The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรีและจังหวัดเพชรบุรี)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรีและจังหวัดเพชรบุรี)

การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรีและจังหวัดเพชรบุรี)

1

การศึกษาต้นทนุ การผลิต ประสทิ ธิภาพเชงิ เทคนิคของการผลิตข้าว
แบบแปลงใหญ่ : กรณศี ึกษาแปลงใหญ่ข้าวในพนื้ ที่ภาคตะวนั ตก

(จงั หวดั กาญจนบรุ ี นครปฐม ราชบรุ ี และเพชรบรุ ี)
The Study of Cost and Technical Efficiency in Rice
Production of Large Agricultural Land Plot : Case study in

Western area of Thailand

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 10 10 th REGIONAL OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร OFFICE OF AGRICULTURAL ECONOMICS
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ MINISTRY OF AGRICULTURE AND COOPERATIVES
เอกสารวจิ ยั เศรษฐกจิ การเกษตรเลขท่ี 118 AGRICULTURAL ECONOMICS RESEARCH NO 118
ตุลาคม 2562 OCTOBER 2019

2

การศึกษาต้นทุนการผลติ ประสทิ ธิภาพเชิงเทคนคิ ของการผลติ ขา้ ว
แบบแปลงใหญ่ : กรณศี ึกษาแปลงใหญข่ ้าวในพน้ื ทีภ่ าคตะวนั ตก

(จงั หวัดกาญจนบรุ ี นครปฐม ราชบรุ ี และเพชรบุร)ี

โดย

สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 10 จงั หวดั ราชบุรี
สานกั งานเศรษฐกจิ การเกษตร
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์



บทคดั ย่อ

การศึกษาเร่ือง ต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ กรณีศึกษา
พ้ืนท่ีภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา และ
เปรยี บเทียบต้นทุนการผลิตขา้ ว และประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลติ ข้าวในพื้นท่ีแปลงใหญ่และนอกพ้ืนที่
แปลงใหญ่ โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณเ์ กษตรกรผู้ปลูกข้าวในพนื้ ท่ีแปลงใหญ่ และนอกพนื้ ที่แปลงใหญ่
เป็นจานวนทั้งส้ิน 160 ครัวเรือน โดยนาข้อมูลท่ีรวบรวมได้มาทาการวิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงต้นทุนการผลิต
การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตข้าวในพื้นท่ีแปลงใหญ่และนอกพ้ืนที่แปลงใหญ่ เปรยี บเทยี บระหว่างกลุ่มผู้เข้าร่วม
โครงการ และกลุ่มท่ีไม่เข้าร่วมโครงการ โดยวิธีจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching :
PSM) ซึ่งใช้วิธีพิจารณาผลกระทบโดยเฉลี่ยต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect on the
Treated : ATET) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิค โดยใช้แบบจาลอง Data Envelopment
Analysis (DEA)

ผลการศึกษา พบว่า ต้นทุนรวมเฉลี่ยของการผลิตข้าวของเกษตรกรในพื้นท่ีส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่มีต้นทุนรวมเฉล่ียของการผลิตข้าว เท่ากับ 3,676.11 บาทต่อไร่ ผลตอบแทนสุทธิเฉลี่ย 2,327.75
บาทต่อไร่ เกษตรกรนอกพ้ืนทีส่ ่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ เท่ากบั 4,105.83 บาทตอ่ ไร่ ผลตอบแทนสุทธิ
เฉล่ีย 1,576.03 บาทต่อไร่ เม่ือพิจารณาผลกระทบต่อต้นทุนผันแปรของเกษตรกรจากการเข้าร่วมโครงการ
พบวา่ โครงการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีส่วนช่วยให้ต้นทุนผนั แปรของเกษตรกรลดลง 294.24 บาท
ต่อไร่

สาหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคพบว่า เกษตรกรในพ้ืนที่โครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคเฉล่ีย เท่ากับ 0.822 ซึ่งหมายความว่าเม่ือ
เทียบกับผู้ผลิตท่ีดีสุดในกลุ่ม (ซึ่งมีประสิทธิภาพการผลิตเท่ากับ 1) แล้ว หากเกษตรกรต้องการผลผลิตใน
ปริมาณเท่าเดิม ควรปรับลดการใช้ปัจจัยการผลิตลงร้อยละ 17.80 ส่วนเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 0.744 ซ่ึงหมายความว่าเม่ือ
เทียบกับผู้ผลิตที่ดีสุดในกลุ่มแล้ว หากเกษตรกรตอ้ งการผลผลติ ในปริมาณเท่าเดมิ ควรปรับลดการใช้ปจั จัยการ
ผลิตลงรอ้ ยละ 25.60

นอกจากน้ีเกษตรกรท้ังท่เี ข้ารว่ ม และไมเ่ ข้าร่วมโครงการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ยังมกี ารใช้
ปัจจัยส่วนเกิน ทั้งในส่วนของเมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี สารเคมี และแรงงานเครื่องจักร ซ่ึงเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการ
ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีส่วนเกินปจั จัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี มากทสี่ ุด เท่ากับ 2.267 กิโลกรัมตอ่ ไร่
ไร่ รองลงมาคือส่วนเกินแรงงานเคร่ืองจักร เท่ากับ 1.662 วันต่อไร่ ส่วนเกินเมล็ดพันธุ์เท่ากับ 0.144 กิโลกรัม
ต่อไร่ และส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เท่ากับ 0.080 ลิตรต่อไร่
เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี มากที่สุด
เท่ากับ 3.719 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือส่วนเกินด้านแรงงานเคร่ืองจักร เท่ากับ 1.786 วันต่อไร่ ปัจจัยการ
ผลิตด้านเมล็ดพันธุ์ เท่ากับ 0.232 กิโลกรัมต่อไร่ และส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืช
และศตั รูพืช เท่ากบั 0.190 ลิตรต่อไร่

การวิเคราะห์ประสิทธิภาพต่อขนาด พบว่า เกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่มีระดับประสิทธิภาพจากขนาดการผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 0.895 เกษตรกรนอกพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่มีระดบั ประสิทธภิ าพจากขนาดการผลติ เฉลย่ี เท่ากับ 0.903

จากผลการศึกษา หากต้องการให้เกษตรกรมีต้นทุน และประสิทธิภาพการผลิตข้าวที่ดี ภาครัฐควร
สนับสนุนนโยบายแปลงใหญ่อย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมให้เกษตรกรปรับลดปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตลงให้



เหมาะสม ตามหลักวิชาการ ซง่ึ หากเกษตรกรปรับลดปริมาณการใชป้ ัจจัยการผลติ ใหเ้ หมาะสม ก็จะสามารถลด
ต้นทุนการผลิตได้อกี ซึง่ จะเพม่ิ ขดี ความสามารถในการแข่งขันและเพม่ิ รายได้ของเกษตรกรได้
คาสาคญั : ตน้ ทนุ , ประสิทธิภาพเชงิ เทคนคิ , การผลติ แปลงใหญ่



Abstract

The Study of Cost and Technical Efficiency in Rice Production of Large Agricultural Land Plot
: Case study in Western area of Thailand

The objectives of this study were to compare the production cost and the technical
efficiency of rice production in Large Agricultural Land Plot and non- Large Agricultural Land
Plot in Western area of Thailand. This study samples 160 rice farmers in Kanchanaburi Nakhon
Pathom Ratchaburi and Phetchaburi province. The statistical methodology for analyzing the data
is Propensity Score Matching (PSM). Also, this research analyzed the Average Treatment Effect on
the Treated (ATET) and Technical Efficiency in rice were analyzed by using Data Envelopment
Analysis Model.

The study found that average cost of rice farmers who participated in Large
Agricultural Land Plot Project were 3,676.11 bath/rai, and having net return 2,327.75 baht/rai.
The average cost of rice farmer who participated in non-Large Agricultural Land Plot Project
were 4,105.83 baht/rai, and having net return 1,576.03 baht/rai. The Large Agricultural Land
Plot Project could decrease variable cost around 294.24 bath/rai.

The study on technical efficiency showed that farmers in Large agricultural Land Plot
Project had technical efficiency at 0.822 that higher than the farmers in non- Large
Agricultural Land Plot Project. However the farmers in Large Agricultural Land Plot Project
remained overusing of their inputs, such as overused chemical fertilizer 2.267 kg/rai,
machines 1.662 days/rai seed of 0.144 kg/rai and weed and pesticide chemicals 0.080
liter/rai. Farmers out of the project area also found overusing, of their inputs, for example
overusing chemical fertilizer 3.719 kg/rai, machines 1.786 days/rai, seed 0.232 kg/rai, and
weed and pesticide chemicals 0.190 liter/rai.

The recommendations from this study are such as the government should continue
supporting Large Agricultural Land Plot Project in order to reduce costs and increase
productivity. The government should encourage farmers to reduce the use of production
inputs according to academic principles. Also, farmers should be encouraged to record their
production. This will be useful for improving both rice production and quality.

Key words: cost, Technical Efficiency, Large Agricultural Land Plot





คานา

โค รงส ร้างภ าค ก ารเก ษ ต รข อ งไท ย เป็ น ค รัวเรือ น เก ษ ต รราย ย่ อ ย ลั ก ษ ณ ะก ารผ ลิ ต
เป็นแบบต่างคนต่างทา ทาให้ต้องเผชิญกับปัญหาและข้อจากัดต่าง ๆ ท่ีส่งผลต่อรายได้ และความเป็นอยู่ของ
เกษตรกร เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่
เป็นการให้ความสาคัญในเร่ืองการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ได้แก่ การลดต้นทุนการผลติ เพ่ิมผลผลติ ต่อหนว่ ย
การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด จากการดาเนินการในช่วง 2 ปีท่ีผ่านมา ยังไม่มี
ขอ้ สรปุ ท่ีชดั เจนว่า การรวมกลุ่มดังกลา่ วเกดิ ความได้เปรยี บทางดา้ นต้นทนุ การผลิต และการใชป้ ัจจัยการผลติ มี
ประสิทธภิ าพมากน้อยเพยี งใด

สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 10 จึงได้ศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิต
ข้าวแบบแปลงใหญ่ ใหญ่ กรณีศึกษาพื้นที่ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรี)
โดยเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิค ระหว่างเกษตรกรในพ้ืนท่ีแปลงใหญ่และนอก
พ้ืนที่แปลงใหญ่ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดาเนินโครงการการส่งเสริมการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ในระยะ
ต่อไปใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพสงู สุด

การวิจัยครั้งน้ีเสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยความร่วมมือจาก ส่วนวิจัยและประเมินผล สานักงานเศรษฐกิจ
การเกษตรท่ี 10 จังหวัดราชบุรี และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวท่ีเสียสละเวลาให้ข้อมูลแก่ผู้วิจัย นอกจากน้ีผู้วิจัย
ใคร่ขอขอบคุณคณะกรรมการพิจารณาโครงการวิจัย สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ที่ให้คาแนะนาและ
เสนอแนะในการจัดทารายงานฉบบั น้ี และหวังว่ารายงายวจิ ัยฉบับนี้จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ หน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้องใน
การนาไปใชเ้ ป็นแนวทางในการบริหารจดั การข้าวแบบนาแปลงใหญต่ อ่ ไป

สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรท่ี 10 ราชบุรี
ตลุ าคม 2562





สารบัญ หน้า
(ข)
บทคดั ยอ่ (ง)
Abstract (ฉ)
คานา (ซ)
สารบญั (ญ)
สารบัญตาราง (ฏ)
สารบัญตารางผนวก (ณ)
สารบญั ภาพ 1
บทท่ี 1 บทนา 1
1
1.1 ความสาคญั ของปัญหา 2
1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา 2
1.3 ขอบเขตของการศกึ ษา 2
1.4 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 4
1.5 วิธีการวจิ ยั 5
1.6 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ ับ 5
บทที่ 2 การตรวจเอกสาร แนวคิดและทฤษฎีท่เี กี่ยวขอ้ งในการวิเคราะห์ 9
2.1 การตรวจเอกสาร 19
2.2 แนวคิดและทฤษฎี 19
บทท่ี 3 ขอ้ มลู ท่วั ไป 21
3.1 ข้อมูลทว่ั ไปและลักษณะสว่ นบคุ คลของเกษตรกร 26
3.2 การพัฒนาการผลิต การทานาขา้ วแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่ 33
3.3 การศึกษาระดบั ทศั นคติของเกษตรกรต่อระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 35
3.4 การศกึ ษาต้นทนุ ท่ีเปล่ยี นแปลงเปรยี บเทยี บกับฤดูกาลท่ผี ่านมา 35
บทท่ี 4 ผลการศึกษา
4.1 ตน้ ทนุ การผลิตข้าวของเกษตรกรในพน้ื ทีโ่ ครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ 38

และนอกพื้นทีโ่ ครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
4.2 การเปรียบเทียบตน้ ทนุ การผลิตในพน้ื ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญแ่ ละนอกพน้ื ที่

สง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

ฌ หนา้
39
สารบัญ (ต่อ) 46
49
4.3 การวเิ คราะหป์ ระสิทธิภาพการผลิตเชงิ เทคนคิ 49
4.4 การวเิ คราะหป์ ระสิทธภิ าพตอ่ ขนาด 53
บทท่ี 5 สรปุ และข้อเสนอแนะ 55
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษา 59
5.2 ข้อเสนอแนะ 145
บรรณานกุ รม
ภาคผนวกที่ 1 ตารางการวเิ คราะห์ข้อมูล
ภาคผนวกที่ 2 แบบสอบถาม



