กรรมการ

ปรัชญาดุษฎีบณั ฑติ

สาขาวชิ าการบริหารการศึกษา

10) ผศ.ดร.นริ นั ดร์ คงฤทธ์ิ ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร กรรมการ

ปรัชญาดุษฎีบณั ฑิต

ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร

วิทยาศาสตรมหาบณั ฑติ

สาขาวชิ าเทคโนโลยีการจัดการสิง่ แวดลอ้ ม

11) ผศ.ดร.สธุ าสนิ ี โพธ์ชิ าธาร ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ

บริหารธุรกิจดษุ ฎบี ัณฑติ

ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร

บรหิ ารธรุ กจิ มหาบัณฑติ

สาขาวิชาบรหิ ารธุรกจิ

12) รศ.ดร.ธนดิ า ผาติเสนะ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ

สาธารณสขุ ศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ

ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร

สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต

13) รศ.ดร.ชคัตตรัย รยะสวัสด์ิ ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสูตร กรรมการ

ปรชั ญาดษุ ฎีบณั ฑติ

สาขาวชิ าการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน

14) ผศ.ดร.สรรฤดี ดปี ู่ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ

ครุศาสตรมหาบัณฑติ

สาขาวชิ าการบรหิ ารการศึกษา

15) ผศ.ดร.สริ นิ าถ จงกลกลาง ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร กรรมการ

ครศุ าสตรมหาบัณฑติ

สาขาวิชาหลกั สูตรและการสอน

16) ผศ.ดร.ธัญญรัศม์ ชิดไธสง ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ

ครุศาสตรมหาบัณฑติ

สาขาวิชาวิจยั และประเมินผลการศกึ ษา

17) ผศ.ดร.ณพฐ์ โสภีพันธ์ ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร กรรมการ

ครุศาสตรมหาบณั ฑติ

สาขาวชิ าคณติ ศาสตรศกึ ษา

13

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

18) ผศ.ดร.จริ ฐั ิพร ไทยงูเหลอื ม ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ
19) รศ.ดร.ประยุทธ ไทยธานี ครศุ าสตรมหาบณั ฑติ กรรมการ
20) ผศ.ดร.ธนชาติ หลอ่ นกลาง สาขาวชิ าภาษาไทย กรรมการ
ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร
21) ผศ.ดร.แววดาว ดาทอง ศลิ ปศาสตรมหาบัณฑติ กรรมการ
22) ผศ.ดร.เพ็ญศรี อมรศิลปชัย สาขาวิชาการพฒั นาศักยภาพมนุษย์ กรรมการ
23) ผศ.ดร.สายสนุ ยี ์ จบั โจร ประธนกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร กรรมการ
ศิลปศาสตรมหาบณั ฑิต
24) ผศ.ดร.พมิ พ์พจี บรรจงปรุ สาขาวิชาการสอนภาษาองั กฤษ กรรมการ
25) ดร.วิเชียร ก่อกจิ กุศล เปน็ ภาษาต่างประเทศ กรรมการ
ประธานกรรมการบริหารหลกั สูตร
26) ผศ.ดร.ลลิตา ธงภักดี วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต กรรมการ
27) ผศ.ดร.สมเกยี รติ ทานอก สาขาวชิ าวิทยาศาสตรศกึ ษา กรรมการและเลขานุการ
28) ดร.แวววลี แววฉิมพลี ประธานกรรมการบริหารหลกั สตู ร ผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร
วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการจดั การเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร
วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาระบบสารสนเทศและ
นวัตกรรมดจิ ิทลั
ประธานกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
รฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์
ประธานกรรมการบรหิ ารหลักสตู ร
นิเทศศาสตรมหาบณั ฑิต
สาขาวิชาการจดั การการสอ่ื สาร
แบบบรู ณาการ
ประธานกรรมการบริหารหลกั สตู ร
ประกาศนียบตั รบณั ฑติ สาขาวชิ าชีพครู
คณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลยั
รองคณบดบี ณั ฑิตวิทยาลยั

4.2 คณะกรรมการประจำบณั ฑิตวทิ ยาลัย ประกอบดว้ ย ประธานกรรมการ
1) คณบดีบัณฑติ วิทยาลยั รองประธานกรรมการ
2) รองคณบดี ซึง่ เลอื กกนั เองจำนวนหน่งึ คน
3) คณบดีในคณะท่ีมีการสอนในระดับบัณฑติ ศึกษา กรรมการ
ซงึ่ เลอื กกนั เอง จำนวน 3 คน

14

คมู่ อื นกั ศึกษาระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

4) ประธานสาขาวิชาทม่ี ีการสอนในระดบั บัณฑติ ศึกษา

ซง่ึ เลือกกนั เอง จำนวน 3 คน กรรมการ

5) ผทู้ รงคุณวุฒซิ ง่ึ แต่งต้งั จากบุคคลภายนอกมหาวทิ ยาลยั

ไม่น้อยกวา่ หนึ่งในสามของกรรมการทงั้ หมด กรรมการ

6) (ตามข้อบังคบั ฯ ของมหาวิทยาลัย) ให้คณะกรรมการ

เลือกกรรมการคนใดคนหนึง่ เปน็ เลขานกุ าร

กรรมการและเลขานกุ าร

หน้าที่

1) วางนโยบายและกำหนดแนวทางการดำเนนิ งานของบณั ฑิตวิทยาลยั ให้สอดคล้องกบั นโยบายและ

แผนพฒั นาของมหาวิทยาลัย

2) พัฒนา ตดิ ตาม และตรวจสอบระบบการประกันคณุ ภาพของบณั ฑิตวทิ ยาลยั ตลอดจนควบคมุ

มาตรฐานการศกึ ษาของบัณฑิตวทิ ยาลยั

3) พัฒนาและกำหนดทิศทางการวจิ ยั ในระดับบณั ฑติ ศกึ ษา

4) พจิ ารณาหลักสตู รและรายละเอยี ดเกี่ยวกับหลกั สตู รระดับบณั ฑิตศึกษา เพือ่ นำเสนอต่อมหาวิทยาลยั

5) วางแผนพฒั นาและดำเนินการหลกั สูตรที่เป็นสหวทิ ยาการ

6) วางระเบียบ ออกขอ้ บงั คับท่ีเกยี่ วกับการบริหารและดำเนนิ การของบัณฑติ วิทยาลยั ตามทม่ี หาวทิ ยาลยั

มอบหมาย เพอ่ื เสนอต่อสภามหาวทิ ยาลัย

7) แต่งต้งั คณะอนุกรรมการหรอื บคุ คลใดบุคคลหน่ึงเพือ่ ดำเนนิ การใดๆ ในอำนาจหน้าท่ขี องคณะกรรมการ

ประจำบัณฑิตวทิ ยาลยั

8) ให้คำปรึกษาและเสนอความเห็นแกค่ ณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั

9) ปฏิบัติหน้าท่อี ่นื เก่ยี วกับกจิ การของบณั ฑติ วิทยาลยั หรือตามที่มหาวทิ ยาลัยมอบหมาย

4.3 คณะกรรมการบริหารวชิ าการระดบั บณั ฑิตศึกษา ประกอบดว้ ย

1) คณบดีบัณฑิตวิทยาลยั ประธานกรรมการ

2) ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา

ทกุ สาขาวชิ าที่เปิดสอน กรรมการ

3) รองคณบดบี ณั ฑติ วทิ ยาลัย กรรมการ

4) รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยท่ไี ด้รบั มอบหมาย กรรมการและเลขานกุ าร

หน้าที่

1) พิจารณาแผนการรบั นกั ศึกษา แผนการเรยี น การจัดการเรียนการสอนเก่ยี วกบั หลักสูตรระดับ

บณั ฑิตศกึ ษา ทเี่ ปิดสอน

2) พจิ ารณาและเหน็ ชอบการให้ทุนสนบั สนนุ การทำวิจยั ของนักศกึ ษา

3) พจิ ารณาแผนพฒั นาและปรบั ปรุงหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษาใหท้ นั สมัย และสอดคลอ้ งกบั เกณฑ์

มาตรฐานหลกั สูตร และมาตรฐานวชิ าชพี ตลอดจนการพิจารณาเปิดหรือปดิ หลักสตู ร

4) พจิ ารณาการจดั กิจกรรมเสรมิ การเรยี นการสอน และการศึกษาดูงาน เพื่อพฒั นาคุณภาพนักศึกษาให้

สอดคล้องกบั คณุ ลกั ษณะของบัณฑิตทพี่ งึ ประสงค์ และสอดคล้องกับมาตรฐานวชิ าชพี

15

บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

5) พฒั นาระบบประกนั คณุ ภาพการศึกษาของบัณฑติ วิทยาลัย และสาขาวชิ า
6) ปฏิบตั งิ านอืน่ ๆ ทม่ี หาวิทยาลยั มอบหมาย
4.4 คณะกรรมการบรหิ ารหลักสูตร (ช่ือปรญิ ญา) สาขาวชิ า (ชื่อสาขาวชิ า) ของแตล่ ะหลกั สูตร ประกอบดว้ ย
กรรมการอยา่ งนอ้ ย 5 คน ไมเ่ กนิ 9 คนท่ีมวี ฒุ กิ ารศกึ ษา และคุณสมบัตติ ามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศึกษา
อาจมกี รรมการผทู้ รงคณุ วุฒิ ซง่ึ แตง่ ต้ังจากบคุ คลภายนอกมหาวทิ ยาลัยท่ีมคี ณุ สมบัตเิ ช่นเดยี วกัน จำนวนไมเ่ กนิ 2 คน
ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการคนใดคนหนึ่งเปน็ เลขานกุ าร
หนา้ ที่
1) พจิ ารณาจัดการเรยี นการสอน แผนรับนักศกึ ษาในหลกั สูตร และคดั เลือกเสนอชอื่ ผสู้ อนเก่ียวกับ
หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ท่รี บั ผิดชอบเปดิ สอนตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั
2) เสนอแตง่ ตง้ั อาจารย์ทปี่ รึกษา อาจารยผ์ คู้ วบคุมวิทยานพิ นธ์ และกรรมการสอบวทิ ยานิพนธ์
3) จัดทำงบประมาณเพื่อการจดั การเรยี นการสอน และกจิ กรรมเสรมิ อ่ืนๆ ของหลักสูตรทรี่ ับผดิ ชอบ
4) จัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน และการศึกษาดงู านภายในหรอื ภายนอกประเทศ เพ่ือพฒั นา
คุณภาพของนักศกึ ษา ใหส้ อดคล้องกบั คณุ ลักษณะของบณั ฑิตทพ่ี ึงประสงคแ์ ละสอดคลอ้ งกบั เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู ร
มาตรฐานวิชาชพี และสร้างชอื่ เสียงของมหาวิทยาลยั
5) พัฒนาและปรบั ปรุงหลกั สูตรระดบั บัณฑิตศกึ ษาใหท้ นั สมยั และสอดคลอ้ งตามเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู ร
และมาตรฐานวชิ าชพี
6) ดำเนนิ การและพัฒนาระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของหลกั สตู รระดบั บณั ฑติ ศกึ ษาท่รี ับผิดชอบ
และเปดิ สอน
7) ปฏิบตั ิงานอ่นื ท่มี หาวทิ ยาลัย และบัณฑติ วิทยาลยั มอบหมาย

5. บณั ฑิตวิทยาลยั
บณั ฑิตวิทยาลัย เปน็ หน่วยงานเทยี บเทา่ คณะตามประกาศของสภามหาวทิ ยาลัย โดยมีคณบดีเปน็ ผบู้ ังคับบัญชา

และรับผิดชอบงานของบณั ฑิตวิทยาลัย และจะใหม้ ีรองคณบดีตามจำนวนที่สภามหาวิทยาลัยกำหนด เพื่อทำหน้าท่ี
และรับผิดชอบตามทค่ี ณบดีมอบหมาย มีสำนักงานบณั ฑิตวทิ ยาลยั ที่ทำหน้าทเี่ ป็นสำนักงานคณะ

5.1 หน้าท่ีของบัณฑติ วิทยาลัย
1) กำหนดนโยบายและจัดทำแผนพัฒนาบณั ฑติ ศกึ ษาทส่ี อดคลอ้ งกบั ทศิ ทางการพัฒนามหาวทิ ยาลัย และ

สภาวะการเปลยี่ นแปลงของประเทศ ดำเนนิ การใหเ้ กิดการปฏิบัติตามนโยบายและแผนงานเพือ่ ให้เกิดสัมฤทธิผลตาม
เป้าหมาย รวมทัง้ การตดิ ตามประเมินผลและรายงานผลการปฏบิ ตั ติ ามแผนพฒั นาบัณฑติ ศกึ ษาของมหาวิทยาลัย

2) สง่ เสรมิ คณุ ภาพนักศึกษาในด้านการศกึ ษาและวจิ ัยรวมท้ังการแสวงหาและบรหิ ารจัดการทุนการศึกษา
ระดับบณั ฑติ ศึกษา สง่ เสรมิ และพฒั นาองค์ความร้แู ละการแลกเปล่ยี นประสบการณ์ของคณาจารยใ์ นด้านการเรยี นการ
สอนและการปรึกษาวิทยานิพนธ์ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ส่งเสริมให้เกิดการบริหาร
จดั การหลักสตู รทีม่ ีประสทิ ธิภาพ

