คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563
หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษาและคอมพิวเตอร์ จำนวน 4 หอ้ ง
1. หอ้ งปฏบิ ตั กิ ารทางภาษา 1 จำนวน 48 ที่น่ัง พร้อมระบบโปรแกรมสอนภาษาองั กฤษ [หอ้ ง 27.04.08]
2. หอ้ งปฏิบตั ิการทางภาษา 2 จำนวน 48 ทน่ี ั่ง พรอ้ มระบบโปรแกรมสอนภาษาองั กฤษ [หอ้ ง 27.04.10]
3. หอ้ งปฏบิ ัติการคอมพิวเตอร์ จำนวน 40 ที่นั่ง [ห้อง 27.04.13]
4. หอ้ งปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ จำนวน 20 ทน่ี งั่ [ห้อง 27.04.09]
https://www.nrru.ac.th/public/li/index.php
97
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
8. ศูนย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี “ทบั แก้วพาเลซ”
บรกิ ารห้องพัก บริการหอ้ งประชุมสัมมนา บรกิ ารห้องจดั เลี้ยง หอ้ งอาหา
http://www.old.nrru.ac.th/web/tubgaew/
98
ตอนท่ี 6
การประกันคุณภาพการศกึ ษา
และขอ้ ควรทราบ
บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
1. การพฒั นาระบบและกลไกการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
1.1 กระบวนการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance) เป็นการกำหนดให้มีระบบและกลไกในการควบคุม
คุณภาพ (Control) การตรวจสอบ (Audit) และการประเมิน (Assess) การดำเนินงานในแต่ละองค์ประกอบคุณภาพ
(Quality Factor) ตามตัวบง่ ช้ี (Indicator) ท่ีกำหนดเพือ่ เป็นหลกั ประกนั แก่ผูม้ ีสว่ นเกย่ี วข้องและสาธารณชนใหม้ น่ั ใจ
ว่ามหาวิทยาลัยสามารถให้ผลผลิตทางการศึกษาที่มีคุณภาพ และพร้อมสำหรับการประเมินคุณภาพและรับรอง
มาตรฐานจากภายนอก โดยประกอบดว้ ยขนั้ ตอนดงั นี้
1.1.1 การควบคุมคณุ ภาพ (Quality Control)
การควบคุมคณุ ภาพ เปน็ การจัดให้ระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพภายในขององคป์ ระกอบต่าง
ๆ ท่ีมีผลต่อคุณภาพบัณฑิต โดยยึดปรชั ญา วสิ ัยทศั นข์ องมหาวิทยาลัยและดำเนินการอย่างเป็นระบบ โดยใช้หลักของ
การควบคมุ คณุ ภาพท่เี หมาะสม พรอ้ มทั้งการมรี ะบบตรวจสอบและประเมนิ การดำเนินงานภายในด้วย
1.1.2 การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Auditing)
การตรวจสอบคุณภาพภายในเป็นกระบวนการหนึ่งของการประกันคุณภาพการศึ กษาเพื่อให้ทราบ
ถงึ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ลของการดำเนินการประกันคุณภาพ และเพื่อให้ทราบถงึ ปญั หาอุปสรรคในการหาทาง
ปรับปรุงแก้ไข มีแนวทางดำเนินการโดยมหาวิทยาลัย คณะ สถาบัน สำนัก ศูนย์ กอง และโปรแกรมวิชาแต่งต้ัง
คณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน เพื่อทำหน้าที่ศกึ ษาวเิ คราะห์ว่า คณะ สถาบนั ศนู ย์ สำนกั กอง และ
โปรแกรมวิชา มีระบบและกลไกกำกับการควบคมุ คุณภาพ ตลอดจนได้นำระบบและกลไกดังกล่าวไปดำเนินการและ
ปรากฏผลการดำเนินการเป็นทป่ี ระจกั ษ์ พร้อมท้ังใหข้ ้อเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุงคณุ ภาพใหด้ ยี ่ิงขนึ้
1.1.3 การประเมนิ คุณภาพ (Quality Assessment)
การประเมินคณุ ภาพการศึกษาเป็นกระบวนการตอ่ เนือ่ งจากการตรวจสอบคุณภาพ แต่ทั้งน้จี ะเน้น
การวิเคราะหเ์ ปรียบเทยี บผลการดำเนินงานของมหาวทิ ยาลัย คณะ สถาบัน ศูนย์ สำนัก กอง และโปรแกรมวชิ า กับตัว
บง่ ชคี้ ุณภาพในองค์ประกอบของคณุ ภาพวา่ การดำเนินงานเปน็ ไปตามเกณฑแ์ ละมาตรฐานการศกึ ษาทกี่ ำหนดมากน้อย
เพียงไร โดยจดั เป็นระดับของการบรรลเุ ป้าหมาย
1.2 ระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ดำเนนิ งานประกนั คุณภาพภายในโดยใช้วงจรเดมม่ิง (Deming Cycle) :
PDCA (Plan - Do - Check - Act) ในการควบคุมคุณภาพมาโดยตลอด มขี ั้นตอนการดำเนินงานดงั น้ี
1.2.1 การวางแผน (Plan) มหาวิทยาลัยและทุกหน่วยงาน มีการวางแผนการดำเนินงานที่สอดคล้องกับ
ปรัชญาและวิสัยทัศน์ โดยแผนงานที่กำหนดขึ้นจะต้องสามารถดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายที่มุ่งสู่คุณภาพที่พึง
ประสงคไ์ ด้
1.2.2 การดำเนินงานตามแผน (Do) มหาวิทยาลัยสร้างความตระหนักใหบ้ ุคลากรปฏิบัติตามภารกจิ ทีก่ ำหนดให้
โดยการดำเนินงานตามโครงการและกิจกรรมทก่ี ำหนดไวใ้ นแผน
1.2.3 การตรวจสอบและประเมินผล (Check) เป็นการกำกับ ติดตาม ประเมินการดำเนินงานตามแผนท่ี
วางไว้ หน่วยงานจะต้องวิเคราะห์สภาพการดำเนินงานของตนเองในแต่ละช่วงการดำเนินงาน และเปรียบเทียบผล
การดำเนินงานตามตัวบ่งชี้และเกณฑ์การประเมิน เพื่อตัดสินว่า การดำเนินงานมีคุณภ าพตามที่ต้องการหรือไม่
เพราะเหตุใด
100
ค่มู ือนกั ศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา ภาคการศกึ ษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
1.2.4 การนำผลมาปรับปรุง (Act) เมื่อผ่านขั้นตอนการตรวจสอบแล้วต้องนำผลการประเมินมาปรับปรุง
โดยส่งข้อมูลย้อนกลับไปให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงานของหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อจะได้พบว่าควรปรับปรุง
อย่างไร
ภาพท่ี 1 วงจรเดมมงิ่ (Deming Cycle) : PDCA (Plan - Do - Check - Act)
1.3 กลไกการประกนั คุณภาพการศึกษา
กลไกการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา เปน็ กระบวนการและมาตรการของการควบคมุ ตดิ ตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพของมหาวิทยาลัย มีการประสาน งานแลกเปลี่ยนข้อมูล
ให้คำปรึกษา และให้การสนับสนุนส่งเสริม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมามีกลไกการดำเนินการประกันคุณภาพ
การศึกษาดงั นี้
1.3.1 มีการกำหนดนโยบาย วัตถุประสงค์ และแนวทางในการดำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของ
มหาวิทยาลยั
1.3.2 มีคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย ระดับคณะ สำนัก สถาบัน และศูนย์
โดยใหม้ บี ทบาทหน้าที่และความสมั พันธก์ ับองคก์ รอน่ื ภายในมหาวิทยาลัยตามระบบ ดังภาพท่ี 2
101
บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
สภามหาวทิ ยาลัย
ทำหน้าที่กำหนดปรัชญา วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย กำหนดคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ กำหนดนโยบายการประกัน
คณุ ภาพ ตั้งคณะกรรมการ หนว่ ยงาน หรือผู้รบั ผิดชอบ กำกบั ตดิ ตาม และตรวจสอบคุณภาพ
คณะกรรมการกำหนดนโยบายดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา
ทำหนา้ ท่ีกำหนดนโยบาย กำกบั ติดตาม และให้ขอ้ เสนอแนะในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
หนว่ ยงาน/คณะกรรมการ ทรี่ บั ผดิ ชอบเก่ยี วกบั การประกันคณุ ภาพการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย
ทำหน้าที่จัดองค์ประกอบ ตัวบ่งชี้คุณภาพ กำหนดแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับการประกนั คุณภาพ จัดทำคู่มือการควบคุม
คุณภาพของมหาวิทยาลัย จัดให้มีการเผยแพร่ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา กำหนดมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา
หน่วยงาน/คณะกรรมการ ทรี่ ับผิดชอบเก่ยี วกบั การประกนั คณุ ภาพการศึกษาระดบั คณะ/ สานกั / สถาบนั / ศนู ย์