สารบญั ตาราง

ตารางท่ี 3.1 ลกั ษณะสว่ นบุคคลของเกษตรกร หนา้
20
ตารางท่ี 3.2 การศกึ ษาการลดต้นทนุ การทานาขา้ วแปลงใหญแ่ ละนอกแปลงใหญ่ 22
ตารางที่ 3.3 การศกึ ษาการเพมิ่ ผลผลิตการทานาขา้ วแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่ 24
25
ตารางท่ี 3.4 การศึกษาด้านการตลาด นาขา้ วแปลงใหญแ่ ละนอกแปลงใหญ่ 26
27
ตารางท่ี 3.5 การศกึ ษาดา้ นการบรหิ ารจัดการนาข้าวแปลงใหญแ่ ละนอกแปลงใหญ่ 27

ตารางที่ 3.6 ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกบั ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 28
29
ตารางที่ 3.7 ความรู้ความเข้าใจในเป้าหมายการพัฒนาการผลิตในพืน้ ท่แี ปลงใหญ่ 30
31
ตารางท่ี 3.8 ระบบการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญท่ าให้ ลดตน้ ทนุ เพิ่มผลผลิต ผลติ สินคา้ ได้ 31
มาตรฐาน 32

ตารางท่ี 3.9 ระบบการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาให้ซื้อปัจจยั การผลิตในราคาทตี่ ่ากวา่ ปกติ 33
37
ตารางที่ 3.10 ระบบการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่จะทาให้มอี านาจตอ่ รองกับคู่คา้ มากขน้ึ
38
ตารางที่ 3.11 การใชเ้ คร่ืองจักรกลการเกษตรร่วมกันทาให้สามารถลดต้นทุนได้
ตารางที่ 3.12 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญท่ าให้ไดร้ ับการสนับสนนุ ด้านสินเชอ่ื 39

ตารางท่ี 3.13 ความพึงพอใจเก่ียวกับระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในภาพรวม 40

ตารางท่ี 3.14 ความคดิ เหน็ ของเกษตรกรเกีย่ วกบั ต้นทนุ ทเี่ ปลยี่ นแปลงเปรียบเทียบกบั ฤดกู าลท่ี 41
ผา่ นมา

ตารางที่ 4.1 ตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลติ ขา้ วของเกษตรกร

ตารางที่ 4.2 แสดงค่า Average Treatment Effect (ATE) ระหว่างเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการและ
ในพืน้ ที่โครงการ

ตารางท่ี 4.3 การเปรยี บเทียบต้นทนุ การผลิตในพ้นื ท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
และนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่

ตารางท่ี 4.4 แสดงระดับประสทิ ธภิ าพการผลิตขา้ วเชงิ เทคนิคในพ้นื ท่ีโครงการระบบสง่ เสรมิ
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ และนอกพ้ืนทโ่ี ครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่

ตารางท่ี 4.5 แสดงสว่ นเกนิ ปัจจัยการผลติ ของการผลติ ขา้ วในพน้ื ท่สี ง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
และนอกพื้นทส่ี ง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่



สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางที่ 4.6 แสดงส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตร หนา้
แบบแปลงใหญ่ และนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในแต่ละ 44
ระดับประสทิ ธิภาพ 46
47
ตารางท่ี 4.7 แสดงปริมาณการใช้ปจั จัยการผลิตของเกษตรกรที่มปี ระสิทธิภาพการผลิตขา้ วเชิงเทคนิค 48
เท่ากบั 1

ตารางที่ 4.8 แสดงระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉล่ียของการผลติ ข้าวในพื้นทโ่ี ครงการระบบสง่ เสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ และนอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่

ตารางที่ 4.9 แสดงจานวนและร้อยละของการผลิตข้าวในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และนอกพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในแต่ละช่วง
การผลติ



สารบัญตารางผนวก หนา้

ตารางผนวกที่ 1 ผลการจบั คู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) เพ่ือคดั เลือก 60
กลมุ่ เกษตรกรในพ้ืนท่ีแปลงใหญ่และนอกพื้นท่ีแปลงใหญท่ ี่มลี ักษณะ (Profile) 62
ใกลเ้ คยี งกัน แปลงใหญ่ ต.หนองขาว อ.ท่ามว่ ง จ.กาญจนบุรี
63
ตารางผนวกที่ 2 ผลการจบั คเู่ กษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่และนอกพน้ื ที่แปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต. 65
หนองขาว อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
66
ตารางผนวกที่ 3 ผลการจับคู่คะแนนความโน้มเอยี ง (Propensity Score Matching) เพ่ือคัดเลือก 68
กลมุ่ เกษตรกรในพืน้ ที่แปลงใหญ่และนอกพื้นทแ่ี ปลงใหญ่ท่ีมีลกั ษณะ (Profile)
ใกล้เคยี งกัน แปลงใหญ่ ต.บ้านใหม่ อ.ทา่ ม่วง จ.กาญจนบรุ ี 69
71
ตารางผนวกที่ 4 ผลการจับคูเ่ กษตรกรในพน้ื ทีแ่ ปลงใหญ่และนอกพื้นท่ีแปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.บ้าน
ใหม่ อ.ทา่ มว่ ง จ.กาญจนบุรี 72
74
ตารางผนวกท่ี 5 ผลการจับคู่คะแนนความโนม้ เอยี ง (Propensity Score Matching) เพ่ือคัดเลือก 75
กลมุ่ เกษตรกรในพื้นท่ีแปลงใหญ่และนอกพ้ืนท่แี ปลงใหญ่ท่ีมีลักษณะ (Profile) 77
ใกล้เคยี งกัน แปลงใหญ่ ต.หินมลู อ.บางเลน จ.นครปฐม

ตารางผนวกท่ี 6 ผลการจบั คู่เกษตรกรในพนื้ ที่แปลงใหญ่และนอกพื้นทแ่ี ปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.หนิ
มลู อ.บางเลน จ.นครปฐม

ตารางผนวกท่ี 7 ผลการจบั คู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) เพื่อคัดเลือก
กลมุ่ เกษตรกรในพ้นื ท่ีแปลงใหญ่และนอกพื้นที่แปลงใหญ่ที่มลี กั ษณะ (Profile)
ใกลเ้ คยี งกนั แปลงใหญ่ ต.บางปลา อ.บางเลน จ.นครปฐม

ตารางผนวกท่ี 8 ผลการจับค่เู กษตรกรในพืน้ ทแ่ี ปลงใหญ่และนอกพน้ื ท่ีแปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.บาง
ปลา อ.บางเลน จ.นครปฐม

ตารางผนวกที่ 9 ผลการจับคู่คะแนนความโนม้ เอียง (Propensity Score Matching) เพื่อคดั เลือก
กลมุ่ เกษตรกรในพื้นท่ีแปลงใหญ่และนอกพื้นที่แปลงใหญ่ท่ีมลี ักษณะ (Profile)
ใกล้เคียงกนั แปลงใหญ่ ต.เตาปูน อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี

ตารางผนวกท่ี 10 ผลการจับคเู่ กษตรกรในพนื้ ที่แปลงใหญ่และนอกพน้ื ที่แปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.
เตาปนู อ.โพธาราม จ.ราชบุรี

ตารางผนวกท่ี 11 ผลการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) เพ่ือ
คดั เลือกกลมุ่ เกษตรกรในพ้นื ท่แี ปลงใหญ่และนอกพ้นื ท่แี ปลงใหญท่ ม่ี ีลักษณะ
(Profile) ใกลเ้ คียงกัน แปลงใหญ่ ต.เกาะพลบั พลา อ.เมือง จ.ราชบรุ ี

ตารางผนวกที่ 12 ผลการจับคู่เกษตรกรในพ้ืนท่ีแปลงใหญ่และนอกพ้นื ท่แี ปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.
เกาะพลับพลา อ.เมอื ง จ.ราชบุรี



สารบญั ตารางผนวก (ต่อ) หนา้
80
ตารางผนวกท่ี 14 ผลการจับค่เู กษตรกรในพน้ื ทแ่ี ปลงใหญ่และนอกพืน้ ทแี่ ปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต.ทา่
ไมร้ วก อ.ทา่ ยาง จ.เพชรบรุ ี 81
83
ตารางผนวกท่ี 15 ผลการจบั คคู่ ะแนนความโน้มเอยี ง (Propensity Score Matching) เพอื่ คดั เลือก
กลมุ่ เกษตรกรในพ้นื ท่ีแปลงใหญ่และนอกพื้นท่แี ปลงใหญ่ท่ีมีลักษณะ (Profile) 84
ใกลเ้ คยี งกัน แปลงใหญ่ ต.หนองชมุ พล อ.เขายอ้ ย จ.เพชรบุรี 85
106
ตารางผนวกที่ 16 ผลการจบั คเู่ กษตรกรในพ้ืนที่แปลงใหญ่และนอกพืน้ ที่แปลงใหญ่ แปลงใหญ่ ต. 127
หนองชุมพล อ.เขายอ้ ย จ.เพชรบรุ ี 128
130
ตารางผนวกท่ี 17 ผลการการเปรยี บเทียบตน้ ทนุ การผลติ ในพน้ื ทส่ี ่งเสรมิ การเกษตรแปลงใหญ่และ 131
นอกพน้ื ทีส่ ่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่โดยใช้วิธพี ิจารณาผลกระทบโดยเฉล่ีย 132
ต่อผูเ้ ข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect on the Treated : ATT) 133
135
ตารางผนวกท่ี 18 ผลการประมาณคา่ ประสิทธิภาพการผลิตขา้ วเชงิ เทคนิคของเกษตรกรนอกพ้นื ที่ 136
สง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยวธิ ี Data Envelopment Analysis

ตารางผนวกที่ 19 ผลการประมาณคา่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตขา้ วเชิงเทคนคิ ของเกษตรกรในพืน้ ท่ี
ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยวิธี Data Envelopment Analysis

ตารางผนวกท่ี 20 ผลการประมาณค่าปัจจยั การผลิตท่ีใชจ้ ริงของเกษตรกรนอกพ้ืนที่สง่ เสรมิ
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ที่มปี ระสทิ ธิภาพระดบั ปานกลาง

ตารางผนวกที่ 21 ผลการประมาณคา่ ปัจจัยการผลิตที่ใชจ้ ริงของเกษตรกรนอกพื้นท่ีสง่ เสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพระดับสูง

ตารางผนวกท่ี 22 ผลการประมาณคา่ ปจั จยั การผลิตที่ใชจ้ ริงของเกษตรกรนอกพน้ื ท่สี ง่ เสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพระดบั สูงมาก

ตารางผนวกที่ 23 ผลการประมาณค่าปจั จัยการผลติ ทใ่ี ช้จริงของเกษตรกรในพน้ื ทีส่ ง่ เสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ที่มีประสทิ ธิภาพระดับปานกลาง

ตารางผนวกที่ 24 ผลการประมาณค่าปัจจัยการผลิตที่ใชจ้ ริงของเกษตรกรในพนื้ ทส่ี ง่ เสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ที่มปี ระสิทธิภาพระดับสงู

ตารางผนวกที่ 25 ผลการประมาณค่าปจั จัยการผลติ ที่ใช้จริงของเกษตรกรในพื้นทีส่ ่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ท่ีมีประสทิ ธภิ าพระดบั สูงมาก

ตารางผนวกท่ี 26 ผลการประมาณค่าส่วนเกินปัจจยั การผลิตท่ีใช้จริงของเกษตรกรนอกพืน้ ท่ีส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพระดบั ปานกลา

ตารางผนวกที่ 27 ผลการประมาณค่าส่วนเกนิ ปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริงของเกษตรกรนอกพน้ื ท่ีส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ที่มีประสิทธิภาพระดับสงู



สารบญั ตารางผนวก (ตอ่ ) หน้า
138
ตารางผนวกที่ 28 ผลการประมาณค่าส่วนเกินปัจจยั การผลิตที่ใช้จริงของเกษตรกรนอกพื้นที่ส่งเสริม 139
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทม่ี ีประสิทธิภาพระดับสงู มาก 140
141
ตารางผนวกที่ 29 ผลการประมาณค่าส่วนเกินปัจจัยการผลิตที่ใช้จริงของเกษตรกรในพื้นท่ีส่งเสริม 143
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทม่ี ีประสิทธภิ าพระดับปานกลาง

ตารางผนวกท่ี 30 ผลการประมาณค่าส่วนเกินปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริงของเกษตรกรในพ้ืนท่ีส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทีม่ ปี ระสทิ ธภิ าพระดบั สงู

ตารางผนวกท่ี 31 ผลการประมาณค่าส่วนเกินปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริงของเกษตรกรในพ้ืนท่ีส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ ที่มปี ระสิทธภิ าพระดับสงู มาก

ตารางผนวกที่ 32 ผลการประมาณค่าปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตของเกษตรกรท่ีมีประสิทธิภาพ
การผลิต ข้าวเชงิ เทคนิค เท่ากบั 1



ณ หนา้
14
สารบัญภาพ 16

ภาพที่ 2.1 เปรียบเทียบตวั แบบ CCR และ BCC
ภาพท่ี 2.2 การวัดประสิทธภิ าพภายใตแ้ บบจาลอง CCR และ BCC





1

บทท่ี 1
บทนา

1.1 ความสาคัญของการวจิ ยั
โครงสร้างภาคการเกษตรของไทยส่วนใหญ่เป็นครัวเรือนเกษตรรายย่อย ลักษณะการผลิต