3) ดำเนินการเพื่อสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างคณะเพื่อพัฒนาและจัดการศึกษาหลักสูตร
สาขาวิชาร่วมกันหรือรายวิชากลางระดับบัณฑิตศึกษา และพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรร่วมที่มี
ประสิทธภิ าพ บริหารและจดั การศึกษาหลักสตู รรว่ มและรายวิชากลางระดบั บัณฑิตศกึ ษา

16

คูม่ ือนักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

4) กำหนดมาตรฐานคุณภาพของหลักสูตร อาจารย์ นักศึกษา งานวิจัยและการจัดการศึกษา ระดับ

บัณฑิตศึกษา รักษามาตรฐานท่ีกำหนดโดยการกำกบั ตดิ ตาม การประเมนิ และการรายงานผลการบริหารและจัดการ

การศกึ ษาของแตล่ ะหลักสูตร พัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศึกษาระดับบณั ฑิตศกึ ษาใหม้ ีความเข้มแขง็ กำกับดูแล

การรบั เข้านักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา

5) หน้าทอี่ ืน่ ตามที่สภามหาวทิ ยาลยั หรอื มหาวทิ ยาลัยมอบหมาย

5.2 บุคลากรบณั ฑิตวทิ ยาลัย มีบคุ ลากรในการดำเนนิ งานตามภารกจิ ดงั นี้

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สมเกยี รติ ทานอก คณบดบี ัณฑติ วทิ ยาลัย

ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญรัศม์ ชดิ ไธสง รองคณบดีฝา่ ยวชิ าการและประกนั คุณภาพ

ดร.แวววลี แววฉิมพลี รองคณบดฝี ่ายบรหิ ารและกิจการนักศึกษา

นางธณภร จนิ ตพละ หัวหน้าสำนักงานคณบดีบณั ฑิตวิทยาลยั

นายสรพงษ์ เปรมวริ ิยานนท์ นกั วชิ าการศกึ ษา

นางสาวชลดา พน้ ภัย นกั วชิ าการศกึ ษา

นางรชยา ศรีปัทมปยิ พงศ์ นักวชิ าการศึกษา

นายศริ พิ งษ์ บรสิ ุทธิ์ นกั วิชาการศึกษา

นางสาวศิราณี กรมโพธิ์ นกั วชิ าการศึกษา

นางศรนี วล สงิ ห์มะเรงิ เจา้ หน้าที่บรหิ ารงานทว่ั ไป

นางสาวนิตรา น้อยภธู ร นักวิชาการเงินและบญั ชี

นางสาวเกศินี ทองมาก นกั วชิ าการพัสดุ

นางสาวนภาพร ชา้ งสาร นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์

17

ตอนที่ 3

ระเบียบ ข้อบังคบั และประกาศ

ท่เี ก่ียวขอ้ งกับนกั ศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา

คูม่ ือนักศึกษาระดับบณั ฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศของบัณฑติ วทิ ยาลัย ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับนกั ศึกษา ซ่ึงนกั ศึกษาจำเปน็ ต้อง
ศกึ ษารายละเอยี ดใหเ้ ข้าใจ มีดังต่อไปนี้

ระเบียบ
1. ระเบยี บมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมา วา่ ดว้ ย การรับจ่ายเงินค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2552
ข้อบังคับ
2. ขอ้ บังคับมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2560
ประกาศ
3. ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดบั บัณฑติ ศกึ ษา
4. ประกาศ ก.พ.อ. เรือ่ ง หลักเกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวิชาการ สำหรบั การเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการ
5. ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา เรือ่ ง ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา สำหรับนักศกึ ษาระดับ
บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. 2558
6. ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา สำหรบั นกั ศึกษาระดบั
บัณฑิตศึกษา แกไ้ ขเพิม่ เติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2561
7. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา เร่ือง คา่ ธรรมเนียมการศึกษา สำหรับนกั ศึกษาระดับ
บัณฑิตศกึ ษา แก้ไขเพ่มิ เตมิ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2561
8. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เร่ือง คา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา สำหรับนกั ศึกษาระดับ
ประกาศนยี บตั รบณั ฑิต สาขาวิชาชพี ครู
9. ประกาศมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา เรือ่ ง ค่าธรรมเนยี มการศึกษา สำหรบั นักศึกษา
บณั ฑติ ศกึ ษา ผพู้ น้ สภาพเน่ืองจากครบเวลาเรียนตามหลกั สูตรและสอบคดั เลอื กเข้ามาศกึ ษาใหม่
10. ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า เรื่อง หลกั เกณฑก์ ารเทยี บโอนผลการเรยี นระดับ
บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2560
11. ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา เรื่อง กำหนดใหภ้ าษาอังกฤษเป็นภาษาตา่ งประเทศ
ท่นี กั ศึกษาระดบั ปริญญาเอกต้องสอบผา่ น
12. ประกาศมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เรื่อง การตรวจสอบการคัดลอกหรือลอกเลยี น
วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ พ.ศ. 2561
13. ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา เร่ือง เกณฑ์ค่าดัชนคี วามคลา้ ย (Similarity Index)
โปรแกรมอกั ขราวิสทุ ธิ์ ของแต่ละสาขาวชิ า พ.ศ. 2561
14. ประกาศมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า เร่ือง การค้มุ ครองสขุ ภาพของผู้ไมส่ ูบบหุ รี่ และ
กำหนดเขตสูบบุหรี่
15. ประกาศบัณฑิตวิทยาลยั เรื่อง การยกเวน้ การสอบภาษาต่างประเทศ ของนกั ศกึ ษาระดับ
ปริญญาโท พ.ศ. 2560

19

บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

16. ประกาศบัณฑติ วิทยาลัย เรอื่ ง เกณฑ์การสอบผา่ นวัดคุณสมบัติของนกั ศกึ ษา ระดับปริญญาเอก
พ.ศ. 2560

17. ประกาศบัณฑิตวิทยาลยั เร่อื ง เกณฑก์ ารสอบผา่ นประมวลความรขู้ องนักศึกษาระดบั ปริญญา
โท แผน ข พ.ศ. 2560

18. ประกาศบัณฑติ วิทยาลัย เรอื่ ง จรรยาบรรณนกั วจิ ัย สำหรบั นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา
19. ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง การกำหนดพฤติกรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม สำหรับนักศึกษา
ระดบั บณั ฑติ ศึกษา

20

คู่มอื นกั ศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563

ระเบียบมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ว่าด้วย การรบั จ่ายเงนิ ค่าธรรมเนียมการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา

พ.ศ. ๒๕๕๑

โดยที่เป็นการสมควรออกระเบยี บเกี่ยวกับการรบั จา่ ยเงินค่าธรรมเนยี มการศึกษาสำหรบั การจดั การศึกษา
ระดบั บัณฑติ ศึกษา อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘(๒) และ (๑๒) แหง่ พระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลยั ราชภัฏ
พ.ศ.๒๕๔๗ โดยมติสภามหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ในคราวประชุมครงั้ ท่ี ๒/๒๕๕๑ เมือ่ วันที่ ๒๙ เดือน
กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงออกระเบยี บวา่ ดว้ ยการรบั จ่ายเงินค่าธรรมเนยี มการศึกษาสำหรบั การจัดการศกึ ษาระดับ
บัณฑิตศึกษาไวด้ ังน้ี

ขอ้ ๑ ระเบยี บนี้เรียกว่า “ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วา่ ดว้ ย การรบั จ่ายเงิน
ค่าธรรมเนยี มการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๑”

ข้อ ๒ บรรดาระเบียบ ขอ้ บังคบั ประกาศ หรือคำสง่ั อน่ื ใด ในสว่ นทีข่ ดั หรือแยง้ กบั ระเบียบน้ี ใหใ้ ช้
ระเบียบน้แี ทน

ข้อ ๓ ระเบยี บนี้ใชบ้ ังคับกบั นักศกึ ษาทเ่ี ข้าศึกษาตั้งแตภ่ าคการศกึ ษาท่ี ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๑
เปน็ ตน้ ไป

ขอ้ ๔ ในระเบียบน้ี
“การศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา” หมายความวา่ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนียบตั รบัณฑิต

ปริญญาโท ประกาศนยี บตั รบัณฑิตชนั้ สงู และปรญิ ญาเอก
“มหาวทิ ยาลยั ” หมายความว่า มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความวา่ สภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
“อธิการบด”ี หมายความวา่ อธกิ ารบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
“นักศกึ ษา” หมายความวา่ นักศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
“นกั ศกึ ษาภาคปกต”ิ หมายความว่า นกั ศกึ ษาท่ีลงทะเบียนเรียนเตม็ เวลาในวนั เวลาราชการ
“นักศึกษาภาคพิเศษ” หมายความวา่ นกั ศึกษาทล่ี งทะเบียนเรยี นเต็มเวลานอกเวลาราชการ
“นกั ศึกษาของโครงการความร่วมมือ” หมายความวา่ นกั ศกึ ษาในโครงการความรว่ มมือทาง

วิชาการระหวา่ งมหาวทิ ยาลัยกบั สถาบันการศึกษาชั้นสูง หรอื สถาบันอืน่ โดยการลงทะเบยี นเรียน ในวนั เวลาราชการ
หรอื นอกวนั เวลาราชการ หรือข้อตกลงตามโครงการความรว่ มมอื

“เงนิ คา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา” หมายความว่า เงินทุกประเภททม่ี หาวิทยาลัยเรยี กเก็บจาก
นักศกึ ษาทุกประเภทท่เี ขา้ ศึกษาหลักสูตรบณั ฑิตศกึ ษาในสาขาวชิ าตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัย

“ศนู ย์การศึกษา” หมายความวา่ สถานทีภ่ ายนอกมหาวทิ ยาลัยที่จัดการศกึ ษาภาคปกติและ/
หรือภาคพเิ ศษ

21

บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

ขอ้ ๕ ใหม้ หาวิทยาลัยเรยี กเก็บเงินคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา ดังน้ี
(๑) คา่ ธรรมเนียมแรกเข้าศึกษา เก็บครัง้ เดียวตลอดหลกั สูตร สำหรบั ค่าขนึ้ ทะเบียนนักศึกษา

เปน็ ไปตามประกาศของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา แต่ไม่เกนิ ๒,๐๐๐ บาท
(๒) ค่าประกันของเสียหาย จำนวน ๑,๐๐๐ บาท
เงนิ ค่าธรรมเนียมประกันของเสียหาย เป็นเงินฝากถอนคนื ใหน้ ักศึกษาทพี่ น้ สภาพการเปน็

นกั ศกึ ษาทม่ี ิได้ทำใหท้ รพั ยส์ นิ ของมหาวิทยาลยั เสยี หาย โดยใหย้ ่ืนคำร้องขอคืนภายในหกเดือน นับแตว่ ันพน้ สภาพ
การเป็นนกั ศึกษา หากไม่มาขอคนื ให้โอนเปน็ เงินรายได้ของมหาวิทยาลยั

(๓) ค่าบำรงุ การศึกษา เรยี กเก็บเปน็ รายภาคการศึกษา ใหจ้ ดั เก็บเปน็ แบบเหมาจ่าย
ตามหลกั สตู รสาขาวิชา อัตรา ระยะเวลา และวิธีการจดั เก็บ ใหเ้ ป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลยั

(๔) คา่ บำรุงการศึกษาเรียนรว่ มของนกั ศกึ ษาภาคปกตเิ รยี นร่วมกับนักศึกษาภาคพิเศษ
หรอื นกั ศกึ ษาภาคพเิ ศษเรยี นร่วมกับนกั ศกึ ษาภาคปกติ ให้เปน็ ไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย

(๕) คา่ บำรงุ ศนู ย์การศึกษา เรยี กเกบ็ เป็นรายภาคการศกึ ษา ให้จดั เกบ็ แต่ละศนู ยก์ ารศึกษา พร้อม
กับคา่ บำรงุ การศกึ ษา อัตราให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัย

ข้อ ๖ มหาวิทยาลัยอาจยกเว้นการเก็บคา่ ธรรมเนียมการศกึ ษา ในข้อ ๕(๑) (๓) และ (๔) ใหก้ บั นกั ศกึ ษา
ลูกจา้ งประจำ ลกู จ้างชวั่ คราว อาจารย์พิเศษตามสัญญา พนกั งานราชการ พนกั งานมหาวิทยาลยั และข้าราชการ โดย
กำหนดเกณฑแ์ ละระยะเวลาใหท้ ำเปน็ ประกาศมหาวทิ ยาลยั

ข้อ ๗ ค่าธรรมเนียมการศึกษา ในขอ้ ๔ (๑) (๓) และ (๔) ไมใ่ ช้บังคับกบั นักศกึ ษา ในกรณที ่ีหนว่ ยงานเปน็
ผใู้ ห้ทนุ และอตั ราของทนุ เป็นไปตามข้อตกลงความร่วมมือทางวชิ าการระหวา่ งมหาวิทยาลยั กับหน่วยงานนน้ั ๆ

ข้อ ๘ คา่ ธรรมเนยี มท่เี รียกเก็บเป็นรายครั้ง มีดงั นี้
(๑) คา่ สมัครสอบคัดเลอื กเขา้ เปน็ นักศกึ ษา ครั้งละไมเ่ กิน ๑,๐๐๐ บาท
(๒) ค่าเอกสารทดแทนทีม่ หาวิทยาลยั ได้ออกให้แล้ว ไดแ้ ก่ ใบรายงานผลการศกึ ษา ใบรบั รอง

