The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ป.3 การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Siriluck Lerthirunsap, 2021-11-07 09:33:07

ป.3 การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ

ป.3 การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ

Keywords: วิทยาการคำนวณ3,ครอบครัวสาธิตสวนสุนันทา

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์

จรยิ ธรรมในการ
ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ

“เดก็ ๆ รูอ้ ะไรเก่ียวกบั เพ่อื นท่นี ั่งข้างๆกนั บ้าง?”

ชื่อเล่น อาหาร
ทีช่ อบ

วนั เกิด สีที่ชอบ

จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ
แบ่งเป็น 4 ประเด็น คอื

1.ความเปน็ สว่ นตัว 2.ความถูกต้อง

3. ความเป็นเจา้ ของ 4.การเข้าถงึ ขอ้ มลู

ทรพั ยส์ นิ ทจี่ ับตอ้ งได้
และไมไ่ ด้

บัญญัติ 10 ประการ

1 ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรเ์ พอ่ื กอ่ อาชญากรรม 6 ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นการคดั ลอกโปรแกรมที่มลี ขิ สทิ ธ์ิ
หรอื ละเมดิ สทิ ธผิ ้อู นื่

2 ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรร์ บกวนการผอู้ นื่ 7 ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรใ์ นการละเมดิ การใช้
ทรพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยท่ตี นเองไมม่ สี ทิ ธ์ิ

3 ไมท่ าการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดไู ฟล์ 8 ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรเ์ พือ่ นาเอาผลงาน
ของผู้อนื่ กอ่ นไดร้ บั อนญุ าต ของผู้อน่ื มาเป็นของตน

4 ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรใ์ นการโจรกรรมขอ้ มลู ขา่ วสาร 9 คานงึ ถงึ ผลของการกระทาที่จะเกดิ ขน้ึ กบั สงั คม
5 ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลกั ฐานเทจ็
ใช้คอมพิวเตอรโ์ ดยเคารพ

10 กฎระเบยี บ กติกา และมารยาท

มาช่วยกันทาท้งั 10 ข้อกัน

ควรทา ไมค่ วรทา

การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีดังน้ี

1. ไม่เปดิ เผยขอ้ มลู สว่ นตวั
2. กาหนดรหสั ผา่ นใหร้ ดั กมุ เปลย่ี นรหสั ผา่ นทุกๆ 3 เดือน

3. ออกจากระบบทุกครงั้ หลงั ใช้งาน
4. ตดิ ตัง้ โปรแกรมปอ้ งกันไวรสั คอมพวิ เตอร์

5. ขอความช่วยเหลือเมอ่ื เกิดปัญหา

“หากพบวา่ ข้อมูลสว่ นตัวถูกขโมยไป
เดก็ ๆ จะบอกใครใหช้ ่วยเหลือ?”

พอ่ ผู้ดแู ลเวบ็ ไซต์ คุณครู
แม่ ตารวจ

จรยิ ธรรม ใบความรทู้ ี่ 1 จรยิ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ

ในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ บญั ญตั ิ 10 ประการ

จรยิ ธรรมในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ แบง่ เป็น 4 ประเดน็ 1. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรเ์ พอื่ กอ่ อาชญากรรมหรอื ละเมดิ สิทธผิ อู้ น่ื
2. ไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรร์ บกวนการผอู้ นื่
ความเป็น ความ 3. ไม่ทาการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดไู ฟล์ของผูอ้ น่ื ก่อนไดร้ บั อนุญาต
ส่วนตัว ถกู ตอ้ ง 4. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรใ์ นการโจรกรรมขอ้ มูลข่าวสาร
5. ไมใ่ ช้คอมพิวเตอรส์ รา้ งหลกั ฐานเทจ็
ความเป็น การเข้าถงึ 6. ไม่ใช้คอมพิวเตอรใ์ นการคัดลอกโปรแกรมทมี่ ลี ิขสทิ ธิ์
เจา้ ของ ขอ้ มูล 7. ไม่ใช้คอมพิวเตอรใ์ นการละเมดิ การใช้ทรพั ยากรคอมพวิ เตอรโ์ ดยท่ี

