The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by taweepornkenram, 2021-04-18 09:21:27

5 บท อาหารว่าง

5 บท อาหารว่าง

1

2

คาํ นาํ

เอกสารรายงานผลโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง ฉบับนี้
จัดทําข้ึนเพ่ือสรุปผลสัมฤทธ์ิและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดกิจกรรมของ กศน.ตําบลหัวถนน สังกัดศูนย์
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาํ เภอพนสั นคิ ม กิจกรรมดังกลา่ ว ดําเนินการเสร็จส้ินเรียบร้อย ซึ่ง
รายละเอยี ดผลการดําเนนิ งานตา่ ง ๆ ตลอดจนข้อเสนอแนะไดส้ รุปไว้ในเลม่

ขอขอบคุณ นางณัชธกัญ หม่ืนสา ผู้อํานวยการ กศน.อําเภอพนัสนิคม ตลอดจนเจ้าหน้าที่งาน
แผนงาน เจ้าหน้าท่ีงานการศึกษาต่อเนื่อง ท่ีให้คําแนะนํา คําปรึกษาในการจัดทําเอกสารสรุปและรายงานการ
ประเมินโครงการในครั้งน้ี กศน.ตําบลหัวถนนหวังเป็นอย่างย่ิงว่า เอกสารเล่มน้ี คงจะเป็นประโยชน์สําหรับผู้ท่ี
ตอ้ งการศึกษาหาข้อมูล เพือ่ ใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรม และหากมีส่ิงหน่ึงส่ิงใดขาดตกบกพร่อง คณะผู้จัดทํา
ตอ้ งขออภัยมา ณ โอกาสนี้ดว้ ย

กศน.ตาํ บลหวั ถนน
สังกดั กศน.อําเภอพนสั นิคม

สารบญั 3

คํานํา หน้า
บทที่ 1 บทนาํ
บทท่ี 2 เอกสารการศึกษาและรายงานทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 1
บทท่ี 3 วิธีดําเนนิ งาน 3
บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 7
บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ 9
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก
คณะผจู้ ัดทาํ

1

บทที่ 1 บทนาํ
หลักสตู รการทาํ อาหารวา่ ง หลกั สตู ร 10 ชว่ั โมง

หลกั การและเหตผุ ล

การประกอบอาชีพในปจั จบุ นั ที่หลากหลาย มอี าชีพหลกั ซึ่งแตกตา่ งกนั ออกไป เชน่ อาชีพค้าขาย เกษตรกร
รบั จา้ ง และอ่ืนๆ อกี มากมาย ซึ่งเปน็ รายไดห้ ลักของครอบครวั การจัดกิจกรรมอบรมอาชีพ ให้ประชาชนทัว่ ไปโดย
เนน้ เนื้อหา ความรแู้ ละทักษะอาชีพเพอ่ื ให้สอดคล้องกบั สภาพของแตล่ ะบคุ คล แตล่ ะพ้ืนทใ่ี หผ้ ู้เรยี นมที ักษะในการ
จัดการบริหาร สามารถประกอบอาชีพสมัยใหม่ และเปน็ อาชีพท่ีก้าวหน้าในอนาคตอีกทงั้ ยงั เป็นการสง่ เสริมการ
เรียนรู้สําหรับประชาชน ให้สามารถนาํ ความร้ไู ปใช้ในการประกอบอาชีพหลกั และอาชีพเสรมิ ในชีวติ ประจาํ วันได้จรงิ
อีกทั้งยังเปน็ การสง่ เสริม สบื ทอดภมู ิปญั ญาท้องถ่ิน และสรา้ งความเจริญรุ่งเรืองชมุ ชนและท้องถ่นิ ในการสํารวจ
ความต้องการของประชาชนในตาํ บลหัวถนน พบวา่ ประชาชนสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ธรุ กิจส่วนตวั
คา้ ขาย แม่บ้าน รบั จา้ ง และอื่นๆ ซึง่ มีความต้องการใชเ้ วลาว่างจากการประกอบอาชีพหลักมาเรยี นร้อู าชีพต่างๆ
เป็นอาชพี เสรมิ ให้กับครอบครัวแตย่ งั ขาดทักษะการเรียนรู้และฝกึ ปฏิบตั ิ

กศน.ตาํ บลหวั ถนน ไดเ้ ล็งเห็นความสําคญั ของกระบวนการเรียนรใู้ นชุมชนด้านการพัฒนาอาชพี จึงไดจ้ ัดทาํ
หลักสตู รวิชาชีพหลกั สูตรระยะส้นั เพื่อสนองตอบความต้องการของประชาชน เพ่ือให้ประชาชนมีทกั ษะความรูด้ า้ น
อาชพี สามารถนาํ ความรู้ทีไ่ ดร้ ับไปปรับใชใ้ นชีวิตประจาํ วนั ได้ กศน.ตาํ บลหัวถนนจงึ ไดจ้ ดั ทํากจิ กรรมสอนอาชพี และ
สง่ เสรมิ การเรียนรู้ หลักสูตรวิชาการทาํ อาหารว่าง ให้กับประชาชนตาํ บลหัวถนน

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพื่อให้ผรู้ บั บรกิ ารมีความรูเ้ กี่ยวกับการเรียนร้วู ชิ าชีพระยะส้ัน
2. เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั บริการสามารถนําความร้ทู ไ่ี ด้รบั ไปใช้ในการประกอบอาชีพสรา้ งรายไดใ้ ห้ครอบครัวได้

เปา้ หมาย

เชงิ ปรมิ าณ
ประชาชนตาํ บลหวั ถนน จํานวน 10 คน

เชงิ คณุ ภาพ
ผู้รบั บริการมคี วามรู้ความเข้าใจกระบวนการเรยี นร้วู ชิ าชพี ระยะสัน้ เพือ่ นาํ ไปเป็นแนวทางการ

ประกอบอาชีพในการดาํ รงชีวิตประจาํ วนั

2

วธิ ดี าํ เนนิ การ

การดาํ เนนิ งาน ระยะเวลา งบประมาณ ผรู้ บั ผดิ ชอบ
1. สํารวจความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมาย 10-14 มกราคม 2564
2. กาํ หนดแผนและปฏิทนิ การดําเนินงาน 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 3,000 บาท น.ส. ทวีพร เคนราํ
3. เขียนโครงการเสนอเพื่อของบประมาณ 5 กุมภาพันธ์ 2564
4. ดาํ เนินงานและตดิ ต่อประสานงาน 7 กุมภาพันธ์ 2564
5. ประชุมเตรียมการผเู้ กยี่ วข้อง 9 กุมภาพนั ธ์ 2564
6. ดาํ เนนิ กจิ กรรมหลักสูตรวิชาการ 18-19 กมุ ภาพนั ธ์ 2564
ทาํ อาหารว่าง