ทาหน้าท่เี ชน่ เดียวกบั หนา้ ที่ของหน่วยงาน/คณะกรรมการระดบั มหาวิทยาลยั โดยเน้นบทบาทในการ กาหนดแนวทางการประกนั
คุณภาพ จดั ทาคู่มือระดบั หน่วยงาน ศกึ ษาตนเองและตรวจสอบติดตาม
หน่วยงาน/คณะกรรมการระดบั โปรแกรมวิชา
ภาพที่ 2 ระบบและกลไกการควบคุมคุณภาพการศึกษา
1.3.3 จัดต้งั หน่วยงานรับผิดชอบการดำเนนิ งานประกันคุณภาพการศกึ ษา มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
มกี องประกันคณุ ภาพการศึกษา เป็นหนว่ ยงานที่รบั ผิดชอบดำเนินงาน ประสานงานดา้ นการประกนั คุณภาพการศกึ ษา
ของมหาวทิ ยาลัย ทง้ั หน่วยงานภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
1.3.4 จัดทำแผนปฏบิ ตั ิการงานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เพ่ือใหก้ ารดำเนินงานของมหาวิทยาลัยราชภัฏ
นครราชสมี า เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีความสอดคล้องกันของแผนต้ังแต่ระดับคณะ สำนัก สถาบนั และศูนย์
ไปจนถึงระดับมหาวิทยาลยั
1.3.5 จัดทำค่มู ือการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า เพือ่ ใชเ้ ป็นแนวทาง
ในการประกนั คุณภาพการศึกษาให้แก่หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย และมีการปรับปรุงคู่มอื ให้มีความเหมาะสมอยู่
เสมอ
1.3.6 พัฒนาบคุ ลากรของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา โดยการจดั กจิ กรรมต่างๆ เพือ่ พฒั นาบุคลากร
ด้านการประกนั คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง เพื่อใหบ้ คุ ลากรของมหาวทิ ยาลยั ทุกคนมคี วามรู้ความเข้าใจระบบการ
ประกนั คุณภาพการศึกษาและตระหนักในความสำคัญของการประกนั คุณภาพการศกึ ษาทีจ่ ะส่งผลต่อการพัฒนาระบบ
102
คมู่ ือนกั ศึกษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
บริหารจัดการงานของทุกหน่วยงาน ให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น รวมไปถึงการส่งเสริมสนับสนุนให้
บคุ ลากรเข้าร่วมอบรมผู้ตรวจประเมนิ เพ่ือเตรียมบุคลากรรองรบั การประเมินคณุ ภาพการศกึ ษาภายในและภายนอก
1.3.7 จัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านการประกันคณุ ภาพกับนักศึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้นักศึกษานำความรู้
ด้านการประกนั คุณภาพมาใชใ้ นการจดั กจิ กรรม และกำหนดใหม้ ีระบบการติดตาม ประเมนิ ผล และตรวจสอบอย่าง
ตอ่ เน่อื ง
1.3.8 จัดหาและพฒั นาระบบฐานข้อมลู ดา้ นการประกันคุณภาพการศึกษา
1.3.9 ส่งเสริมและสนบั สนนุ ใหม้ ีการปรับปรงุ องค์กรของตนเองเพื่อมุ่งสคู่ วามเป็นเลศิ โดยการจัดทำ Good
Practice
1.3.10 การประเมนิ ตนเอง และการจัดทำรายงานการประเมนิ ตนเอง มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
กำหนดใหท้ กุ หนว่ ยงาน ตั้งแต่ระดับโปรแกรมวิชา กอง คณะ ศูนย์ สำนัก และสถาบนั ทำการประเมนิ ตนเองตามผล
การดำเนินงานในรอบปีที่ผา่ นมา วิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง รวมไปถึงการเสนอแนวทางในการพฒั นา แล้วจัดทำรายงาน
การประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) ส่งให้กับหน่วยงานภายในที่สังกัด และส่งให้มหาวิทยาลัย
เพ่อื รวบรวมและประเมนิ ตนเองในภาพรวมของมหาวทิ ยาลัยต่อไป
1.3.11 การตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาได้ดำเนินใหม้ ีการ
ตรวจสอบ และประเมนิ คุณภาพการศึกษาในระดับคณะ สำนัก สถาบนั และศนู ยอ์ ย่างนอ้ ย ปีการศึกษาละ 1 ครัง้ โดย
คณะกรรมการตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาทผี่ า่ นการฝกึ อบรมหลกั สูตรผู้ประเมนิ ของ สกอ. ซึง่ เปน็ ตัวแทนจากทุก
หน่วยงาน และมีนโยบายส่งเสริมให้คณะกรรมการตรวจประเมินเข้ารับการอบรมหลักสูตรผู้ประเมินของสำนักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา นอกจากนี้ยงั มีนโยบายใหค้ ณะทุกคณะดำเนินการตรวจประเมนิ คุณภาพการศกึ ษาระดบั
โปรแกรมวิชา
1.3.12 การเตรียมการรบั การตรวจประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก เพือ่ การรับรองมาตรฐานการศึกษา
จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) (สมศ.) มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ. จำนวน 2 ครั้ง ซึ่งมหาวิทยาลัยและหน่วยงานภายในได้เตรียมการ
พัฒนาองค์ประกอบและตัวชี้ที่ใช้ในการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของมหาวิทยาลัยให้มีความสอดคล้องกับ
เกณฑ์การประเมนิ ตามมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของ สมศ. สกอ. และ ก.พ.ร. เพื่อใหก้ ารดำเนินงานเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ
พรอ้ มรบั การประเมนิ ภายนอกรอบต่อไป
2. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในของบณั ฑติ วทิ ยาลัย
หน่วยงานในระดับบัณฑิตศึกษา ได้จัดทำประกันคุณภาพภายในและได้นำผลไปใช้ ในการพัฒนาการเรียน
การสอนโดยระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในของบณั ฑิตวทิ ยาลัย มขี ้ันตอนการดำเนนิ งานดังนี้
บณั ฑิตวิทยาลยั ไดด้ ำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน โดยมีขัน้ ตอนการดำเนนิ งานดังน้ี
2.1 ประชุมปฏบิ ัตกิ ารจดั ทำร่างรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) ของบัณฑิตวิทยาลยั และของสาขาวิชา
2.2 ประชุมทีมงาน (คณะทำงาน) ในสำนักงานบัณฑิตวิทยาลัย เพื่อทำความเข้าใจองค์ประกอบตัวบ่งชี้ที่
รบั ผิดชอบการจัดเตรยี มเอกสารหลักฐานเพอื่ รองรบั การประเมนิ
2.3 เขียนรายงานประเมนิ ตนเองส่งคณะกรรมการตรวจเยย่ี มการประกนั คณุ ภาพของ มหาวิทยาลยั เพอื่ พิจารณา
การรบั รองและใหข้ ้อเสนอแนะ
2.4 คณะกรรมการประกันคณุ ภาพการศึกษาของหนว่ ยงานปรับแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ
103
บณั ฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
2.5 เข้าร่วมการตรวจประเมินการประกนั คณุ ภาพในระดบั สาขาวชิ าและระดบั บณั ฑติ วทิ ยาลยั
2.6. จดั ทำรายงานการประเมินตนเองฉบบั สมบรู ณ์
2.7 คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาของหนว่ ยงาน ปรับแก้ไขรายงานตามขอ้ เสนอแนะ
2.8 จัดทำรายงานการประเมนิ ตนเองฉบบั สมบูรณ์ สง่ มหาวิทยาลัย
3. การดำเนนิ งานท่โี ดดเด่นเป็นทป่ี ระจกั ษต์ อ่ บคุ คลภายในและภายนอก/นวตั กรรม/แนวปฏบิ ัติที่ดี
ของหนว่ ยงาน
3.1 ดา้ นวชิ าการ
การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หลากหลายสาขาวิชา ที่สอดคล้องกับความต้องการของบุคลากร
ในท้องถิ่นและมีโครงการความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกในการจัดการศึกษาเพื่อขยายและสร้างโอกาสทาง
การศกึ ษาในระดับสูงแก่ทุกกลมุ่ เป้าหมายตามความต้องการของท้องถน่ิ
หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาที่เปิดสอนมีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่องซึ่งนักศึกษา ในระดับ
บัณฑิตศึกษา ได้เรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติจากคณาจารย์ที่มีคุณวุฒิตามเกณฑ์มาตรฐานของสำนักงาน
คณะกรรมการการอดุ มศกึ ษา ทง้ั ท่เี ป็นคณาจารยป์ ระจำและอาจารยพ์ เิ ศษซงึ่ เป็นผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ีม่ ีความเชยี่ วชาญ