ตนเองไม่มสี ทิ ธ์ิ
8. ไม่ใช้คอมพวิ เตอรเ์ พือ่ นาเอาผลงานของผอู้ ื่นมาเป็นของตน
9. คานงึ ถึงผลของการกระทาท่ีจะเกิดข้นึ กบั สังคม
10. ใช้คอมพิวเตอรโ์ ดยเคารพกฎระเบยี บ กติกา และมารยาท

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์



ไม่นานมานี้มนี ักการเมือง
โดนโจมตที างสอื่ สังคมออนไลน์
ดว้ ยรปู ภาพและขอ้ มูลทีเ่ คยลงไวใ้ นอดตี
ถูกขุดคุย้ มาโจมตี ทาให้เกิดความเกลยี ดชังและขดั แยง้

ทัง้ หมดนี้เกิดขึน้ ดว้ ย

รอ่ งรอยดจิ ิทัล(Digital Footprint)

รอ่ งรอยดิจทิ ัล(Digital Footprint)คืออะไร ?

รอ่ งรอยดจิ ทิ ัล คอื รอ่ งรอยที่ผใู้ ช้อนิ เทอรเ์ น็ตกระทาการต่าง ๆ

อพั โหลดขอ้ มลู สว่ นตวั ไฟลง์ าน รปู ภาพ การใช้งานสมารท์ โฟน
แทบ็ เลต็ คอมพวิ เตอร์

ระบบของอนิ เทอรเ์ นต็ จะบันทึกขอ้ มลู ของผู้ใช้งาน รอ่ งรอยดจิ ทิ ัล สามารถบอกใหผ้ อู้ นื่ ทราบถงึ สงิ่ ทเ่ี ราชอบ
เช่น ชื่อ และขอ้ มลู สว่ นตวั วนั เกดิ ตาแหน่งงานผลงาน สง่ิ ท่สี นใจ และสง่ิ ที่เราอยากทาได้

การศกึ ษา ประวตั สิ ่วนตัว ของผใู้ ช้งาน

รอ่ งรอยดิจทิ ัล มี 2 ประเภท

ประเภทท่ี 1 รอ่ งรอยดจิ ทิ ลั ที่ผใู้ ช้เจตนาบนั ทกึ
(Active Digital Footprints)

ขอ้ มลู ท่เี ราตัง้ ใจเปดิ เผยโดยทร่ี ตู้ ัว
เช่น อเี มลเ์ บอรโ์ ทร ชื่อโปรไฟล์ เฟซบกุ๊ ส่งิ ท่เี ราโพสต์ แชร์

ประเภทที่ 2 รอ่ งรอยดจิ ิทลั ท่ีผู้ใช้ไมเ่ จตนาบนั ทึก
(Passive Digital Footprints)

ข้อมลู ท่ไี มไ่ ดต้ ้ังใจหรอื ไมไ่ ดร้ ตู้ วั
เช่น IP Address หรอื Search History ต่างๆ

ถกู จดั เก็บเอาไว้ ส่ิงที่เราเคยคลกิ เข้าไป
การซ้ือสนิ คา้ ออนไลนข์ องเรา การเปดิ ระบบGPS

กฎความปลอดภัยในการใช้งานอนิ เทอรเ์ น็ต

1 ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มลู สว่ นตวั

2 ไมน่ ดั แนะเพ่อื พบปะกบั บคุ คลที่รจู้ กั 4 ไมใ่ หค้ วามสนใจ หรอื ตอบโตก้ บั คน
ทางอนิ เทอรเ์ นต็ โดยไมบ่ อกผู้ปกครอง ท่ีใช้ถอ้ ยคาหยาบคาย

3 ไมส่ ง่ รปู หรอื ขอ้ มลู สว่ นตัวให้ 5 ไมด่ าวน์โหลดสง่ิ ท่ีไมค่ นุ้ เคยหรอื เปิดเอกสาร
กบั คนทร่ี ูจ้ กั ทางอนิ เทอรเ์ น็ต จากอเี มลข์ องคนทีเ่ ราไมร่ จู้ ัก