ระยะเวลาการดาํ เนนิ โครงการ
วันท่ี 18-19 กุมภาพนั ธ์ 2564 ณ บา้ นนางวิรัตน์ จันทนา หมู่ 3 ต.หัวถนน อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
งบประมาณ
งบประมาณศูนยฝ์ กึ อาชีพชุมชน (กลมุ่ สนใจ) จํานวน 3,000 บาท
ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาวทวพี ร เคนรํา

ผลผลติ /ผลลพั ธ์
ผลผลติ ประชาชนตาํ บลหวั ถนน จาํ นวน 10 คน
ผลลพั ธ์ ผ้รู บั บรกิ ารไดเ้ รียนรู้เกีย่ วกบั วชิ าชีพระยะส้ัน ทีม่ ีความหลากหลายและตอบสนองความต้องการ

ของประชาชนตาํ บลหัวถนน เป็นแนวทางในการประกอบอาชพี ในครอบครวั และชุมชน

ตวั ชวี้ ดั
ตวั ชว้ี ดั ผลผลติ ประชาชนตาํ บลหวั ถนน เขา้ ร่วมโครงการอยา่ งนอ้ ย รอ้ ยละ 80
ตวั ชวี้ ดั ผลลพั ธ์ ผูร้ บั บรกิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจกระบวนการเรยี นรูว้ ชิ าชีพระยะส้ัน สามารถนาํ ไปประกอบ

อาชพี สร้างรายไดใ้ หค้ รอบครัวและชมุ ชนได้

ผลประเมนิ
1. จากการเขา้ รว่ มกจิ กรรม
2. จากแบบสอบถาม
3. จากการฝกึ ปฏิบัติ

ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ บั
1. ผ้รู บั บรกิ ารมีความรู้เก่ยี วกับการเรยี นรูว้ ิชาชพี ระยะสน้ั
2. ผู้รบั บริการสามารถนาํ ความรู้ท่ไี ดร้ ับไปใชใ้ นการประกอบอาชพี สรา้ งรายได้ให้ครอบครวั และชมุ ชนได้

3

บทท่ี 2
เอกสารการศกึ ษาและรายงานทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

ในการจัดทาํ รายงานครง้ั น้ี ไดท้ าํ การศึกษาคน้ ควา้ เน้ือหาจากเอกสารการศึกษาและเน้ือหาทีเ่ กีย่ วข้อง
ดังต่อไปน้ี

1. ความรู้เบ้อื งตน้ เก่ยี วกบั การทาํ อาหารวา่ ง
2. วิธกี ารทํากลว้ ยขา้ วเมา่ ทอด
3. วิธีการทําขนมฟักทองนึง่

1. ความรูเ้ บอื้ งตน้ เกีย่ วกบั การทาํ อาหารวา่ ง

อาหารว่าง หมายถึง อาหารระหว่างมื้อ เป็นอาหาร
ประเภทเบาๆ มีปริมาณอาหารน้อยกว่า อาหารประจํามื้ออาจจะ
เป็นอาหารนํ้าหรืออาหารแห้ง มีทั้งคาวและหวาน หรือเป็นอาหารชิ้นเล็กๆขนาดพอคํา หยิบรับประทานได้ง่าย
จัดให้สวยงามน่ารับประทานเป็นท้ังอาหารไทยและอาหารนานาชาติ หรือรับประทานควบคู่กับเคร่ืองด่ืมร้อน หรือ
น้าํ ผลไม้อย่างใดอย่างหนง่ึ

1. อาหารว่างไทยสมัยโบราณ
อาหารว่างไทยมีมานานตั้งแต่สมัยโบราณ แม่บ้านสมัยก่อนใช้เวลาว่างในการทําอาหารว่างเก็บไว้ โดยใช้

วัสดุท่เี หลือจากอาหารมอ้ื หลกั ให้เป็นประโยชน์ และใช้วัสดทุ ี่มมี ากในฤดกู าลมาประกอบเป็นอาหารว่าง เช่น ข้าวตัง
หน้าตั้ง เมี่ยงลาว เม่ียงส้ม ข้าวตู ข้าวตอกตั้ง ข้าวเม่าหมี่ ขนมจีบ ป้ันสิบทอด ฯลฯ เมื่อมีการต้อนรับแขกก็จะนํา
อาหารออกมาเลี้ยงแขก พร้อมกับเสิร์ฟน้ําผลไม้หรือน้ําเย็นลอยดอกมะลิต่อมามีการพบปะติดต่อกับคนต่างชาติ
รับเอาวฒั นธรรมของชาติตา่ งๆ เข้ามา จนี เป็นชนชาตทิ ใี่ กล้ชิดกบั ไทยมาก วัฒนธรรมของจีนนิยมดื่มชา ชงด่ืมร้อนๆ
ตลอดวัน ใช้ด่ืมเองและเลี้ยงแขกด้วย เสิร์ฟพร้อมขนมหวาน อาหารว่างท่ีเป็นของขนมจีนได้แก่ ขนมงาตัด ถ่ั วตัด
ขนมเป๊ยี ะ ขนมโกอ๋ ่อน ฟกั เชอ่ื ม อาหารวา่ งทเ่ี ปน็ ของคาว ไดแ้ ก่ ซาลาเปา ขนมกุยชา่ ย ขนมจบี ฯลฯ

2. อาหารวา่ งไทยสมยั ปจั จบุ นั
ในปัจจบุ นั อาหารว่าง มคี วามจาํ เป็นโดยเฉพาะคนทต่ี อ้ งเดนิ ทางไกลระหวา่ งบ้านกับท่ีทํางาน รวมท้ังเด็กๆที่

ตอ้ งไปโรงเรียน จึงควรต้องรับประทานอาหารระหว่างม้ือ อาหารว่างควรเป็นอาหารท่ีย่อยง่าย ทําง่าย รับประทาน
แล้วไม่อิ่มจนเกินไป และสะดวกท่ีจะรับประทาน ไม่ยุ่งยากในเร่ืองของภาชนะและการจัดเสิร์ฟ ควรเป็นอาหารที่
เป็นชิ้นเป็นคํา หรือถ้วยเล็กๆ ซึ่งรับประทานได้สะดวก แต่ต้องคํานึงด้วยว่าอาหารว่าง ควรจะประกอบด้วยอาหาร
หลายอย่าง เช่น แป้ง ไข่ นํ้าตาล นม ผัก ผลไม้ เพื่อให้ได้คุณค่าอาหารครบ เคร่ืองด่ืมจะเป็นร้อนหรือเย็นก็ได้
แลว้ แตโ่ อกาสและสถานที่