คุณวฒุ ิ ประกาศนยี บัตร ปริญญาบตั ร หรือเอกสารท่ีมหาวิทยาลยั ประกาศให้มารับโดยมกี ำหนดเวลา แต่มไิ ด้มารับ
ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท

(๓) คา่ ปรับจากการชำระค่าบำรุงการศกึ ษาช้ากว่ากำหนด วันละ ๕๐ บาท แตไ่ มเ่ กิน
๒,๕๐๐ บาท ต่อภาคการศึกษา กรณแี บง่ ชำระเป็นสองงวด ค่าปรบั รวมแล้วไมเ่ กนิ งวดละ ๑,๒๕๐ บาท

(๔) คา่ รักษาสภาพการเปน็ นักศกึ ษา กรณีการขอลาพักการศกึ ษา ภาคการศกึ ษาละ
๒,๐๐๐ บาท

(๕) คา่ คืนสภาพการเป็นนักศกึ ษา จำนวน ๑,๐๐๐ บาท และต้องชำระค่ารักษาสภาพการเปน็
นักศกึ ษาทุกภาคการศกึ ษาทไ่ี ม่ได้ลงทะเบียนเรียน

(๖) คา่ บำรุงการศึกษา กรณีไม่สำเรจ็ การศกึ ษาตามระยะเวลาท่กี ำหนดในหลกั สตู ร ภาคการศึกษา
ละ ๔,๐๐๐ บาท

(๗) คา่ ปรับบรกิ ารการใชส้ ารสนเทศ ในกรณีทีน่ กั ศกึ ษาสง่ คืนหนงั สอื หรอื สอ่ื การเรียนการสอน
เกินกำหนด ให้ปรับตามอัตราทมี่ หาวทิ ยาลยั กำหนดโดยการทำเปน็ ประกาศ

(๘) ค่าลงทะเบียนรบั ปริญญาบตั ร หรือประกาศนียบตั ร ๑,๐๐๐ บาท
(๙) คา่ ออกเอกสารการลงทะเบียน และหนงั สือรับรองตา่ ง ๆ ฉบบั ละ ๑๐๐ บาท

22

คูม่ ือนักศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

(๑๐) คา่ สอบประมวลความรู้ สอบวดั คณุ สมบัติ ครั้งท่ี ๒ และครั้งท่ี ๓ ครั้งละ ๑,๐๐๐ บาท
(๑๑) ค่าสอบภาษาตา่ งประเทศ (ยกเวน้ เฉพาะการสอบครงั้ แรก) ครง้ั ละ ๑,๐๐๐ บาท
(๑๒) คา่ ธรรมเนียมการรับโอนผลการเรยี น จากมหาวทิ ยาลัยหรอื สถาบันอดุ มศึกษาอืน่
หนว่ ยกิตละ ๑๐๐ บาท
ข้อ ๙ ใหน้ ักศึกษาชำระค่าธรรมเนยี ม ไดด้ ังนี้
(๑) นักศกึ ษาใหมช่ ำระคา่ ธรรมเนยี มการศึกษา ตามข้อ ๕(๑) และ (๒) ในวนั รายงานตัว ตาม
ประกาศมหาวิทยาลัย
(๒) นกั ศกึ ษาชำระค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา ตามข้อ ๕(๓) และ (๔) ภายในสามสบิ วนั นบั แต่วนั
เปิดภาคการศึกษา
เมอ่ื ครบกำหนดเวลาชำระเงนิ แล้ว หากมคี วามจำเปน็ มหาวิทยาลัยอาจผอ่ นผนั การชำระ
คา่ ธรรมเนียมได้ โดยนักศกึ ษาจะต้องชำระคา่ ธรรมเนยี มเพิม่ เติมตามข้อ ๘ (๓)
ข้อ ๑๐ นักศึกษาผ้ใู ดไมช่ ำระค่าธรรมเนียมการศกึ ษาตามวันเวลาทม่ี หาวทิ ยาลยั กำหนด ให้ลาพักการศึกษา
และชำระค่าธรรมเนียมตามข้อ ๘ (๔)
ขอ้ ๑๑ ค่าธรรมเนยี มการศึกษาทีม่ หาวทิ ยาลยั เรียกเก็บจากนกั ศกึ ษาตามเวลาทมี่ หาวิทยาลัยกำหนด จะไม่
คนื ให้นกั ศึกษาไมว่ า่ กรณีใด ๆ นอกจากไดร้ บั อนมุ ตั จิ ากมหาวิทยาลัย
ขอ้ ๑๒ ให้มหาวทิ ยาลัยจา่ ยเงินค่าธรรมเนียมการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษาของนักศกึ ษาทกุ ประเภทเพ่ือจัด
การศึกษา พฒั นาคุณภาพ และบริการต่าง ๆ โดยความเหน็ ชอบของสภามหาวทิ ยาลัย
ในกรณที ่ีเงินคา่ ธรรมเนียมการศึกษาโครงการความร่วมมือในแตล่ ะภาคการศึกษาไม่เกนิ สามล้านบาท
ให้มหาวิทยาลยั อนมุ ตั ใิ ช้จ่ายได้โดยให้ทำเป็นประกาศแล้วแจ้งใหส้ ภามหาวทิ ยาลัยทราบ
ข้อ ๑๓ ให้มหาวิทยาลยั กำหนดเกณฑแ์ ละอตั ราการจา่ ยค่าตอบแทนการสอน คา่ ตอบแทนวิทยากร
คา่ นิเทศ ค่าสนับสนนุ การนำเสนอวทิ ยานพิ นธ์ ค่าเบีย้ ประชมุ คา่ บริหารจดั การ และการบรกิ ารอื่น ๆ ทท่ี ำให้การจัด
การศกึ ษาเกิดประสิทธภิ าพและประสิทธิผล โดยทำเปน็ ประกาศมหาวิทยาลยั
ขอ้ ๑๔ ให้อธิการบดีเป็นผ้รู ักษาการตามระเบยี บน้ี และมอี ำนาจออกระเบียบ ประกาศ หรอื คำสั่ง เพ่ือ
ประโยชน์ในการปฏิบตั ติ ามระเบยี บนี้
ในกรณีท่ีเกิดปัญหาเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บนี้ ใหอ้ ธกิ ารบดมี ีอำนาจพจิ ารณาและวินจิ ฉยั โดยถอื เป็น
ที่สนิ้ สดุ

ประกาศ ณ วนั ท่ี ๒๙ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๕๑

(นายสวุ จั น์ ลปิ ตพัลลภ)
นายกสภามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

23

บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ข้อบงั คับมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
ว่าด้วย การศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๐

เพ่ือให้การจดั การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา เป็นไปด้วยความเรยี บรอ้ ย
มีคณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลอ้ งกบั ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดับบัณฑติ ศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๘ และประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง แนวทางการบริหารเกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดับอดุ มศึกษา
พ.ศ. ๒๕๕๘

อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๑๘ (๒) มาตรา ๓๕ และมาตรา ๕๘ แหง่ พระราชบัญญตั ิมหาวิทยาลยั
ราชภฏั พ.ศ. ๒๕๔๗ โดยมตสิ ภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๖๐ เม่อื วนั ที่ ๒๔
กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐ จึงออกขอ้ บังคบั ไว้ดงั ตอ่ ไปนี้

ขอ้ ๑ ขอ้ บังคับนี้เรยี กว่า “ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ว่าดว้ ย การศกึ ษาระดับ
บณั ฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๐”

ข้อ ๒ ข้อบังคับน้ใี หใ้ ช้บังคบั สำหรับนักศกึ ษาทเี่ ข้าศกึ ษาหลกั สตู รระดบั ประกาศนยี บตั รบณั ฑิตปรญิ ญาโท
ประกาศนียบัตรบัณฑิตชน้ั สูง และปรญิ ญาเอก ตงั้ แต่ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เปน็ ต้นไป

ขอ้ ๓ ให้ยกเลกิ ข้อบังคบั ดงั ต่อไปนี้
(๑) ขอ้ บงั คับมหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า วา่ ด้วย การศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๐
(๒) ข้อบังคบั มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ว่าด้วย การศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา (ฉบับท่ี ๒)

พ.ศ. ๒๕๕๑
(๓) ข้อบงั คับมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา ว่าดว้ ย การศึกษาระดบั บัณฑิตศึกษา (ฉบบั ท่ี ๓)

พ.ศ. ๒๕๕๒
(๔) ขอ้ บงั คับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา วา่ ดว้ ย การศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษา (ฉบับที่ ๔)

พ.ศ. ๒๕๕๔
บรรดาข้อบงั คับ ระเบยี บ หรอื ประกาศอืน่ ใดท่ีขัดหรือแย้งกบั ข้อบงั คับน้ี ใหใ้ ชข้ อ้ บงั คับน้แี ทน

ขอ้ ๔ ในข้อบงั คับนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายถงึ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
“สภามหาวิทยาลัย” หมายถงึ สภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
“สภาวิชาการ” หมายถึง สภาวิชาการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า

24

คมู่ ือนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

“อธิการบดี” หมายถึง อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
“บัณฑติ ศกึ ษา” หมายถงึ การศกึ ษาในระดบั ประกาศนียบตั รบณั ฑติ ปรญิ ญาโท ประกาศนยี บัตร
บัณฑิตชั้นสงู และปรญิ ญาเอก
“บณั ฑติ วิทยาลยั ” หมายถึง บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
“นักศึกษา” หมายถงึ นกั ศกึ ษาบณั ฑติ ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
“คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตร” หมายถงึ คณะกรรมการซ่งึ มหาวทิ ยาลยั แตง่ ตัง้ จากบคุ คลที่มี
คุณสมบัตเิ ปน็ อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการเรอ่ื งเกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดบั
บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ ใหป้ ฏิบัติหนา้ ท่ีบริหารหลกั สตู รและการเรียนการสอน การพฒั นาหลกั สตู รการติดตาม
ประเมนิ ผลหลักสูตร และหน้าท่ีอนื่ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง
“อาจารย์ประจำ” หมายถงึ บคุ คลที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์
และศาสตราจารย์ ในมหาวทิ ยาลัย ที่มหี นา้ ทร่ี บั ผิดชอบตามพนั ธกจิ ของมหาวิทยาลัย และปฏิบตั ิหนา้ ท่เี ต็มเวลา
“อาจารยป์ ระจำหลักสตู ร” หมายถงึ อาจารย์ประจำที่มคี ณุ วฒุ ิตรงหรอื สมั พนั ธ์กบั สาขาวชิ าของ
หลักสูตรท่ีเปดิ สอน ซ่งึ มหี นา้ ที่สอนและคน้ คว้าวิจัยในสาขาวชิ าดังกล่าว ทัง้ น้ี สามารถเปน็ อาจารย์ประจำหลักสตู ร
หลายหลักสูตรไดใ้ นเวลาเดียวกนั แตต่ ้องเปน็ หลักสูตรท่อี าจารย์ผนู้ นั้ มคี ุณวฒุ ติ รงหรือสัมพันธก์ บั สาขาวิชาของ
หลักสตู ร
“อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตร” หมายถงึ อาจารยป์ ระจำหลกั สูตรที่มภี าระหนา้ ท่ีในการบริหาร
และการพัฒนาหลกั สตู รและการเรียนการสอน ต้งั แต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมนิ ผลและการ
พฒั นาหลกั สูตร อาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลักสตู รตอ้ งอยู่รับผิดชอบหลักสตู รนนั้ ตลอดระยะเวลาทจ่ี ัดการศึกษา โดยจะ
เปน็ อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลักสูตรเกนิ กวา่ ๑ หลกั สูตรในเวลาเดียวกันไม่ได้ ยกเว้นพหวุ ิทยาการหรือสหวิทยาการให้
เป็นอาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสตู รได้อีกหนง่ึ หลักสตู รและอาจารยผ์ ู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรสามารถซ้ำได้ไม่เกิน ๒ คน
ขอ้ ๕ เพ่อื ให้การดำเนนิ การของบณั ฑติ วทิ ยาลัยเปน็ ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยมหาวทิ ยาลัยหรอื บัณฑิต
วทิ ยาลัยอาจกำหนดวิธปี ฏิบัตใิ นรายละเอยี ดเพิม่ เติมและสั่งปฏบิ ตั ิการไดโ้ ดยที่ไม่ขัดหรือแยง้ กับข้อบงั คับน้ี
การดำเนินการใด ๆ ที่เกี่ยวกับการศกึ ษาระดับบัณฑติ ศกึ ษาซง่ึ มไิ ดก้ ำหนดไวใ้ นขอ้ บงั คับน้ี และมไิ ด้
มขี ้อบังคับหรอื ระเบยี บอน่ื กำหนดไว้ ให้มหาวทิ ยาลัยหรือบัณฑติ วิทยาลัยกำหนดและทำเปน็ ประกาศ
ข้อ ๖ ให้อธกิ ารบดเี ป็นผูร้ ักษาการให้เปน็ ตามขอ้ บงั คบั น้ี และมอี ำนาจออกประกาศหรอื คำส่ังเพ่ือ
ประโยชน์ในการปฏิบตั ิตามขอ้ บังคบั น้ี
ในกรณที ่มี ีปัญหาเก่ียวกับการปฏบิ ตั ติ ามข้อบังคบั น้ี ใหอ้ ธิการบดนี ำเสนอต่อสภามหาวิทยาลยั เพ่อื
พจิ ารณาและวนิ จิ ฉยั