6 เคารพในกฎระเบยี บ นโยบาย หรอื ขอ้ ตกลงทีใ่ หไ้ วก้ บั
ผปู้ กครองและคณุ ครใู นการใช้อนิ เทอรเ์ นต็

มาช่วยกนั เขียนประวัตสิ ่วนตัว
ของเดก็ ๆกันเถอะ

นา้ หนกั ส่วนสงู เชื้อชาติ-
สญั ชาติ

ชื่อ-นามสกุล ชื่อเลน่ อาหารทชี่ อบ ผลไมท้ ี่ชอบ สีที่ชอบ

อยา่ ลมื ตดิ รปู
ดว้ ยนะเดก็ ๆ

วันเกิด งานอดเิ รก ความสามารถพเิ ศษ วชิ าที่ชอบ

Digital Footprintใบความรทู้ ี่ 2 รอ่ งรอยดิจิทลั (Digital Footprint) รอ่ งรอยดจิ ทิ ัล มี 2 ประเภท
ประเภทท่ี 1 รอ่ งรอยดจิ ทิ ลั ทผ่ี ใู้ ช้เจตนาบนั ทกึ
รอ่ งรอยดจิ ทิ ลั คอื รอ่ งรอยทผี่ ู้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตกระทาการตา่ ง ๆ (Active Digital Footprints)
เช่น การใช้งานอพั โหลดขอ้ มลู สว่ นตวั ไฟลง์ าน รปู ภาพ การใช้ เช่น อเี มล์ เบอรโ์ ทร ชื่อโปรไฟล์ เฟซบกุ๊ หรอื สงิ่ ทีเ่ รา
งานสมารท์ โฟน แทบ็ เลต็ และคอมพวิ เตอร์ โดยระบบตา่ ง ๆ ตั้งใจโพสตล์ งในโซเชียลมเี ดยี
ของอนิ เทอรเ์ น็ตจะบนั ทกึ ขอ้ มลู ของผู้ใช้งาน เช่น ชื่อ และขอ้ มลู ประเภทท่ี 2 รอ่ งรอยดจิ ทิ ัล ทผ่ี ู้ใช้ไมเ่ จตนาบนั ทกึ
ส่วนตวั วนั เดนิ ปีเกดิ ตาแหน่งงาน ผลงาน ขอ้ มลู การศกึ ษา (Passive Digital Footprints)
ประวตั สิ ว่ นตวั ของผใู้ ช้งาน เช่น IP Address หรอื Search History ต่าง ๆ

รอ่ งรอยดจิ ทิ ลั สามารถบอกใหผ้ ูอ้ นื่ ทราบถงึ ส่ิงทเ่ี ราชอบ
สิ่งทส่ี นใจ และสิง่ ทเี่ ราอยากทา และยากทจ่ี ะลบออก

กฎความปลอดภยั ในการใช้งานอินเทอรเ์ น็ต

• ไมเ่ ปิดเผยขอ้ มลู สว่ นตวั เช่น เบอรโ์ ทรศพั ท์ ช่ือโรงเรยี น ช่ือเพอื่ น หรอื ผู้ปกครอง
• ไมน่ ดั แนะเพอ่ื พบปะกบั บคุ คลทร่ี จู้ กั ทางอนิ เทอรเ์ นต็ โดยไมบ่ อกผปู้ กครอง
• ไมส่ ง่ รปู หรอื ขอ้ มลู สว่ นตวั ใหก้ บั คนทร่ี จู้ กั ทางอนิ เทอรเ์ นต็
• ไมใ่ หค้ วามสนใจ หรอื ตอบโตก้ บั คนทใี่ ช้ถ้อยคาหยาบคาย
• ไมด่ าวนโ์ หลดสง่ิ ทไ่ี มค่ นุ้ เคย หรอื เปิดเอกสารจากอเี มล์ของคนทเ่ี ราไมร่ จู้ กั
• เคารพในกฎระเบยี บ นโยบาย หรอื ขอ้ ตกลงทใี่ หไ้ วก้ ับผูป้ กครอง และคณุ ครู
ในการใช้อนิ เทอรเ์ น็ต

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์

เวบ็ เบราวเ์ ซอร์

“เดก็ ๆ เคยใช้ Web Browser(เวบ็ เบราวเ์ ซอร)์ ไหม?”