4

ประเภทของอาหารวา่ ง
อาหารว่างแบบไทยและนานาชาติ ดงั น้ี

1. อาหารว่างไทย (คาวหวาน) อาหารว่างที่คนไทยรับประทานมีมากมายหลายชนิด ท้ังชนิดน้ําและชนิด
แห้ง ของว่างชนิดนํ้าไม่นิยมเล้ียงในตอนบ่าย นิยมอาหารว่างชนิดแห้งเป็นส่วนใหญ่ เช่น ปั้นสิบนึ่งไส้ต่างๆ
กระทงทอง ขนมเบือ้ งกรอบ สาคไู ส้หมู เมย่ี งลาว ของหวาน เช่น ขนมสอดไส้ ขนมลืมกลืน ตะโก้ เปน็ ต้น

2. อาหารว่างจนี (คาวหวาน) กม็ ีมากเช่นเดียวกัน มที ้งั ของวา่ งชนิดนา้ํ เชน่ โจ๊ก ก๋วยเต๋ียว เกี๊ยวน้ํา เป็นต้น
สว่ นอาหารว่างชนดิ แหง้ มกั จะเปน็ ของทอดหรอื น่งึ เช่น ขนมจีบ ปน้ั สบิ นง่ึ ขนมเปยี๊ ะ เปาะเป๊ียะสด ซาลาเปา เปน็ ต้น

3. อาหารว่างสากล นิยมกันมากในการจัดเลี้ยงงานใหญ่ๆ เพื่อรับรองแขก เพราะจัดได้สวยและน่า
รับประทาน อาหารทร่ี ับประทานอาจเปล่ียนแปลงได้ตามความตอ้ งการ ซึง่ แล้วแตจ่ ะจัดข้นึ อาหารว่างสากลท่ีนิยม
จดั รับประทานมดี ังนี้ ชา กาแฟ แซนด์วิช เคก้ ตา่ งๆ เยลลี ผลไม้ ไอศกรีม

4. อาหารว่างแบบประยุกต์ ในการประกอบอาหารว่างน้ันเราไม่จําเป็นจะต้องทําอยู่แต่อย่างเดียวเสมอไป
ผู้ประกอบการอาหารจาํ เปน็ ต้องดดั แปลง ให้เหมาะสมกับสมัยและความนิยมการนําอาหารแบบต่างๆมาประยุกต์ก็
คือ การนําอาหารว่างไทย จีน ฝรั่ง มาจัดผสมรวมกันในการเล้ียงรับรองแขก เพื่อให้อาหารมีรสแตกต่างกันออกไป
และมีความสวยงามอีกด้วย

ชนดิ ของอาหารวา่ ง
อาหารวา่ งแบ่งตามรสชาติได้ 2 ชนดิ คอื

1. อาหารว่างคาว ไดแ้ ก่ ขนมจีบ แซนดว์ ชิ ป้ันสบิ ทอด สาคูไส้หมู ซาลาเปา ฯลฯ
2. อาหารวา่ งหวาน ไดแ้ ก่ คกุ กต้ี า่ งๆ เค้กตา่ งๆ ขนมปยุ ฝ้าย ขนมดอกลาํ ดวน ขนมสอดไส้ พายไส้ต่างๆ

ลักษณะของอาหารวา่ ง
อาหารวา่ งแบ่งตามลกั ษณะได้ 4 ประเภท คอื

1. อาหารว่างทเี่ ปน็ อาหารแบบแหง้ ไดแ้ ก่
ข้าวตงั หนา้ ตง้ั ,ขนมจบี ซาลาเปา,สาคูไส้หมู,ปั้นสบิ น่ึงหรอื ทอด,คกุ ก้ี บิสกิต,เค้กต่างๆ

2. อาหารว่างชนดิ นํ้า ได้แก่
กว๋ ยเตีย๋ วนํา้ หมู เป็ด ไก่, มะกะโรนีนํา้ , โจก๊ หมู กงุ้ ไก่, เคร่อื งด่มื ร้อน เย็น

3. อาหารว่างประเภทกบั แกลม้ อาหารประเภทนีใ้ ชร้ บั ประทานกับเคร่ืองด่ืมประเภทแอลกอฮอล์ ส่วนใหญ่จะเปน็
อาหารประเภทยํา ลาบ พลา่ ตา่ งๆ ของทอด อาหารขบเคย้ี ว เช่น

ยําไส้กรอก,ยาํ องั วะ,ยําเลบ็ มือนาง,ยําปลากรอบ,ลาบอนื่ ๆ,ปลาทอดตา่ งๆ
4. อาหารวา่ งแบบคอ็ กเทล

อาหารวา่ งแบบค็อกเทล ได้แก่ พวกแซนด์วชิ ต่างๆ ตัดเป็นชิน้ เล็กๆ หรือออรเ์ ดริ ฟ์ ชนิดต่างๆ ข้าว
เกรยี บทอด มันทอด ถ่ัวทอดกับแกลม้ ทเ่ี ปน็ ช้ินเลก็ ๆ หยบิ งา่ ยสะดวกแกก่ ารรบั ประทาน