3.2 ด้านวจิ ยั
มหาบัณฑิตท่ีสำเร็จการศึกษาตอ้ งผา่ นการทำวิจัยสำหรับวิทยานิพนธ์ เพ่อื ประกอบการสำเร็จการศึกษาซึ่ง
ตอ้ งมีคุณภาพการศกึ ษาผ่านเกณฑ์การประเมนิ และการเผยแพรว่ ิทยานิพนธ์ในรูปเอกสารวชิ าการ
3.3 ดา้ นการบรกิ ารวิชาการแกช่ ุมชน
หลักสูตรที่เปิดสอนในระดับบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท และปริญญาเอกเน้นสาขาวิชาที่ชุมชนท้องถ่ิน
ตอ้ งการและเน้นการแก้ปัญหาด้วยการทำวิจยั เพื่อพฒั นางานในหนว่ ยงานหรอื ความต้องการของหนว่ ยงาน เป็นเคร่ืองมือ
ในการแกไ้ ขปัญหาให้กับชุมชนในพืน้ ทแี่ ละเปน็ ประโยชนต์ ่อสังคม
3.4 ดา้ นการพัฒนาสถาบนั และบุคลากร
บคุ ลากรสายผู้สอนและควบคุมวิทยานพิ นธ์เป็นผูม้ ีความรู้ความสามารถ ซ่งึ ผา่ นการเรยี นในระดับสูง และ
เข้ารบั การอบรมท้งั ในประเทศและต่างประเทศ
3.5 นวัตกรรมและแนวปฏบิ ตั ิท่ีดี
3.5.1 นวตั กรรม
มีการผลิตนวัตกรรมซึ่งเป็นผลผลติ จากงานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาหลากหลายสาขา
ทง้ั ในสายการศึกษา สังคมศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
3.5.2 แนวปฏิบัติท่ีดี
โครงการการปรับปรุงและพัฒนามาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ทุกหลักสูตรซึ่งสอดคล้องกับตัวบ่งชี้ที่ 2.6 ระบบและกลไกการ
จดั การเรียนการสอน
บัณฑิตวิทยาลัยได้มีการจัดทำแผนการพัฒนามาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาและดำเนินการตาม
แผนปฏิบตั ิการ โดยการมีส่วนรว่ มของบคุ ลากรภายในหนว่ ยงานบัณฑติ วทิ ยาลยั หนว่ ยงานอืน่ ๆ ภายในมหาวทิ ยาลัย
ผ้เู ชยี่ วชาญสาขาต่าง ๆ จากชุมชน หนว่ ยงานภายนอกมหาวิทยาลัยและผ้มู ีส่วนเก่ยี วขอ้ งอนื่ ๆ ซงึ่ สอดคล้องกับความ
104
คมู่ ือนกั ศึกษาระดบั บณั ฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
ต้องการของหน่วยงานชุมชนท้องถิ่นเพื่อให้หลกั สูตรระดับบณั ฑิตศึกษามีความทันสมยั และได้มาตรฐานตามเกณฑ์
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
4. บทบาทนักศกึ ษากบั การประกนั คุณภาพการศกึ ษา
4.1 การประกนั คุณภาพการศกึ ษาคอื อะไร
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance : QA) เป็นระบบในการสร้างความมั่นใจในเรื่อง
คุณภาพการศึกษาให้แก่นักศึกษา ผู้ปกครอง และสังคม โดยระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเกิดขึ้นตาม
พระราชบญั ญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 ซึ่งกำหนดให้สถาบันการศึกษาทกุ
ระดับต้องดำเนินการให้มีระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยถือเป็นส่วนหนึ่งในระบบบริหารการศึกษา โดยการ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษาแบง่ ออกเปน็
4.1.1 การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน มีสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เป็น
หนว่ ยงานท่ีกำกับดูแล และพฒั นาองค์ประกอบ ตวั บง่ ชี้ และเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพ โดยคณะวิชาจะต้องดำเนินการ
ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในเป็นประจำทุกปี
4.1.2 การประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายนอก มีสำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา
(องค์การมหาชน) (สมศ.) เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแล และพัฒนาตัวบ่งชี้คุณภาพ และจะดำเนินการประเมินคุณภาพ
การศกึ ษาทกุ ๆ 5 ปี
นกั ศกึ ษาน้ันนบั เป็นผูท้ ไ่ี ด้รบั ประโยชน์โดยตรงจากระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เพราะหาก
ระบบการดำเนนิ การของสถาบันการศึกษามีประสทิ ธภิ าพมากข้ึนเท่าไร นักศกึ ษาซง่ึ เป็นผู้รับบริการดา้ นการศึกษาจาก
สถาบันการศึกษาก็จะได้รับประโยชน์มากขึ้นเท่านั้น นอกจากนี้ หากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของ
สถาบนั การศกึ ษาอยใู่ นระดบั สงู มากเทา่ ไร บรษิ ัท องค์กร และหน่วยงานภายนอกกจ็ ะใหก้ ารยอมรับมากข้นึ เช่นกัน
4.2 บทบาทการมสี ว่ นรว่ มของนักศึกษา
นักศกึ ษาระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา สามารถมสี ่วนร่วมในกระบวนการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษาได้ดงั ต่อไปนี้
4.2.1 การศึกษา ตดิ ตาม รับร้กู ารดำเนนิ งานด้านการประกนั คุณภาพการศึกษาของมหาวทิ ยาลยั และของ
คณะวิชาท้ังในภาพรวมและในองคป์ ระกอบท่เี กยี่ วขอ้ งกบั นกั ศึกษาโดยตรงไดแ้ ก่ องคป์ ระกอบด้านการเรียนการสอน
องค์ประกอบดา้ นกจิ กรรมพัฒนานกั ศกึ ษา
4.2.2 การให้ความร่วมมือและให้ข้อมลู ย้อนกลับในส่วนทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการประเมินการดำเนินงานด้านการ
ประกันคุณภาพการศึกษาซึ่งสถาบันการศึกษาเป็นผู้ดำเนินการ เชน่ การประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์
การให้ขอ้ มูลกบั คณะกรรมการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษาภายใน การประเมนิ ผลการดำเนนิ งานในกจิ กรรมตา่ งๆ เป็น
ต้น การให้ข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจรงิ มากที่สุดจะเป็นประโยชน์ในการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้พัฒนาการดำเนนิ งาน
ดา้ นการประกันคุณภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
4.2.3 การเผยแพร่และเชิญชวนให้นักศึกษาคนอื่นให้ความสนใจและให้ความสำคัญกับการดำเนินการ
ด้านการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั
4.2.4 การสร้างเครือขา่ ยกับเพอ่ื นนกั ศึกษาทงั้ ภายในสถาบนั การศกึ ษาและระหว่างมหาวทิ ยาลยั เพ่อื ดำเนินการ
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของนักศกึ ษาและกจิ กรรมนักศกึ ษา
105
บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
4.2.5 การรว่ มกันกำหนดเพอื่ สรา้ งให้เกดิ มาตรฐานของการจัดโครงการ/กจิ กรรมนักศึกษา ในมหาวทิ ยาลยั
ของตน เพือ่ ให้นักศกึ ษาไดร้ บั โอกาสในการพัฒนาที่มปี ระสิทธิภาพสูงขนึ้
4.3 ประเภทของกจิ กรรมนักศึกษาตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
กจิ กรรมนกั ศึกษาทีร่ ะบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาสง่ เสรมิ ให้มกี ารดำเนนิ การ แบ่งออกเป็น
5 ประเภท ดงั น้ี
4.3.1 กิจกรรมวิชาการที่สง่ เสรมิ คุณลกั ษณะบณั ฑติ ที่พึงประสงค์
4.3.2 กิจกรรมกีฬาหรอื การส่งเสรมิ สุขภาพ
4.3.3 กิจกรรมบำเพญ็ ประโยชนห์ รือรักษาสิง่ แวดลอ้ ม
4.3.4 กจิ กรรมเสริมสรา้ งคณุ ธรรมและจริยธรรม
4.3.5 กจิ กรรมสง่ เสริมศลิ ปะและวัฒนธรรม
4.3.6 กิจกรรมตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี (3D) ของรฐั บาล ซ่ึงกำหนดกจิ กรรมเอาไว้ 3 ประเภท ได้แก่
(1) กิจกรรมดา้ นการสง่ เสริมประชาธิปไตย
(2) กจิ กรรมดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม
(3) กิจกรรมดา้ นการสร้างภมู คิ ุ้มกนั ภัยจากยาเสพติด
หมายเหตุ : ท้งั นี้ นกั ศกึ ษาสามารถท่ีจะนำกจิ กรรมทัง้ 3 ขอ้ ตามตามนโยบายสถานศึกษา 3 ดี บรู ณาการ