Web Browser (เวบ็ เบราว์เซอร)์ กเู กลิ โครม อนิ เทอรเ์ น็ตเอ็กซ์พลอเรอร์
(Google Chrome) (Internet Explorer)
คอื โปรแกรมทีใ่ ช้ในการเขา้ ถงึ ขอ้ มลู และตดิ ตอ่ สอื่ สาร
ในรปู แบบWebpage(เวบ็ เพจ)

โดยโปรแกรมจะแปลงภาษาคอมพวิ เตอร์ HTML
ใหค้ นทวั่ ไปอา่ นและเขา้ ใจไดบ้ นหนา้ เว็บ

การใช้งาน Web Browser โอเปรา่ (Opera) มอซิลลา ไฟรฟ์ อกซ์
(Mozilla Firefox)
กรอก Domain Name(โดเมนเนม)= ช่ือเวบ็ ไซต์
เพื่อเข้าเว็บไซตต์ า่ งๆ แทนIP Address(ไอพีแอดเดรส)

ซาฟาร(ี Safari)

ประโยชน์ของ Web Browser(เว็บเบราว์เซอร)์

ทาให้ใช้อนิ เทอรเ์ น็ตได้ง่ายข้ึน คน้ หาข้อมูล
เปน็ สง่ิ แรกทตี่ ้องเขา้ ใช้ไปยงั เวบ็ ไซตอ์ นื่ ทาธรุ กจิ

เปน็ ที่นิยมในสงั คมปจั จบุ นั

ทาธรุ กรรมตา่ งๆ

ช่วยกันทาลูกเต๋าเบาวเ์ ซอรก์ นั เด็กๆ

ตดั พบั ตดิ กาวเลข1

ใบความรทู้ ี่ 3 เว็บเบราวเ์ ซอร์

Web Browser กเู กลิ โครม โอเปรา่
(Google Chrome) (Opera)

Web Browser (เว็บเบราว์เซอร)์ อนิ เทอรเ์ น็ต มอซิลลา ไฟรฟ์ อกซ์
คอื โปรแกรมทใี่ ช้ในการเข้าถึงข้อมูล เอก็ ซ์พลอเรอร์ (Mozilla Firefox)
และติดตอ่ สอ่ื สารในรปู แบบ Webpage (Internet Explorer)
โดยโปรแกรมจะแปลงภาษาคอมพิวเตอร์ HTML
ใหเ้ ป็นภาษาทคี่ นทว่ั ไปสามารถอา่ นและเข้าใจได้ ประโยชน์ของเวบ็ บราวเซอร์

เวบ็ บราวเซอรเ์ ป็นโปรแกรมทถี่ ูกสรา้ งข้ึนมาใหผ้ ใู้ ช้งาน
อนิ เทอรเ์ น็ตสามารถใช้งานไดง้ า่ ยข้นึ ไมว่ า่ จะเป็นการเข้าเว็บไซต์เพือ่
คน้ หาข้อมลู ทาธรุ กจิ หรอื ธรุ กรรมต่างๆ
การใช้งาน Web Browser ในปัจจบุ นั เมอ่ื สงั คมเข้าสู่ยคุ อินเทอรเ์ น็ตการใช้งานเว็บ
บราวเซอรจ์ งึ เป็นทนี่ ิยม และถอื เป็นส่ิงแรกทีผ่ ู้ใช้งานตอ้ งทาการเข้าใช้
ในการเข้าชมเว็บไซต์ ผใู้ ช้งานจะต้องกรอก เพอ่ื เป็นการสง่ ตอ่ ไปยังเวบ็ ไซตห์ รอื สิ่งอนื่ ๆ ที่เราต้องการเข้าใช้ต่อไป
Domain Name (โดเมนเนม) เพอื่ เขา้ ไป
ยงั เวบ็ ไซต์ตา่ งๆ โดย Domain Name
จะนามาใช้แทน IP Address (ไอพี แอดเดรส)
หรอื ทอี่ ยู่ของเว็บไซต์ท่เี ปน็ ตวั เลขซึ่งจดจาไดย้ าก