5

วธิ กี ารทาํ กลว้ ยข้าวเมา่ ทอด

สว่ นผสมและวธิ ที าํ ขา้ วเมา่ ทอด
1. กล้วยไข่สกุ 1 หวี
2. มะพรา้ วขดู 400 กรมั
3. นํา้ ตาลปบี๊ 400 กรัม
4. น้าํ ตาลทราย 200 กรัม
5. ขา้ วเมา่ 4 ถว้ ยตวง
6. นา้ํ สะอาด ½ ถว้ ยตวง
วธิ ที าํ ขา้ วเมา่ ทอด
1. นาํ น้าํ ตาลทราย น้าํ ตาลปี๊บใสใ่ นกระทะทองเติมน้ําเปลา่ นาํ ไปตั้งไฟรอจนน้ําตาลละลายหรไ่ี ฟลงแลว้ เคี่ยวต่อจน
น้าํ ตาลเริ่มขน้ เป็นยางใสม่ ะพรา้ วลงไปเค่ียวต่อ
2. เมอ่ื เริ่มแห้งใส่ข้าวเม่าลงไปกวนจนเหนยี วเปน็ ยางมะตูมแลว้ ยกลงพัก
3. ขา้ วเม่าเริ่มเย็นใช้มือแตะนํ้าเปล่าแล้วหยบิ ขา้ วเมา่ ที่กวนไวม้ าแผ่เปน็ แผน่ บางๆให้กวา้ งพอท่จี ะห่อ กลว้ ยไขไ่ ด้
4.นาํ กล้วยไข่ท่ีปอกเปลือกแลว้ วางลงตรงกลางแผน่ ขา้ วเม่าแล้วห่อใหม้ ดิ บบี เบาๆให้ตดิ แนน่ ทาํ จน หมดแลว้ พกั ไว้
สว่ นผสมแปง้ ทอดขา้ วเมา่
1. หวั กะทิ 1 ½ ถ้วยตวง
2. หางกะทิ 1 ½ ถ้วยตวง
3. แป้งสาลี 250 กรัม
4. แป้งขา้ วเจา้ 250 กรมั
5. ไข่ไก่ 5 ฟอง
6. เกลอื ปน่ 1 ชอ้ นชา
วธิ ที าํ
1.ผสมแปง้ ทง้ั สองชนิดเขา้ ดว้ ยกนั จากน้นั เทหัวกะทลิ งไปเติมเกลือป่นแลว้ นวดใหเ้ ขา้ กนั
2.จากนน้ั ตอกไข่ใส่ลงไปรินหางกะทิลงไปผสมนวดจนส่วนผสมเข้ากันและเนื้อแป้งไม่ตดิ มือ
3.นํากระทะต้ังไฟใช้ไฟแรงปานกลาง ใส่น้าํ มันลงในกระทะให้ทว่ มขา้ วเมา่ ทจ่ี ะทอด
4.รอจนน้ํามนั รอ้ นได้ที่นํากลว้ ยที่ห่อดว้ ยขา้ วเม่าไว้ลงชุบในแป้งท่ผี สมไว้ลงทอดในน้ํามนั ใหต้ ิดกันเปน็ ค่ๆู ทอดจนได้
จาํ นวนที่ตอ้ งการแลว้ พกั ไว้
5.ใช้นิ้วมือจ่มุ ลงในแป้งที่ผสมไว้แล้วนําไปโรยลงในกระทะน้ํามัน ใช้ไม้เขยี่ แปง้ ท่ีทอดให้มารวมกนั เป็นแพ จากนน้ั ตัก
ข้นึ วางบนขา้ วเม่าที่ทอดคู่กนั สาํ หรับสูตรและวธิ ีทาํ ข้าวเม่าทอดท่ีdatacatalog.orgนาํ มาแนะนาํ ให้ทําขายเปน็ อาชีพ
อิสระทําเงินเป็นสูตรโบราณแปง้ ที่โรยเปน็ แพแลว้ นํามาวางบนกลว้ ยทห่ี อ่ ด้วยขา้ วเมา่ ทอดจะกรอบอร่อย และมี
ความสวยงามน่าทานซง่ึ ปจั จุบันหาทานยากเพราะมกี ารประยกุ ต์ปรบั ปรงุ สตู รโดยนาํ มาทอดเป็นลูกๆ แทนการทาํ
เปน็ แพ

6

วิธกี ารทาํ ขนมฟกั ทองนงึ่

สว่ นผสม

เนอื้ ฟักทองนงึ่ 700 กรมั

หัวกะทิ 1 กิโลกรมั

ผงฟู 1 ช้อนโต๊ะ

เกลอื 1/2 ชอ้ นโตะ๊

แปง้ บัวแดง 1 กิโลกรมั

น้าํ ตาลทราย 700 กรัม

ยีสต์ 1ชอ้ นชา

วธิ ที าํ

1. รอ่ นแปง้ ผงฟู ลงในชามผสม ใส่ยีสต์ ผสมใหเ้ ข้ากัน

2. นาํ ฟกั ทอง กะทิ นํ้าตาลทราย เกลอื ปน่ั ใหล้ ะเอียด

3. นําฟักทองทีป่ น่ั เทผสมลงในแปง้ ผสมใหเ้ ขา้ กัน แลว้ พักไว้ 45 นาที จนขึ้นฟู

4. ใช้พายคนไลอ่ ากาศ ตักใสพ่ ิมพ์กระดาษประมาณ 3/4 ของพมิ พ์ เผอ่ื ขนมข้ึนฟู

5. ใสน่ ํ้า3/4 ของหม้อนงึ่ น่ึงด้วยไฟแรง 15 นาที

หา้ มเปดิ ฝาจนกว่าจะครบเวลาทกี่ ําหนด ก่อนน่งึ ต้องเช็ดฝาหมอ้ ให้แหง้ ก่อนปิด

7

บทท่ี 3

วิธดี าํ เนนิ งาน

โครงการสง่ เสรมิ สขุ ภาพจติ ผสู้ งู วยั มขี น้ั ตอนดงั นี้

1.ประสานงานกับภาคเี ครือข่าย/สํารวจความต้องการ
2.เสนอโครงการ
3.ดําเนนิ งาน
4.การวิเคราะห์ข้อมลู /สรปุ ผลการดาํ เนินงาน

1.ประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ย/สาํ รวจความตอ้ งการ
กศน.ตําบลหวั ถนน ได้ดาํ เนนิ การประสานงานภาคเี ครือขา่ ยประกอบดว้ ย โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพ

ตาํ บลหวั ถนน และชมรมผสู้ ูงอายุ ตําบลหัวถนน เพอ่ื สาํ รวจความต้องการของกลุ่มเป้าหมายและนาํ มาวางแผนจดั ทํา
โครงการ

2. เสนอโครงการ

โดยดาํ เนนิ การขออนมุ ตั ิโครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน (กล่มุ สนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง

3. ดาํ เนนิ การจดั กิจกรรม

โครงการศูนย์ฝกึ อาชพี ชุมชน (กลมุ่ สนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง ดาํ เนนิ การในวนั ท่ี 18 – 19
กมุ ภาพันธ์ 2564 ณ บา้ นนางวริ ตั น์ จนั ทนา หมู่3 ตาํ บลหัวถนน อาํ เภอพนัสนิคม จงั หวัดชลบรุ ี
ผู้เขา้ ร่วมโครงการ 10 คน

4. การวเิ คราะหข์ อ้ มลู /สรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน

การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ใช้ค่าสถติ ิร้อยละ ในการประมวลผลขอ้ มูลสว่ นตวั และตัวชี้วัดความสําเรจ็ ของโครงการ