เป็นแบบต่างคนต่างทา ส่งผลให้ภาคการเกษตรต้องเผชิญกับปัญหาและข้อจากัดต่างๆ ท่ีส่งผลต่อรายได้
และความเป็นอยู่ของเกษตรกร เช่น ปัญหาด้านต้นทุนการผลิต ค่าจ้างแรงงานที่สูง ขาดอานาจต่อรอง
ด้านการตลาด และปัญหาด้านการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยยี ังเขา้ ไมถ่ ึงเกษตรกรเทา่ ท่ีควร (กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์, 2559)

การดาเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ที่ผ่านมา ได้มีการวางแนวทางการดาเนินงาน
โดยกาหนดแนวทางการพัฒนาที่สาคัญ คือ การปรับโครงสร้างการผลิตสินค้าเกษตร เป็นการให้ความสาคัญ
ในเร่ืองการเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ได้แก่ การลดต้นทุนการผลิต เพิ่มผลผลิตต่อหน่วย การพัฒนาคุณภาพ
มาตรฐานตรงตามความต้องการของตลาด รวมไปถึงการรวมกลุ่มการผลิต มีการบริหารจัดการร่วมกัน
และสร้างเครือข่ายท่ีมีการเช่ือมโยงและเก้ือกูลกัน ภายใต้การสนับสนุนของทุกหน่วยงานในสังกัดกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ เพ่ือเพิ่มขดี ความสามารถในการแข่งขันและเพ่ิมรายได้ของเกษตรกร ตลอดจนดูแลคุณภาพ
ชีวิตของเกษตรกร โดยการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ ที่มีเกษตรกรเป็นศูนย์กลางในการดาเนินงาน
โดยกาหนดเป้าหมายการดาเนินการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ตามยุทธศาสตร์ 20 ปี จานวน 14,500
แปลง พืน้ ที่ 90 ล้านไร่ ในปี 2579

การดาเนินงานในช่วง 2 ปี ที่ผา่ นมา ได้รวมกลุม่ และมีเกษตรกรเข้าร่วมดาเนินการแล้ว 1,587 แปลง
เป็นการรวมแปลงสินค้าชนิดเดียวกัน โดยท่ีแปลงไม่จาเป็นต้องอยู่ติดกัน แต่อยู่ภายในชุมชนที่ใกล้เคียงกัน
พื้นที่มีความเหมาะสม มีศักยภาพท่ีจะพัฒนาในเชิงเศรษฐกิจ และมีผู้จัดการทาหน้าท่ีในการบริหารจัดการ
แปลงโดยส่วนใหญ่จะเป็นแปลงใหญ่ข้าวซ่ึงมีจานวนถึง 1,008 แปลง คิดเป็นร้อยละ 63.52 ของจานวนแปลง
ท้ังหมด ทั้งน้ีการรวมกลุ่มการผลิตในรูปแบบแปลงใหญ่นอกจากสนับสนุนให้เกษตรกรรวมกลุ่มและบริหาร
จัดการร่วมกันเพื่อเพ่ิมโอกาสในการแข่งขันและความได้เปรียบทางด้านต้นทุนการผลิตแล้ว ยังเพ่ิม
ประสิทธิภาพการใช้เทคโนโลยีและปัจจัยการผลิตอีกทางหนึ่งด้วย อย่างไรก็ดียังไม่มีรายงานผลการวิจัยท่ีระบุ
อย่างชัดเจนว่า การรวมกลุ่มดังกล่าวเกิดความได้เปรียบทางด้านต้นทุนการผลิต และการใช้ปัจจัยการผลิตมี
ประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 10 จึงได้ศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพ
เชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ โดยเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตและวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
ระหว่างเกษตรกรในพื้นที่แปลงใหญ่และนอกพื้นที่แปลงใหญ่ เพ่ือเป็นข้อเสนอแนะในการกาหนดนโยบายการ
สง่ เสริมการเกษตรแบบนาแปลงใหญ่ในระยะต่อไป

1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ยั
1.2.1 เพื่อศึกษา และเปรียบเทยี บต้นทุนการผลติ ขา้ วในพนื้ ทแี่ ปลงใหญ่และนอกพน้ื ที่แปลงใหญ่
1.2.2 เพ่ือศึกษา และเปรียบเทียบประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวในพ้ืนที่แปลงใหญ่และ

นอกพ้ืนทแ่ี ปลงใหญ่
1.2.3 เพือ่ ศึกษาประสทิ ธภิ าพตอ่ ขนาดของการผลิตข้าวในพืน้ ท่ีแปลงใหญแ่ ละนอกพ้นื ท่ีแปลงใหญ่

2

1.3 ขอบเขตของการวิจยั
1.3.1 พื้นท่ีศึกษาในโครงการและนอกเขตโครงการแปลงใหญ่ข้าวในภาคตะวันตกซ่ึงประกอบด้วย

จังหวดั กาญจนบรุ ี นครปฐม ราชบุรี และเพชรบรุ ี
1.3.2 ประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ครัวเรือนเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการแปลงใหญ่ข้าว และ

ครัวเรือนเกษตรกรนอกพื้นท่ีแปลงใหญ่ที่อยู่ใกล้เคยี งกับพน้ื ท่ีโครงการฯ ซ่ึงปลูกข้าวนาปี (ช่วงเดือนพฤษภาคม
- ตลุ าคม 2560) พนั ธุ์ กข โดยวธิ ีหวา่ นนา้ ตม

1.3.3 ระยะเวลาขอ้ มูล เดือนพฤษภาคม - ตุลาคม 2560

1.4 นิยามศัพทเ์ ฉพาะ
เกษตรแปลงใหญ่ หมายถึง ระบบส่งเสริมการเกษตรที่ยึดพ้ืนที่เป็นหลักมีการรวมแปลงสินค้าชนิด

เดียวกัน แต่เกษตรกรทุกคนยังเป็นเจ้าของ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิต ลดต้นทุนการผลิต ผลผลิตมี
คุณภาพสูง และเพ่ิมอานาจในการต่อรอง สาหรับการศึกษาครั้งนี้จะศึกษาแปลงใหญ่ท่ีผ่านการรับรองจาก
คณะอนกุ รรมการพฒั นาการเกษตรและสหกรณ์ของจงั หวัด และอยู่ในระบบฐานข้อมูลแปลงใหญ่ของกระทรวง
เกษตรและสหกรณ์

ต้นทุนการผลิต หมายถึงองค์ประกอบของค่าใช้จ่ายในการผลิตทุกขั้นตอน โดยแบ่งเป็นต้นทุน
ผันแปร ประกอบด้วย ค่าแรงงาน ได้แก่ การเตรียมดิน ปลูก ดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว ค่าวัสดุ ได้แก่
ค่าพันธ์ุค่าปุ๋ย ค่าสารเคมีป้องกันกาจัดศัตรูพืชและวัชพืช ค่าสารเคมีอ่ืนๆ และวัสดุปรับปรุงดิน ค่าน้ามัน
เช้ือเพลิงและหล่อลื่น ค่าวัสดุการเกษตรและวัสดุสิ้นเปลือง และค่าซ่อมแซมอุปกรณ์การเกษตร ต้นทุนคงที่
ประกอบด้วยค่าเชา่ ท่ดี นิ ค่าเส่อื มอปุ กรณก์ ารเกษตร และค่าเสยี โอกาสเงินลงทุนอุปกรณก์ ารเกษตร

ประสทิ ธภิ าพการผลติ เชิงเทคนคิ หมายถงึ การบริหารจัดการการใช้เทคโนโลยีและปัจจัยการผลิตที่
มตี น้ ทนุ ตา่ ท่สี ดุ แตไ่ ด้รับผลผลติ จานวนเท่ากัน

1.5 วธิ ีการวิจยั
1.5.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล
1) ขอ้ มูลปฐมภมู ิ
การศึกษาวิจัยคร้ังนี้ได้ใช้แบบสัมภาษณ์รวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรตัวอย่างผู้ปลูกข้าวในพื้นที่

แปลงใหญ่ และนอกพื้นที่แปลงใหญ่ ในจังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และเพชรบุรีข้อคาถามจะเป็นท้ัง
เชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพท่ีมีท้ังคาถามปลายปิด (Closed-Ended Question) และคาถามปลายเปิด
(Open-End Question) ในการเก็บข้อมูลทั่วไป และข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิต
ค่าใชจ้ ่ายในการเพาะปลูก รายได้จากการเพาะปลูก และปรมิ าณผลผลติ เพื่อใช้ในการวเิ คราะห์ตน้ ทุนการผลิต
และประสทิ ธิภาพการผลิตเชงิ เทคนคิ
การคานวณขนาดตัวอยา่ งใชว้ ิธเี ทียบอัตราสว่ นของขนาดประชากร (Neuman, 1991) ดงั นี้

ถ้าประชากรน้อยกว่า 1,000 คน ใชอ้ ัตราสว่ นการสุม่ กลุ่มตัวอย่าง รอ้ ยละ 30
ถ้าประชากรอยรู่ ะหวา่ ง 1,001 - 10,000 คน ใช้อัตราสว่ นการส่มุ กลมุ่ ตัวอย่าง รอ้ ยละ 10
ถ้าประชากรอยรู่ ะหวา่ ง 10,001 - 150,000 คน ใช้อัตราส่วนการสมุ่ กลุม่ ตวั อย่าง รอ้ ยละ 1
จานวนประชากรในพื้นท่ีแปลงใหญ่ที่ปลูกข้าวพันธุ์ กข โดยวิธหี ว่านน้าตม ท้ังหมด 690 ราย
กาหนดขนาดตัวอย่างร้อยละ 30 ได้ขนาดตัวอย่าง 207 ราย แต่เนื่องจากข้อจากัดด้านเวลา และงบประมาณ
ไดก้ าหนดตัวอย่างทเี่ หมาะสมรอ้ ยละ 11.6 ได้ขนาดตวั อย่างเทา่ กบั 80 ราย ทั้งนี้กาหนดเกษตรกรตวั อย่างนอก

3

พื้นที่แปลงใหญ่ ซึ่งอยู่ในพ้ืนที่ใกลเ้ คยี ง (หมู่บ้าน หรือตาบลเดียวกัน) และปลกู ข้าวพนั ธ์ุ กข โดยวิธหี วา่ นน้าตม
จานวน 80 ราย เท่ากัน รวมจานวนตัวอย่างท้ังสิ้น 160 ราย และใช้วิธีสุ่มอย่างง่ายแบบไม่ใส่คืน (Simple
Random Sampling without Replacement) ใหไ้ ดจ้ านวนตัวอย่างครบตามจานวน

2) ข้อมูลทุติยภูมิ เป็นข้อมูลที่ผู้วิจัยทาการรวบรวมจากหน่วยงานต่างๆ ที่มีการศึกษาเก่ียวกับ
โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร การวัดผลกระทบโครงการ การวัด
ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค รวมทั้งงานวิจัยของหน่วยงานต่างๆ เช่น สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
สถาบันการศึกษาต่างๆ หน่วยงานในภาครฐั และเอกชน หรือที่มีเผยแพร่บนอินเตอร์เน็ต เป็นต้น รวมท้งั ข้อมูล
คาแนะนาการใช้ปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมในการเพาะปลูก จากกรมวิชาการเกษตร กรมการข้าว และ
หนว่ ยงานอ่ืนๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง

1.5.2 การวเิ คราะหข์ ้อมลู
การวิเคราะห์ข้อมูลในการศึกษาครั้งน้ีเป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative analysis)

โดยนาข้อมูลที่รวบรวมได้มาทาการวิเคราะห์เพ่ืออธิบายถึงต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิค
โดยอาศัยเคร่ืองมือทางสถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ Data Envelopment Analysis (DEA) และ Average
Treatment Effect on the Treated (ATT) ประกอบการอธบิ าย ซึง่ มี 3 ลกั ษณะ คือ

1) สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistic) อธิบายลักษณะส่วนบุคคลของครัวเรือน
เกษตรกรกลุ่มตัวอย่าง โดยอาศัยเคร่ืองมือทางสถิติ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าความถี่ (Frequency) และค่า
รอ้ ยละ (Percentage) สว่ นการอธบิ ายถึงตน้ ทุนและผลตอบแทนการผลิต อาศยั เครอ่ื งมือทางสถิติ คอื ค่าเฉล่ีย
(Mean)

2) วิเคราะห์ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ โดยใช้
การวดั ทัศนคตขิ องลิเกริ ต์ (Likert Scale)

เกณฑ์การให้คะแนน ดังน้ี

5 คะแนน สาหรบั ระดบั ความคดิ เหน็ มาก

4 คะแนน สาหรับระดับความคิดเห็น คอ่ นข้างมาก

3 คะแนน สาหรบั ระดบั ความคดิ เหน็ ปานกลาง

2 คะแนน สาหรับระดับความคิดเห็น ค่อนข้างนอ้ ย

1 คะแนน สาหรบั ระดับความคิดเห็น น้อย

การแบ่งชว่ งกว้างของอนั ตรภาคช้นั

ช่วงกวา้ งของอนั ตรภาคชั้น = คะแนนสงู สดุ − คะแนนต่าสุด
จานวนชนั้

เกณฑ์การแปลความหมายเพื่อจัดระดับคะแนนเฉลีย่ ในชว่ งดังตอ่ ไปน้ี

คะแนนเฉลย่ี ความหมาย
4.21 – 5.00 มคี วามคดิ เหน็ ในระดับมาก
3.41 – 4.20 มคี วามคดิ เห็นในระดับคอ่ นข้างมาก