หรือผสมผสานเขา้ กับการจดั กจิ กรรม 5 ประเภท ตามระบบประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาไดด้ ว้ ย
การจัดกิจกรรมของนกั ศกึ ษาทุกกิจกรรมต้องจดั ทำขอ้ เสนอโครงการให้ผู้รับผิดชอบอนุมัติ (อาจารย์ท่ปี รกึ ษา
ฝ่ายกิจการนักศึกษาของสาขาวิชา หรือฝ่ายพัฒนาบัณฑิตของบัณฑิตวิทยาลัย) โดยในโครงการควรต้องมีคำอธิบาย
เก่ียวกบั ระบบประกันคุณภาพทใ่ี ช้ในการจดั กิจกรรม ประกอบดว้ ยสาระสำคัญ ได้แก่
- วตั ถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม
- ตัวบ่งชีค้ วามสำเรจ็ ของกจิ กรรมทจี่ ดั
- ลักษณะของกิจกรรม
- กลมุ่ เปา้ หมาย
- วธิ ีการประเมนิ ผลความสำเร็จของการจัดกิจกรรม
ทั้งน้ี เม่อื มีการดำเนนิ การโครงการ/กจิ กรรมเสรจ็ สิ้นแล้วตอ้ งมีการติดตามประเมินผลการดำเนนิ งาน
ของกิจกรรม และนำผลการประเมนิ โครงการ/กจิ กรรมทีไ่ ด้ดำเนนิ การไปก่อนหนา้ นี้มาใชป้ ระกอบการจดั ทำโครงการ/
กิจกรรมใหม่
4.4 ทกั ษะทีจ่ ำเปน็ สำหรับนักศึกษาในการดำเนินการประกนั คณุ ภาพการศึกษา
ทักษะสำคัญและจำเป็นสำหรับการดำเนินการด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของนักศึกษา ได้แก่
กระบวนการ PDCA ซ่ึงไดร้ ับการเผยแพรใ่ หเ้ ปน็ ท่ีรูจ้ ักกันอยา่ งแพรห่ ลายต้งั แต่ชว่ งทศวรรษที่ 1950 โดยศาสตราจารย์
ดับบลิว เอ็ดวาร์ด เดมมิ่ง (W. Edwards Deming) ผู้เชี่ยวชาญด้านการบรหิ ารคุณภาพ ทำให้กระบวนการ PDCA ได้รับ
การเรยี กชอื่ อีกอยา่ งหนึ่งว่า “วงจรเดมมิ่ง” กระบวนการ PDCA นี้นอกจากจะใช้สำหรับการจัดกิจกรรมนักศึกษาแล้ว
ยงั สามารถนำไปใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั และใช้กับการทำงานในอนาคตภายหลังจากนักศึกษาสำเรจ็ การศกึ ษา เพ่ือพฒั นา
ชีวิตและการทำงานใหม้ ีประสิทธิสูงขน้ึ ได้อีกดว้ ย กระบวนการ PDCA ประกอบดว้ ยหลกั การสำคัญทง้ั 4 ได้แก่
106
คูม่ ือนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑติ ศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
4.1 ขั้นตอนการวางแผน (Plan)
การวางแผนเป็นขั้นตอนเริ่มต้นในการดำเนินกิจกรรม/โครงการต่างๆ และนับเป็นขึ้นตอนที่มี
ความสำคญั อยา่ งยิง่ เนื่องจาก หากการวางแผนเกิดความผิดพลาดแล้วการดำเนนิ งานในขน้ั ตอนต่อๆไปก็จะเกิดความ
ยากลำบากและก่อให้เกิดปัญหาทตี่ ้องแกไ้ ขตามมามากมาย รวมทง้ั อาจกอ่ ให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ การดำเนนิ กิจกรรม/
โครงการท้ังหมดอีกด้วยสง่ิ สำคัญทต่ี ้องพจิ ารณาในการดำเนนิ การวางแผน ไดแ้ ก่
4.1.1 การกำหนดหลกั การและเหตผุ ล วัตถปุ ระสงค์ และผลลพั ธท์ ต่ี ้องการของกจิ กรรม/โครงการ
ตอ้ งมีความชดั เจน
4.1.2 มีการกำหนดเปา้ หมายของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ ท่ีชัดเจนสามารถวัดได้ ท้งั นี้
เป้าหมายหรอื ตวั ชีว้ ดั ความสำเร็จน้ัน อาจแบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท ใหญๆ่ ไดแ้ ก่ ตวั ช้ีวัดเชงิ ปริมาณ และตัวชวี้ ัดเชิง
คณุ ภาพ (สำหรบั ตัวชี้วัดแบบอนื่ ๆ นนั้ กเ็ ป็นหวั ขอ้ ย่อยไปจากตวั ช้วี ัด 2 ประเภทใหญน่ ี้)
4.1.3 มีการกำหนดวธิ ีการดำเนนิ งานอยา่ งเปน็ ระบบเพ่อื บรรลเุ ปา้ หมายทกี่ ำหนดเอาไว้ โดย
ประเดน็ สำคัญทต่ี อ้ งคดิ พจิ ารณาในการวางแผนการดำเนินงานคือการกำหนดตามหลกั 5 W 1 H ไดแ้ ก่
1) What (จะดำเนนิ การอะไร)
2) Where (จะดำเนินการท่ีไหน)
3) When (จะดำเนินการเมื่อไร)
4) Who (จะดำเนินการโดยใคร)
5) Why (จะดำเนนิ การไปทำไม)
6) How (จะดำเนนิ การไปทำไม)
4.1.4 ประเภทของแผนงาน
1) แผนงานตามระยะเวลา
2) แผนงานตามความรบั ผิดชอบ ไดแ้ ก่
- แผนงานส่วนบคุ คล
- แผนงานขององค์กรหรือหน่วยงาน
4.1.5 แผนงานตามลักษณะการใชง้ าน ได้แก่
1) แผนงานหลัก (Master Plan) เป็นแผนงานขององค์กร ได้กำหนดเป้าหมายนโยบาย
วัตถปุ ระสงค์ขององค์กร ทุกหน่วยงานต้องทำตามและเขียนแนวทางการดำเนินงานโดยรวมขององค์กร โดยมไิ ดก้ ำหนด
วิธีการทำงาน
2) แผนปฏบิ ตั ิการ (Action Plan) เปน็ แผนปฏิบตั ิงานเฉพาะสว่ นเฉพาะงาน หรือเฉพาะกิจ
ทีเ่ ขียนขึ้นเพ่ือเสริมให้หนว่ ยงานบรรลุเป้าหมายของแผนงานหลักหรือขององค์กรแผนปฏิบัติการจะมีรายละเอียดมาก
ทีส่ ดุ เพราะเปน็ แนวทางการดำเนินงานสูเ่ ปา้ หมาย
3) แผนกลยทุ ธ์ (Strategic Plan) เปน็ แผนปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ขียนข้นึ อย่างเรง่ ด่วนเพื่อแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นโดยมิได้คาดหมาย เนื่องจากเกดิ การเปลี่ยนแปลงหรือมีเหตกุ ารณ์แทรกซ้อนทำให้ผลงานหรอื คุณภาพลดลง
หากไมท่ ำการแกไ้ ข
4) แผนปรับปรงุ งาน เป็นการวางแผนอย่างตอ่ เน่ืองจากการปรับปรงุ งานตามแผนงานหลัก
แลว้ พบปญั หาหรือข้อบกพร่อง
107
บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
4.2 ข้นั ตอนการลงมือปฏบิ ัติ (Do)
การลงมอื ปฏบิ ตั ิตามกจิ กรรม/โครงการทก่ี ำหนดเอาไว้นับเปน็ เน้อื หาสาระของการทำกจิ กรรม/
โครงการ ดงั นัน้ ในการลงมือปฏบิ ตั ิตอ้ งคำนงึ ถึงประเดน็ ตา่ งๆเหล่านีใ้ หด้ ี
4.2.1 ทำการศึกษาแผนการดำเนนิ งานท่ีวางเอาไว้ใหแ้ จ่มแจง้ เพ่อื ให้เขา้ ใจวิธกี ารดำเนนิ งานในแต่
ละข้ันตอนและสามารถปฏบิ ตั ิได้อยา่ งถูกต้องตามวตั ถุประสงคท์ ไ่ี ด้ตัง้ ใจเอาไว้
4.2.2 ลงมือปฏิบตั ิตามวิธีการที่กำหนดเอาไวไ้ มล่ ะเลยหรอื ดำเนินงานขา้ มข้ันตอน
4.2.3 ระหวา่ งดำเนินการกค็ วรท่ีจะจัดเก็บขอ้ มูลคณุ ลกั ษณะคุณภาพตามวธิ ีการท่กี ำหนดไว้
4.3 ขน้ั ตอนการตรวจสอบผลการปฏบิ ตั ิงาน (Check)
ข้ันตอนนี้เป็นการตรวจสอบความก้าวหน้าของการดำเนินกิจกรรม/โครงการ รวมทัง้ ประเมินผล
ความสำเร็จของการปฏิบตั ิงานตามแผนงาน กิจกรรม/โครงการท่กี ำหนดเอาไว้ ท้งั นเี้ พือ่
4.3.1 ตรวจสอบวา่ งานที่ไดเ้ ป็นไปตามมาตรฐาน เปา้ หมายทก่ี ำหนดเอาไวห้ รือไม่
4.3.2 ตรวจสอบวา่ เกดิ ปัญหาและอุปสรรค หรอื มีแนวทางการดำเนินงานทด่ี อี ยา่ งไรบ้าง
4.4 ขน้ั ตอนการปรับปรุงแก้ไข/พฒั นา (Act)
ขน้ั ตอนนีน้ ับเปน็ ขนั้ ตอนสุดท้ายของกระบวนการ PDCA และเป็นการก่อกำเนิดข้ึนตอนแรก คือ
การวางแผนการดำเนนิ กิจกรรม/โครงการในครง้ั ต่อไป ขัน้ ตอนนี้ คอื การปรับปรงุ แก้ไข/พัฒนา
ขั้นตอนนี้เป็นการนำผลจากการตรวจสอบหรือประเมินผลการปฏิบัติงานตามกิจกรรม /โครงการ
มาพิจารณาว่ามีปัญหาและอุปสรรคเกิดขึ้นทีจ่ ุดใดของการดำเนินการบ้าง มีข้อบกพร่องอะไรบ้าง ผลงานที่ออกมา
ตรงตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่กำหนดเอาไว้หรือไม่ สามารถทำตามแผนการที่วางไว้ได้ครบถ้วนหรือไม่ ทั้งนี้
เพ่อื เปน็ ข้อพจิ ารณาสำหรับการจดั ทำกจิ กรรม/โครงการในครัง้ ต่อไป เพือ่ ไม่ใหเ้ กดิ ปัญหาซ้ำรอยเดมิ อกี
การแกไ้ ขปญั หาต้องแก้ไขท่สี าเหตุ ดงั น้นั ถ้าพบความผิดปกติใดๆ ขน้ึ ในการดำเนินกิจกรรม/โครงการ
จะต้องสอบสวน ค้นหาสาเหตุ แล้วทำการหาทางแก้ไขปัญหา นับเป็นการพัฒนาหรือปรับปรุงระบบ/วิธีการทำงาน
นั้นๆ ให้มปี ระสทิ ธิภาพมากขึ้นเป็นลำดบั
108
ตอนท่ี 7
ขอ้ มูลการตพี มิ พ์เผยแพรบ่ ทความวจิ ยั
บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
วารสารราชพฤกษ์
วารสารราชพฤกษ์เปน็ วารสารระดับบณั ฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ซึ่งเป็นวารสาร