ตามแบบสอบถามความคดิ เหน็ รายขอ้ แล้วนาํ ไปแปรความหมายตามค่าระดบั เกณฑ์

เกณฑก์ ารประเมนิ

คา่ สถิตนิ ้อยกวา่ ร้อยละ 50 ปรับปรุง

คา่ สถิตริ ้อยละ 50-74 พอใช้

ค่าสถติ ิร้อยละ 75-84 ดี

ค่าสถติ ิรอ้ ยละ 85 ขนึ้ ไป ดมี าก

8

การวิเคราะห์ข้อมลู ใชค้ า่ สถติ ิรอ้ ยละ ในการประมวลผลขอ้ มลู สว่ นตัวและตัวชีว้ ัดความสําเร็จของโครงการ

ตามแบบสอบถามความคิดเห็นรายขอ้ แล้วนําไปแปรความหมายตามค่าระดบั เกณฑก์ ําหนดค่าลาํ ดับความสาํ คัญ

ของการประเมินผลออกเป็น 5 ระดบั ดงั น้ี

มากทสี่ ดุ ใหค้ ะแนน 5

มาก ใหค้ ะแนน 4

ปานกลาง ใหค้ ะแนน 3

น้อย ให้คะแนน 2

นอ้ ยที่สดุ ใหค้ ะแนน 1

ในการแปลผล ผู้จัดทําได้ใช้เกณฑก์ ารพจิ ารณาจากคะแนนเฉล่ยี ตามแนวคิดของ บญุ ชม ศรสี ะอาด และบญุ

ส่ง นวิ แก้ว (2535, หนา้ 22-25)

4.51-5.00 หมายความว่า ดมี าก

3.51-4.50 หมายความว่า ดี

2.50-3.50 หมายความว่า ปานกลาง

1.50-2.50 หมายความว่า น้อย

1.00-1.50 หมายความว่า ต้องปรับปรงุ

ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการจะตอ้ งกรอกข้อมูลตามแบบสอบถาม เพ่ือนําไปใชใ้ นการประเมนิ ผลของการจดั กจิ กรรมดังกลา่ ว

และจะไดน้ ําไปเป็นข้อมูล ปรับปรุง และพัฒนา ตลอดจนใชใ้ นการจัดทาํ แผนการดําเนินการในปตี ่อไป

9

บทท่ี 4

ผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

โครงการศูนย์ฝกึ อาชีพชุมชน (กล่มุ สนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง ดําเนินการในวนั ที่ 18 – 19 กมุ ภาพนั ธ์
2564 ณ บ้านนางวิรัตน์ จันทนา หม่3ู ตาํ บลหัวถนน อาํ เภอพนสั นิคม จงั หวัดชลบุรี
ผู้เข้ารว่ มโครงการ 10 คน ซึง่ ไดส้ รุปรายงานจากแบบสอบถามความคิดเหน็ ข้อมลู ที่ได้สามารถวิเคราะหแ์ ละแสดง
คา่ สถิติ ดังนี้

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนตัวผ้ตู อบแบบถามของผูเ้ ข้ารว่ มกิจกรรม ทต่ี อบแบบสอบถามได้นาํ มาจําแนกตามเพศ อายุ
การศกึ ษา และอาชพี ผู้จดั ทําได้นาํ เสนอจําแนกตามข้อมลู ดังกล่าวดังปรากฏตามตารางดังตอ่ ไปนี้

ตารางที่ 1 แสดงค่ารอ้ ยละของผ้ตู อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามเพศ

เพศ ความคิดเห็น

จานวนคน ร้อยละ

ชาย 0 0.00

หญิง 10 100.00

รวม 10 100.00

จากตารางท่ี 1 แสดงว่าผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม เป็นเพศหญิง จํานวน 10 คน คิดเปน็ ร้อยละ 100.00
ตารางท่ี 2 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอายุ

ช่ วง อา ยุ คว า ม คิดเ ห็ น

ตากวา่ 15 จานวนคน ร้อยละ
15 - 39 ปี
40 - 60 ปี 0 0.00
60 ปขี นึ้ ไป
0 0.00
รวม
4 40.00

6 60.00

10 100.00

จากตารางท่ี 2 แสดงว่าผเู้ ข้าร่วมกจิ กรรม เมอ่ื จาํ แนกตามอายุปรากฏว่า ชว่ งอายุ 40-60 ปี
จํานวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 40.00 อายุ 60 ปขี ้ึนไป จาํ นวน 6 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 60.00 ตามลาํ ดบั

10

ตารางท่ี 3 แสดงคา่ รอ้ ยละของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามการศึกษา

การศึกษา คว า ม คิดเ ห็ น

ตากวา่ ประถม จานวนคน ร้อยละ
ประถม
ม.ตน้ 0 0.00
ม.ปลาย
ปริญญาตรี 4 40.00
รวม
4 40.00
2 20.00

0 0.00

10 100.00

จากตารางท่ี 3 แสดงว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจําแนกตามการศึกษาปรากฏว่าจบ ระดับประถมศึกษา
จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และ
ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลายจํานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 20.00 ตามลําดับ

ตารางที่ 4 แสดงคา่ รอ้ ยละของผตู้ อบแบบสอบถาม โดยจาํ แนกตามอาชพี

อาชีพ ความคิดเห็น

จํานวนคน ร้อยละ

รบั จา้ ง 1 10.00

ค้าขาย 2 20.00

เกษตรกรรม 7 70.00

แม่บา้ น 0 0.00

อ่ืนๆ 0 0.00

. รวม 10 100.00

จากตารางท่ี 4 แสดงว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม เมื่อจําแนกตามอาชีพปรากฏวา่ อาชีพเกษตรกรรม จาํ นวน 7คน
คดิ เป็นร้อยละ 70.00 อาชีพคา้ ขาย จาํ นวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 20.00 และอาชีพรับจา้ ง จํานวน 1 คน คิดเป็น
ร้อยละ 10.00 ตามลําดบั

11

ตอนท่ี 2 ข้อมลู เก่ียวกบั ความคดิ เห็นของผเู้ ข้ารว่ ม
จากแบบสอบถามทงั้ หมด จาํ นวน 10 ชดุ ผู้เขา้ รว่ มกจิ กรรมมีความคิดเหน็ ดงั ปรากฏในตาราง