4

2.61 – 3.40 มคี วามคิดเห็นในระดบั ปานกลาง
1.81 – 2.60 มีความคดิ เหน็ ในระดบั ค่อนข้างนอ้ ย
1.00 – 1.80 มีความคิดเห็นในระดบั น้อย

3) การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในพ้ืนที่ส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่และนอกพื้นที่ส่งเสริม
การเกษตรแปลงใหญ่ เป็นการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตข้าวในพ้ืนที่แปลงใหญ่และนอกพ้ืนที่แปลงใหญ่
เปรียบเทียบระหว่างกลุ่มผู้เข้าร่วมโครงการ และกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการ โดยวิธีจับคู่คะแนนความโน้มเอียง
(Propensity Score Matching) เพ่ือคัดเลือกกลุ่มที่ไม่เข้าร่วมโครงการท่ีมีลักษณะข้อมูลโดยรวม (Profile)
ใกล้เคียงกับผู้เข้าร่วมโครงการมากท่ีสุด เพ่ือให้ม่ันใจได้ว่าความแตกต่างของผลลัพธ์ท่ีเกิดข้ึน เป็นผลของการ
เข้าร่วมโครงการอย่างแท้จริง เมื่อทาการจับคู่แล้ว ข้ันตอนต่อไปคือการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต ระหว่าง
เกษตรกรในพ้ืนทแ่ี ปลงใหญ่และนอกพ้ืนท่ีแปลงใหญ่ อันแสดงถงึ ผลกระทบที่เกิดจากการสง่ เสริมการเกษตรใน
ระบบแปลงใหญ่ โดยใช้วิธีพิจารณาผลกระทบโดยเฉล่ียต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect
on the Treated : ATT) ซ่ึงการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต จะทาการเปรียบเทียบเฉพาะต้นทุนผันแปร
เนื่องจากแนวทางการดาเนินงานของโครงการส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่เห็นชัดในระยะสั้น ซ่ึงส่งผลกระทบ
ตอ่ ต้นทนุ ผนั แปร แตไ่ มไ่ ด้มีผลต่อการลดต้นทนุ คงท่ี

4) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิค โดยใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์
สาหรับการวัดประสิทธิภาพของหน่วยผลิต คือ หน่วยการผลิตสินค้าข้าวที่มีการใช้ปัจจัยการผลิต ได้แก่
ปริมาณการใช้เมล็ดพันธุ์ (กิโลกรัมต่อไร่) แรงงานคน (วันงานต่อไร่) แรงงานคนและเครื่องจักร (วันงานต่อไร่)
ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี (กิโลกรัมต่อไร่) ปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช (ลิตรต่อไร่)
แลว้ ไดผ้ ลผลิต คอื จานวนผลผลติ รวมทีไ่ ดร้ ับ โดยพจิ ารณาทางด้านปจั จยั นาเขา้ (Input Orientated)

1.6 ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะได้รับ
เพ่ือเป็นแนวทางในการเสนอแนะมาตรการ นโยบาย ในการบริหารจัดการการผลิตข้าวแบบนา

แปลงใหญ่เพ่อื ลดตน้ ทนุ เพ่มิ ผลผลิต และเกิดประสิทธิภาพสูงสุด

5

บทท่ี 2

การตรวจเอกสาร แนวคดิ และทฤษฎี

2.1 การตรวจเอกสาร

ในการตรวจเอกสารงานวิจัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ผวู้ ิจัยได้ทาการตรวจเอกสารงานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้องกับต้นทุนการ
ผลิตสินค้าเกษตร การจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) การวัดประสิทธิภาพ โดย
วธิ ีการ Data Envelopment Analysis (DEA) ผลการตรวจเอกสาร งานวิจัยท่เี กี่ยวขอ้ ง มีดงั น้ี

2.1.1 งานวจิ ัยท่เี ก่ียวขอ้ งกับต้นทุนการผลติ

การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตโดยทั่วไปจะคิดเฉพาะต้นทุนที่เป็นเงินสด ท่ีผู้ผลิตจ่ายไปในทุกกิจกรรม
การผลิต แตต่ ้นทุนการผลิตในทางเศรษฐศาสตรน์ น้ั จะคดิ ต้นทุนซึ่งไดใ้ ช้จ่ายในทุกกจิ กรรมการผลิต ทัง้ ต้นทุนท่ี
เป็นเงินสด และไม่เป็นเงินสด ซึ่งต้นทุนท่ีไม่เป็นเงินสดจะประกอบด้วย ค่าแรงงานของตนเอง ปัจจัยต่างๆ ท่ี
ไมไ่ ด้ซอื้ มา เช่น เมล็ดพันธทุ์ ่เี ก็บไวใ้ ชเ้ อง รวมทัง้ คา่ เสียโอกาสเงนิ ลงทุนดว้ ย

ต้นทุนการผลิต ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ต้นทุนผันแปร และต้นทุนคงที่ ซึ่งต้นทุนการผลิตพืชชนิด
เดียวกัน แต่ต่างพ้ืนท่ี หรือวิธีการปลูกท่ีไม่เหมือนกัน ก็มีผลให้ต้นทุนไม่เท่ากัน จากการศึกษาต้นทุนการผลิต
และวิเคราะห์ประสิทธิภาพทางเทคนิคการผลิตเมล็ดพันธ์ุข้าวจังหวัดชัยนาท พบว่าต้นทุนการผลิตเมล็ดพันธ์ุ
ข้าวชั้นพันธุ์จาหน่าย ฤดูการผลิตข้าวนาปรัง ปี 2558 พันธุ์ข้าวปทุมธานี 1 ด้วยวิธีการปลูกแบบปักดามีต้นทุน
ทง้ั หมด 7,108.87 บาทต่อไร่ เป็นต้นทนุ ผันแปร 5,392.77 บาท ตน้ ทนุ คงที่ 1,716.10 บาท เกษตรกรมีกาไรไร่
ละ 2,404.80 บาท หรือ 3.02 บาทต่อกิโลกรัม พันธ์ุข้าว กข วิธีการปลูกแบบปักดามีต้นทุนท้ังหมด 6,682.62
บาทต่อไร่ เปน็ ต้นทนุ ผนั แปร 5,034.57 บาท ต้นทุนคงที่ 1,648.05 บาท เกษตรกรมีกาไรไร่ละ 1,225.70 บาท
หรือ 1.46 บาทต่อกิโลกรัม ข้าวเจ้าพันธุ์ กข วิธีการปลูกแบบหวา่ นน้าตมมีต้นทุนท้ังหมด 5,784.63 บาทต่อไร่
เป็นต้นทุนผันแปร 4,136.58 บาท ต้นทุนคงที่ 1,648.05 บาท เกษตรกรมีกาไรไร่ละ 965.98 บาท หรือ 1.24
บาทต่อกิโลกรัม (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2557) นอกจากนี้ยังมีการศึกษาต้นทุนการผลิตลาไยในฤดู
จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดลาพูน ของสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรท่ี 1 พบว่าต้นทุนการผลิตลาไยในฤดู
จังหวัดเชียงใหม่ มีต้นทุนท้ังหมด 10,941.33 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 8,912.35 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อย
ละ 81.46 ของต้นทุนท้ังหมด ต้นทุนคงที่ 2,028.98 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 18.54 ของต้นทุนทั้งหมด
เกษตรกรมีผลตอบแทนเฉลย่ี 12,131.60 บาทต่อไร่ ส่งผลให้มีรายได้หลังหกั ตน้ ทุนเท่ากับ 1,190.27 บาทตอ่ ไร่
ต้นทุนการผลิตลาไยในฤดูจังหวัดลาพูน มีต้นทุนท้ังหมด 9,961.07 บาทต่อไร่ เป็นต้นทุนผันแปร 7,853.61
บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 78.84 ของต้นทุนท้ังหมด ต้นทุนคงที่ 2,107.46 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.16
ของต้นทุนทั้งหมด เกษตรกรมีผลตอบแทนเฉลี่ย 10,771.67 บาทต่อไร่ ส่งผลให้มีรายได้หลังหักต้นทุนเท่ากับ
810.6 บาทต่อไร่ (สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2559) และสานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 (2560)
ได้ทาการศึกษาถึงต้นทุนการผลิต ต้นทุนโลจิสติกส์และประสิทธิภาพทางเทคนิคต้นทุนโลจิสติกส์ส้มโอขาว
แตงกวาชัยนาท พบว่าเกษตรกรมีต้นทุนการผลิตส้มโอขาวแตงกวาชัยนาททั้งหมด 31,606.33 บาทต่อไร่ เป็น
ต้นทุนผันแปร 28,195.97 บาท ต้นทุนคงที่ 3,410.36 บาท ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 708 กิโลกรัม ราคาท่ีเกษตรกร
ขายได้ท่ีสวน 46.00 บาทต่อกิโลกรัม เกษตรกรมีกาไรไร่ละ 961.67 บาท หรือ 1.36 บาทตอ่ กิโลกรมั ต้นทุนโล
จิสติกส์ในส่วนเกษตรกร ผลการศึกษาพบว่าเกษตรกรมีต้นทุนค่าใช้จ่ายรวม 1.85 บาทต่อกิโลกรัม เป็น
ค่าใช้จ่ายการจัดหาปัจจัยการผลิต 0.13 บาท ค่าใช้จ่ายการเคล่ือนย้ายวัสดุ 1.16 บาท ค่าใช้จ่ายการ

6

เคลอื่ นย้ายขนส่ง 0.15 บาท ค่าใช้จ่ายการจัดเก็บสินคา้ คงคลัง 0.42 บาท สาหรับต้นทนุ โลจิสติกส์ในส่วนของ
ผู้ค้าปลีกมีต้นทุนค่าใช้จ่ายรวม 10.15 บาทต่อกิโลกรัม เป็นค่าใช้จ่ายในการจัดซ้ือจัดหา 9.37 บาท ค่าใช้จ่าย
การเคลื่อนยา้ ยขนส่ง 0.70 บาท และคา่ ใช้จา่ ยในการจดั เก็บสินค้าคงคลงั 0.08 บาท

ซึ่งจากการทบทวนเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตสินค้าเกษตร จะเห็นได้
วา่ การวิเคราะห์ต้นทุนนอกจากแสดงให้เห็นต้นทุนรวมของการผลิตแล้ว จะแสดงส่วนของต้นทุนผันแปร และ
ตน้ ทุนคงท่ี แยกออกมาให้เห็นดว้ ย ซ่ึงจะทาให้สามารถมองเห็นลักษณะการผลิตของเกษตรกร และปัญหาด้าน
ต้นทุนการผลติ ได้ชัดเจน ซ่ึงจะนาไปส่กู ารเสนอแนะตอ่ ไปได้

2.1.2 งานวจิ ยั ที่เกี่ยวขอ้ งกบั การจับคคู่ ะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching)

งานวิจัยด้านการเกษตรที่ผ่านมามีการนาวิธีการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score
Matching) มาใช้ซึง่ วิธีการจับคู่จะข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการศึกษา โดยในปี 2560 ศศรส ใจจิตรและคณะ
ได้นาวิธีการดังกลา่ วมาใช้ในการคัดเลือกเกษตรกร เพื่อประเมินผลกระทบทางเศรษฐกิจของงานวิจัยดา้ นข้าวใน
ประเทศไทย ในช่วงปีงบประมาณ 2551 ถึง 2558 ซ่ึงเป็นวิธีท่ีแก้ปัญหาเร่ืองความเอนเอียงในการคัดเลือก
(Selection Bias) กลุ่มเกษตรกรท่ีใช้ในการเปรียบเทียบ อาศัยเทคนิค “การจับคู่” เพ่ือให้ได้ลักษณะ เช่น
แนวคดิ อายุ สภาพพืน้ ที่เพาะปลกู พันธ์ุขา้ วทป่ี ลูกอยู่เดิม ท่ีใกล้เคยี งกับกลุ่มเกษตรกรท่เี ต็มใจยอมรับมากทสี่ ุด
ผลต่างของการประเมินผลกระทบคือ ผลกระทบโดยเฉลี่ยของโครงการที่เกิดกับกลุ่มเกษตรกรท่ีเต็มใจยอมรับ
และสมหมาย อุดมวิทิต และคณะ (2553) ได้นาวิธีการจับคู่ค่าความโน้มเอียง มาคัดเลือกเกษตรกรเข้าร่วม
โครงการโรงเรียนเกษตรกร รวบรวมจากเกษตรกร 3 กลุ่ม (กลุ่มเข้าร่วมโครงการ กลมุ่ ไม่เข้าร่วมโครงการ และ
กลุ่มควบคุม) และนาผลการจับคู่เกษตรกรดังกล่าวมาวิเคราะห์โดยอาศัยแบบจาลองผลต่างสองชั้น ผลการ
ประเมินแสดงให้เห็นว่า เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการมีความรู้เก่ียวกับการจัดการพืช ด้านโรคและแมลงศัตรูพืช
สูงกว่าเกษตรกรท่ีมิได้เข้าร่วมโครงการอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ และการเข้าร่วมโครงการโรงเรียนเกษตรกร
สามารถช่วยลดการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชของเกษตรกรทั้งในระยะส้ันและระยะยาว ดังน้ัน แนวทางในการ
ส่งเสริมความรู้อย่างมีส่วนร่วมของเกษตรกร จัดเป็นเครื่องมือท่ีมีประสิทธิผลที่ควรพิจารณานามาใช้ประกอบ
ร่วมกับนโยบายอ่ืนๆ ในการลดการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืชได้ และวิษณุ อรรถวานิช (2558) ศึกษาการ
ประเมินผลกระทบของโครงการรับจานาข้าวที่มตี ่อสถานะทางเศรษฐกจิ ของเกษตรกรไทย โดยใช้เทคนิควธิ ีการ
แมทชิ่งโดยใช้ความโน้มเอียง (Propensity Score Matching หรือ PSM) ข้อมูลส่วนใหญ่ในการศึกษาถูก
รวบรวมจากแบบสารวจภาวะเศรษฐกิจ สังคม และแรงงานเกษตร ที่จัดทาโดยสานักงานเศรษฐกิจการเกษตร
ครอบคลุม 3 ปีการเพาะปลกู คือ ปีเพาะปลูก 2553/54 ซ่ึงเปน็ ปีก่อนเริม่ โครงการ ปเี พาะปลูก 2554/55 เป็น
ช่วงเร่ิมต้นโครงการจนถึงปีเพาะปลูก 2555/56 ครอบคลุมฤดูจานาข้าว 4 ฤดู ข้อมูลสภาพอากาศจากกรม
อุตุนิยมวิทยา ข้อมูลเชิงประชากรและพ้ืนที่จากกรมการปกครอง ผลการศึกษาพบว่าโครงการรับจานาข้าวมี
ส่วนช่วยให้รายรับทางตรงจากการเกษตรของฟาร์มทุกขนาด (ฟาร์มขนาดเล็ก ฟาร์มขนาดกลาง และฟาร์ม
ขนาดใหญ)่ ท่ีเข้ารว่ มโครงการเพิ่มข้ึน โดยโครงการรับจานาขา้ วมีสว่ นช่วยใหร้ ายรบั ทางตรงจากการเกษตรของ
ฟาร์มขนาดเล็กเพ่ิมข้ึนระหว่าง 10,140.52 – 10,479.15 บาทต่อฟาร์มต่อปี ขณะท่ีฟาร์มขนาดกลาง
(Medium) และฟาร์มขนาดใหญ่ (Large) มีรายรับทางตรงจากการเกษตรเพ่ิมขึ้นระหว่าง 39,120.43 –
40,279.26 บาทต่อฟาร์มต่อปีและ 97,561.62 – 128,645.92 บาทต่อฟาร์มต่อปี ตามลาดับ เมื่อพิจารณา
ผลกระทบต่อรายรับทางตรงสุทธิจากการเกษตร พบว่าโครงการรับจานาข้าวมีส่วนช่วยให้รายรับทางตรงสุทธิ
จากการเกษตรของฟาร์มขนาดเล็กเพิ่มขึ้นระหว่าง 9,335.71 – 10,001.84 บาทต่อฟาร์มต่อปี ขณะท่ีฟาร์ม
ขนาดกลาง (Medium) และฟาร์มขนาดใหญ่ (Large) มีรายรับทางตรงสุทธิจากการเกษตรเพ่ิมขึ้นระหว่าง