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์

oogle Search

“ถา้ เดก็ ๆ อยากรูข้ ้อมูลเรอื่ งไวรสั โคโรนา Covid-19
หาข้อมูลจากไหน จะได้ครบถว้ นมากทีส่ ดุ ”

ไวรสั โคโรนา - รบั ประทานอาหารท่ีมีประโยชน์และครบ 5 หมู่
- ไม่คลกุ คลใี กลช้ ิดกับผู้ปว่ ย
Covid-19 - ใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากปดิ จมูกเวลา ไอ หรอื จาม
ไวรสั โคโรนา (Coronavirus) - ควรล้างมือบอ่ ยๆ ด้วยน้าและสบู่
เป็นไวรสั ท่ีสามารถติดเชื้อได้ท้ังในมนษุ ย์และสัตว์ - หลีกเลีย่ งการเขา้ ไปในพ้ืนที่แออัด
ปัจจุบันมกี ารค้นพบไวรสั สายพันธ์นุ แ้ี ลว้ ท้ังหมด 6 สายพันธ์ุ
ส่วนสายพันธ์ุที่กาลงั แพรร่ ะบาดอยู่ในขณะน้ี ยังไม่เคยพบมาก่อน
คอื สายพนั ธท์ุ ี่ 7 จึงถูกเรยี กว่าเปน็ “ไวรสั โคโรนาสายพนั ธุ์ใหม่”

และในถูกตง้ั ชื่ออยา่ งเปน็ ทางการวา่ “โควิด-19” (COVID-19)
แพรก่ ระจายเช้ือจากการสัมผสั (Contact)
กับสารคดั หล่ังจากทางเดนิ หายใจ

หรอื แพรก่ ระจายเช้ือจากฝอยละอองนา้ มูก นา้ ลาย
(Droplet) จากผู้ปว่ ยท่มี ีเชื้อ
โดยการ ไอ หรอื จาม

มีไข้ เจ็บคอ มีนา้ มูก ไอแหง้ ๆ หายใจ

หอ้ งสมดุ เลอื กดหู นังสือตามหมวดหมู่ อนิ เทอรเ์ น็ต Google

Google Search

เป็นเครอ่ื งมอื ทใ่ี ห้บรกิ ารคน้ หาขอ้ มูลบนอนิ เทอรเ์ นต็ (Search Engine)ของเวบ็ ไซต์ Google.com ระวัง!!
เขา้ เวบ็ ไซต์ www.google.com พิมพข์ ้อความ(Keyword) เพ่อื คน้ หา และกดป่มุ Enter ข้อมลู ปลอม
จะแสดงเวบ็ ไซตท์ ั้งหมดทันที กนั ดว้ ยนะเดก็ ๆ

เวบ็ ไซต์ ไฟล์รปู ภาพ กลมุ่ ขา่ ว สาระบบเวบ็
(Images) (News Groups) (Web Directory)

มาช่วยกนั ทานะครบั เด็กๆ

น่าเชื่อถอื ไมน่ ่าเช่ือถอื

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์



“ถา้ เดก็ ๆ อยากรเู้ รอื่ งอะไร จะไปถามใคร?”

พ่อแม่
ครู พ่สี าว

ข้อมูล (DATA)

คอื ขอ้ เทจ็ จรงิ หรอื ส่ิงต่างๆ ไม่วา่ จะเป็น คน สตั ว์ ส่ิงของ
เรอื่ งราว เหตกุ ารณ์ หรอื สถานท่ีต่างๆ ทีเ่ ราสนใจ

ซ่ึงประเภทของข้อมูลทไ่ี ดร้ บั จะอยู่ในรปู แบบของ ขอ้ มลู รปู ภาพ ตวั เลข
สัญลักษณ์ ตัวอกั ษร เสียง ภาพเคลื่อนไหว รสและผวิ สมั ผสั
ซ่ึงเราจะรบั รไู้ ดจ้ ากประสาทสมั ผสั ทั้ง 5