พิมพ์เผยแพร่ผลงานทางวิชาการของคณาจารย์ นักศึกษาระดับบณั ฑิตศึกษาท้ังในและนอกสถาบัน และเป็น
แหล่งแลกเปลี่ยนข่าวสารข้อมูล ประสบการณ์ และผลงานของบุคลากรในสถาบันการศึกษา โดยกำหนด
เผยแพร่ปีละ 3 ฉบบั คอื
ฉบบั ที่ 1 เดือนมกราคม-เมษายน
ฉบบั ที่ 2 เดอื นพฤษภาคม-สงิ หาคม
ฉบบั ท่ี 3 เดือนกนั ยายน-ธนั วาคม
เกณฑ์การตพี มิ พ์
1. บทความท่สี ง่ มาเพือ่ เผยแพร่ ต้องเป็นบทความใหม่ทีอ่ ยูใ่ นสาขาวชิ า 3 สาขาวชิ า เท่านนั้ คือ
สาขาวิชาครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์/จิตวิทยา สาขาวิชาสังคมวิทยา และสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ
โดยไม่เคยพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร รายงาน หรือสิ่งพิมพ์อ่ืนใดมาก่อน และไม่อยู่ระหว่างการพิจารณาของ
วารสารอื่น ทุกบทความที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารนี้ ต้องผ่านการตรวจสอบจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขา
ท่ีเก่ียวข้องกบั บทความท่ไี ด้รบั การตีพิมพ์ ผู้เขยี นจะไดร้ บั วารสารฯ จำนวน 2 ฉบบั
2. ผลงานวิชาการ ที่รับพิจารณาตีพิมพ์ ต้องพิมพ์ดว้ ยกระดาษขนาด A4 หน้าเดียว เว้นขอบซา้ ย
และดา้ นบน 1.5 นวิ้ (4 ซม.) เวน้ ขอบขวาและด้านล่าง 1 น้วิ (2.5 ซม.) อกั ษร Cordia New ขนาด 16 point
ความยาวประมาณ 8-10 หน้า (กรณีที่ไม่เป็นไปตามที่กำหนดกองบรรณาธิการจะไม่รับพิจารณา) โดยมี
สว่ นประกอบดังน้ี
110
ค่มู ือนกั ศกึ ษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
3. บทความท่ีเป็นบทความวจิ ยั ตอ้ งมีองคป์ ระกอบเรยี งตามลำดับ ดังนี้
3.1 ชือ่ เร่อื ง (Title) ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
3.2 ช่อื ผแู้ ต่ง (Authors) ทกุ คน พร้อมระบสุ ถาบนั การศึกษา/หนว่ ยงาน
ท้งั ภาษาไทย และภาษาองั กฤษ
3.3 บทคัดย่อ (Abstract) ทั้งภาษาอังกฤษและภาษาไทยความยาวประมาณ 300 คำ และ
ให้จัดโครงสร้างบทความวิจัย ดังนี้ คือ บทคัดย่อภาษาอังกฤษ และภาษาไทย โดยในแต่ละตอนของ
บทคดั ย่อทัง้ ภาษาองั กฤษ และภาษาไทย ตอ้ งมีคำสำคัญ (Keywords) ประมาณ 3-5 คำ
3.4 ส่วนเนื้อหา ประกอบด้วยบทนำ (ครอบคลุมความสำคัญ และที่มาของปัญหาการวิจัย)
วัตถุประสงค์ กรอบแนวคิดในการวิจัย วิธีดำเนินการวิจัย (ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้
ในการเก็บรวบรวมขอ้ มูล/ทดลอง วิธดี ำเนนิ การวจิ ยั /ทดลอง) สรปุ ผลการวิจัย อภปิ รายผล ข้อเสนอแนะใน
การนำงานวจิ ยั ไปใช้ และเอกสารอ้างอิง
3.5 การอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลในเนื้อเรื่อง กองบรรณาธิการได้มีการปรับเปลี่ยนรูป
แบบการอ้างองิ เพ่ือให้มี ความเป็นสากลมากขึ้น จากเดิมการอ้างอิงในสว่ นเนื้อเรื่องแบบ นาม-ปี (author-
date in-text citation) ใหเ้ ปลีย่ นการอ้างองิ รายการเอกสารอ้างองิ ใช้ตามรูปแบบ APA โดยรวบรวมรายการ
เอกสารทั้งหมดที่ผู้เขียนใช้อ้างอิงที่ปรากฏเฉพาะในบทความเท่านั้น และจัดเรียงรายการตามลำดับอักษรชือ่
ผแู้ ต่ง
3.6 หากรูปแบบการพิมพ์ไม่เป็นตามกำหนดข้อ 3.1-3.5 กองบรรณาธิการจะไม่รับลงตีพิมพ์
ในวารสาร
3.7 ผู้บทความวิจัยต้องมีคำรับรองว่าบทความของตนไม่เคยตีพิมพ์ในวารสาร รายงาน หรือ
สิง่ พมิ พ์อนื่ ใดมาก่อน และไมอ่ ยู่ระหวา่ งการพิจารณาของวารสารอ่นื
111
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
การตดิ ต่อสอบถามในการจดั ส่งบทความ
กองบรรณาธกิ ารวารสารราชพฤกษ์ บัณฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า อำเภอเมอื ง
จงั หวดั นครราชสีมา 30000 โทรศพั ท/์ โทรสาร 0-4427-2827 ตอ่ 14
ผสู้ นใจสง่ บทความสามารถลงทะเบียนสง่ บทความไดท้ ี่ https://www.tci-thaijo.org/index.php/
Ratchaphruekjournal
“บทความและข้อความทลี่ งตพี มิ พ์ในวารสารเปน็ ความคดิ เห็นส่วนตวั ของผู้เขยี น กองบรรณาธิการ
ไมจ่ ำเปน็ ต้องเหน็ ดว้ ยเสมอไป ในกรณีท่ีมีการลอกเลยี นหรอื แอบอ้างโดยปราศจากการอ้างอิงหรือทำใหเ้ ข้าใจผดิ วา่ เป็น
ผลงานของผเู้ ขยี น กรุณาแจง้ ใหท้ างกองบรรณาธกิ ารทราบด้วยจะเปน็ พระคุณยง่ิ ”
112
คู่มือนกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศกึ ษา 2563
การอา้ งองิ แหล่งทีม่ าของข้อมลู ในเนอื้ เรือ่ ง และในรายการอา้ งองิ ใหใ้ ช้ตามรปู แบบ
APA Style (American Psychological Association)
1. การอ้างอิงในเนอ้ื หา
1.1 การอา้ งอิงในเนือ้ หาหน้าขอ้ ความ
ตวั อยา่ ง
นงลักษณ์ วริ ชั ชัย. (2545).
นงลกั ษณ์ วริ ัชชัย, ดรณุ ี รักษ์พทุ ธ และสวุ มิ ล ว่องวาณชิ . (2544).
นงลักษณ์ วริ ชั ชัย และสุวิมล วอ่ งวาณชิ . (2545).
Hoban, J. P. (2001).
Hoban, J. P. & Sydie, R. A. (1989).
Hoban, J. P., Yadin, D. & Tabory, M. (1999).
1.2 การอ้างองิ ในเน้ือหาทา้ ยขอ้ ความ
ตวั อย่าง
(ทรรศนะ ใจชุ่มชื่น, 2543)
(ประภสั สร พูลโรจน์, 2543)
(อมร รักษาสัตย,์ 2544, น. 39-45)
(Poole, 2002, pp. 278-279)
2. การลงรายการอา้ งองิ หรอื บรรณานกุ รม
2.1 หนงั สือ
ตวั อย่าง
จมุ พต สายสนุ ทร. (2552). กฎหมายระหว่างประเทศ (พิมพค์ รงั้ ท่ี 8 แกไ้ ข เพ่ิมเติม). กรุงเทพฯ:
วิญญชู น.
Harris, M. B. (1995). Basic statistics for behavioral science research. Boston:
m Allyn and Bacon.
ปยิ ะ นากสงค์ และพันธุร์ วี วรสทิ ธิกุล. (2545). ดูหนงั ฟังเพลงเล่นเกมรอ้ ง คาราโอเกะ.
กรงุ เทพฯ: ซคั เซส มีเดีย.
Magee, J. & Kramer, J. (2006). Concurrency state models & java programs.
West Sussex, UK: John Wiley
Magee, J. & Kramer, J. (2006). Concurrency state models & java programs.
West Sussex, UK: John Wiley.
113
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
สภุ มาส องั ศโุ ชต,ิ สมถวลิ วิจติ รวรรณา และรชั ชะนีกูล ภิญโญภานวุ ฒั น.์ (2551). สถติ วิ ิเคราะห์
สำหรบั การวิจยั ทางสังคมศาสตร์และ พฤตกิ รรมศาสตร:์ เทคนิคการใชโ้ ปรแกรม LISREL.
กรุงเทพฯ: มสิ ชน่ั มีเดีย.
2.2 หนังสอื อา้ งอิง
ตัวอย่าง
พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: นานมีบ๊คุ ส.์
วงศ์ วรรธนพเิ ชฐ. (2548). พจนานุกรมตัวอย่าง ประโยค วลี ภาษาอังกฤษ พรอ้ มคำแปล.
กรงุ เทพฯ: ไทยเวย์ส พับลิเคชัน่ .
สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. (2548). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทย สำหรบั เยาวชนโดย
พระราชประสงคใ์ นพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว.
Encyclopedia of software engineering. (1994). New York: John Wiley & Sons.
Webster’s New World Dictionary of computer terms. (1998). New York: Wester’s
New World.
2.3 วารสาร
ตวั อยา่ ง
ลำดวน เทียรฆนิธิกลุ . (2552). เสน้ ทางเสดจ็ เย่ยี มราชสำนกั ต่างประเทศ ของพระบาทสมเด็จพระ
มงกฎุ เกล้าเจา้ อยหู่ ัว ปี พ.ศ. 2443-2444 (ร.ศ. 119-120). วชิราวุธานสุ รณ์สาร, 28(4), น.
29-39.
ปิยะวิทย์ ทิพรส. (2553). การจดั การป้องกันและลดสารให้กล่ินโคลน
Geosmin ในผลิตภณั ฑแ์ ปรรูปสัตวน์ ำ้ . วารสารสุทธิปรทิ ัศน์,
24(72), น. 103-119.