7

33,794.04 – 35,328.44 บาทต่อฟาร์มต่อปี และ 86,378.34 – 113,123.16 บาทต่อฟาร์มต่อปี ตามลาดับ
ในส่วนของภาระหนี้สินของเกษตรกรภายหลังจากมีโครงการ พบว่า โครงการรับจานาข้าวไม่ได้ช่วยให้ภาระ
หนส้ี นิ ของเกษตรกรลดลงเมอ่ื วดั ภาระหนีส้ นิ ทัง้ ในรูปตวั เงินและความน่าจะเปน็ ในการเปน็ หนี้

การวเิ คราะห์ขอ้ มูลทางสถิตโิ ดยการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) เป็น
อกี วิธีหนึ่งท่ีผู้วจิ ัยสามารถเลือกมาใช้ ซ่ึงจะสามารถแสดงให้เห็นผลกระทบของโครงการท่ีมีต่อผู้เข้าร่วม และไม่
เข้าร่วมโครงการได้ ซึ่ง เกรียงศักดิ์ เจริญสุข (2561) ได้กล่าวไว้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้คะแนน
โพรเพนซิต้ี (Propensity Score Analysis) เป็นหนึ่งในการวิจัยทางสถิติแบบใหม่ท่ีเพิ่งถือกาเนิดขึ้น ภายหลัง
สถิติพื้นฐานอื่นๆ และถูกนามาใช้กันอย่างแพร่หลายเพิ่มมากขึ้น เพื่อช่วยควบคุมปัจจัยหรือตัวแปรกวน
(Confounding) ท่ีเกดิ ข้นึ ในการศึกษาวจิ ัยแบบเชิงสังเกตการณ์ (Observational Study)

2.1.3 งานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการวัดประสิทธิภาพ โดยวิธีการ Data Envelopment Analysis
(DEA)

การศึกษาประสิทธิภาพเชงิ เทคนิคของการผลิต โดยวิธี Data Envelopment Analysis (DEA) เป็นวิธี
ท่ีนิยมนามาใช้วิธีหนึ่งในการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตทางการเกษตร โดยงานวิจัยท่ีผ่านมา มี
การนามาวัดประสิทธิภาพด้านการจัดสรรการปลูกอ้อยในประเทศไทยด้วยวิธี Data Envelopment Analysis
(DEA) พิจารณาทางด้าน Input Oriented ภายใต้ข้อสมมติผลตอบแทนเปลี่ยนแปลงได้ (Variable Returns
to Scale : VRS) ผลการศึกษาพบว่า ประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรการปลูกอ้อยของเกษตรกรในประเทศ
ไทยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับสูงเท่ากับ 0.7824 อันเนื่องมาจากประสบการณ์ของเกษตรกรเองและความ
ร่วมมือท่ีดีระหว่างโรงงานน้าตาลและเกษตรกร มีศูนย์วิจัยอ้อยและน้าตาลท่ีเป็นของเอกชนเปรียบเสมือน
สมาคมของทางโรงงาน ประสานงานกับชาวไร่อ้อยและให้การสนับสนุนแบบครบวงจร ไม่ว่าจะเป็นพันธ์ุอ้อย
เครอื่ งจักร ระบบชลประทาน มกี ารวางแผนและวิจยั โดยจะวางแผนตั้งแตก่ ารปลูก ตดั ตลอดจนการขนส่ง อีก
ทั้งสภาพของที่ดินยังมีการบารุงรักษาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเสมอ ท้ังนี้ค่าประสิทธิภาพหากมีระดับ
ปานกลางหรือค่อนข้างต่า เช่น อยู่ระหว่าง 0.4001 – 0.6000 จะจัดการโดยการลดการใช้ปัจจัยการผลิตลง
ได้แก่ ค่าแรงงาน ค่าพันธ์ุอ้อย ค่าปุ๋ย ค่าสารเคมีปราบวัชพืชและศัตรูพืช ค่าเช่าที่ดิน และค่าขนส่งจากไร่ถึง
โรงงาน จากปริมาณผลผลิตใหม่จะทาให้เกษตรกรกลุ่มดังกล่าวมีประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรเท่ากับ 1
หรือมีประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรเต็มร้อยละ 100 ชนิดา วสันต์ และคณะ (2559) และสุจารีย์ พิชา
(2560) ได้ศกึ ษาลกั ษณะการจดั การผลิตเมล็ดพันธุ์ถ่ัวเหลืองปลายฝนปี 2557 ของสมาชิกสหกรณก์ ารเกษตรใน
จังหวัดเชียงใหม่ ท่ีเป็นสมาชิกสหกรณ์การเกษตรแม่ริม จากัด สหกรณ์การเกษตรนิคมแม่แตง จากัด และ
สหกรณ์การเกษตรแม่แตง จากัด จานวน 117 ราย ใช้วิธีวิเคราะห์เส้นห่อหุ้ม(DEA) มุ่งเน้นด้านผลผลิต
(Output-Orientated Measure) ภายใต้เง่ือนไขผลตอบแทนเปล่ียนแปลงได้ (Variable Return to Scale:
VRS) เพ่ือทราบถึงความสามารถของเกษตรกรในการเพ่ิมผลผลิตจากการใช้ปัจจัยการผลิตเท่าเดิม พบว่า ค่า
Output Slack มีค่าเท่ากับ 0 แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรทาการผลิตเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มากท่ีสุดจากปัจจัยการ
ผลิตที่มีอยู่แล้ว ค่าเฉล่ียประสิทธิภาพทางเทคนิคของเกษตรกรผู้ปลูกเมล็ดพันธุ์ถ่ัวเหลืองปลายฝนมีค่าเท่ากับ
0.678 หมายถึงเกษตรกรสามารถลดการใช้ปัจจัยการผลิตร้อยละ 32.20 เพื่อให้ได้ผลผลิตเท่าเดิม การวัด
ประสิทธิภาพต่อขนาด พบว่า มีผลได้ต่อขนาดลดลง (DRS) มากที่สุดรองลงมาผลได้ต่อขนาดคงที่ (CRS) และ
ผลได้ต่อขนาดเพ่ิมขึ้น (IRS) ร้อยละ 51.28 27.35 และ 21.37 สานักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 (2560) ได้
วิเคราะห์ประสทิ ธภิ าพทางเทคนคิ ตน้ ทนุ โลจิสติกส์ในส่วนเกษตรกรเป็นการวัดประสิทธิภาพการผลิตดว้ ยวิธกี าร
Data Envelopment Analysis (DEA) ด้านปัจจัยการผลิต (Input Orientated) โดยวัดผลผลิตต่อไร่ท่ี

8

เกษตรกรได้รับ จากค่าใช้จ่ายต้นทุนโลจิสติกส์ และจานวนคร้ังของการจัดซื้อจัดหาปัจจัยการผลิต พบว่า
เกษตรกรส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพในการจัดการโลจิสติกส์ ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 46.44 ส่วนที่
เหลือมีระดับประสิทธิภาพสูงและต่าเท่ากัน ร้อยละ 26.78 โดยมีประสิทธิภาพเฉล่ียเท่ากับ 0.673 สวรินทร์
ประดิษฐอุกฤษฎ์ และคณะ (2556) ทาการประเมินประสิทธภิ าพของสหกรณ์กองทุนสวนยางในจังหวัดสงขลา
โดยเคร่ืองมือท่ีใช้ คือ Data Envelopment Analysis (DEA) ผ่านปัจจัยนาเข้า 4 ปัจจัย คือ ค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินงาน จานวนสมาชิก จานวนหุ้นของสหกรณ์ และพื้นท่ีปลูกยางของสมาชิก โดยมปี ัจจัยผลผลิต 2 ปัจจัย
คือปริมาณรับซ้ือน้ายาง และรายได้เฉพาะธุรกิจ ในการระบุปัจจัยนาเข้า และปัจจัยผลผลิตระบุภายใต้กรอบ
ทฤษฎีมุมมองทรัพยากรพ้ืนฐาน ผลจากการศึกษาพบว่า มี 11 สหกรณ์ทีแ่ สดงให้เหน็ ถงึ ความมีประสิทธิภาพใน
การดาเนินงานและมี 37 สหกรณ์ที่ยังขาดประสิทธิภาพในการดาเนินงาน นอกจากนี้ผลการศึกษายังแสดงให้
เห็นถึงค่าเป้าหมายทีท่ ้ัง 37 สหกรณ์ตอ้ งปรับปรุงเพ่ือก้าวไปเป็นสหกรณ์ท่ีมปี ระสิทธิภาพ สริ ิสินทร์ หล่อสมฤดี
(2555) ศึกษาการประเมินประสทิ ธิภาพแรงงานไทยด้วยวิธี พาแนล ดีอีเอ พบว่า โดยพจิ ารณาทางปจั จยั นาเข้า
ภายใต้ข้อสมมุติผลตอบแทนเปล่ียนแปลงได้ (Variable Return to Scale: VRS) ศึกษาข้อมูลแรงงานใน
ภาพรวมทั้งประเทศปี พ.ศ. 2544-2553 และแรงงานไทยรายจังหวัดท้ัง 75 จังหวัด ปี 2549-2552 พบว่า
ประสิทธิภาพแรงงานไทยตลอดระยะเวลา 10 ปี อยู่ระดับ 0.990 โดยจานวน 3 ปีมีค่าความมีประสิทธิภาพ
และจานวน 7 ปี มีคา่ ใกล้ความมีประสิทธภิ าพ และเมอ่ื พิจารณาจากค่าประสิทธิภาพต่อขนาดอยู่ในระดบั เฉล่ีย
0.911 ซ่ึงใกล้ค่าความมีประสิทธิภาพต่อขนาด โดยมีจานวน 1 ปี มีค่าความมีประสิทธิภาพ และอีก 9 ปี ม่ีค่า
ใกล้เคียงความมีประสิทธิภาพ ในส่วนของการวิเคราะห์รายจังหวัดทั้ง 3 ช่วงเวลาแล้วพบว่า ค่าเฉลี่ยการ
เปล่ียนแปลงประสิทธิภาพแรงงานเพิ่มขึ้น อยู่ในระดับ 1.000 โดยแนวโน้มของประสิทธิภาพแรงงานภาค
รวมท้ังประเทศและการเปล่ียนแปลงประสิทธิภาพแรงงานรายจังหวัดน้ันอยู่ในระดับใกล้เคียงกับค่าความมี
ประสิทธิภาพ นอกจากน้ีการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตโดยวิธี Data Envelopment Analysis
(DEA) สาหรับสินค้าข้าวก็มีผู้ทาการศึกษาไว้หลายรายอคั รนัย ขวัญอยู่ และดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ (2556) ศึกษา
ปัจจัยท่ีมีผลต่อประสิทธิภาพในการผลิตของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในประเทศไทย พบว่า ครัวเรือนเกษตรที่มี
พ้ืนที่เพาะปลูกข้าวขนาดกลางและขนาดเล็ก มีระดับประสิทธิภาพเฉล่ียอยู่ในเกณฑ์ท่ีต่ากว่าครัวเรือนเกษตรท่ี
มีพ้ืนที่เพาะปลูกข้าวขนาดใหญ่ ภาคกลางเป็นพื้นที่ท่ีมรี ะดับประสิทธิภาพเฉล่ียในการปลกู ข้าวมากอยู่ในเกณฑ์
ดีกว่าภาคอ่ืนๆ ส่วนภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีระดับประสิทธิภาพเฉล่ียต่าสุด เมื่อพิจารณาด้านปัจจัยพบว่า
ปจั จัยดา้ นการเป็นเจา้ ของพ้ืนท่ีเพาะปลกู กับประสิทธิภาพพบวา่ ครวั เรือนทเี่ พาะปลูกโดยถือกรรมสิทธท์ิ ี่ดนิ จะ
มีประสิทธิภาพสูงกว่าครัวเรือนท่ีเพาะปลูกในที่ดินเช่า และครัวเรือนเกษตรท่ีเพาะปลูกในที่เช่าและมีฟาร์ม
ขนาดเล็กจะมปี ระสทิ ธภิ าพเฉล่ียตา่ ท่ีสดุ ในส่วนของรายจา่ ยทใี่ ช้ในการผลิตพบวา่ ยิง่ มกี ารใชจ้ ่ายมาก จะทาให้มี
ประสิทธิภาพเฉลี่ยเพิ่มขึ้น แต่เมื่อใช้จ่ายไปได้ระดับหนึ่งหากเกษตรกรไม่ยอมหยุดการใช้จ่าย อาจทาให้
ประสทิ ธิภาพการผลติ ลดลง ค่าใช้จา่ ยด้านแรงงานพบวา่ แรงงานที่มีการจา้ งแรงงานท่ีปลูกขา้ วมาก ยงิ่ ส่งผลให้
การผลิตของครัวเรือนมีประสิทธิภาพสูงไปด้วย ซ่ึงการเพิ่มค่าจ้างแรงงานด้านการเกษตรอาจส่งผลให้เป็น
แรงจูงใจในการทางาน หนี้สินของครัวเรือนพบว่า ครัวเรือนท่ีมีหนี้สินสูงและมีพื้นที่เพาะปลูกขนาดกลางและ
ขนาดเล็กมีประสิทธิภาพต่ากว่าครัวเรือนท่ีมีหนี้สินต่าและมีพื้นที่เพาะปลูกขนาดกลางและขนาดเล็ก ในส่วน
ของครัวเรือนท่ีได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐด้านชลประทานพบว่าครัวเรือนท่ีอยู่ใกล้แหล่งชลประทานทั้ง
ขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กมีประสิทธิภาพมากกวา่ พ้ืนท่ีที่อยู่ในเขตชลประทาน ซ่ึงพ้ืนท่ีส่วนใหญ่อยู่
ในภาคกลาง เช่นเดียวกบั การศกึ ษาประสิทธิภาพทางเทคนิคของเกษตรกรผูป้ ลูกขา้ วในเขตชลประทาน จังหวัด
เชียงใหม่ของเยาวเรศ เชาวนพูนผล และคณะ (2548) ทาการวิเคราะห์เพื่อทราบถึงผลการดาเนินงานของ
เกษตรกรในแต่ละกลุ่มว่าอยู่ห่างจากผู้ผลิตที่ดีที่สุดในแต่ละกลุ่มเพียงไร โดยใชเ้ ทคนิคการวิเคราะห์แบบ Data