ตา หู จมกู ปาก ผิวสมั ผัส

ประเภทของขอ้ มลู

1.ขอ้ มลู ตวั อกั ษร คอื ขอ้ มลู ท่ี 2.ขอ้ มลู ตวั เลข คอื ขอ้ มลู ที่ประกอบ
ประกอบดว้ ยตัวอกั ษรและตัวเลขท่ใี ช้ ไปดว้ ยตัวเลข 0 – 9 ใช้ในการ

ในการคานวณ ท้งั ภาษาไทย คานวณได้ เช่น คะแนน จานวนเงนิ
และตา่ งประเทศ ราคาสนิ คา้

เช่น บตั รประชาชน ทะเบยี นบา้ น

3.ขอ้ มลู ภาพ คอื ขอ้ มลู ทเี่ ป็นภาพ 4.ขอ้ มลู เสยี ง คอื ขอ้ มลู ท่ีรบั รูด้ ว้ ย
ภาพน่ิง หรอื ภาพเคลอื่ นไหว การไดย้ นิ จดั เกบ็ ขอ้ มลู ใน

สอ่ื คอมพวิ เตอร์ แสดงผลผ่านเครอื่ ง
ขยายเสยี งและลาโพง

ส่อื (Media) คอื ตัวกลางในการติดต่อสอ่ื สาร โดยนาสารจากผสู้ ง่ ไปยังผรู้ บั เพอ่ื ติดตอ่ สอื่ สารถงึ กนั
แหล่งข้อมลู หมายถงึ สถานทหี่ รอื แหลง่ ทเ่ี กดิ ขอ้ มลู จะแตกต่างกนั ไปตามขอ้ มลู ทตี่ ้องการ

2แบง่ เป็น แหลง่ ขอ้ มลู ตามลกั ษณะการเกดิ ดงั นี้

1.แหล่งข้อมลู ปฐมภูมิ หมายถึง ขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากการเกบ็ รวบรวม
หรอื บันทึกจากแหล่งข้อมูลโดยตรง เปน็ การสอบถาม การสัมภาษณ์

การจดบันทกึ และการจดั หาดว้ ยเครอ่ื งอตั โนมตั ิ

2.แหลง่ ขอ้ มูลทตุ ิยภูมิ หมายถึง ข้อมูลที่ไดม้ ีผรู้ วบรวมไวแ้ ล้วในลักษณะ
เอกสารตพี ิมพ์เผยแพรแ่ ละตาราวชิ าการ เช่น ขอ้ มลู สถติ ิต่างๆ

5 ขนั้ ตอนวธิ ี หรอื แผนการรวบรวม

เพื่อนามาทาเป็นสารสนเทศหรอื ความรูเ้ พ่ือนาไปใช้ประโยชนต์ ่อไป

1. การกาหนดหวั ขอ้ 4. นาขอ้ มลู ท่ีไดม้ าทาการประมวลผล
2. การเตรยี มอปุ กรณ์ โดยเปรยี บเทยี บ จดั กลมุ่ เรยี งลาดบั
3. คน้ หาและเกบ็ ขอ้ มลู
จนไดผ้ ลเป็นสารสนเทศ
5. นาเสนอ ซึ่งทาไดห้ ลายลกั ษณะตามวตั ถปุ ระสงค์

เช่น การบอกเลา่ เอกสารรายงาน โปสเตอร์
โปรแกรมนาเสนอ

มาช่วยกันตอบคาถาม 6 ข้อ
เรอื่ งไวรสั โคโรนา Covid-19

1 35
24 6

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์



4 ขั้นตอนการทางานของคอมพวิ เตอร์

1.รบั ข้อมลู 2.ประมวลผลขอ้ มูล 3.แสดงผลข้อมลู 4.จัดเก็บขอ้ มลู
(Input) (Process) (Output)

แป้นพิมพ์ CPU แผน่ ซีดี จอภาพ

4 ข้ันตอนการหาข้อมูลของไวรสั โคโรนา Covid-19

1.รบั ข้อมูล 2.ประมวลผลข้อมูล 3.แสดงผลขอ้ มลู 4.จดั เกบ็ ขอ้ มูล
(Input) (Process) (Output)