เนื้อหากจิ กรรม N = 10

1.เน้ือหาวชิ าทจ่ี ดั การเรยี นรู้/ ฝกึ อบรมตรงตามความตอ้ งการ x S.D. อันดบั ที่ ระดบั ผลการ
ของทา่ นเพียงใด ประเมนิ
2.วิทยากรมาให้ความรตู้ รงตามเวลา
3.วทิ ยากรมาใหค้ วามรคู้ รบตามหลักสูตรกําหนด 4.68 0.49 2 ดมี าก
4.ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากร 4.73 0.46 1 ดีมาก
5.จาํ นวนสอ่ื /อุปกรณก์ ารฝกึ ประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด 4.73 0.46 1 ดมี าก
6.ท่านไดร้ บั ความรู้และสามารถฝกึ ทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมาก 4.62 0.55 3 ดมี าก
น้อยเพยี งใด 4.33 0.75 6 ดี
7.ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนาํ ไปใชป้ ระกอบอาชพี ไดเ้ พยี งใด
8.สถานท่เี รยี นเหมาะสมเพียงใด 4.55 0.64 4 ดมี าก
9.ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรยี นรเู้ ท่าเทียมกันเพยี งใด 4.33 0.63 6 ดี
10.ระยะเวลาในการเรยี น/กจิ กรรมเหมาะสมเพียงใด 4.47 0.52 5 ดี
11.ความรทู้ ไ่ี ด้รับคุ้มค่ากบั เวลา และความตงั้ ใจเพยี งใด 4.62 0.51 3 ดมี าก
12.ทา่ นพึงพอใจต่อหลักสูตรนเี้ พยี งใด 4.55 0.52 4 ดมี าก
รวม 4.73 0.46 1 ดีมาก
4.62 0.52 3 ดีมาก
4.58 0.54 ดีมาก

จากตาราง 5 พบวา่ โดยเฉลี่ยแล้วผเู้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมคี วามพึงพอใจตอ่ การจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดีมาก
เม่อื วิเคราะห์เป็นรายข้อพบว่า วิทยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา , วทิ ยากรมาให้ความรคู้ รบตามหลักสตู รกําหนด ,
ความรู้ท่ีได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจเพียงใด ( x =4.73 ) เป็นอันดับหนึ่ง เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้/
ฝกึ อบรมตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด ( x =4.68) เป็นอันดับสอง ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้
ของวิทยากร , ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด , ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด ( x =4.62)
เป็นอันดับสาม ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด , ระยะเวลาในการเรียน/
กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด ( x =4.55) เป็นอันดับสี่ สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด ( x =4.47) เป็นอันดับห้า
จาํ นวนสอ่ื /อปุ กรณ์การฝึกประกอบการเรยี นเพียงพอเพียงใด , ความรูท้ กั ษะท่ีได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้
เพยี งใด ( x =4.33) เป็นอนั ดับสุดทา้ ย

12

ตารางที่ 6 แสดงค่ารอ้ ยละของระดับความพงึ พอใจท่ีไดร้ ับตอ่ การเขา้ ร่วมกจิ กรรม

ประเดน็ ทปี ระเมนิ ระดบั การประเมนิ

มากทสี ดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยทีสุด

จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ

1.เนือ้ หาวิชาทีจัดการเรียนร/ู้ ฝกึ อบรมตรง 5 50.00 4 40.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00
ตามความตอ้ งการของทา่ นเพยี งใด 4 40.00 4 40.00 2 20.00 0 0.00 0 0.00
5 50.00 3 30.00 2 20.00 0 0.00 0 0.00
2.วิทยากรมาใหค้ วามรู้ตรงตามเวลา

3.วิทยากรมาใหค้ วามรู้ครบตามหลักสตู ร
กาหนด

4.ความสามารถในการถ่ายทอดความรขู้ อง 4 40.00 6 60.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
วิทยากร 2 20.00 6 60.00 2 20.00 0 0.00 0 0.00

5.จานวนสือ/อปุ กรณ์การฝึกประกอบการ
เรียนเพยี งพอเพยี งใด

6.ทา่ นไดร้ ับความรู้และสามารถฝึกทกั ษะได้ 4 40.00 5 50.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00
ตามทีคาดหวังมากนอ้ ยเพยี งใด

7.ความรู้ทกั ษะทีได้ สามารถนาไปใชป้ ระกอบ 3 30.00 6 60.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00
อาชีพไดเ้ พยี งใด

8.สถานทเี รียนเหมาะสมเพยี งใด 4 40.00 6 60.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00

9.ทา่ นไดร้ ับโอกาสในการเรียนรเู้ ทา่ เทยี มกนั 6 60.00 4 40.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
เพยี งใด

10.ระยะเวลาในการเรียน/กจิ กรรมเหมาะสม 5 50.00 5 50.00 0 0.00 0 0.00 0 0.00
เพยี งใด

11.ความรูท้ ีไดร้ ับค้มุ คา่ กบั เวลา และความ 5 50.00 4 40.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00
ต้งั ใจเพยี งใด

12.ทา่ นพงึ พอใจตอ่ หลกั สตู รน้ีเพยี งใด 4 40.00 5 50.00 1 10.00 0 0.00 0 0.00

(1) รวม 51 58 11 0 0

(2) = (1) Xคะแนนเตม็ ของแตล่ ะชอ่ ง 255 232 33 00

(3) = ผลรวมของความพงึ พอใจ 520

(4) = (3) / จานวนคน 52.00

(5) = (4) X 100 ¸ 86.67
จานวนขอ้ Xคะแนนเตม็ สูงสุด

สรุป บรรลุ

13

จากตารางที่ 6 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามของผูเ้ ขา้ รว่ มกจิ กรรมมีระดับความพงึ พอใจกับประเดน็ ทีป่ ระเมิน
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ประเด็นท่ี 1 “เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้/ฝึกอบรมตรงตามความต้องการของท่านเพียงใด” ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจใน
ระดับ “มาก” รอ้ ยละ 10.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 2 “วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับความ
พึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 20.00 มีระดับความ
พงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 3 “วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 50.00
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 30.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 20.00
มรี ะดบั ความพึงพอใจในระดับ “ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 4 “ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00
มีระดับความพึงพอใจในระดบั “มากที่สดุ ” ร้อยละ 60.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นท่ี 5 “จํานวนสื่อ/อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 20.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 60.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
รอ้ ยละ 20.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง”

ประเด็นท่ี 6 “ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด” ผู้ตอบ
แบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจใน
ระดับ “มาก” รอ้ ยละ 10.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”

ประเด็นที่ 7 “ความรู้ทักษะที่ได้ สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม
ร้อยละ 30.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากที่สุด” ร้อยละ 60.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก”
รอ้ ยละ 10.00 มีระดับความพงึ พอใจในระดับ “ปานกลาง”

ประเดน็ ท่ี 8 “สถานท่ีเรียนเหมาะสมเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจ
ในระดับ “มากที่สุด” รอ้ ยละ 60.00 มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั “มาก”