หมวด ๑
ระบบการจัดการศึกษา
ขอ้ ๗ ระบบการจดั การศึกษาใชร้ ะบบทวิภาค หรือระบบหนว่ ยการศึกษา (Module)
ระบบทวิภาค คือ ระบบท่ี ๑ ปกี ารศกึ ษาแบง่ ออกเป็น ๒ ภาคการศกึ ษาปกติ ๑ ภาคการศกึ ษาปกติ
มีระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ ๑๕ สปั ดาห์ สว่ นภาคฤดูรอ้ นอาจจดั ได้ตามความจำเปน็ ของแต่ละหลักสตู ร โดยกำหนดให้
ระยะเวลาและจำนวนหน่วยกติ มีสดั ส่วนเทียบเคยี งกนั ไดก้ บั ภาคการศึกษาปกติ

25

บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

ระบบหน่วยการศกึ ษา (Module) คือ ระบบที่แบง่ ชว่ งการจัดการเรียนการสอนใหเ้ ป็นไปตามหวั ขอ้
การศกึ ษา มปี ริมาณการเรียนรู้ จำนวนชว่ั โมง และจำนวนหนว่ ยกติ เทียบเทา่ กับเกณฑ์กลางของระบบทวภิ าค

ข้อ ๘ การคิดหนว่ ยกิตสำหรบั แตล่ ะรายวชิ า
(๑) รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใช้เวลาบรรยายหรืออภปิ รายปัญหาไมน่ ้อยกว่า ๑๕ ช่ัวโมง

ตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ ๑ หนว่ ยกิตระบบทวิภาค
(๒) รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใชเ้ วลาฝึกหรอื ทดลองไมน่ ้อยกวา่ ๓๐ ช่วั โมงตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ

ใหม้ คี า่ เท่ากับ ๑ หน่วยกิตระบบทวภิ าค
(๓) การฝึกงานหรือการฝกึ ภาคสนาม ทใ่ี ชเ้ วลาฝึกไมน่ อ้ ยกวา่ ๔๕ ชวั่ โมงต่อการศกึ ษาภาคปกติ

ใหม้ คี ่าเทา่ กบั ๑ หนว่ ยกติ ระบบทวิภาค
(๔) การทำโครงงานหรือกจิ กรรมการเรียนอื่นใดตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายท่ีใช้เวลาทำโครงงาน

หรือกจิ กรรมน้ันไม่นอ้ ยกวา่ ๔๕ ชว่ั โมงตอ่ ภาคการศกึ ษาปกติ ใหม้ คี ่าเทา่ กับ ๑ หนว่ ยกติ ระบบ ทวิภาค
(๕) วทิ ยานพิ นธ์ หรือ ภาคนพิ นธ์ ท่ใี ชเ้ วลาศึกษาค้นควา้ ไมน่ ้อยกว่า ๔๕ ชว่ั โมงต่อภาคการศกึ ษา

ปกติ ให้มีค่าเทา่ กับ ๑ หน่วยกิตระบบทวภิ าค

หมวด ๒
หลกั สตู ร
ข้อ ๙ หลกั สตู รระดบั บณั ฑิตศึกษา แบ่งออกเปน็ ๔ ระดับ
(๑) หลักสูตรประกาศนยี บตั รบัณฑิต เป็นหลักสตู รการศกึ ษาทส่ี ร้างเสรมิ ความเชี่ยวชาญ
หรือประสิทธภิ าพทางวชิ าชพี สำหรับผสู้ ำเร็จการศกึ ษาในระดบั ปริญญาตรีหรอื เทียบเทา่ มาแลว้
(๒) หลกั สูตรปรญิ ญาโท เป็นหลกั สูตรการศกึ ษาท่สี ง่ เสรมิ ความก้าวหน้าทางวิชาการหรอื
ทางวิชาชพี และการวจิ ัยในสาขาวชิ าตา่ งๆ ในระดบั สงู กว่าข้นั ปรญิ ญาตรีสำหรับผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับปรญิ ญาตรี
หรอื เทียบเทา่
(๓) หลกั สตู รประกาศนยี บัตรบัณฑติ ชั้นสูง เป็นหลกั สูตรการศึกษาทส่ี รา้ งเสริม ความเช่ียวชาญ
หรือประสิทธิภาพทางวิชาชีพสำหรบั ผสู้ ำเรจ็ การศกึ ษาหลักสตู ร ๖ ปีการศึกษาในระดับปริญญาตรีหรือระดับปริญญา
โทหรอื เทยี บเทา่ เวน้ แตใ่ นกรณที ี่เป็นหลกั สตู รวิชาชพี เฉพาะอาจรับผทู้ ่จี บการศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรบัณฑิตเข้า
ศกึ ษาได้
(๔) หลักสตู รปริญญาเอก เปน็ หลกั สูตรการศกึ ษาทส่ี ง่ เสรมิ ความก้าวหนา้ ทางวชิ าการหรือทาง
วิชาชพี และการวจิ ัยในสาขาวิชาตา่ งๆ ระดบั สูงในสาขาวิชาตา่ งๆ โดยกระบวนการวิจยั เพ่ือใหส้ ามารถบุกเบกิ แสวงหา
ความรู้ใหมไ่ ดอ้ ยา่ งมอี ิสระ มีคุณธรรม และจรรยาบรรณทางวชิ าการหรือวิชาชพี สำหรบั ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาระดับ
ปริญญาตรีหรอื เทยี บเท่าที่มีผลการเรียนดีมากหรือสำเรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโทหรอื เทยี บเทา่
ขอ้ ๑๐ มหาวิทยาลัยอาจจัดหลักสูตรเทียบความรไู้ ด้ตามหลกั สูตรการศึกษาในขอ้ ๙ โดยหลักเกณฑ์
การเทยี บความรู้ใหเ้ ปน็ ไปตามท่ีมหาวทิ ยาลัยกำหนด
ข้อ ๑๑ โครงสร้างหลกั สูตร
(๑) ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบณั ฑติ ชนั้ สงู ใหม้ จี ำนวนหน่วยกิตรวม
ตลอดหลักสตู ร ไมน่ ้อยกวา่ ๒๔ หน่วยกิต

26

คมู่ อื นักศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

(๒) ปริญญาโทให้มีจำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่นอ้ ยกว่า ๓๖ หน่วยกิต
โดยแบง่ การศกึ ษาเป็น ๒ แผน คือ

(๒.๑) แผน ก เปน็ แผนการศกึ ษาท่เี นน้ การวจิ ยั โดยมกี ารทำวิทยานิพนธด์ งั นี้
แบบ ก ๑ ทำเฉพาะวิทยานพิ นธซ์ ึ่งมคี ่าเทียบไดไ้ มน่ ้อยกวา่ ๓๖ หนว่ ยกิต

และมหาวิทยาลัยอาจกำหนดให้มีการเรียนรายวชิ าเพมิ่ เติมหรอื ทำกิจกรรมวิชาการอนื่ เพมิ่ ขึน้ โดยไมน่ ับหนว่ ยกติ
และมผี ลสมั ฤทธ์ติ ามที่มหาวทิ ยาลยั กำหนด

แบบ ก ๒ ทำวิทยานพิ นธซ์ ึง่ มคี า่ เทียบได้ไมน่ อ้ ยกว่า ๑๒ หนว่ ยกิต และศกึ ษา
รายวิชาอกี ไม่นอ้ ยกว่า ๑๒ หนว่ ยกิต

(๒.๒) แผน ข เปน็ แผนการศกึ ษาทีเ่ นน้ การศึกษางานรายวิชา โดยไม่ต้องทำวทิ ยานพิ นธ์
แตต่ อ้ งมกี ารคน้ ควา้ อสิ ระหรือทำภาคนิพนธไ์ ม่น้อยกวา่ ๓ หนว่ ยกิต และไมเ่ กิน ๖ หน่วยกติ

(๓) ปริญญาเอก แบง่ การศึกษาเป็น ๒ แบบ โดยเน้นการวิจยั เพอ่ื พฒั นานกั วชิ าการและนัก
วิชาชพี ชน้ั สูง คอื

แบบ ๑ เปน็ แผนการศึกษาท่ีเน้นการวิจยั โดยมีการทำวทิ ยานพิ นธ์ที่กอ่ ให้เกดิ ความรู้ใหม่
และมหาวิทยาลัยอาจกำหนดให้เรยี นรายวชิ าเพิ่มเตมิ หรือทำกจิ กรรมทางวิชาการอ่ืนเพมิ่ ขน้ึ โดยไม่นับหน่วยกิตและมี
ผลสัมฤทธ์ติ ามที่มหาวิทยาลยั กำหนด ดังน้ี

แบบ ๑.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวทิ ยานพิ นธ์ ไมน่ อ้ ยกว่า
๔๘ หนว่ ยกิต

แบบ ๑.๒ ผู้เขา้ ศึกษาท่สี ำเร็จปรญิ ญาตรี จะต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกวา่
๗๒ หนว่ ยกติ

ทง้ั นี้ วิทยานิพนธต์ ามแบบ ๑.๑ และแบบ ๑.๒ จะต้องมมี าตรฐานและคุณภาพ
เดียวกัน

แบบ ๒ เปน็ แผนการศึกษาทเ่ี น้นการวิจยั โดยมกี ารทำวิทยานพิ นธ์ทมี่ คี ุณภาพสงู และ
ก่อให้เกดิ ความกา้ วหนา้ ทางวิชาการและวชิ าชพี และศกึ ษางานรายวิชาเพ่ิมเตมิ ดังน้ี

แบบ ๒.๑ ผู้เข้าศึกษาท่ีสำเร็จปริญญาโท จะต้องทำวิทยานิพนธ์ ไมน่ ้อยกวา่
๓๖ หน่วยกิต และศึกษางานรายวิชาอกี ไม่น้อยกวา่ ๑๒ หน่วยกติ

แบบ ๒.๒ ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี จะต้องทำวิทยานิพนธ์ ไม่น้อยกวา่
๔๘ หนว่ ยกติ และศึกษางานรายวชิ าอีกไมน่ อ้ ยกว่า ๒๔ หนว่ ยกิต

ท้ังน้ี วิทยานพิ นธ์ตามแบบ ๒.๑ และแบบ ๒.๒ จะตอ้ งมมี าตรฐานและคุณภาพ
เดยี วกัน

ข้อ ๑๒ กำหนดระยะเวลาการศกึ ษาตามหลักสตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา เป็นดังนี้
(๑) หลักสตู รประกาศนียบัตรบณั ฑติ และประกาศนยี บัตรบัณฑิตช้ันสูง ให้ใช้เวลาศึกษาไม่เกิน

๓ ปกี ารศกึ ษา
(๒) หลกั สตู รปริญญาโท ให้ใชเ้ วลาศกึ ษาไมเ่ กิน ๕ ปีการศกึ ษา

27

บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

(๓) หลกั สูตรปรญิ ญาเอก ผทู้ ี่สำเร็จปริญญาตรีแล้วเขา้ ศึกษาตอ่ ในระดับปรญิ ญาเอกใหใ้ ช้เวลา
ศึกษาไม่เกนิ ๘ ปกี ารศกึ ษา ส่วนผู้ท่สี ำเรจ็ ปรญิ ญาโทแล้วเข้าศึกษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอกใหใ้ ชเ้ วลาศกึ ษาไม่เกนิ
๖ ปีการศึกษา

สำหรับการลงทะเบียนเรยี นสำหรับผู้เขา้ ศึกษาแบบไม่เตม็ เวลา ใหม้ หาวทิ ยาลยั กำหนดจำนวน
หน่วยกิตทใ่ี หล้ งทะเบยี นเรียนได้ในแต่ละภาคการศกึ ษาปกติ โดยเทียบเคียงกบั จำนวนหน่วยกิตท่กี ำหนดขา้ งตน้
ในสดั ส่วนทีเ่ หมาะสม

นักศึกษาซึง่ สอบวทิ ยานพิ นธผ์ ่านและส่งเล่มวทิ ยานิพนธ์ภายในกำหนดเวลาตามวรรคหนึง่
แต่ยังรอการตพี มิ พ์ผลงานวจิ ยั ในวารสารทางวิชาการระดับนานาชาติ อาจขอขยายเวลาการศึกษาตอ่ ไปได้อกี ไม่เกิน
๒ ภาคการศกึ ษา โดยให้ขยายได้คร้ังละ ๑ ภาคการศึกษา ในการนีต้ อ้ งมีหลักฐานการสง่ ผลงานวิจยั เพือ่ ตพี ิมพ์ดว้ ย
และนกั ศกึ ษาต้องรักษาสถานภาพการเปน็ นกั ศึกษาในภาคการศกึ ษาทไ่ี ดร้ ับอนมุ ัตใิ หข้ ยายเวลาการศึกษา

ข้อ ๑๓ การนับระยะเวลาเปน็ ปกี ารศกึ ษา ตามข้อ ๑๒ (๑) (๒) และ (๓) ใหน้ ับตั้งแต่วนั ท่ีขึน้ ทะเบยี น
เปน็ นักศึกษา

ข้อ ๑๔ ประเภทของหลักสตู ร แบง่ ออกเป็น ๒ ประเภท คือ
๑๔.๑ หลักสตู รปกติ หมายถงึ หลกั สตู รสาขาวิชาใดสาขาวชิ าหน่งึ ทใี่ ชภ้ าษาไทยเปน็ ส่อื หลกั

ในการเรียนการสอน และ/หรอื อาจมีบางรายวชิ าทใ่ี ชภ้ าษาตา่ งประเทศเป็นสอ่ื ในการเรียนการสอน
๑๔.๒ หลักสูตรนานาชาติ หมายถงึ หลกั สตู รสาขาวชิ าใดสาขาวิชาหนึ่งทม่ี ีองคค์ วามรู้