หาขอ้ มูลจาก นามาเรยี งลาดบั ข้อมลู ออกมานาเสนอข้อมลู จดจาและนาไปใช้
แหลง่ ข้อมลู ต่างๆ วิเคราะห์ข้อมูล ประโยชนไ์ ด้

เดก็ ๆ เรามาช่วยกัน ตดั เตมิ ตดิ ให้ตรงช่องกนั

อ.ศริ ิลกั ษณ์ เลศิ หริ ัญทรพั ย์

นาเสนอขอ้ มลู

“จากคลิปท่ีเด็กๆดู เรอ่ื งไวรสั โคโรนา COVID-19
นาเสนอในรูปแบบวีดโี อ Infographic
มีทงั้ ขอ้ ความ ภาพ และเสียงประกอบ

ทาใหน้ ่าสนใจและเข้าใจงา่ ย มาเรยี นรวู้ ิธนี าเสนอข้อมลู กนั ”

การนาเสนอข้อมูลคืออะไร?

การนาเสนอข้อมลู หมายถึง

การนาขอ้ มลู และรายละเอยี ดตา่ งๆ ทเี่ กบ็ รวบรวมมาจดั ใหเ้ ป็นระเบยี บ
เพื่อนาเสนอขอ้ มลู จากบคุ คลหนึ่ง(ผนู้ าเสนอ)
ไปยังอกี บคุ คลหนงึ่ (ผู้ฟงั ผรู้ บั ขอ้ มลู )

ใหเ้ ขา้ ใจเรอื่ งท่ีนาเสนอ โดยใช้เทคนคิ และสอ่ื ตา่ งๆ
เพอื่ ใหบ้ รรลจุ ดุ มงุ่ หมาย

ผนู้ าเสนอ(ผ้สู ง่ สาร) ขอ้ มลู (สาร) สอ่ื ผรู้ บั ขอ้ มลู (ผรู้ บั สาร)

จดุ มุ่งหมายในการนาเสนอ

1.เพ่อื ใหผ้ รู้ บั สารรบั ทราบ 2.เพอ่ื ใหผ้ รู้ บั สารพจิ ารณา 3.เพื่อใหผ้ รู้ บั สารไดร้ บั 4.เพื่อใหผ้ รู้ บั สารเกิด
ความคดิ เหน็ หรอื ความต้องการ เรอื่ งใดเรอื่ งหน่ึง ความรจู้ ากขอ้ มลู ท่นี าเสนอ ความเข้าใจที่ถูกต้อง

ประเภทของการนาเสนอข้อมูล

1.ดว้ ยวาจา /รายงานปากเปลา่ 2.เอกสารรายงาน 3.ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ

หลักการเลือกใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสมต่อการนาเสนองาน

1. หลกั การดงึ ดดู ความสนใจ
ออกแบบใหช้ วนมอง สบายตา สบายใจ เนือ้ หากระชับ ชัดเจน

และภาพประกอบมสี ว่ นสัมพันธก์ บั ขอ้ ความที่นาเสนอ

2. หลกั ความเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย
การออกแบบสอื่ นาเสนอต้องคานงึ ถงึ กลุม่ เป้าหมาย

เช่น เดก็ ใช้สสี ดๆ มภี าพการต์ นู ประกอบ

การนาเสนอทีด่ ี

1.มวี ัตถปุ ระสงคท์ ช่ี ัดเจน 3.เนื้อหาสาระดี
แนช่ ัดว่าเสนอเพ่ืออะไร นา่ เช่ือถอื ถูกต้อง สมบูรณ์

2.มรี ปู แบบการนาเสนอเหมาะสม ตรงตามความต้องการ
คอื ไดใ้ จความ เรยี งลาดบั ข้อมลู เปน็ ปจั จุบัน
น่าสนใจ เข้าใจงา่ ย
ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ เน้ือหาเพยี งพอแกก่ ารพิจารณา
4.มขี อ้ เสนอทด่ี ี
ช่วยใหพ้ ิจารณาข้อมลู ไดส้ ะดวก
สมเหตสุ มผล มีขอ้ เปรยี บเทยี บ
ทางเลือกท่ีเห็นไดช้ ัด เสนอแนวทาง

ปฏิบัตชิ ัดเจน


Click to View FlipBook Version