9

Envelopment Analysis (DEA) นอกจากน้ียังวิเคราะห์ปัจจัยท่ีมีผลต่อความไม่มีประสิทธิภาพของเกษตรกร
แต่ละกลุ่มโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์แบบ Tobit Analysis โดยแบ่งเพ่ือแยกวิเคราะห์ออกเป็น 3 กลุ่มดังนี้
กลมุ่ ที่ 1 เกษตรกรท่ีปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 ร่วมกับข้าวพันธ์ุอ่นื จานวน 65 ราย กลมุ่ ท่ี 2 เกษตรกรที่ปลูก
ข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพียงพันธุ์เดียว จานวน 81 ราย กลุ่มที่ 3 เกษตรกรที่ปลูกข้าวพันธุ์อื่น จานวน 64 ราย
(ข้าวพันธ์ุอ่ืนประกอบด้วย ข้าวพันธุ์กข 1 กข 2 กข 6 กข 10 กข 15 สันป่าตอง 1 ข้าวแก้ว ข้าวเหลือง และ
เหมยนอง) เหตุผลในการแยกศึกษาเป็น 3 กลุ่มเนื่องจากเกษตรกรมีการผลิตข้าวท้ังในกรณีปลูกข้าวเพียงชนิด
เดยี วและสองชนิด ซึง่ หมายความวา่ เกษตรกรผลติ ผลผลิตได้มากกวา่ หนึง่ ชนดิ ดงั นั้นการแยกเกษตรกรกลุ่มต่าง
ๆ ออกจากกันและทาการเปรียบเทียบเฉพาะในแต่ละกลุ่มจะให้ความถูกต้องมากกว่าภายใต้วิธีการวิเคราะห์
แบบ DEA ตัวแปรทใี่ ช้ในการศกึ ษาประสทิ ธิภาพในการผลิตประกอบด้วยผลผลิตเฉลี่ยตอ่ ไร่ สว่ นปัจจยั การผลิต
ประกอบด้วย จานวนเมล็ดพันธุ์ท่ีใช้ต่อไร่ (กก./ไร่) (ASD) ปริมาณปุ๋ยเคมีที่ใช้ต่อไร่ (กก./ไร่) (ACF) และ
แรงงานที่ใช้ต่อไร่ (ชั่วโมงทางาน/ไร่) จากผลการศึกษาพบว่า เกษตรกรกลุ่มท่ีปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105
ร่วมกับข้าวพันธ์ุอ่ืนเป็นกลุ่มท่ีมีประสทิ ธิภาพทางเทคนิคโดยเฉล่ียสูงสุดเท่ากับ 0.795 รองมาไดแ้ ก่ กลุ่มที่ปลูก
ข้าวพันธ์ุอื่นและกลุ่มท่ีปลูกข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพียงพันธุ์เดียว มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.661 และ 0.565
ตามลาดับ ซ่ึงหมายความว่าเม่ือเทียบกับผู้ผลิตท่ีดีท่ีสุดในแต่ละกลุ่มแล้ว หากผู้ผลิตต้องการผลผลิตในปริมาณ
เทา่ เดมิ ตอ้ งปรบั ลดการใชป้ จั จยั การผลิตหรือหากตอ้ งการใช้ปัจจัยการผลิตในปริมาณเทา่ เดิมก็ควรจะได้ผลผลิต
เพ่มิ ขึน้ นอกจากน้ียงั มีการศึกษาของดวงใจ วงศ์ววิ ัฒน์ไชย (2546) ศึกษาความเจริญเติบโตของผลิตภาพปัจจัย
การผลิตโดยรวมของภาคการเกษตรในภาคใต้และการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวหอมมะลิ
อินทรีย์ท่ีได้รับการรับรอง โดยทาการเปรียบเทียบเคร่ืองมือ Data Envelopment Analysis (DEA) และ
Stochastic Frontier Analysis (SFA) พบว่า ท้ังสองวิธีมีขนาดและทิศทางใกล้เคียงกัน แต่ค่าที่ได้จากการ
ประมาณค่าแบบ DEA มีการกระจายตัวสูงกว่า และวิธี DEA แบบผลตอบแทนต่อขนาดคงท่ีให้ค่าดีกว่าการวัด
ประสิทธิภาพ DEA แบบผลตอบแทนต่อขนาดผันแปร ซ่ึงสอดคล้องกับนิติพงษ์ ส่งศรีโรจน์ และจารึก สิงห
ปรีชา (2550) ได้กล่าวไว้ว่าเคร่ืองมือการวัดประสิทธิภาพมีหลายประเภทแต่ที่นิยมในปัจจุบันได้แก่ Data
Envelopment Analysis (DEA) และStochastic Frontier Analysis (SFA) อันเน่ืองมาจากวิธีการวัดแต่ละ
วิธใี ช้เทคนิคทางคณิตศาสตรแ์ ละขอ้ สมมตฐิ านที่แตกตา่ งกัน ดังนน้ั การเลือกใช้แตล่ ะวธิ ีจึงเป็นส่ิงสาคัญ และแต่
ละวิธีมีจุดเด่น จุดด้อยท่ีต่างกัน ถ้าหากใช้รูปแบบของฟังก์ชันท่ีใกล้เคียงกับของจริงมากก็จะทาให้วิธี SFA มี
สมรรถนะท่ีดีกว่าวิธี DEA แต่ถ้าหากการกาหนดรูปแบบฟังก์ชันผิดพลาดและระดับความสัมพันธ์ระหว่างของ
ตัวแปรอิสระกับความไม่มีประสิทธิภาพมีค่าเพิ่มขึ้นแล้ว วิธี DEA ก็จะได้รับการพิจารณามากกว่า นอกจากน้ี
กรณที ตี่ ัวรบกวน (Noise) มีความสาคัญต่อขอ้ มูล DEA ก็จะมคี วามดอ้ ยกว่าวธิ ี SFA

จากการตรวจสอบเอกสาร จะเห็นได้ว่า วิธีการหาประสิทธิภาพโดยวิธี Data Envelopment
Analysis (DEA) เป็นท่ีนิยมนามาใชม้ ากข้นึ ในการวดั ประสิทธิภาพเชิงเทคนคิ ของการผลิตทางการเกษตร ซึ่งใน
การศึกษาครั้งนไ้ี ด้เลือกใช้วิธีการวดั ประสทิ ธภิ าพโดยวธิ ี Data Envelopment Analysis (DEA) เนือ่ งจาก DEA
เป็นวิธีการประมาณค่าที่ไม่อิงพารามิเตอร์ ไม่วา่ ข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบใด ท้ังการกระจายแบบปกติหรือไม่ปกติ
และไม่จาเปน็ ตอ้ งรูว้ า่ ปจั จัยการผลติ มคี วามสัมพนั ธก์ ับผลผลติ รปู แบบใด ก็สามารถวัดไดท้ งั้ ส้นิ

2.2 แนวคิดและทฤษฎี
2.2.1 แนวคิดพน้ื ฐานเกี่ยวกับตน้ ทุนการผลติ

องค์ประกอบของต้นทุนการผลิต แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ต้นทุนคงที่และต้นทุน ผันแปร
ดงั น้ี (สมศักด์ิ เพรยี บพร้อม, 2531: 26-28)

10

1) ต้นทุนผันแปร หมายถึง ต้นทุนการผลิตท่ีเปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณของผลผลิต เป็น
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจาการใช้ปัจจัยผันแปรในการผลิต และปัจจัยผันแปรจะใช้หมดไปในช่วงการผลิต นั้นๆ ต้นทุน
ผันแปรในการผลติ แยกประเภทกิจกรรมแบง่ ออกได้ 3 ประเภท คอื

1.1) ค่าแรงงานในการผลิตท้ังแรงงานคน และแรงงานเครื่องจักร ประกอบด้วย
คา่ แรงงานในการเตรียมกลา้ การเตรยี มปลูก การปลูก การปราบวัชพชื การใสป่ ยุ๋ การฉีดพ่นยาสารเคมี การให้นา้

1.2) คา่ แรงงานคนในการเกบ็ เกี่ยวและขนสง่

1.3) ค่าวัสดุการเกษตรหรือปัจจัยการผลิต ประกอบด้วย ค่าเมล็ดพันธุ์ ค่าภาชนะ
เพาะกล้า ค่าปุ๋ยใส่กล้า ค่าสารเคมีใส่กล้า ค่าสารเคมี ค่าน้ามันเช้ือเพลิง ตลอดจนค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ
เป็นต้น

2) ต้นทุนคงที่ หมายถึง ต้นทุนการผลิตท่ีไม่เปลี่ยนแปลงไปตามปริมาณของผลผลิต เป็น
ค่าใช้จ่ายในการผลิตที่เกิดจากการใช้ปัจจัยการผลิตที่คงท่ี ซึ่งไม่ว่าผู้ผลิตจะทาการผลิตมากหรือน้อย แค่ไหนก็
ตาม ต้นทุนคงท่ที ั้งหมดจะคงทีต่ ายตวั เสมอ และผู้ผลิตไม่สามารถจะเปลย่ี นแปลงปรมิ าณ การใช้ปัจจยั ดังกลา่ ว
ไดใ้ นชว่ งระยะเวลาของการผลิตน้นั ต้นทนุ คงทใี่ นการผลิตแยกประเภทกจิ กรรม แบง่ ออกได้ 2 ประเภท คอื

2.1) ต้นทุนคงท่ีที่เป็นเงินสด หมายถึง ค่าใช้จ่ายท่ีผู้ผลิตจะต้องจ่ายในรูปเงินสดใน
จานวนท่คี งท่ี เช่น ค่าเช่าทด่ี นิ คา่ วัสดอุ ปุ กรณก์ ารแปรรปู เปน็ ต้น

2.2) ต้นทุนคงท่ีไม่เป็นเงินสด หมายถึง ค่าใช้จ่ายจานวนคงที่ที่ผู้ผลิตไม่ได้จ่ายออก
จรงิ ในรูปของเงินสด หรือเป็นคา่ ใชจ้ ่ายคงทที่ ี่ประเมิน เช่น ค่าสกึ หรอหรอื คา่ เสอ่ื มราคา ของอุปกรณก์ ารเกษตร
และค่าใชท้ ่ีดินของตนเอง แตป่ ระเมินตามอัตราค่าเชา่ ท่ีดินในท้องถิ่นนน้ั