และเนือ้ หาสาระท่มี คี วามเป็นสากล และมกี ารจัดกจิ กรรมเพอื่ สง่ เสรมิ ความเป็นนานาชาติ เพอ่ื มุง่ ผลิตบัณฑิต
ใหม้ คี ุณภาพและมาตรฐานสากล โดยใชภ้ าษาต่างประเทศเป็นส่ือในการเรยี นการสอน

ขอ้ ๑๕ รปู แบบของการจดั การศึกษา แบง่ ออกเป็น ๒ รูปแบบ ดงั น้ี
๑๕.๑ การศกึ ษาภาคปกติ เปน็ การจัดการเรยี นการสอนทีจ่ ัดใหเ้ รยี นในเวลาราชการและหาก

มีความจำเป็นอาจจัดให้เรียนนอกเวลาราชการดว้ ยกไ็ ด้
๑๕.๒ การศกึ ษาภาคพเิ ศษ เป็นการจดั การเรียนการสอนจดั ให้เรียนในวนั หยดุ ราชการหรอื

นอกเวลาราชการ

หมวด ๓
การรับเขา้ ศกึ ษา
ขอ้ ๑๖ คุณสมบตั ขิ องผูเ้ ขา้ เป็นนักศกึ ษา
(๑) หลกั สูตรประกาศนียบตั รบณั ฑติ และหลักสตู รปริญญาโท จะตอ้ งเป็นผู้สำเรจ็ การศึกษา
จะต้องเปน็ ผสู้ ำเรจ็ การศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรีหรือเทยี บเท่า
(๒) หลักสตู รประกาศนียบตั รบณั ฑติ ช้นั สงู จะต้องเปน็ ผสู้ ำเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบตั ร
บณั ฑติ หรอื ปริญญาโท หรือเทียบเท่า
(๓) หลักสูตรปริญญาเอก จะต้องเปน็ ผสู้ ำเร็จการศึกษาระดบั ปรญิ ญาตรหี รอื เทยี บเทา่ ที่มี
ผลการเรยี นดีมาก หรอื ระดับปรญิ ญาโทหรือเทยี บเท่า และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑท์ ี่มหาวิทยาลัย
กำหนด

28

คมู่ ือนักศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ทัง้ นี้ ผูเ้ ข้าเป็นนกั ศกึ ษาจะต้องสำเรจ็ การศกึ ษาจากมหาวทิ ยาลยั หรือสถาบนั การศกึ ษาอนื่ ๆ
ทส่ี ภามหาวทิ ยาลยั รับรอง และตอ้ งมีคุณสมบตั ิอื่นตามทีม่ หาวทิ ยาลัยกำหนด

ข้อ ๑๗ การรบั เข้าเปน็ นักศึกษา ใช้วิธอี ย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
(๑) สอบคัดเลอื ก
(๒) คัดเลือก
(๓) รบั โอนนกั ศึกษาจากสถาบนั อุดมศึกษาอน่ื
(๔) รับเข้าตามขอ้ ตกลงในโครงการความร่วมมอื ของมหาวทิ ยาลัย

ข้อ ๑๘ การขนึ้ ทะเบยี นเปน็ นักศึกษา
(๑) ผู้ทผ่ี ่านการรบั เข้าเปน็ นักศึกษาตอ้ งมารายงานตัวพรอ้ มหลกั ฐานตามวนั เวลาและสถานที่

ที่มหาวิทยาลยั กำหนด
ผู้ที่ผ่านการรับเข้าเปน็ นักศกึ ษาที่ไม่มารายงานตัวเปน็ นกั ศกึ ษาตามวนั เวลาและสถานท่ี

ที่กำหนด เปน็ อนั หมดสิทธ์ิทจี่ ะเข้าเป็นนักศึกษา เว้นแต่จะไดร้ บั อนมุ ตั ิจากมหาวทิ ยาลยั
(๒) การขึน้ ทะเบียนเป็นนักศึกษา ใหน้ บั จากวนั แรกของภาคการศกึ ษาท่นี ักศึกษารายงานตัว

หมวด ๔
การลงทะเบียนเรยี น
ขอ้ ๑๙ การลงทะเบยี นเรียนรายวชิ า
(๑) กำหนดวนั และวิธีการลงทะเบยี นเรียน และขอเพ่มิ -ถอนรายวิชา ให้เปน็ ไปตามประกาศ
ของบณั ฑติ วิทยาลยั
(๒) การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าจะสมบูรณต์ ่อเมอ่ื นกั ศึกษาไดช้ ำระค่าธรรมเนยี มตา่ งๆ
ของมหาวิทยาลัยเรียบรอ้ ยแลว้ ภายในกำหนดเวลาตามประกาศของมหาวิทยาลัย นักศึกษาผูใ้ ดลงทะเบยี นเรียน
หรือชำระค่าธรรมเนียมต่างๆ ภายหลังกำหนดจะต้องชำระค่าปรับตามระเบียบมหาวิทยาลัย
(๓) ผู้ท่ขี นึ้ ทะเบยี นเป็นนักศึกษาในภาคการศกึ ษาใดของแต่ละประเภทการจัดการศกึ ษา
ตอ้ งลงทะเบียน เรยี นรายวิชาในภาคการศึกษานนั้
(๔) นักศกึ ษาทไ่ี มไ่ ดล้ งทะเบียนเรยี นรายวิชาโดยสมบรู ณใ์ นภาคการศกึ ษาใดภายในกำหนดเวลา
ตามประกาศของมหาวทิ ยาลัย จะไมม่ สี ทิ ธิเรียนในภาคการศึกษาน้ัน เว้นแตจ่ ะได้รบั อนมุ ัติเป็นกรณพี ิเศษ
จากมหาวิทยาลัย
(๕) รายวชิ าท่ีหลกั สูตรกำหนดวา่ ต้องเรียนรายวิชาอ่นื กอ่ นหรือมบี ุรพวิชา นกั ศึกษาตอ้ งเรยี น
และสอบได้รายวิชาหรือบรุ พวิชาที่กำหนดไวก้ ่อน จึงจะมสี ิทธลิ งทะเบยี นเรียนรายวชิ านนั้ ได้
ขอ้ ๒๐ จำนวนหน่วยกิตที่ลงทะเบยี นได้
นกั ศกึ ษาจะต้องลงทะเบียนในแต่ละภาคการศกึ ษาปกติ ให้เป็นไปตามระบบการจดั การศกึ ษา
ในขอ้ ๗ และข้อ ๘
การศึกษาภาคปกติ นกั ศึกษาลงทะเบียนได้ไมเ่ กนิ ๑๕ หน่วยกติ ในแต่ละภาคการศกึ ษาปกติ
ระบบทวภิ าค

29

บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา

การศึกษาภาคพิเศษ นักศึกษาลงทะเบยี นไดไ้ ม่เกนิ ๑๒ หนว่ ยกติ ในแตล่ ะภาคการศกึ ษาปกติ
ระบบทวิภาค

นักศึกษาอาจลงทะเบยี นเรยี นในภาคฤดูร้อนได้ไม่เกิน ๖ หน่วยกิต และหากนกั ศกึ ษาจะตอ้ ง
ลงทะเบียนต่างไปจากที่กำหนดข้างตน้ ต้องได้รบั อนุมัตจิ ากมหาวิทยาลัย

ข้อ ๒๑ การลงทะเบียนเรยี นรายวชิ าเปน็ พิเศษโดยไม่นบั หน่วยกติ (Audit)
(๑) นักศึกษาจะลงทะเบียนเรยี นวชิ าเปน็ พเิ ศษโดยไม่นับหน่วยกติ ได้ ต่อเมือ่ ได้รบั ความเหน็ ชอบ

จากอาจารยผ์ ู้สอนรายวิชานนั้
(๒) จำนวนหนว่ ยกติ ของรายวชิ าทเ่ี รียนเปน็ พเิ ศษโดยไมน่ บั หนว่ ยกติ จะไม่นบั รวมเปน็ หน่วยกิต

สะสม
(๓) รายวชิ าท่เี รยี นเปน็ พเิ ศษโดยไม่นบั หนว่ ยกิต จะไม่นับรวมเข้าในจำนวนหนว่ ยกติ ทต่ี ่ำสดุ

แต่จะนับรวม เปน็ จำนวนหน่วยกิตสูงสดุ ท่นี กั ศกึ ษาสามารถลงทะเบยี นเรียนในแตล่ ะภาคการศึกษา
(๔) มหาวิทยาลัยอาจอนุมัตใิ หบ้ ุคคลภายนอกเข้าเรียนบางรายวชิ าเปน็ พิเศษโดยไมน่ ับ

หน่วยกติ ได้ แต่ต้องมคี ุณสมบัติและพืน้ ความรตู้ ามทีม่ หาวทิ ยาลยั กำหนด
ข้อ ๒๒ นักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษาท่ขี าดความรู้พน้ื ฐานในสาขาวิชา
มหาวิทยาลยั อาจให้เรยี นวชิ าปรบั พน้ื ฐานโดยไม่มีหน่วยกิต และจะต้องสอบผา่ นโดย

ไดผ้ ลการเรยี นในระดบั P
ขอ้ ๒๓ การยกเลิกการเรยี นรายวิชาใดๆ นกั ศึกษาตอ้ งย่นื คำรอ้ งก่อนสอบปลายภาคไม่นอ้ ยกว่า ๒ สัปดาห์

โดยได้รบั อนมุ ตั ิจากมหาวทิ ยาลัย
ขอ้ ๒๔ การลงทะเบียนเพ่ือรักษาสภาพนักศึกษา
นักศึกษาท่ลี งทะเบียนเรียนรายวิชาครบตามที่กำหนดในหลกั สตู ร แต่ยังไม่สำเร็จการศึกษา

ต้องลงทะเบยี นชำระเงินตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

หมวด ๕

การวัดผลและประเมินผลการศึกษา

ขอ้ ๒๕ การประเมินผลการเรยี นรายวชิ า

(๑) การประเมนิ ผลการศกึ ษาของแตล่ ะรายวิชาให้ใชร้ ะบบมคี า่ ระดับคะแนนดงั น้ี

ระดับคะแนน ความหมายของระดับคะแนน คา่ ระดบั คะแนน

A ดเี ย่ยี ม (Excellent) ๔.๐

B+ ดมี าก (Very Good) ๓.๕

B ดี (Good) ๓.๐

C+ ดพี อใช้ (Fairly Good) ๒.๕

C พอใช้ (Fair) ๒.๐

D+ อ่อน (Poor) ๑.๕

D อ่อนมาก (Very Poor) ๑.๐

F ตก (Fail) ๐.๐

30

คู่มือนักศกึ ษาระดบั บัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563

ทง้ั น้รี ายวิชาทอ่ี ยใู่ นหมวดวิชาแกน หมวดวิชาบังคับ หมวดวิชาเฉพาะดา้ นของหลักสตู รระดับ

ปรญิ ญาโท หรือปรญิ ญาเอก จะตอ้ งไดค้ ่าระดับคะแนนไม่ตำ่ กว่า B และรายวชิ าทอ่ี ยใู่ นหมวดวิชาเลอื กของหลกั สูตร

ต้องไดค้ ่าระดับคะแนนไม่ตำ่ กวา่ C ถ้าไดค้ า่ ระดับคะแนนตำ่ กวา่ ท่ีระบุไว้ ต้องลงทะเบยี นเรียนซ้ำรายวชิ าเดมิ ในหมวด

วิชาแกนและหมวดวิชาบงั คับ ถา้ เปน็ รายวิชาในหมวดวชิ าเลอื กอาจลงทะเบียนรายวิชาอน่ื แทนได้ ทง้ั นผ้ี ลการศกึ ษา

รายวิชาทเ่ี รียนซ้ำจะต้องไดค้ ่าระดับคะแนนไม่สูงกว่า B

(๒) การประเมนิ ผลท่ีไมเ่ ป็นระบบมคี ่าระดบั คะแนนใหป้ ระเมินผลโดยใช้ระดับการประเมนิ ผล

เปน็ สัญลกั ษณ์ ดังน้ี

ระดบั การ ความหมาย

ประเมินผล

S ผลการเรยี น การปฏบิ ัติ การฝกึ งานเป็นท่ีพอใจ (Satisfactory)

U ผลการเรยี นการฝึกงานไม่เปน็ ทพี่ อใจ (Unsatisfactory)

ตอ้ งลงทะเบยี นเรยี นและฝกึ งานใหม่จนกวา่ จะผา่ น

AU การเรยี นเปน็ พเิ ศษโดยไม่นับหน่วยกิต (Audit)

I การประเมินผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete)

W การยกเลกิ เรียนโดยได้รบั อนุมัติ (Withdraw)

M ขาดสอบปลายภาค (Missing)

P ผ่าน (Pass)

NP ไม่ผา่ น (Not Pass)

(๓) ให้คณะกรรมการบริหารงานวิชาการบณั ฑิตวทิ ยาลัยมีหน้าท่พี จิ ารณาการประเมินผล

การศึกษารายวชิ า มีอำนาจพจิ ารณาวินจิ ฉัยชขี้ าดในกรณีท่มี ปี ัญหา ยกเวน้ วทิ ยานิพนธแ์ ละ ภาคนพิ นธ์ และให้คณบดี