ประเด็นที่ 9 “ท่านได้รับโอกาสในการเรียนรู้เท่าเทียมกันเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 60.00
มรี ะดบั ความพงึ พอใจในระดบั “มากที่สุด” รอ้ ยละ 40.00 มีระดับความพงึ พอใจในระดับ “มาก”

ประเด็นที่ 10 “ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรมเหมาะสมเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 50.00
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากทีส่ ดุ ” ร้อยละ 50.00 มีระดบั ความพึงพอใจในระดับ “มาก”
ประเด็นท่ี 11 “ความรู้ที่ได้รับคุ้มค่ากับเวลา และความต้ังใจเพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 50.00
มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 10.00 มี
ระดับความพงึ พอใจในระดบั “ปานกลาง”
ประเด็นที่ 12 “ท่านพึงพอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด” ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ ร้อยละ 40.00 มีระดับความพึง
พอใจในระดับ “มากท่ีสุด” ร้อยละ 50.00 มีระดับความพึงพอใจในระดับ “มาก” ร้อยละ 10.00 มีระดับความพึง
พอใจในระดับ “ปานกลาง”

14

อภิปรายผล

จากการจัดกิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ รูปแบบชั้นเรียนวิชาชีพ วิชาการแปรรูปอาหาร
สรปุ ได้ดังน้ี

โดยเฉล่ียแล้วผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดีมาก เมื่อวิเคราะห์เป็น
รายข้อพบว่า วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา , วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด ,ความรู้ที่ได้รับ
คุ้มค่ากับเวลา และความต้ังใจเพียงใด ( x =4.73 ) เป็นอันดับหนึ่ง เน้ือหาวิชาท่ีจัดการเรียนรู้/ ฝึกอบรมตรงตาม
ความต้องการของท่านเพียงใด ( x =4.68) เป็นอันดับสอง ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ,
ท่านไดร้ บั โอกาสในการเรยี นรเู้ ท่าเทียมกนั เพยี งใด , ทา่ นพงึ พอใจต่อหลักสูตรนี้เพียงใด ( x =4.62) เป็นอันดับสาม
ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด , ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม
เหมาะสมเพียงใด ( x =4.55) เป็นอันดับสี่ สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด ( x =4.47) เป็นอันดับห้า จํานวนส่ือ/
อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด , ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด (
x =4.33) เป็นอันดบั สุดท้าย

สรุปค่า x ทัง้ 12 ข้อมีความพึงพอใจอยู่ใน ระดบั ดีมาก x =4.58
สรปุ ค่า S.D. ทั้ง 12 ขอ้ มคี วามพึงพอใจ S.D.= 0.54
สรปุ คา่ เปอรเ์ ซ็นต์ ทัง้ 12 ขอ้ มคี วามพึงพอใจอยู่ท่ี 86.67 %
ความพงึ พอใจโดยรวมของผู้เข้าร่วมกิจกรรมอยใู่ น ระดับดมี าก

ขอ้ เสนอแนะจากแบบประเมนิ โครงการ
ควรจัดใหม้ ีการอบรมเกย่ี วกับการทาํ ขนมไทย และอาหารไทย

15

บทท่ี 5

สรปุ อภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะ

การจดั กจิ กรรม
การโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง ดําเนินการในวันท่ี 18 – 19

กุมภาพันธ์ 2564 ณ บ้านนางวิรัตน์ จันทนา หมู่3 ตําบลหัวถนน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
มีผเู้ ขา้ ร่วมกิจกรรม จํานวน 10 คน และมผี ้ผู า่ นการประเมิน จํานวน 10 คน ซึ่งผู้จัดทําได้ดําเนินการตามลําดับ
ขนั้ ดงั น้ี

1. สาํ รวจความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย
2. กาํ หนดแผนและปฏิทนิ การดําเนินงาน
3. ดาํ เนินงานและตดิ ต่อประสานงาน
4. ดําเนนิ การจดั กจิ กรรมวชิ าการทําอาหารวา่ ง

วัตถุประสงค์
1. เพ่ือใหผ้ เู้ รียนมีความรู้เกี่ยวกบั วิชาการทาํ อาหารวา่ ง
2. เพื่อให้ผเู้ รยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกับวสั ดุ อปุ กรณ์ และวิชาการทาํ อาหารว่าง
3. เพ่ือให้ผเู้ รียนมีความรู้ความเขา้ ใจและฝึกทักษะการบรหิ ารจดั การในอาชพี ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

วธิ ดี ําเนินการ
1.ประสานงานกบั ภาคเี ครือขา่ ย/สาํ รวจความต้องการ
ครู กศน.ตําบลหวั ถนน ได้ดําเนนิ การประสานงานภาคเี ครือขา่ ยประกอบดว้ ย กํานนั ผ้ใู หญ่บา้ น

กลุม่ พัฒนาสตรี และอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาํ หมู่บา้ น เพอ่ื สํารวจความต้องการของกลุ่มเปา้ หมายและนํามา
วางแผนจัดกจิ กรรม

2. เสนอโครงการ
โดยดําเนนิ การขออนมุ ตั ิโครงการศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน (กลุ่มสนใจ) วชิ าการทําอาหารวา่ ง

3. ดาํ เนนิ การจัดกจิ กรรม
การโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (กลุ่มสนใจ) วิชาการทําอาหารว่าง ดําเนินการในวันท่ี 18 – 19
กุมภาพันธ์ 2564 ณ บ้านนางวิรัตน์ จันทนา หมู่3 ตําบลหัวถนน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี
มผี เู้ ขา้ ร่วมกจิ กรรม จาํ นวน 10 คน และมีผผู้ ่านการประเมนิ จาํ นวน 10 คน

16

สรปุ ผลการดําเนนิ งาน

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม เป็นเพศหญิง จํานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 100.00 เม่ือจําแนกตามอายุปรากฏ
ว่า ช่วงอายุ 40-60 ปี จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 อายุ 60 ปีขึ้นไป จํานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ
60.00 ตามลําดับเม่ือจําแนกตามการศึกษาปรากฏว่าจบ ระดับประถมศึกษา จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ
40.00 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40.00 และระดับมัธยมศึกษาตอนปลายจํานวน
2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 ตามลําดับ เมื่อจําแนกตามอาชีพปรากฏว่า อาชีพเกษตรกรรม จํานวน 7คน คิด
เป็นร้อยละ 70.00 อาชีพค้าขาย จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20.00 และอาชีพรับจ้าง จํานวน 1 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 10.00 ตามลาํ ดบั