ในการวิเคราะหต์ ้นทนุ สามารถแสดงความสัมพนั ธไ์ ด้ ดงั น้ี

ต้นทุนผันแปรท้ังหมด = ค่าใช้จ่ายในการเตรียมดินเพาะปลูกและดูแลรักษา + ค่าวัสดุ
การเกษตรหรือปัจจัยการผลิต + ค่าใชจ้ ่ายในการเกบ็ เกี่ยวและขนสง่

ต้นทุนคงที่ท้ังหมด = ค่าเช่าท่ีดิน + ค่าใช้ท่ีดิน + ค่าภาษีท่ีดิน + ค่าเส่ือมราคา

อปุ กรณ์

ต้นทุนทั้งหมด หมายถึง ต้นทุนท้ังหมดท่ีเกิดข้ึนทั้งที่เป็นเงินสดและไม่เป็นเงินสด
ซ่ึงประกอบไปดว้ ยตน้ ทนุ คงท่ที ั้งหมดและตน้ ทนุ ผันแปรทั้งหมด

ต้นทุนทัง้ หมด = ตน้ ทุนผันแปร + ต้นทนุ คงท่ี
3) การวิเคราะหผ์ ลตอบแทน สว่ นประกอบผลตอบแทน พจิ ารณาไดด้ งั น้ี

3.1) รายไดท้ ้ังหมด หมายถงึ รายได้ทง้ั หมดท่ีได้จากการผลิตผลิตผลทาง การเกษตร
ต่อปีการผลติ ซงึ่ เทา่ กบั ปรมิ าณผลผลติ ท้งั หมดคูณดว้ ยราคาผลผลิตทเี่ กษตรไดร้ ับ

รายไดท้ ง้ั หมด = จานวนผลผลติ x ราคาของผลผลิตที่เกษตรกรไดร้ ับ

3.2) รายได้สุทธิ คือ ส่วนท่ีเหลือจากการนารายได้หักด้วยต้นทุนผันแปรทั้งหมด ซึ่ง
ประกอบด้วยต้นทุนการผลติ ผนั แปรทั้งท่ีเป็นตัวเงิน ซึ่งรายไดส้ ทุ ธใิ ช้ในการพิจารณาถึงผลกระทบทม่ี ีผลต่อกาไร
ในกรณีที่มเี ปล่ียนแปลงในราคาขาย โดยรายไดส้ ุทธิสามารถคานวณไดด้ ังนี้

รายไดส้ ทุ ธิ = รายไดท้ งั้ หมด – ตน้ ทนุ ผนั แปรทั้งหมด

11

สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร มีการคิดต้นทุนการผลิต ในลักษณะของต้นทุนทาง
เศรษฐศาสตร์ โดยคิดค่าใช้จ่ายทุกกิจกรรมการผลิต ทั้งท่ีเป็น เงินสดและไม่เป็นเงินสด (การประเมิน) ท่ี
เกษตรกรได้ใช้จ่ายจริงในช่วงเวลาการผลิต โดยไม่คิดซ้าซ้อน และเป็นค่าใช้จ่าย ณ ไร่นา รวมทั้งคิดค่าเสีย
โอกาสเงนิ ลงทุนด้วยและเป็นต้นทุนการผลิตเฉล่ีย เป็นการคิดค่าใช้จ่ายของเกษตรกรตัวอย่างทุกรายไมใ่ ช่ ราย
ใดรายหนึ่ง ท่ีมีการใช้กิจกรรมการผลิตตลอดช่วงของการผลิตหรือรุ่นของการผลิต โดยถ่วงน้าหนักด้วยพ้ืนที่
เพาะปลูกหรอื ผลผลิต

2.2.2 แนวคิดเกีย่ วกับประสิทธิภาพการผลติ
การวัดประสิทธิภาพการผลิตในความหมายทางเศรษฐศาสตร์ คือ การใช้ทรัพยากรอันจะ

ก่อให้เกิดผลสูงสุดหรือกล่าวได้ว่าการผลิตให้เกิดผลผลิตมากท่ีสุดภายใต้ปัจจัยการผลิตท่ีกาหนด หรือการผลิตให้
ได้ผลผลิตตามเป้าหมายโดยใช้ปัจจัยการผลิตน้อยท่ีสุด Farrell ได้จาแนกประสิทธิภาพทางด้านเศรษฐศาสตร์
(Economic Efficiency) ของหนว่ ยผลติ ออกเป็น 2 ลกั ษณะ ซึง่ ได้แก่ (อรรถพล สบื พงศกร, 2555)

1) การวัดประสิทธิภาพทางด้านการจัดสรรทรัพยากร (Price/Allocative Efficiency)
หมายถึง ความสามารถของหน่วยผลิตในการเลือกสัดส่วนของปัจจัยการผลิตที่เหมาะสมภายใต้ข้อจากัดทางด้าน
ราคาของปัจจยั การผลิต

2) การวัดประสิทธิภ าพ ท างด้านเทคนิค (Technical Efficiency) หมายถึง
ความสามารถของหน่วยผลิตในการที่จะเพ่ิมปริมาณผลผลิตภายใต้จานวนปัจจัยการผลิตที่มีอยู่ (Output-
Oriented Measure) หรือในทางกลับกัน สามารถพิจารณาได้จากความสามารถของหน่วยผลิตในการลดจานวน
ปัจจัยการผลิตโดยทจ่ี านวนผลผลติ ยังคงมีอยู่เท่าเดิม (Input - Oriented Measure)

อคั รพงศ์ อั้นทอง (2547) กล่าวถงึ การวัดประสิทธภิ าพว่า เป็นหนึ่งในปัจจยั ท่ีสาคญั ที่นามาใช้
ในการพิจารณาถึงผลการดาเนินงานของหน่วยผลิต และค่าประสิทธิภาพที่ได้จากการประเมิน ก็สามารถนามาใช้
ในการเปรียบเทียบระหว่างหน่วยผลิต เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาถึงระดับความสามารถในการดาเนินงาน
ของหน่วยผลติ โดยทัว่ ไปแล้วประสิทธภิ าพของหนว่ ยผลติ สามารถประเมินได้ ดงั น้ี

วิธีการวัดประสิทธิภาพที่นิยมนามาใช้ในการวัดผลการดาเนินงาน คือ การวัดประสิทธิภาพเชิง
เปรียบเทียบ ซึ่งเป็นการเปรียบเทียบค่าประสิทธิภาพที่คานวณได้ในแต่ละหน่วยผลิต กับค่ามาตรฐาน
(Benchmark) ซ่ึงในการเปรียบเทียบระหว่างหน่วยผลิตน้ัน ค่ามาตรฐาน คือ ค่าที่ได้จากหน่วยผลิตท่ีดีท่ีสุด
(Best Practice) เม่ือเปรียบเทียบกับหน่วยผลิตที่กาลังศึกษาท้ังหมด หรืออาจกล่าวได้ว่าหน่วยผลิตน้ันเป็น
หน่วยผลิตที่อยู่ในระดับแนวหน้า (Frontier) ส่วนหน่วยผลิตอ่ืนๆ จะมีศักยภาพหรือประสิทธิภาพที่ต่ากว่า
(Inefficiency) โดยทวั่ ไปแล้วการวดั ประสิทธภิ าพเชิงเปรยี บเทยี บของหนว่ ยผลิตสามารถประเมินได้ ดังนี้

Relative Efficiency = nj μ r yrj ; i = 1,…, m; r = 1,…, s; j = 1,…, n (2)
mi ωixij

12

โดยที่ xij คอื จานวนของปัจจัยนาเข้าที่ i ของหน่วยผลิต j
yrj คอื จานวนของผลผลิตท่ี r ของหนว่ ยผลิต j
μr คอื ตวั ถ่วงน้าหนักของผลผลิต r

ωi คือ ตวั ถว่ งนา้ หนกั ของปจั จยั นาเข้า i
n คอื จานวนของหนว่ ยผลิต

s คือ จานวนของผลผลิต

m คอื จานวนของปัจจยั นาเขา้

2.2.3 การวดั ประสทิ ธิภาพ โดยวิธกี าร Data Envelopment Analysis (DEA)
แนวคิดท่ีมีการใช้กันอยา่ งกวา้ งขวางในการวดั ประสทิ ธภิ าพเชิงเปรียบเทียบ คือ แนวคิดของ Farrell (1957) ที่
อาศัยหลักการของ Frontier Analysis ในการวัดประสิทธิภาพของหน่วยผลิต แนวคิดดังกล่าวเป็นจุดเร่ิมต้น
ให้กับนกั เศรษฐศาสตร์หลายทา่ นได้คิดและพัฒนาวิธีการและแบบจาลองขึ้นมาเพื่อวัดประสทิ ธิภาพ เช่น Data
Envelopment Analysis (DEA), Stochastic Frontier Approach (SFA), Thick Frontier Approach
(TFA) และ Distribution Free Approach (DFA) เป็นตน้

การวดั ประสิทธิภาพด้วยวธิ กี าร Data Envelopment Analysis หรอื DEA เปน็ วธิ ีการประมาณคา่ ที่
ไม่อิงพารามิเตอร์ (Nonparametric Method) นั่นคือ ไม่ว่าข้อมูลจะอยใู่ นรูปแบบใด ทั้งการกระจายแบบปกติ
หรือไม่ปกติ และไม่จาเป็นต้องรู้ว่าปัจจัยการผลิตมีความสัมพันธ์กับผลผลิตรูปแบบใด ก็สามารถวัดได้ท้ังส้ิน ใน
การวัดประสิทธิภาพของหน่วยผลิต ในกรณีน้ีจะไม่มีการกาหนดรูปแบบฟังก์ชั่นท่ีแน่นอนสาหรับขอบเขต
ประสิทธิภาพ (Efficiency Frontier) แต่ขอบเขตประสิทธิภาพจะถูกคานวณขึ้นโดยใช้ระเบียบวิธีการทาง
คณิตศาสตร์ที่เรียกว่าโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming) โดยใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ของปัจจัยการผลิต
และผลผลิต จากนั้นจะทาการคานวณหาค่าคะแนนประสิทธิภาพโดยเปรียบเทียบกับขอบเขตประสิทธิภาพท่ี
สร้างขึ้นดังกล่าว ขณะท่ีวิธีการประมาณค่าพารามิเตอร์ (Parametric Method) ในการคานวณหาฟังก์ชั่น
ขอบเขตประสิทธิภาพ จะมีเริ่มต้นจากการกาหนดรูปแบบของฟังก์ช่ันประสิทธิภาพก่อน เช่น ฟังก์ช่ันการผลิต
แบบ Cobb-Douglas, CES หรือฟังก์ช่ันในรูปแบบอ่ืนๆ ที่มีคุณสมบัติตามที่ต้องการ จากนั้นจะใช้ระเบียบ
วิธีการทางด้านเศรษฐมิติ อาทิ Corrected Ordinary Least Squares, Maximum Likelihood เป็นต้น เพื่อ
ทาการประมาณค่าพารามิเตอร์ของฟังก์ชัน (อรรถพล สืบพงศกร, 2555) ซึ่งแนวทางการวัดประสทิ ธิภาพเชิง
เทคนิคแบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 ตวั แบบ คือ

1) ตัวแบบ CCR
ตัวแบบ CCR มาจากอักษรตัวแรกของผู้พัฒนาตัวแบบ คือ Charnes, Cooper และ
Rhodes (1978) เป็นผู้เสนอแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ ในการวัดประสิทธิภาพของหน่วยผลิต (หรือเรียกว่า
DMU: Decision Making Unit) DMU ; k = 1,2,…,n และมีการพิจารณา 2 ด้าน คือ Input Oriented และ
Output Oriented ภายใต้ข้อสมมตทิ ี่มีลกั ษณะของผลตอบแทนต่อขนาดคงท่ี (Constant Returns to Scale:
CRS)

1.1) ตวั แบบ CCR ดว้ ยการพจิ ารณาดา้ นปจั จยั การผลิต (Input Oriented)

ฟังก์ชนั่ วัตถปุ ระสงค์ Max = (3)

13

ภายใตเ้ งอ่ื นไข =1

- 0 (j = 1,2,3,…,n)
(r = 1,2,3,…,s)
>0 (i = 1,2,3,…,m)
>0

เมื่อ = คะแนนประสทิ ธิภาพ
= ปจั จัยการผลติ นาเขา้ ที่ i ของ DMU ท่ี j
m
s = ปัจจยั ผลผลิตที่ r ของ DMU ท่ี j
n
= ค่าถ่วงน้าหนกั ของปจั จัยการผลิตนาเขา้ ท่ี i
= คา่ ถว่ งนา้ หนกั ของปัจจยั ผลผลติ ท่ี r
= จานวนปัจจัยการผลิต
= จานวนปัจจยั ผลผลิต
= จานวนหน่วยผลิต (DMU)