Siriwongworawat, S. (2003). Use of ICT in Thai libraries: An overview.
Program: Electronic Library and Information Systems, 37(1),
pp. 38-43.
Tandra, R., Sahai, A. & Veeravalli, V. (2011, March). Unified space-time metrics to
evaluate spectrum sensing. IEEE Communications Magazine, 49(3),
pp. 54-61.
2.4 รายงานการวจิ ัย
ตัวอย่าง
ธนิดา ผาติเสนะ. (2555). การพัฒนารปู แบบการเรยี นการสอนเพ่อื พัฒนา การคิดเชงิ ระบบของ
นกั ศึกษาหลกั สูตรสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาบัณฑติ สาขาการพฒั นาสขุ ภาพชุมชน (รายงาน
ผลการวจิ ยั ). นครราชสีมา: มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า.
114
คมู่ อื นกั ศกึ ษาระดบั บัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
กติ ิพงษ์ ลอื นาม. (2553). การพัฒนารปู แบบการสอนสอดแทรกความรู้ ด้านจรยิ ธรรมเน้นการ
จดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการ เรื่อง การทดสอบสมมตุ ิฐาน : รูปแบบผสานระเบียบ
วธิ ี (รายงานผลการวิจัย). นครราชสมี า: มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา.
Chitnomrath, T. (2011). A Study of factors regarding firm characteristics
that affect financing decisions of public companies listed on the stock
exchange of Thailand (Research report). Bangkok: Dhurakij Pundit University.
2.5 เอกสารการประชมุ วิชาการ (Meetings, Symposia)
ตวั อย่าง
ชัชพล มงคลิก. (2552). การประยุกตใ์ ชก้ ระบวนการลำดับชั้น เชิงวิเคราะห์ในการจัดตาราง
การผลิตแบบพหเุ กณฑ:์ กรณีศกึ ษาโรงงานอตุ สาหกรรมผลติ ยา. ใน การประชุม
วชิ าการ การบริหารและการจัดการ คร้งั ที่ 5 (น. 46). กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลยั ธุรกจิ
บณั ฑติ ย์.
ธมนวรรณ กัญญาหัตถ์ และศรัณยพงศ์ เทีย่ งธรรม. (2554). ความพึงพอใจของผบู้ รโิ ภค
ในเขตกรงุ เทพมหานครทม่ี ตี ่อ ประโยชนข์ องสมารท์ โฟน. ใน ชนญั ชี ภังคานนท์
(บ.ก.), กระบวนทศั น์มหาวทิ ยาลยั ไทยบนความท้าทายของเอเชีย ปาซิฟิก (น. 119-
121). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยกรงุ เทพ.
Krongteaw, C,. Messner, K., Hinterstoisser, B. & Fackler, K. (2010).
Lignocellulosic structural changes after physic-chemical pretreatment
monitored by near in infrared spectroscopy. In S. Saranwong, S.
Kasemsumran, W. Thanapase & P. Williams (Eds.), Near infrared
spectroscopy: Proceedings of the 14th International Conference
(pp. 193-198). West Sussex, UK: IMP.
พนิดา ไพรนาร.ี (มนี าคม 2554). การจัดการวิสาหกจิ ชุมชนในจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์.
การประชมุ วิชาการมหาวิทยาลยั กรงุ เทพ, กรงุ เทพฯ.
Phadungath, C. & Metzger, L. E. (2006, July). Effect of sodium gluconate on
the solubility of calcium lactate. ADSA-ASAS Joint Annual Meeting.
Minneapolis, MN.
2.6 วิทยานิพนธ์
ตวั อยา่ ง
สมหญงิ ชชู ่ืน. (2559). การสงั เคราะห์อนพุ ันธ์ของแนพโทควโิ นน (วิทยานิพนธ์มหาบณั ฑิต,
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า).
115
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
วนั ชนะ กล่ันพรมสุวรรณ. (2554). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธผิ ล
การบริหารการฝกึ นักศกึ ษาวชิ าทหารในกองทัพบกไทย (วิทยานพิ นธ์ดุษฎบี ัณฑติ ,
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา).
Nickels, D. W. (2005). The relationship between IT-business alignment and
organizational culture: An exploratory study (Doctoral dissertation,
University of Memphis).
2.7 หนงั สือพมิ พ์
ตัวอยา่ ง
พนิดา สงวนเสรีวานิช. (24 เมษายน 2554). พระปลดั สุชาติ สวุ ัฑฺฒโก ปกาเกอะญอ
นกั พฒั นา. มตชิ น, น. 17-18.
รงั สรรค์ ศรวี รศาสตร์. (28-29 เมษายน 2554). มารู้จัก DRG. สยามรัฐ, น. 16.
2.8 เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์
ตัวอยา่ ง
สุรชัย เล้ยี งบุญเลิศชยั . (2554). จัดระเบียบสำนกั งานทนายความ. สบื คน้ เม่อื
21 มิถุนายน 2554, จาก http://www.lawyerscouncil.or.th/
2011/index.php?name=knowledge
CNN Wire Staff. (2011). How U.S. forces killed Osama Bin Laden.
Retrieved May 3, 2011, from http://www.cnn.com/2011/
WORLD/asiapcf/05/02/bin.laden.raid/index.html
2.9 วารสารอิเล็กทรอนิกส์
ตวั อยา่ ง
บงการ หอมนาน. (2551). เทคโนโลยกี ับการควบคมุ ดว้ ยตรรกะฟัซซี ตามขัน้ ตอน
และฟงั ก์ช่ันสมาชกิ . ไมโครคอมพิวเตอร์, 26(271), น. 153-156. สืบคน้ เม่ือ
22 มิถุนายน 2554, จาก http://www.dpu.ac.th/laic/page.php?id=5753
Judson, R. A. & Klee, E. (2011). Big bank, small bank: Monetary policy
implementation and banks’ reserve management strategies. Journal of
Economics and Business, 63(4), pp. 306-328 Retrieved June 23, 2011,
from http://www. sciencedirect.com/sscience/article/pii/
S0148619511000142
116
ตอนที่ 8
การใช้งานระบบอกั ขราวสิ ทุ ธ์เิ บื้องตน้
บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การใช้งานระบบอักขราวิสุทธ์ิเบ้อื งตน้
เข้าสู่เว็บไซต์ของบัณฑติ วทิ ยาลัย http://www.grad.nrru.ac.th หรือเว็บไซต์ของจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลยั http://plag.grad.chula.ac.th
กรอกท่อี ยู่ E-mail ท่ีตอ้ งการให้ระบบส่งผลการตรวจสอบกลับ โดยระบุทอี่ ยู่ E-mail ของมหาวทิ ยาลยั เท่าน้นั
เชน่ [email protected]
118
คู่มอื นักศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
กดปุ่ม “เลอื กไฟล์” แลว้ เลือกไฟลเ์ อกสารท่ตี ้องการตรวจสอบ โดยสามารถเลอื กไฟล์ Word หรือไฟล์ PDF อย่างใด
อยา่ งหนึง่ เพราะระบบสามารถรองรับไฟล์เอกสารได้ทั้ง 2 แบบ
เลือกไฟล์วิทยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ ทีต่ ้องการตรวจสอบ กดป่มุ “ยืนยัน” เมื่อระบบตรวจสอบเสรจ็ จะสง่ ผลการตรวจสอบ
ไปยังท่ีอยู่ E-mail ทร่ี ะบุ
เข้าดูรายงานผลการตรวจสอบไดจ้ าก E-mail ของผูส้ ่งเอกสารไปตรวจสอบ หลังจากเข้าระบบเรียบร้อยแลว้
119
ให้กดเปิดลงิ ค์ท่ีแจง้ ใน E-mail บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
กดเปดิ ลงิ คเ์ พื่อดรู ายงานผล
การตรวจสอบ
รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนขอ้ มูลอา้ งอิง
SIMILARITY INDEX 0.00 %
รายงานผลการการตรวจสอบ เปอรเ์ ซ็นตค์ วามคล้ายคลึง
120
ค่มู อื นักศึกษาระดบั บณั ฑติ ศึกษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2563
SIMILARITY INDEX 5.05 %
รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนรายงานเอกสารทพ่ี บในฐานขอ้ มลู ว่ามีส่วนคลา้ ยคลึงกนั
121
บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
รายงานผลการตรวจสอบ ส่วนแสดงข้อความบางส่วนท่ตี รวจสอบพบว่าคลา้ ยคลงึ กันข้อความท่ีปรากฏแถบสี คอื
ข้อความที่คล้ายคลงึ กนั
122
ภาคผนวก
บัณฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
ขน้ั ตอนการเสนอวิทยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์
ย่ืนคำร้องขออนุมัตหิ ัวขอ้ วิทยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์ (บ.1) (แนบโครงร่างฯ อยา่ งยอ่ 10 ชุด)
** บณั ฑติ วิทยาลยั พิจารณาอนุมตั ิหัวขอ้ และแต่งตงั้ อาจารย์ทีป่ รึกษาวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์ **
ย่ืนคำร้องขอสอบโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์ (บ.2) (แนบโครงรา่ งวทิ ยานพิ นธ์อย่างละเอียด 7 เลม่ /
ภาคนพิ นธ์อยา่ งละเอียด 4 เลม่ )
***หากไม่สามารถดำเนินการสอบภายใน 6 เดือน จะต้องดำเนนิ การตามข้อ ใหม่
สอบโครงรา่ งวิทยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์
สง่ โครงรา่ งวทิ ยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ ฉบบั สมบรู ณ์ 1 ชดุ (ภายใน 30 วัน) (บ.4)
บณั ฑิตวทิ ยาลยั อนุมตั โิ ครงรา่ งวิทยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ ฉบบั สมบูรณ์
1. สร้างเคร่อื งมือ 2. ขออนุมัตแิ ต่งตัง้ ผเู้ ช่ยี วชาญ 3. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู
4. วิเคราะหข์ ้อมลู 5. เขยี นวิทยานิพนธ์
ย่นื คำรอ้ งขอสอบวทิ ยานิพนธ์/ภาคนพิ นธ์ (แบบวิทยานพิ นธ์อยา่ งละเอยี ด 7 เล่ม/
ภาคนิพนธ์อย่างละเอยี ด 4 เล่ม) (บ.6)
สอบป้องกันวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์
- สอบไมผ่ ่านให้สอบใหมภ่ ายใน 30 วัน หลังการสอบครง้ั แรก - สอบไมผ่ า่ นครง้ั ที่ 2 ให้เสนอหัวข้อใหม่
แกไ้ ขและสง่ ตรวจรปู แบบวิทยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์ ฉบับสมบรู ณ์ ไม่ตอ้ งเย็บเล่ม 1 ชุด (ภายใน 30 วัน) (บ.8)
สง่ วิทยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ ฉบบั สมบูรณ์ ท่ตี รวจรูปแบบเสร็จแล้ว
และคณบดบี ณั ฑติ วิทยาลยั ลงนามรบั รองแล้ว (วทิ ยานพิ นธ์ 7 เลม่ /ภาคนิพนธ์ 4 เล่ม) ส่งพร้อม บ.9
และข้อมลู วทิ ยานพิ นธท์ ี่สมบรู ณ์ ไรท์ใส่ CD จำนวน 1 แผ่น
124
คมู่ อื นกั ศึกษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศกึ ษาที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
การเสนอหัวข้อวทิ ยานิพนธ์/ภาคนิพนธ์
ขั้นตอน
นักศกึ ษาเสนอหวั ขอ้ วิทยานิพนธ/์ ภาคนิพนธ์ นักศกึ ษาต้องส่งคำร้อง บ.1 ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่
โดยผ่านการปรึกษากบั อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวิทยานพิ นธ์/ http://www.nrru.ac.th/grad/ เมนู แบบฟอรม์ ต่าง ๆ
กรอกรายละเอยี ดให้ครบถ้วน พร้อมอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา
ภาคนิพนธ์ และเสนอต่อบณั ฑิตวิทยาลัย วิทยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ และอาจารย์ที่ปรกึ ษาทั่วไปลง
นามรบั รอง ก่อนเสนอตอ่ บณั ฑิตวิทยาลัย
บณั ฑิตวทิ ยาลยั ไมผ่ า่ น นกั ศึกษารับเรอ่ื งไปดำเนนิ การแก้ไขและ
ตรวจสอบคณุ สมบตั ิ สง่ เร่ืองกลับบณั ฑติ วทิ ยาลัย
อาจารย์ท่ปี รกึ ษาฯ
ผ่าน ตรวจสอบคณุ สมบตั ิการเปน็ อาจารย์ที่ปรกึ ษา
วทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์ ให้เปน็ ไปตามประกาศ
คณบดบี ณั ฑิตวิทยาลยั ใหค้ วามเหน็ ชอบ
และอนุมัตแิ ตง่ ต้งั อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาวทิ ยานิพนธ/์ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา เรอื่ ง
แนวปฏบิ ัติการแต่งตง้ั อาจารยท์ ป่ี รึกษาวิทยานิพนธ/์
ภาคนิพนธ์
ภาคนิพนธ์ ที่ 446/2551 ประกาศ
ณ วนั ที่ 27 สงิ หาคม 2551
ไมผ่ ่าน บัณฑิตวิทยาลัยเสนอหวั ข้อวิทยานิพนธ/์ ภาคนิพนธ์
ของนักศึกษาให้คณะกรรมการบรหิ ารหลกั สตู ร
ประจำสาขาวชิ าพิจารณาใหค้ วามเหน็ ชอบ
ผ่าน สามารถตรวจสอบได้ที่
http://www.nrru.ac.th/grad/
บัณฑติ วิทยาลยั ทำคำสง่ั อนุมตั หิ วั ข้อวิทยานพิ นธ/์
ภาคนิพนธ์ และแตง่ ตงั้ อาจารย์ เมนู ผลการพจิ ารณาหวั ขอ้
ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ/์ ภาคนิพนธ์
บัณฑิตวทิ ยาลัยบันทกึ ในฐานข้อมลู
125
บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
การตรวจสอบรปู แบบวิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์
ข้ันตอน นกั ศกึ ษาต้องส่งเล่มวิทยานพิ นธ์/ภาคนพิ นธ์ พรอ้ มกับคำรอ้ ง บ.8
ดาวนโ์ หลดไดท้ ี่ http://www.nrru.ac.th/grad/ เมนู แบบฟอรม์
นักศกึ ษาสง่ เลม่ วทิ ยานิพนธ/์ ภาคนพิ นธ์ ต่าง ๆ กรอกรายละเอียดใหค้ รบถ้วน พร้อมอาจารย์ทีป่ รึกษา
เพือ่ ตรวจสอบรูปแบบ วทิ ยานพิ นธ/์ ภาคนพิ นธ์ ลงนามรับรอง
ทฝี่ ่ายมาตรฐานการศึกษา
ฝ่ายมาตรฐานการศึกษา ไม่ผ่าน
ตรวจสอบรปู แบบ
นักศึกษานำกลบั ไปแก้ไข
ใช้เวลาตรวจ
ประมาณ 7 วนั - ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา เร่อื ง
ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐาน การสง่ วิทยานิพนธ์เพอ่ื ขออนุมัตผิ ลการสำเร็จการศกึ ษา
เผยแพรง่ านวิจัย ระดบั บณั ฑติ ศกึ ษา ประกาศ ณ วันท่ี 9 เดือนตุลาคม พ.ศ.
2551
บัณฑิตวิทยาลัยประทบั ตรา ลงรบั วทิ ยานพิ นธ/์ - ตรวจสอบเกณฑ์ตามประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรอ่ื ง
ภาคนิพนธฉ์ บับสมบรู ณ์ เกณฑ์มาตรฐานหลักสตู รระดับบัณฑติ ศึกษา พ.ศ. 2548 ขอ้
13.2 และ 13.3
นักศึกษาส่งไฟล์ CD ต้นฉบับวิทยานพิ นธ/์ - ตรวจสอบเกณฑ์ตามประกาศมหาวิทยาลยั
ภาคนิพนธ์ ฉบบั สมบรู ณ์ พร้อมหน้าอนุมัติลงนามโดยอาจารยท์ ่ี ราชภฏั นครราชสีมา เรอื่ งหลกั เกณฑก์ ารตพี มิ พเ์ ผยแพร่
ผลงานวิจยั จากวทิ ยานิพนธเ์ พ่อื ขอสำเร็จการศกึ ษา ระดบั
ปรกึ ษาฯ และคณะกรรมการสอบครบถ้วน ปรญิ ญาเอก พ.ศ. 2557 ประกาศ ณ วันที่ 26 เดือน
กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2557
CD ตน้ ฉบบั วิทยานพิ นธ/์ ภาคนิพนธ์
ตอ้ งไรท์เปน็ รูปแบบ Word File
และ PDF File จำนวน 1 แผ่น
นกั ศึกษาดำเนินการ
ทำเรอ่ื งขอสำเรจ็ การศึกษา
126
คู่มือนักศกึ ษาระดับบัณฑิตศกึ ษา ภาคการศึกษาท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2563
การสำเร็จการศกึ ษา
ขั้นตอน
นกั ศึกษาดำเนนิ การทำเรือ่ งขอสำเร็จการศกึ ษา นักศึกษาตอ้ งเขยี นคำร้อง บ.9, คำร้องขอจบการศึกษา
ทบ่ี ณั ฑติ วทิ ยาลัย และคำรอ้ งขอ Transcript ดาวนโ์ หลดได้ท่ี
http://www.grad.nrru.ac.th เมนู แบบฟอรม์ ต่าง ๆ
บณั ฑิตวทิ ยาลยั จดั ทำรายช่อื กรอกรายละเอียดใหค้ รบถว้ น รวบรวมเอกสารหลกั ฐานและ
ผู้สำเรจ็ การศกึ ษา ดำเนนิ การตามข้ันตอนตามทร่ี ะบใุ น บ.9 ให้ครบถ้วน แลว้ นำ