บณั ฑิตวทิ ยาลัยเปน็ ผ้อู นุมัตผิ ลการศกึ ษาทกุ ภาคการศึกษา

ข้อ ๒๖ การประเมินผลการสอบตามข้อกำหนดของหลักสูตร ไดแ้ ก่ การสอบภาษาต่างประเทศ (Foreign

Language Examination) การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) และการสอบประมวลความรู้

(Comprehensive Examination) ให้ผลการประเมินเปน็ ดงั นี้

ระดับการประเมนิ ผล ความหมาย

P ผา่ น (Pass)

NP ไมผ่ า่ น (Not Pass)

ข้อ ๒๗ การประเมนิ คุณภาพวทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์ ประกอบดว้ ย เน้ือหากระบวนการ วิจัย การเขยี น

และการสอบปากเปลา่ เปน็ หนา้ ท่ีของคณะกรรมการสอบปากเปล่าเกีย่ วกับวิทยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ การประเมิน

ใหก้ ระทำหลังจากนกั ศกึ ษาสอบปากเปลา่ แลว้ และให้ผลการประเมนิ เปน็ ดงั นี้

ระดบั การประเมนิ ผล ความหมาย

Excellent ผลการประเมนิ ขัน้ ดีเยย่ี ม

Good ผลการประเมนิ ขัน้ ดี

Pass ผลการประเมินข้นั ผา่ น

Fail ผลการประเมนิ ขั้นไมผ่ า่ น

31

บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า

ข้อ ๒๘ การนับจำนวนหนว่ ยกติ และการคำนวณค่าคะแนนเฉลีย่ สะสม
(๑) การนบั จำนวนหนว่ ยกิตเพื่อใชใ้ นการคำนวณหาคา่ คะแนนเฉลีย่ สะสมให้นบั จากรายวิชาทมี่ ี

การประเมนิ ผลการศกึ ษาทม่ี คี า่ ระดับคะแนนตามขอ้ ๒๓ (๑) ในกรณที ่ีนักศึกษาลงทะเบยี นเรียนซ้ำ หรือเรยี นแทนใน
รายวิชาใดใหน้ ำจำนวนหนว่ ยกติ และคา่ ระดบั คะแนนทีไ่ ด้ไปใชใ้ นการคำนวณหาค่าระดบั คะแนนเฉล่ียดว้ ย

(๒) การนับจำนวนหน่วยกติ สะสมเพื่อใหค้ รบตามจำนวนทก่ี ำหนดในหลกั สตู ร ใหน้ บั เฉพาะ
หน่วยกิตของรายวชิ าทส่ี อบไดร้ ะดบั ค่า C ข้นึ ไปเทา่ นั้น

(๓) คา่ คะแนนเฉลีย่ รายภาคการศึกษา ให้คำนวณจากผลการเรียนของนกั ศกึ ษาในภาคการศกึ ษานน้ั
โดยเอาผลรวมของผลคณู ระหวา่ งจำนวนหนว่ ยกติ กบั คา่ ระดับคะแนนของแตล่ ะวชิ าเปน็ ตัวตงั้ หารด้วยจำนวนหน่วยกิต
ของภาคการศกึ ษาน้นั

(๔) คา่ คะแนนเฉลย่ี สะสม ให้คำนวณจากผลการเรียนของนักศกึ ษาตั้งแตเ่ รม่ิ เข้าเรียนจนถึงภาค
การศึกษาสุดท้าย โดยเอาผลรวมของผลคณู ระหวา่ งจำนวนหน่วยกิตกับคา่ ระดบั คะแนนของ แตล่ ะรายวชิ าท่ีเรียน
ท้งั หมดเปน็ ตัวตง้ั หารดว้ ยจำนวนหนว่ ยกิตรวมทง้ั หมด

(๕) การคำนวณค่าคะแนนเฉล่ียสะสม ให้คำนวณเมอื่ สน้ิ ภาคการศึกษาปกติภาคการศึกษาที่ ๒
ที่นกั ศกึ ษาลงทะเบียนเรียน

ข้อ ๒๙ การทจุ รติ ใดๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกับการศึกษาหรือการสอบ
นักศึกษาท่เี จตนาทุจรติ หรือทำการทจุ รติ ใดๆ ท่เี ก่ยี วข้องกบั การศกึ ษาหรือการสอบ

อาจไดร้ บั โทษอย่างใดอย่างหน่งึ ดงั น้ี
(๑) ปรับตกในรายวิชาน้นั
(๒) ปรบั ตกในรายวชิ าน้ัน และพักการเรยี นในภาคการศกึ ษาถดั ไป หรือเล่ือนการเสนอช่ือ

ขอรับปรญิ ญาไปอีก ๑ ปีการศกึ ษา
(๓) พน้ จากสถานภาพนกั ศึกษา
การพิจารณาการทจุ ริตดังกลา่ ว ให้เปน็ ไปตามประกาศมหาวทิ ยาลยั

หมวด ๖
สถานภาพของนักศึกษา การลาพักการเรียน และการลาออก
ข้อ ๓๐ สถานภาพนกั ศกึ ษา เป็นดงั นี้
(๑) นักศกึ ษาสามัญ ได้แก่ ผ้ทู ่ีผ่านการคดั เลอื กและข้ึนทะเบียนเปน็ นักศึกษาของมหาวิทยาลยั
และเขา้ ศึกษาในหลกั สูตรใดหลกั สตู รหนึ่ง
(๒) นกั ศกึ ษาวิสามญั ได้แก่ ผู้ท่ไี ดร้ ับเข้าทดลองศกึ ษาในภาคการศึกษาแรกตามเง่อื นไข
ทห่ี ลกั สูตรกำหนดขน้ึ เฉพาะคราว ยกเว้นหลกั สตู รปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก (๑) และหลกั สูตรปริญญาเอก
ไมใ่ ห้มีนกั ศกึ ษาทดลองศกึ ษา
(๓) นกั ศกึ ษาปรญิ ญาเอก (Doctoral Candidate) ได้แก่ นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปรญิ ญาเอกที่สอบ
วัดคณุ สมบตั ิผา่ น และได้รับอนมุ ัติจากมหาวิทยาลยั ให้ทำวทิ ยานิพนธ์ได้
(๔) นักศึกษาสมทบ ได้แก่ นกั ศกึ ษาของสถาบนั อดุ มศกึ ษาอ่นื ทไี่ ดร้ บั อนมุ ัติจากมหาวิทยาลัย
ใหล้ งทะเบียนเรียนรายวิชา เพ่ือนำหนว่ ยกิตไปคดิ รวมกับหลกั สตู รของสถาบันทีต่ นสงั กดั

32

คมู่ อื นักศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศึกษา 2563

(๕) ผ้เู ข้าร่วมศึกษา ได้แก่ บุคคลภายนอกท่ีไดร้ ับอนมุ ัตจิ ากมหาวทิ ยาลยั ให้เขา้ ร่วมศกึ ษา
ในรายวิชา โดยอาจเทยี บโอนหนว่ ยกิตทเี่ รียนได้เมือ่ ได้รับคัดเลอื กให้เป็นนักศกึ ษา

ขอ้ ๓๑ การลาพกั การเรยี น
(๑) นกั ศึกษาอาจยนื่ คำรอ้ งขอลาพักการเรียนไดใ้ นกรณใี ดกรณหี น่งึ ตอ่ ไปน้ี
(๑.๑) ได้รับทุนแลกเปล่ียนนักศึกษาระหวา่ งประเทศ หรือทุนอนื่ ใดท่มี หาวทิ ยาลยั

เหน็ ควรสนบั สนนุ
(๑.๒) ป่วยและต้องรักษาตวั เปน็ เวลานานตามคำส่ังแพทย์ โดยมใี บรบั รองแพทย์
(๑.๓) มเี หตจุ ำเปน็ ส่วนตวั โดยอาจยนื่ คำรอ้ งขอลาพกั การเรยี นได้ ถ้ามีสภาพนกั ศึกษา

มาแล้วอย่างน้อย ๑ ภาคการศกึ ษา
(๒) การลาพกั การเรียน นกั ศกึ ษาตอ้ งยนื่ คำรอ้ งภายใน ๔ สปั ดาหน์ ับแตเ่ ปิดภาคการศกึ ษา

ของภาคการศึกษาทล่ี าพักการเรียน และจะตอ้ งชำระเงนิ คา่ รักษาสภาพนกั ศกึ ษาของภาคการศกึ ษานัน้ และมหาวิทยาลัย
เป็นผพู้ จิ ารณาอนุมัตกิ ารลาพกั การเรียน

(๓) การลาพักการเรยี นให้อนมุ ัติครั้งละ ๑ ภาคการศึกษา ถ้านักศึกษายงั มีความจำเปน็ ทจี่ ะต้อง
ขอลาพักการเรยี นต่อไปอีก ให้ยืน่ คำร้องใหมต่ ามขอ้ ๓๑ (๒)

(๔) ให้นบั ระยะเวลาทล่ี าพักการเรียนรวมอย่ใู นระยะเวลาการศกึ ษาดว้ ย
ขอ้ ๓๒ การลาออก

นกั ศกึ ษาทป่ี ระสงค์จะลาออกจากการเป็นนกั ศึกษาของมหาวิทยาลัย ใหย้ ืน่ คำร้องต่อมหาวิทยาลัย
และมีผลเมื่อมหาวิทยาลัยอนุมัติ

ขอ้ ๓๓ การพน้ จากสถานภาพนกั ศกึ ษา
นักศกึ ษาพน้ จากสถานภาพนกั ศึกษาในกรณีใดกรณหี นงึ่ ดงั ต่อไปน้ี
(๑) สำเร็จการศกึ ษาตามหลักสูตร
(๒) ไดร้ บั อนุมตั จิ ากมหาวทิ ยาลัยใหล้ าออก
(๓) ถูกคัดชื่อออกจากมหาวทิ ยาลยั ในกรณีดงั ต่อไปนี้
(๓.๑) ไม่ลงทะเบียนเรยี นในภาคการศกึ ษาแรกท่ีขน้ึ ทะเบียนเป็นนักศกึ ษา
(๓.๒) เมือ่ พ้นกำหนดเวลา ๑ ภาคการศกึ ษาแลว้ ไม่ชำระเงนิ รักษาสภาพนักศึกษา
(๓.๓) ขาดคณุ สมบตั ิอยา่ งใดอย่างหนง่ึ ตามขอ้ ๑๖
(๓.๔) ได้คะแนนเฉล่ยี ในภาคการศกึ ษาแรกท่ศี กึ ษาตำ่ กวา่ ๒.๕๐
(๓.๕) ไดค้ ะแนนเฉลยี่ สะสมต่ำกวา่ ๓.๐๐ แต่สงู กว่า ๒.๕๐ และไมส่ ามารถทำคะแนนเฉลี่ย

สะสมไดต้ ัง้ แต่ ๓.๐๐ ข้ึนไปภายในเวลาทกี่ ำหนด ดงั นี้
(๓.๕.๑) ภาคการศึกษาถัดไปสำหรับนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบตั รบัณฑติ

และหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง
(๓.๕.๒) สองภาคการศึกษาถดั ไปสำหรบั นักศกึ ษาหลกั สตู รปริญญาโท และหลักสูตร

ปรญิ ญาเอก
(๓.๖) สอบประมวลความร้หู รือสอบวัดคุณสมบตั ิ ๒ ครง้ั แลว้ ยังไม่ผ่าน

33

บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

(๓.๗) เปน็ นกั ศึกษาทดลองศึกษาตามข้อ ๓๐ (๒) ได้คะแนนเฉลี่ยในภาคการศึกษาแรก
ต่ำกว่า ๓.๐๐

(๓.๘) ไม่สำเรจ็ การศึกษาตามหลักสูตรภายในระยะเวลาตามขอ้ ๑๒
(๓.๙) ทำการทจุ รติ ใดๆ ท่ีเกี่ยวข้องกบั การศึกษาและการสอบตามข้อ ๒๙
(๓.๑๐) มคี วามประพฤติเสอื่ มเสียอย่างรา้ ยแรง
(๓.๑๑) ทำผดิ ระเบียบของมหาวิทยาลยั อยา่ งร้ายแรง
(๓.๑๒) ตอ้ งคำพิพากษาถงึ ที่สุดให้จำคุกในคดอี าญา เวน้ แตค่ วามผดิ ที่ได้กระทำ
โดยประมาทหรอื ความผดิ ลหุโทษ
(๔) ตาย