โดยเฉลี่ยแล้วผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ ดีมาก เม่ือวิเคราะห์เป็น
รายข้อพบว่า วิทยากรมาให้ความรู้ตรงตามเวลา , วิทยากรมาให้ความรู้ครบตามหลักสูตรกําหนด ,ความรู้ที่ได้รับ
คุ้มค่ากับเวลา และความตั้งใจเพียงใด ( x =4.73 ) เป็นอันดับหนึ่ง เนื้อหาวิชาที่จัดการเรียนรู้/ ฝึกอบรมตรงตาม
ความต้องการของท่านเพียงใด ( x =4.68) เป็นอันดับสอง ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ,
ท่านไดร้ บั โอกาสในการเรยี นร้เู ท่าเทยี มกันเพยี งใด , ทา่ นพึงพอใจต่อหลักสูตรน้ีเพียงใด ( x =4.62) เป็นอันดับสาม
ท่านได้รับความรู้และสามารถฝึกทักษะได้ตามท่ีคาดหวังมากน้อยเพียงใด , ระยะเวลาในการเรียน/กิจกรรม
เหมาะสมเพียงใด ( x =4.55) เป็นอันดับส่ี สถานที่เรียนเหมาะสมเพียงใด ( x =4.47) เป็นอันดับห้า จํานวนส่ือ/
อุปกรณ์การฝึกประกอบการเรียนเพียงพอเพียงใด , ความรู้ทักษะท่ีได้ สามารถนําไปใช้ประกอบอาชีพได้เพียงใด (
x =4.33) เปน็ อันดับสดุ ทา้ ย

สรุปคา่ x ทง้ั 12 ขอ้ มีความพงึ พอใจอยใู่ น ระดบั ดีมาก x =4.58
สรุปค่า S.D. ท้งั 12 ข้อมีความพงึ พอใจ S.D.= 0.54
สรปุ คา่ เปอรเ์ ซ็นต์ ทั้ง 12 ขอ้ มคี วามพึงพอใจอยู่ที่ 86.67 %
ความพงึ พอใจโดยรวมของผู้เขา้ ร่วมกิจกรรมอยใู่ น ระดบั ดมี าก

อภปิ รายผล
จากการประเมินความพึงพอใจในการร่วมกิจกรรมซ่ึงเป็นการวัดเจตคติการเห็นคุณค่าของกิจกรรม

อยู่ในระดับดีมาก สรุปไดว้ ่ากิจกรรมนีบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์ ผู้ร่วมกิจกรรมมีความรู้และสามารถทําอาหารว่างได้และ
ถนําความรู้ที่ได้รับไปศึกษาต่อเพ่ือเพ่ิมทักษะความชํานาญ เพ่ือเพ่ิมรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว สอดคล้องกับ
ความตอ้ งการของกลมุ่ เป้าหมาย

ขอ้ เสนอแนะ
จากแบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมกจิ กรรม จํานวน 10 คน มีความต้องการทจ่ี ะฝึกอบรมอาชีพ

เก่ยี วกบั การทาํ ขนมไทย และอาหารไทย

17

บรรณานกุ รม

บุญชม ศรีสะอาด และ บุญส่ง นิวแก้ว. (2535 หน้า 22 – 25).อ้างอิงประชากรเม่ือใช้เคร่ืองมือแบบมาตราส่วน
ป ร ะ ม า ณ ค่ า กั บ ก ลุ่ ม ตั ว อ ย่ า ง . ว า ร ส า ร ก า ร วั ด ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศ รี น ค ริ น ท ร วิ โ ร ฒ .

ข้อมลู วนั ท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2564
ความรทู้ ่ัวไปเกยี่ วกับประวัติความเป็นมาของอาหารวา่ งของไทยhttp://kanomwanthai.wordpress.com

เขา้ ถงึ ข้อมูลวนั ท่ี ข้อมลู วนั ท่ี 25 กมุ ภาพันธ์ 2564
สูตร-ขนมไทย/ขนมมงคล www.kangtung.com ข้อมูลวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564
http://kanomwanthai.wordpress.com/ความรูท้ วั่ ไปเกี่ยวกับ/ เขา้ ถงึ ขอ้ มูลวันท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564
http://9leang.com/?p=286 ข้อมูลวันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2564
http://www.kroobannok.com/blog/ข้อมลู วันท่ี 25 กุมภาพันธ์ 2564
สตู รอาหาร/การทํากล้วยขา้ วเม่าทอด http://5nok.com/8425/3 variety// ขอ้ มูลวนั ท่ี 25 กุมภาพนั ธ์ 2564
สตู รอาหาร/การทําขนมฟักทองนงึ่
https://www.wongnai.com/recipes/ugc/67fbf7e84d314b23ac92255c0d2555b2?ref=c
tข้อมูลวันที่ 25 กุมภาพนั ธ์ 2564
บุญชม ศรสี ะอาด และบุญส่ง นิลแก้ว.(2535,หน้า22-25)การอ้างอิงประชากรเม่ือใช้เครอ่ื งมอื แบบมาตราสว่ น
ประมาณคา่ กับกลมุ่ ตัวอย่าง.วารสารการวดั ผลการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ มหาสารคาม

18

ภาพผนวก

19

ภาพกจิ กรรม
หลักสตู ร วิชาการทาํ อาหารว่าง จํานวน 10 ชัว่ โมง

วนั ท่ี 18 – 19 กุมภาพนั ธ์ 2564
ณ บา้ นเลขท3ี่ /2 (บา้ นนางวิรัตน์ จันทนา) หมทู่ ่ี 3 บา้ นแหลมเขา ตาํ บลหวั ถนน อาํ เภอพนสั นคิ ม จังหวัดชลบุรี

20

คณะผจู้ ดั ทาํ

ทป่ี รกึ ษา ผ้อู าํ นวยการ กศน.อาํ เภอพนัสนิคม
1. นางณชั ธกัญ หมืน่ สา ครู
2. นางสาวมุทิกา การงานดี ครูผู้ช่วย
3. นางพิรฬุ พรหพ์ ร ทาํ ทอง ครูผ้ชู ว่ ย
4. นางสาวณภษร ศรบี ุณยะแก้ว ครูอาสาสมัครฯ
5.นายวชั รนิ ทร์ อดุ านนท์
หัวหน้า กศน.ตําบลหวั ถนน
ผจู้ ดั ทาํ รปู เล่ม
1. นางสาวทวพี ร เคนราํ

21


Click to View FlipBook Version