บ.9 ส่งบัณฑิตวทิ ยาลยั
ส่วนคำร้องขอจบการศึกษา และคำรอ้ งขอ Transcript ส่ง
สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
สำนักส่งเสริมวิชาการ ไม่เป็นไปตามเง่อื นไข
และงานทะเบยี น
ตรวจสอบ แจ้งนักศกึ ษา
เป็นไปตามเงื่อนไข ตรวจสอบใหเ้ ปน็ ไปตามข้อบงั คบั
มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
สง่ เร่อื งเสนอทีป่ ระชุม วา่ ด้วยการศึกษาระดับบัณฑติ ศกึ ษา พ.ศ. 2550
คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลยั ประกาศ ณ วันที่ 7 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2550
มีมตเิ ห็นชอบ
เสนอท่ปี ระชมุ สภาวิชาการ
มีมตเิ หน็ ชอบ
เสนอทีป่ ระชมุ สภามหาวทิ ยาลยั
127
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
การสอบวดั คุณสมบัติสำหรบั นกั ศกึ ษาระดับปริญญาเอก
ขน้ั ตอน สามารถดาวน์โหลดได้ที่ http://www.nrru.ac.th/grad/
เมนแู บบฟอร์มตา่ ง ๆ คลิกเลอื ก คำรอ้ งขอสอบ
นกั ศึกษากรอกคำร้องโดยผ่านการเหน็ ชอบ วัดคุณสมบัติ (ป.เอก)
ของอาจารย์ทีป่ รกึ ษาทั่วไป
นกั ศกึ ษาย่ืนใบคำรอ้ งต่อประธานสาขาวชิ า
เพอื่ พิจารณาและลงนาม
นกั ศกึ ษามายน่ื ใบคำร้องท่บี ัณฑิตวทิ ยาลัย ยน่ื เอกสารท่งี านมาตรฐานการศึกษา ชั้น 8 อาคาร 9
บัณฑติ วทิ ยาลยั
ไมเ่ ป็นไปตามเง่ือนไข
บณั ฑติ วิทยาลัย นกั ศกึ ษา
ตรวจสอบ รับเรอ่ื งคนื
เป็นไปตามเง่ือนไข การแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบวดั คณุ สมบตั ใิ ห้ทาง
สาขาวิชาแตง่ ตงั้ คณะกรรมการ จำนวน 2 ชดุ
บณั ฑติ วทิ ยาลยั ทำบันทึกแจ้งทางสาขาวิชา 1. คณะกรรมการออกขอ้ สอบและตรวจข้อสอบ
เพอ่ื กำหนดคณะกรรมการ และบัณฑติ วิทยาลัยทำคำสง่ั (อาจารย์ผสู้ อนตามสาขาวชิ าน้นั ๆ)
2. คณะกรรมการควบคุมการสอบ
แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบวดั คุณสมบัติ
คณะกรรมการสอบวดั คุณสมบัตดิ ำเนินการสอบ
ประธานคณะกรรมการสอบวดั คุณสมบัติ สำหรับนกั ศึกษาทส่ี อบไม่ผา่ นให้มสี ิทธิ์สอบแกต้ ัวได้อกี
รายงานผลให้บณั ฑิตวิทยาลัยทราบภายใน 2 ครง้ั โดยยน่ื คำรอ้ งขอสอบใหม่
1 สัปดาห์
บัณฑิตวทิ ยาลัยจัดทำประกาศผลการสอบ
ทางเวบ็ ไซต์และติดประกาศ
ณ สำนักงานบณั ฑติ วิทยาลยั
128
คมู่ อื นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2563
การสอบภาษาต่างประเทศสำหรบั นกั ศึกษาระดับปรญิ ญาเอก
นกั ศึกษากรอกคำร้องโดยผ่าน สามารถดาวนโ์ หลดได้ท่ี http://www.nrru.ac.th/grad/
การเหน็ ชอบของอาจารยท์ ่ปี รึกษาทั่วไป เมนูแบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ คลกิ เลอื ก คำรอ้ งขอสอบภาษาตา่ งประเทศ
(ป.เอก)
นกั ศึกษายื่นใบคำรอ้ งต่อประธานสาขาวิชา
เพื่อพจิ ารณาและลงนาม ย่ืนเอกสารทง่ี านมาตรฐานการศึกษา ชั้น 8 อาคาร 9 บณั ฑติ วิทยาลัย
นักศึกษามายนื่ ใบคำร้องท่ีบณั ฑิตวิทยาลัย
บัณฑติ วิทยาลยั ไมเ่ ป็นไปตามเงือ่ นไข คร้งั แรก
ตรวจสอบ ไมต่ อ้ งจ่ายคา่ ธรรมเนยี ม
นักศกึ ษา
รับเรอื่ งคืน
เปน็ ไปตามเงอ่ื นไข การจ่ายค่าธรรมเนยี ม
บณั ฑิตวิทยาลัยจดั ทำประกาศรายชื่อผมู้ ีสทิ ธ์สิ อบ การสอบ
บณั ฑติ วิทยาลยั จดั ทำโครงการจดั ซือ้ ขอ้ สอบ ครง้ั ตอ่ ไป
และแตง่ ตงั้ คณะกรรมการคมุ สอบ ต้องจา่ ยคา่ ธรรมเนยี ม
คณะกรรมการดำเนินการสอบ
ประธานคณะกรรมการสอบรายงานผล บณั ฑติ วิทยาลยั จัดทำประกาศผลการสอบ
ให้บัณฑติ วทิ ยาลยั ทราบภายใน 2 สปั ดาห์ ทางเวบ็ ไซต์และตดิ ประกาศ
ณ สำนกั งานบัณฑติ วทิ ยาลยั
หลังวนั สอบ
แบ่งออกเปน็ 3 เง่อื นไข
1. สอบไดค้ ะแนน เกิน 500 คะแนน เท่ากบั ผา่ นการสอบ
2. สอบไดค้ ะแนน เกนิ 450 ขึน้ ไป แตไ่ ม่เกนิ 500 ตอ้ งเข้ารบั การสอบสมั ภาษณ์
3. สอบได้คะแนน เกิน 400 คะแนน แต่ไมเ่ กนิ 450 คะแนน ตอ้ งเข้ารบั การอบรม
129
บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
การสอบประมวลความรู้ สำหรับนักศกึ ษาระดับปริญญาโท (แผน ข)
ข้ันตอน สามารถ ดาวน์โหลดไดท้ ี่
http://www.nrru.ac.th/grad/
นักศกึ ษากรอกคำรอ้ งโดยผ่านความเหน็ ชอบ เมนู แบบฟอรม์ ตา่ ง ๆ คลิกเลอื ก
ของอาจารย์ท่ีปรึกษาท่ัวไป คำรอ้ งขอสอบประมวลความรู้
นกั ศึกษาย่ืนคำรอ้ งต่อบณั ฑติ วทิ ยาลยั
บัณฑิตวทิ ยาลยั ไมเ่ ป็นไปตามเงือ่ นไข
ตรวจสอบคุณสมบตั ิ
นกั ศึกษารับเรื่องคืน
เป็นไปตามเงอื่ นไข แต่งตั้งคณะกรรมการสอบประมวลความรู้
บณั ฑิตวิทยาลยั บนั ทึกแจง้ ตอ่ สาขาวิชาเพื่อเสนอการกำหนดขอบข่าย ในการออกขอ้ สอบตามขอบข่ายเนื้อหา
ของแตล่ ะสาขาวิชาทั้งวิชาบงั คบั /วชิ าเลอื ก
เนือ้ หาวชิ าในการสอบประมวลความรู้/
การออกข้อสอบ (วชิ าบังคบั /วิชาเลือก) นกั ศกึ ษาทย่ี ืน่ สอบครั้งท่ี 2 และครง้ั ที่ 3
ตอ้ งชำระเงนิ ค่าธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้
บัณฑิตวิทยาลยั แตง่ ตั้งคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ครั้งละ 1,000 บาท ตามระเบยี บมหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั นครราชสีมาวา่ ดว้ ย
บณั ฑิตวิทยาลยั ประกาศรายชือ่ ผมู้ ีสิทธสิ์ อบ การรับจ่ายเงนิ คา่ ธรรมเนยี มการศึกษาระดับ
วันเวลาและสถานทีส่ อบ บณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2551
นกั ศึกษาชำระคา่ ธรรมเนียมการสอบประมวลความรู้
ทก่ี องคลัง
บณั ฑิตวิทยาลยั รวบรวบคะแนน เพ่อื เสนอต่อคณะกรรมการตดั สนิ ผล
การสอบประมวลความรนู้ กั ศกึ ษาระดับบณั ฑติ ศกึ ษา
บณั ฑิตวทิ ยาลยั ประกาศผลการสอบประมวลความรู้ ตดิ ประกาศทบ่ี ัณฑติ วิทยาลยั และประกาศ
ลงเวบ็ ไซต์ www.nrru.ac.th/grad
บัณฑติ วทิ ยาลยั จดั เก็บหลกั ฐานการสอบประมวลความรู้
ข้อควรทราบ
1. ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดับบณั ฑิตศึกษา พ.ศ. 2550 ข้อ 39
2. นกั ศกึ ษาทสี่ อบไมผ่ า่ น (NP) จะต้องสอบแก้ตัวใหม่ ทงั้ น้นี กั ศกึ ษามสี ิทธส์ิ อบประมวลความรูไ้ มเ่ กิน 3 ครัง้ และหากนกั ศึกษา
ขาดสอบโดยไมม่ ีเหตุผลสมควร ถือว่านักศกึ ษาสอบตกในการสอบครงั้ นัน้
130
คณะผ้จู ัดทำ
ทปี่ รกึ ษา คณบดีบณั ฑิตวทิ ยาลยั
รองคณบดฝี ่ายวิชาการและประกันคุณภาพ
ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สมเกยี รติ ทานอก รองคณบดฝี ่ายบริหารและกจิ การนักศึกษา
ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธัญญรศั ม์ ชิดไธสง หวั หน้าสำนกั งานคณบดีบัณฑิตวทิ ยาลยั
ดร.แวววลี แววฉมิ พลี
นางธณภร จินตพละ
ผจู้ ดั ทำ นักวชิ าการศึกษา
นกั วิชาการศึกษา
นายสรพงษ์ เปรมวริ ิยานนท์ นกั วิชาการศึกษา
นางสาวชลดา พ้นภัย นักวิชาการศกึ ษา
นางรชยา ศรปี ัทมปยิ พงศ์ นักวชิ าการศกึ ษา
นายศริ พิ งษ์ บริสุทธ์ิ เจ้าหน้าที่บริหารงานทวั่ ไป
นางสาวศริ าณี กรมโพธ์ิ นักวชิ าการเงินและบัญชี
นางศรนี วล สิงหม์ ะเริง นักวิชาการพัสดุ
นางสาวนิตรา น้อยภูธร นักวชิ าการคอมพิวเตอร์
นางสาวเกศนิ ี ทองมาก
นางสาวนภาพร ชา้ งสาร