หมวด ๗
การเปลี่ยนสถานภาพนกั ศึกษาและการโอนหน่วยกิต
ขอ้ ๓๔ การเปลย่ี นสถานภาพนักศกึ ษา
นักศึกษาทดลองศึกษาท่ีเข้าศกึ ษาในภาคการศึกษาแรก และสอบได้คา่ ระดับคะแนนเฉลยี่ ไม่ตำ่
กว่า ๓.๐๐ ให้เปลี่ยนสถานภาพเปน็ นกั ศึกษาไดเ้ มอื่ สน้ิ ภาคการศกึ ษาแรก
ขอ้ ๓๕ การโอนหน่วยกติ และการเทยี บโอนหนว่ ยกติ ใหใ้ ช้เกณฑ์ ดังนี้
(๑) การโอนหนว่ ยกิต นกั ศึกษาอาจขอโอนหน่วยกิตรายวิชาเดียวกันในหลกั สูตรระดับ
บัณฑติ ศึกษาท่ไี ดเ้ คยศกึ ษามาแลว้ ไดเ้ ฉพาะรายวิชาท่ีสอบไดค้ า่ ระดับคะแนน B ขึน้ ไป โดยนบั หน่วยกติ รายวิชาท่ีขอ
โอนมาเปน็ ส่วนหนงึ่ ของหน่วยกติ ในหลกั สูตรทก่ี ำลงั ศกึ ษาได้ โดยไมต่ ้องเรียนรายวิชาน้ันซำ้ อกี ทั้งนี้ รายวชิ าท่ขี อโอน
หนว่ ยกิตตอ้ งเป็นรายวชิ าทเ่ี รียนมาแลว้ ไมเ่ กนิ ๕ ปนี บั จากวันทีส่ ำเรจ็ การศึกษา
ผู้สำเรจ็ การศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรบณั ฑติ ทเี่ ข้าศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาโท ใน
สาขาวชิ าเดียวกันหรือสาขาวิชาทส่ี มั พนั ธ์กนั ใหเ้ ทียบโอนหนว่ ยกิตได้ไม่เกนิ ร้อยละ ๔๐ ของหลกั สูตรทีจ่ ะเข้าศกึ ษา
การขอโอนหนว่ ยกิตรายวชิ า ตอ้ งได้รบั ความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
และได้รบั อนมุ ัตจิ ากมหาวิทยาลัย
(๒) การรบั และเทยี บโอนหน่วยกิต มหาวทิ ยาลยั อาจยกเวน้ หรือเทยี บโอนหนว่ ยกติ รายวชิ า
หรอื วทิ ยานพิ นธ์จากหลกั สูตรระดับบณั ฑติ ศกึ ษาใหก้ ับนักศึกษาท่มี คี วามรู้ความสามารถท่สี ามารถวัดมาตรฐานได้ ทง้ั นี้
ให้เปน็ ไปตามหลักเกณฑก์ ารเทยี บโอนของมหาวิทยาลัย
ข้อ ๓๖ การเทยี บโอนความรู้/ประสบการณ์และให้หน่วยกิต
มหาวิทยาลัยอาจยกเว้นหรือเทยี บโอนความรแู้ ละประสบการณก์ ารทำงานจากการศึกษานอก
ระบบหรอื การศกึ ษาตามอัธยาศัยเปน็ รายวชิ าหรือกลมุ่ รายวชิ าตามหลกั สตู รหรือระดบั การศกึ ษาท่ี เปิดสอนใน
มหาวทิ ยาลยั ได้ ทัง้ น้ี หลักเกณฑก์ ารเทียบโอนใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศของมหาวิทยาลยั
ข้อ ๓๗ การรับโอนนกั ศกึ ษาจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาอ่นื
(๑) มหาวทิ ยาลัยอาจพจิ ารณารับโอนนักศกึ ษาจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาอื่นท่ีมีฐานะเทียบเท่า
มหาวทิ ยาลยั ได้ โดยมีเงอื่ นไขและวิธกี ารตามทีม่ หาวิทยาลยั กำหนด ทั้งนกี้ ารนบั ระยะเวลาทศ่ี ึกษาในหลักสตู ร ใหเ้ ริ่ม
นับตง้ั แตเ่ ขา้ ศึกษาในสถาบนั อดุ มศึกษาเดมิ

34

คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563

(๒) นักศกึ ษาหรอื นักศกึ ษาจากสถาบนั อดุ มศกึ ษาอ่นื ทีไ่ ดร้ บั โอนเข้าศกึ ษาในมหาวิทยาลยั
จะต้องยอมรบั การเทียบโอนรายวิชาตามมาตรฐานของมหาวทิ ยาลยั ตามขอ้ ๓๕

(๓) นกั ศกึ ษารับโอนจะตอ้ งใชเ้ วลาศกึ ษาในมหาวทิ ยาลยั เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า ๑ ปีการศึกษา
แตต่ อ้ งไม่เกนิ กำหนดเวลาตามข้อ ๑๒

ข้อ ๓๘ การคนื สภาพนกั ศกึ ษา
มหาวิทยาลัยอาจคนื สถานภาพนักศึกษาใหแ้ ก่ผู้ท่ถี กู คดั ชื่อออก เฉพาะกรณที ่ีการชำระเงิน

ไมเ่ ปน็ ไปตามเวลาที่มหาวิทยาลยั กำหนด

หมวด ๘
การสอบภาษาต่างประเทศ การสอบวดั คุณสมบัติ การสอบประมวลความรู้

การสอบวทิ ยานิพนธแ์ ละภาคนพิ นธ์
ขอ้ ๓๙ การสอบภาษาตา่ งประเทศ

(๑) นกั ศึกษาหลักสตู รปริญญาโท หลกั สูตรประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ช้ันสงู และหลกั สูตรปริญญา
เอกจะตอ้ งสอบภาษาทไ่ี มใ่ ชภ่ าษาประจำชาตขิ องตนอยา่ งน้อย ๑ ภาษาตามประกาศทบ่ี ัณฑิตวทิ ยาลยั กำหนด

(๒) การประเมนิ ผลการสอบ นักศึกษาจะต้องไดร้ ะดับ P
ขอ้ ๔๐ การสอบวดั คุณสมบัติ (Qualifying Examination)

(๑) นกั ศกึ ษาหลักสตู รปรญิ ญาเอกจะต้องสอบผา่ นการสอบวดั คุณสมบัติ
(๒) การสอบวัดคณุ สมบตั เิ ปน็ การสอบในสาขาวชิ าและวิชาทเ่ี กีย่ วข้อง เพอื่ วัดว่านกั ศกึ ษามี
ความรพู้ ื้นฐานและมคี วามพรอ้ มในการทำวทิ ยานพิ นธ์
(๓) ผู้มสี ทิ ธสิ อบวัดคณุ สมบตั คิ อื

(๓.๑) นกั ศึกษาหลักสตู รปริญญาเอก แบบ ๑ ทศี่ กึ ษามาแล้วไมน่ ้อยกวา่ ๑ ปีการศึกษา
และผา่ นการประเมนิ ของคณะกรรมการบริหารหลกั สตู รว่าสมควรเข้าสอบวดั คุณสมบตั ไิ ด้

(๓.๒) นักศึกษาหลกั สตู รปรญิ ญาเอก แบบ ๒ ที่ลงทะเบียนรายวิชาตา่ งๆ ครบถว้ น
ตามหลกั สตู รแล้วในภาคการศึกษาใด จะมีสทิ ธิสอบวดั คณุ สมบตั ิตั้งแต่ภาคการศกึ ษาน้ันเปน็ ตน้ ไป

(๔) หลกั สูตร วัน เวลา และกระบวนการสอบวัดคุณสมบตั ิ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิต
วิทยาลยั

(๕) นกั ศึกษาที่สอบวดั คุณสมบัติไม่ผ่าน (NP) จะตอ้ งสอบแกต้ วั ใหม่ ทง้ั นนี้ กั ศกึ ษามีสทิ ธสิ อบ
ไมเ่ กิน ๒ คร้ัง และหากขาดสอบโดยไม่มเี หตุผลสมควรถอื วา่ สอบตกในคร้งั น้ัน

ข้อ ๔๑ การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination)
(๑) นักศึกษาหลกั สูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก ๑ และแผน ข จะตอ้ งสอบผ่านการสอบ

ประมวลความรู้
(๒) หลกั สตู ร วัน เวลา และกระบวนการสอบประมวลความรู้ ให้เปน็ ไปตามประกาศของบัณฑิต

วทิ ยาลยั
(๓) ผมู้ สี ิทธิสอบประมวลความรู้

35

บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

(๓.๑) นกั ศกึ ษาหลักสูตรปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก ๑ ทศ่ี ึกษามาแลว้ ไมน่ อ้ ยกว่า
๑ ปีการศึกษา และผา่ นการประเมินของคณะกรรมการบรหิ ารหลกั สูตรวา่ สมควรเข้าสอบประมวลความรู้ได้

(๓.๒) นักศกึ ษาหลักสตู รปรญิ ญาโท แผน ข ที่ลงทะเบยี นรายวิชาต่างๆ ครบถ้วน
ตามหลกั สูตรแล้วในภาคการศึกษาใด จะมีสทิ ธสิ อบประมวลความรูต้ ั้งแตภ่ าคการศึกษานั้นเปน็ ตน้ ไป

(๔) นักศกึ ษาทสี่ อบประมวลความรู้ไม่ผ่าน (NP) จะตอ้ งสอบแก้ตัวใหม่ ทง้ั นนี้ กั ศึกษา
มีสิทธสิ อบไม่เกนิ ๒ ครง้ั และหากขาดสอบโดยไมม่ ีเหตุผลสมควรถอื วา่ สอบตกในการสอบครง้ั นน้ั

ข้อ ๔๒ วิทยานิพนธ์
(๑) นกั ศึกษาหลักสูตรปรญิ ญาโท แผน ก และหลักสตู รปรญิ ญาเอก ตอ้ งทำวิทยานิพนธ์
(๒) นกั ศกึ ษาปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก ๒ และปรญิ ญาเอก แบบ ๑ จะเสนอชอ่ื เรื่อง

วทิ ยานิพนธ์ เม่ือได้ลงทะเบียนเรียนในมหาวิทยาลยั มาแลว้ ไม่นอ้ ยกวา่ ๑๒ หน่วยกิต และมีคณุ สมบตั ิอนื่ ครบถ้วนตาม
ประกาศของบณั ฑติ วิทยาลยั

(๓) คณะกรรมการท่ีปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ โดยการแตง่ ต้ังของบัณฑติ วิทยาลัย ประกอบดว้ ย
(๓.๑) วิทยานพิ นธ์ระดับปริญญาโท (Thesis) ประกอบด้วยประธาน ๑ คน ในกรณที มี่ ีความ

จำเป็น อาจเสนอกรรมการเพ่ิมได้อกี ๑ คน
(๓.๒) วทิ ยานิพนธ์ระดบั ปรญิ ญาเอก (Dissertation) ประกอบด้วย ประธาน ๑ คน และ

กรรมการ ๑ คน ในกรณีที่มีความจำเปน็ อาจเสนอกรรมการเพ่ิมได้อีก ๑ คน
ประธานและกรรมการท่ปี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธจ์ ะต้องมคี ุณสมบตั แิ ละผลงานทาง

วิชาการตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู รระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘
(๓.๓) คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู รมีหน้าทีเ่ สนอรายชือ่ คณะกรรมการทีป่ รกึ ษา

วทิ ยานพิ นธ์ตอ่ บัณฑติ วิทยาลยั และอาจเสนอบุคคลนอกมหาวทิ ยาลัยทม่ี คี ุณวุฒิ คุณสมบัติ และผลงานทางวชิ าการ
ตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘ เปน็ กรรมการที่
ปรึกษาวทิ ยานพิ นธไ์ ด้ แต่ต้องมีอาจารยป์ ระจำของมหาวิทยาลัยอยา่ งน้อย ๑ คน และต้องไดร้ บั อนมุ ัติจากบณั ฑิต
วิทยาลยั

(๓.๔) อาจารย์ทป่ี รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์หลกั ต้องเปน็ อาจารยป์ ระจำหลกั สตู ร ส่วนอาจารยท์ ี่
ปรึกษาวิทยานพิ นธร์ ่วมอาจเป็นอาจารย์ประจำหลกั สตู รหรือผทู้ รงคณุ วุฒภิ ายนอกทมี่ ีคณุ สมบัติและผลงานทาง
วชิ าการตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

(๔) คณะกรรมการพจิ ารณาโครงร่างวิทยานพิ นธ์ระดับปรญิ ญาโท ประกอบดว้ ยอาจารยท์ ่ีปรึกษา
วิทยานพิ นธ์หลักและ/หรืออาจารย์ทีป่ รกึ ษาวทิ ยานิพนธ์ร่วม อาจารยผ์ รู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตรท่ีไมใ่ ช่ทีป่ รกึ ษาวทิ ยานพิ นธ์
และจะตอ้ งมีกรรมการพจิ ารณาโครงร่างวิทยานพิ นธไ์ ม่ตำ่ กว่า ๓ คน คุณสมบตั ิและผลงานทางวิชาการของ
คณะกรรมการพจิ ารณาโครงรา่ งวิทยานพิ นธต์ อ้ งเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง เกณฑ์มาตรฐาน
หลักสตู รระดับบัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘

(๕) คณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธ์ระดบั ปรญิ ญาเอก ประกอบดว้ ยอาจารยท์ ่ี
ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์หลกั และ/หรอื อาจารยท์ ่ีปรกึ ษาวิทยานพิ นธร์ ่วม อาจารยผ์ ู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู รที่ไม่ใชท่ ี่ปรึกษา
วิทยานพิ นธ์ อาจารยป์ ระจำหลักสตู รหรืออาจารยป์ ระจำ และจะต้องมีกรรมการพจิ ารณาโครงร่างวิทยานพิ นธ์ไม่ต่ำ

36

คู่มอื นักศึกษาระดบั บัณฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

กวา่ ๕ คน คุณสมบตั ิและผลงานทางวิชาการของคณะกรรมการพิจารณาโครงร่างวิทยานิพนธต์ อ้ งเป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘

(๖) คณะกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธร์ ะดบั ปรญิ ญาโท ประกอบด้วย อาจารย์ประจำหลักสตู ร
และผู้ทรงคณุ วุฒิภายนอกมหาวิทยาลัย รวมไมน่ ้อยกว่า ๓ คน โดยการเสนอจากกรรมการบรหิ ารหลักสตู รและการ
แตง่ ตงั้ จากบณั ฑิตวทิ ยาลัย ทง้ั น้ี ประธานกรรมการสอบต้องไม่เป็นอาจารย์ที่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ์หลักหรืออาจ ารย์ท่ี
ปรึกษาวทิ ยานพิ นธ์ร่วม คุณสมบตั ิและผลงานทางวชิ าการของกรรมการสอบวิทยานพิ นธ์ต้องเปน็ ไปตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานหลักสูตรระดับบณั ฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘

(๗) คณะกรรมการสอบวทิ ยานิพนธร์ ะดับปรญิ ญาเอก ประกอบดว้ ย อาจารย์ประจำหลักสูตร
และผทู้ รงคุณวุฒิภายนอกมหาวทิ ยาลยั รวมแลว้ ไมน่ อ้ ยกวา่ ๕ คน โดยการเสนอจากกรรมการบริหารหลกั สูตรและ
การแตง่ ตั้งจากบณั ฑิตวทิ ยาลัย ท้ังนี้ประธานกรรมการสอบตอ้ งเปน็ ผทู้ รงคณุ วฒุ ภิ ายนอก คณุ สมบัตแิ ละผลงานทาง
วชิ าการของกรรมการสอบวทิ ยานพิ นธต์ อ้ งเปน็ ไปตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลักสตู ร
ระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘

(๘) ลิขสิทธิ์ของวิทยานพิ นธเ์ ปน็ ของมหาวทิ ยาลัย
ขอ้ ๔๓ ภาคนิพนธ์

(๑) นกั ศกึ ษาหลกั สูตรปริญญาโท แผน ข ตอ้ งทำภาคนพิ นธ์
(๒) นักศึกษาจะเสนอช่ือเร่ืองภาคนพิ นธไ์ ดเ้ มอ่ื ลงทะเบียนเรียนในมหาวทิ ยาลยั มาแลว้ ไมน่ อ้ ย
กว่า ๑๒ หน่วยกิต และมคี ุณสมบัติอืน่ ครบถ้วนตามประกาศของบัณฑติ วิทยาลัย
(๓) บณั ฑิตวทิ ยาลยั จะแตง่ ตั้งอาจารย์ทีป่ รึกษาภาคนพิ นธ์ ๑ คนตามคำแนะนำของคณะ
กรรมการบริหารหลักสตู ร โดยมคี ณุ สมบัติตามคุณสมบตั ิและผลงานทางวชิ าการตามประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดบั บัณฑิตศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๘
(๔) คณะกรรมการพจิ ารณาโครงรา่ งภาคนพิ นธ์ ประกอบดว้ ย อาจารย์ท่ปี รกึ ษาภาคนิพนธ์
อาจารยผ์ ูร้ บั ผดิ ชอบหลักสตู รทไี่ มใ่ ชท่ ี่ปรกึ ษาภาคนพิ นธ์ และจะต้องมกี รรมการพจิ ารณาโครงรา่ งภาคนิพนธไ์ มต่ ำ่ กว่า
๓ คน คณุ สมบัตแิ ละผลงานทางวชิ าการของคณะกรรมการพิจารณาโครงรา่ งภาคนพิ นธต์ ้องเป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธกิ าร เรอื่ ง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘
(๕) คณะกรรมการสอบภาคนิพนธ์ ประกอบดว้ ย อาจารยป์ ระจำหลักสตู รไม่น้อยกวา่ ๓ คน โดย
การเสนอจากกรรมการบริหารหลักสตู รและการแต่งตง้ั จากบณั ฑิตวิทยาลัย ทัง้ น้ี ประธานกรรมการสอบตอ้ งไม่เป็น
อาจารย์ทปี่ รกึ ษาภาคนพิ นธ์ คณุ สมบัตแิ ละผลงานทางวชิ าการของกรรมการสอบภาคนพิ นธ์ตอ้ งเป็นไปตามประกาศ
กระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง เกณฑม์ าตรฐานหลกั สตู รระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๘
(๖) ลิขสิทธิ์ของภาคนพิ นธซ์ ่งึ มหาวทิ ยาลยั อนุมัติใหน้ ับเปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สูตร
ปริญญาโท เปน็ ของมหาวทิ ยาลยั

37

บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า

หมวด ๙
คณุ สมบตั แิ ละเกณฑก์ ารสำเร็จการศึกษา
ขอ้ ๔๔ คณุ สมบัติและเกณฑ์การสำเรจ็ การศึกษา มดี งั ตอ่ ไปน้ี
(๑) มเี วลาเรียนที่มหาวิทยาลยั ไมน่ ้อยกว่า ๑ ปีการศึกษา และมีระยะเวลาศกึ ษาตามที่กำหนดใน
ขอ้ ๑๒
(๒) มีความซ่อื สตั ย์ มจี ริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการ โดยสร้างสรรค์ผลงานทมี่ คี วามชอบ
ธรรมและชอบด้วยกฎหมาย เป็นไปตามความเป็นจรงิ ท่ีปราศจากอคติ ไมต่ กแตง่ หรือสร้างข้อมลู เท็จ ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิ
ผอู้ ่ืน ไม่โจรกรรม ไม่คัดลอก ไม่ลอกเลยี น ไม่สร้างผลงานซ้ำ
(๓) หลักสูตรประกาศนียบัตรบณั ฑติ และประกาศนยี บัตรบณั ฑติ ชั้นสงู ต้องเรียนครบตามจำนวน
หนว่ ยกิตทกี่ ำหนดไวใ้ นหลักสูตร และตอ้ งไดร้ ะดับคะแนนเฉลย่ี ไม่ต่ำกวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือ
เทียบเทา่
(๔) หลกั สูตรปรญิ ญาโท
ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก ๑ เสนอวิทยานิพนธแ์ ละสอบผ่านการสอบปากเปล่า ขั้นสดุ ท้าย
โดยคณะกรรมการทม่ี หาวทิ ยาลัยแต่งต้งั และตอ้ งเปน็ ระบบเปดิ ให้ผ้สู นใจเขา้ รับฟังได้ สำหรบั ผลงานวทิ ยานพิ นธห์ รอื
สว่ นหนงึ่ ของวิทยานพิ นธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออยา่ งน้อยไดร้ ับการยอมรับให้ตพี ิมพใ์ นวารสารระดับชาติหรือระดบั
นานาชาตทิ มี่ คี ณุ ภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่อื ง หลกั เกณฑก์ ารพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ
ปรญิ ญาโท แผน ก แบบ ก ๒ ศกึ ษารายวิชาครบถว้ นตามทกี่ ำหนดในหลกั สตู ร โดยจะตอ้ ง
ไดร้ ะดบั คะแนนเฉล่ยี ไมต่ ่ำกวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรอื เทยี บเท่า พร้อมทัง้ เสนอวทิ ยานพิ นธแ์ ละสอบ
ผ่านการสอบปากเปล่าขนั้ สุดท้าย โดยคณะกรรมการท่มี หาวิทยาลยั แตง่ ตง้ั และตอ้ งเปน็ ระบบเปิดใหผ้ ู้สนใจเข้ารบั ฟัง
ได้ ผลงานวทิ ยานพิ นธ์หรอื สว่ นหน่ึงของวทิ ยานพิ นธต์ ้องได้รับการตพี มิ พห์ รอื อยา่ งน้อยได้รับการยอมรบั ให้ตีพมิ พ์ใน
วารสารระดับชาตหิ รือระดับนานาชาตทิ ี่มีคณุ ภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เร่อื ง หลกั เกณฑก์ าร
พจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสำหรบั การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ หรอื นำเสนอต่อทป่ี ระชมุ วิชาการโดยบทความที่
นำเสนอฉบบั สมบรู ณ์ (Full Paper) ได้รับการตพี ิมพ์ในรายงานสืบเน่อื งจากการประชมุ วชิ าการ (Proceedings)
ดังกลา่ ว
ปรญิ ญาโทแผน ข ศกึ ษารายวิชาครบถ้วนตามทีก่ ำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องไดร้ ะดบั
คะแนนเฉลี่ยไมต่ ่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรอื เทยี บเทา่ และสอบผา่ นการสอบประมวลความรู้
(Comprehensive Examination) ดว้ ยขอ้ เขยี นและ/หรือปากเปลา่ ในสาขาวชิ านนั้ พรอ้ มทั้งเสนอรายงานการ
คน้ คว้าอสิ ระและสอบผา่ นการสอบปากเปล่าข้นั สุดทา้ ย โดยคณะกรรมการท่มี หาวิทยาลัยแตง่ ต้ัง โดยเป็นระบบเปดิ
ให้ผสู้ นใจเขา้ รบั ฟงั ได้ และรายงานการค้นคว้าอสิ ระหรือสว่ นหนงึ่ ของรายงานการค้นควา้ อิสระต้องไดร้ ับการเผยแพร่
ในลักษณะใดลกั ษณะหน่ึงทีส่ ืบคน้ ได้
(๕) หลักสูตรปริญญาเอก
ปรญิ ญาเอก แบบ ๑ สอบผ่านการสอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying Examination)เพอ่ื เป็นผู้มี
สทิ ธขิ อทำวทิ ยานิพนธ์ เสนอวิทยานพิ นธ์ และสอบผา่ นการสอบปากเปลา่ ขั้นสดุ ท้าย โดยคณะกรรมการที่มหาวทิ ยาลัย
แตง่ ต้ัง ซง่ึ จะต้องประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบนั และต้องเปน็ ระบบเปดิ ให้ผสู้ นใจเข้ารับฟัง

38

คู่มือนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563

ได้ สำหรับผลงานวิทยานพิ นธห์ รือส่วนหน่งึ ของวทิ ยานิพนธต์ อ้ งได้รบั การตีพมิ พห์ รืออยา่ งน้อยไดร้ ับการยอมรบั ให้
ตีพิมพใ์ นวารสารระดบั ชาตหิ รือนานาชาตทิ ่ีมีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอดุ มศึกษา เรอ่ื ง หลกั เกณฑ์การ
พจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสำหรบั การเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ อยา่ งนอ้ ย ๒ เรอ่ื ง

ปริญญาเอก แบบ ๒ ศกึ ษารายวชิ าครบถว้ นตามที่กำหนดในหลักสตู ร โดยจะตอ้ งได้ระดบั
คะแนนเฉลย่ี ไมต่ ่ำกวา่ ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดบั คะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวดั คุณสมบตั ิ (Qualifying
Examination) เพ่ือเป็นผู้มสี ทิ ธขิ อทำวทิ ยานิพนธ์ เสนอวทิ ยานพิ นธแ์ ละสอบผ่านการสอบปากเปลา่ ขน้ั สุดทา้ ยโดย
คณะกรรมการที่มหาวิทยาลัยแต่งตง้ั ซึง่ จะตอ้ งประกอบดว้ ยผทู้ รงคุณวฒุ ิจากภายในและภายนอกสถาบนั และตอ้ ง
เป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเขา้ รบั ฟังได้ สำหรับผลงานวทิ ยานิพนธ์หรือสว่ นหน่งึ ของวทิ ยานพิ นธต์ ้องได้รับการตีพมิ พ์หรอื
อย่างน้อยได้รบั การยอมรับให้ตพี ิมพใ์ นวารสารระดบั ชาติหรอื นานาชาตทิ ม่ี ีคณุ ภาพตามประกาศคณะกรรมการการ
อดุ มศกึ ษา เรอื่ ง หลกั เกณฑก์ ารพจิ ารณาวารสารทางวชิ าการสำหรับการเผยแพรผ่ ลงานทางวชิ าการ

ข้อ ๔๕ การประกันคณุ ภาพของหลกั สตู ร ใหท้ กุ หลักสตู รกำหนดระบบการประกนั คุณภาพของหลกั สตู ร
โดยมีองคป์ ระกอบในการประกนั คุณภาพอย่างนอ้ ย ๖ ดา้ น คือ

(๑) การกำกบั มาตรฐาน
(๒) บณั ฑิต
(๓) นกั ศกึ ษา
(๔) คณาจารย์
(๕) หลกั สูตร การเรียนการสอน การประเมินผเู้ รยี น
(๖) ส่ิงสนบั สนนุ การเรยี นรู้
ข้อ ๔๖ การพฒั นาหลักสูตร ใหท้ กุ หลกั สูตรพัฒนาหลักสตู รใหท้ ันสมยั โดยมกี ารประเมินและรายงานผล
การดำเนินการของหลกั สตู รทุกปีการศกึ ษา เพอื่ นำขอ้ มูลท่ไี ด้ไปปรบั ปรุงพัฒนาหลักสูตรเปน็ ระยะๆ อยา่ งนอ้ ย ตาม
รอบระยะเวลาของหลักสตู รหรือทกุ รอบ ๕ ปี

บทเฉพาะกาล
ข้อ ๔๗ นกั ศกึ ษาของมหาวทิ ยาลัยทีเ่ ข้าศกึ ษาก่อนข้อบังคบั นม้ี ผี ลใช้บงั คับหรือเข้าศึกษาก่อนปีการศึกษา
๒๕๖๐ ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามขอ้ บงั คบั ท่ใี ช้บังคบั อยกู่ อ่ นวนั ที่ขอ้ บังคับนี้ใช้บังคับไปจนกว่าจะสำเร็จการศึกษา

ประกาศ ณ วันที่ ๒๔ เดอื น กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. ๒๕๖๐

(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
นายกสภามหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

39

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
40

ค่มู อื นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
41

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
42

ค่มู อื นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
43

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
44

ค่มู อื นักศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
45

บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
46


Click to View FlipBook Version