DMUk จะมีประสิทธิภาพ CCR เม่ือ = 1 และมีผลลัพธ์เหมาะสมที่ > 0 ทุกค่า i และ > 0

ทุกค่า r โดยท่ีตัวแบบ CCR มีจุดประสงค์เพ่ือหาค่าสูงสุดของคะแนนประสิทธิภาพโดยรวม (Overall
Technical Efficiency: TECRS) ดังสมการที่ 3 ภายใต้ข้อสมมติผลตอบแทนคงท่ี (Constant Returns to
Scale : CRS) ซ่ึงคะแนนประสิทธิภาพโดยรวมมีค่าต้ังแต่ 0 ถึง 1 และย่ิงคะแนนประสิทธิภาพมีค่าเข้าใกล้ 1
มากเท่าใด หมายถึง DMU น้ันยิ่งมีประสิทธิภาพมากเท่านั้น และหากคะแนนประสิทธิภาพมีค่าเข้าใกล้ 0
หมายถึง DMU นั้นไม่มีประสทิ ธิภาพ กล่าวไดว้ ่าตัวแบบจะสร้างระนาบเกนิ หรือเรียกวา่ ขอบเขตประสิทธภิ าพ
ซึ่ง DMU ใดอยู่บนเส้นขอบเขตแสดงว่า DMU น้ันมีประสิทธิภาพการดาเนินงาน แต่ถ้า DMU ใดอยู่ภายใน
ขอบเขตประสิทธิภาพแสดงว่ายังไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งคะแนนประสิทธิภาพของ DMU จะลดลงไปตาม
ระยะทางระหวา่ ง DMU นน้ั กับขอบเขตนัน่ เอง

ในทางปฏิบัตินิยมใช้ตัวแบบควบคู่ (Dual Model) กับตัวแบบข้างต้น กล่าวคือ กาหนดให้ , ,
,..., เป็นตัวแปรควบคู่ทีส่ ัมพันธก์ ับเงื่อนไขที่ 1,2,...,n+1 สามารถเขียนตัวแบบคู่ความสัมพันธ์กบั ตัวแบบ
CCR พิจารณาด้านปัจจัยการผลิต (Input Oriented) ดังนี้

ฟงั กช์ ่นั วัตถุประสงค์ Min (4)

ภายใตเ้ งื่อนไข 0 ( i = 1,2,…,m )
0 ( r = 1,2,…,s )
0 ( j = 1,2,…,n )

1.2) ตัวแบบ CCR ด้วยการพิจารณาด้านปัจจัยผลผลิต (Output Oriented)
จุดประสงคเ์ พ่ือทาให้ผลผลติ มคี า่ มากท่สี ุด โดยใช้ปัจจยั นาเขา้ ไม่เกินระดับทม่ี ี ดงั น้ี

14

ฟงั กช์ ่นั วัตถุประสงค์ Max (5)
ภายใต้เงือ่ นไข 0 ( i = 1,2,…,m )

0 ( r = 1,2,…,s )

0 ( j = 1,2,…,n )

เมื่อ = คะแนนประสิทธิภาพ
= ปจั จัยการผลิตนาเข้าที่ i ของ DMU ที่ j
m
s = ปัจจัยผลผลติ ท่ี r ของ DMU ที่ j
n
= ค่าสัมประสิทธ์ิ

= จานวนปัจจัยการผลิต
= จานวนปัจจยั ผลผลติ
= จานวนหน่วยผลติ (DMU)

2) ตวั แบบ BCC
ในตัวแบบ CCR ภายใต้ข้อสมมติผลผลิตตอบแทนคงที่ (CRS) มีข้อจากัดในการใช้คือ
DMU หรือองค์กรที่จะวัดประสิทธิภาพต้องมีการดาเนินงาน ณ ระดับที่เหมาะสมเท่านั้น แต่เมื่อมีการ
แข่งขนั ไม่สมบรู ณเ์ กิดข้ึน หรอื เหตุการณท์ ี่ส่งผลให้ DMU ไม่สามารถดาเนินงานในระดับทเี่ หมาะสมได้ ต่อมาใน
ปี ค.ศ. 1984 จึงมีการพัฒนาตัวแบบโดย Banker, Charnes และ Cooper เพ่ือนาไปแก้ปัญหาดังกล่าว เรียก
ตัวแบบน้ีว่า BCC มีวัตถุประสงค์เพ่ือหาค่าของคะแนนประสิทธิภาพภายใต้ข้อสมมติผลตอบแทนเปล่ียนแปลง
ได้ (Variables Returns to Scale: VRS) โดยเรียกคะแนนประสิทธิภาพท่ีได้ว่า ประสิทธิภาพที่แท้จริง (Pure
Technical Efficiency: TEvrs)

ภาพที่ 2.1 เปรียบเทียบตวั แบบ CCR และ BCC

ท่ีมา: ประสพชยั พสุนนท์ (2556)

15

จากภาพท่ี 2.1 ได้แสดงใหเ้ ห็นถึงความแตกต่างระหว่างตัวแบบ CCR และตัวแบบ BCC โดยตัวแบบ
BCC ถูกพัฒนามาเพ่ือใช้ในการประเมินประสิทธิภาพกรณีที่สภาพการแข่งขันท่ีไม่สมบูรณ์ด้วยการเพิ่มเงือ่ นไข

= 1 ลงในตัวแบบควบคู่ของตวั แบบ CCR

2.1) ตัวแบบ BCC ด้วยการพิจารณาด้านปัจจัยการผลิต (Input Oriented) โดย
การกาหนดเง่ือนไขบังคับของการเว้าเข้า (Convexity Constraint) เพิ่มเติมในการแก้ปัญหาโปรแกรมเชิง
เส้นตรง และไดต้ วั แบบ BCC ดงั นี้

ฟงั กช์ น่ั วัตถุประสงค์ Min (6)
ภายใตเ้ งือ่ นไข 0 ( i = 1,2,…,m )

0 ( r = 1,2,…,s )

= 1 ( j = 1,2,…,n )

0

2.2) ตัวแบบ BCC ดว้ ยการพิจารณาดา้ นปัจจัยผลผลิต (Output Oriented)

ฟังก์ชั่นวตั ถุประสงค์ Max (7)

ภายใต้เง่อื นไข 0 ( i = 1,2,…,m )

0 ( r = 1,2,…,s )

= 1 ( j = 1,2,…,n )

0

สรุปได้ว่าการวัดประสิทธภิ าพเชิงเทคนิคสามารถพิจารณาได้ 2 ด้าน คือ 1) ด้านปัจจยั นาเข้า
(Input Oriented) และ 2) ด้านผลผลิต (Output Oriented) และมี 2 ตัวแบบ ได้แก่ ตัวแบบ CCR ซ่ึงอยู่
ภายใต้ขอ้ สมมติผลตอบแทนคงท่ี และตัวแบบ BCC ซึ่งผลตอบแทนเปล่ียนแปลงได้เมื่อมีการแข่งขันไม่สมบูรณ์
เกิดข้ึน โดยในการวิจัยคร้ังนี้ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีการวัดประสิทธิภาพเชิงเทคนิคด้านปัจจัยนาเข้า (Input
Oriented) เพ่ือต้องการทราบว่าหน่วยผลิตจะลดปัจจัยการผลิตลงอย่างเป็นสัดส่วนท่ีเหมาะสมได้อย่างไร โดย
ที่ปริมาณการผลิตไมเ่ ปล่ยี นแปลง ใช้ตวั แบบ BCC ภายใต้สมมุติฐาน VRS

การวดั ประสิทธภิ าพทางเทคนิค

ค่าคะแนนประสิทธิภาพที่คานวณได้จากแบบจาลอง BCC สามารถตีความได้เช่นเดียว
เดียวกบั คา่ คะแนนประสทิ ธภิ าพจากแบบจาลอง CCR แต่เนื่องจากเง่ือนไขทีเ่ พ่มิ เติมในแบบจาลอง BCC สง่ ผล
ให้ค่าคะแนนประสิทธิภาพในแบบจาลองถูกคานวณอยู่ภายใต้สมมติฐานของลักษณะการผลิตแ บบผลได้ต่อ
ขนาดแปรผัน (Variable Returns to Scale: VRS) และไม่รวมเอาผลกระทบทางด้านขนาดการผลิต (Scale
Part) ไว้ในการคานวณ ดังนั้นค่าคะแนนประสิทธิภาพ ที่คานวณได้จึงเป็นการคานวณค่าคะแนนประสิทธิภาพ

16

ทางด้านเทคนิคอย่างแท้จริง (Pure Technical Efficiency Scores) ข้อสังเกตท่ีน่าสนใจ คือ ค่าคะแนน
ประสทิ ธิภาพทีค่ านวณได้จากแบบจาลอง CCR จะมคี า่ น้อยกว่าหรอื เท่ากบั ค่าคะแนนประสิทธภิ าพทค่ี านวณได้
จากแบบจาลอง BCC (สาหรับ DMU หนว่ ยเดียวกนั ) เสมอ ซึ่งสามารถอธบิ ายได้ด้วยแผนภาพที่ 2.2 ต่อไปน้ี

ภาพที่ 2.2 การวดั ประสิทธภิ าพภายใต้แบบจาลอง CCR และ BCC

ภาพที่ 2.2 แสดงฟังก์ชันการผลิตในกรณีปัจจัยการผลิต x ถูกใช้ในการผลิตสินค้า y ในกรณี
ของแบบจาลอง CCR เส้นขอบเขตประสิทธิภาพท่ีคานวณได้ คือ 0E ขณะท่ีขอบเขตประสิทธิภาพท่ีถูกคานวณ
โดยแบบจาลอง BCC คือ ABCD และเมื่อทาการคานวณค่าคะแนนประสิทธิภาพทางด้านเทคนิค (Technical
Efficiency Score: TE) ของ DMU หนว่ ยที่ F พบวา่

TEDEA–BCC = ac/aF ขณะท่ี TEDEA–CCR = ab/aF
ดงั น้นั

TEDEA–BCC ≥ TEDEA–CCR

ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับความแตกต่างระหว่างแบบจาลอง BCC และ CCR คือ การคานวณ
ค่าคะแนนประสิทธิภาพขนาด (Scale Efficiency: SE) ที่ถูกนาเสนอโดย Coelli et al. (1998) ในงานวิจัย
ดังกล่าว Coelli et al. (1998) เสนอแนวคิดว่า ความไร้ประสิทธิภาพทางด้านขนาดการผลิต (Scale
Inefficiency : SE) สามารถคานวณได้จากความแตกต่างระหว่างค่าคะแนนประสิทธิภาพทางด้านเทคนิคที่
คานวณขน้ึ จากแบบจาลอง BBC และ CCR ซง่ึ จาก

SE = ab/ac = TEDEA–CCR/TEDEA–BCC= TECRS/TEVRS
โดยที่ TECRS และ TEVRS คือ ค่าคะแนนประสิทธิภาพทางด้านเทคนิคที่คานวณข้ึนภายใต้
ข้อสมมติของผลได้ต่อขนาดคงท่ี (CRS) และ แปรผัน (VRS) ตามลาดับ
ถ้าค่า SE มีค่าเท่ากับ 1 หมายความว่า DMU ทาการผลิตโดยมีขนาดการผลิตท่ีเหมาะสม
กล่าวคือการผลิตของDMU หน่วยดังกล่าวมีลกั ษณะผลได้ตอ่ ขนาดคงท่ี ในขณะที่ค่า SE ที่น้อยกวา่ 1 จะแสดง
ถึงความไร้ประสิทธิภาพของขนาดการผลิตของ DMU หน่วยน้ัน ซึ่งเป็นไปได้ว่า DMU หน่วยดังกล่าวจะมีการ
ผลิตแบบผลได้ต่อขนาดเพิ่มขึ้น หรือผลได้ต่อขนาดลดลง ในเชิงนโยบายค่า SE จะเป็นตัวบ่งชี้ถึงแหล่งของ
ความไร้ประสิทธิภาพ (Sources of Inefficiency)และให้ข้อเสนอแนะในการจัดสรรทรัพยากร เช่น การ

17

โอนย้ายทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตจาก DMU ท่ีมีขนาดการผลิตที่ไม่เหมาะสมไปยัง DMU หน่วยอื่นๆ เพ่ือ
ปรับปรงุ ประสิทธภิ าพโดยรวม

2.2.4 การจบั คูค่ ะแนนความโน้มเอยี ง (Propensity Score Matching)
ในการวิเคราะห์เชิงสถิติของข้อมูลเชิงสังเกตการจับคู่คะแนนความโน้มเอียง Propensity

Score Matching (PSM) เปน็ เทคนิคการจับคูท่ างสถิติ ที่พยายามประมาณผลของการศึกษา โดยการคานวณ
ตัวแปรร่วมท่ีจะลดความลาเอยี งเนื่องจากตัวแปรผันท่ีสามารถพบได้ในประมาณการของผลการศึกษา จากการ
เปรียบเทียบผลโดยตรงระหว่างหน่วยได้รับการส่งเสริมและหน่วยท่ีไม่ได้รับการส่งเสริม เทคนิคนี้ได้รับการ
ตีพิมพ์เป็นครั้งแรกโดย Paul Rosenbaum และ Donald Rubin ในปี พ.ศ. 2526 ซึ่งคะแนนความเอนเอียง
คอื ความนา่ จะเปน็ ของหน่วยควบคุม เพ่ือลดความลาเอียงจากการเลือก ตอ้ งจดั กล่มุ ตามจานวนตัวแปรรว่ ม

(เกรียงศักดิ์ เจริญสุข, 2561) อธิบาย การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้คะแนนความโน้ม
เอียง (Propensity Score Analysis) เป็นหนึ่งในการวิจัยทางสถิติแบบใหม่ท่ีกาเนิดขึ้น ภายหลังสถิติพ้ืนฐาน
อ่ืนๆ และถูกนามาใช้กันอย่างแพร่หลายเพิ่มมากข้ึน เพ่ือช่วยควบคุมปัจจัยหรือตัวแปรกวน (Confounding)
ที่เกิดข้ึนในการศึกษาวิจัยแบบเชิงสังเกตการณ์ (Observational Study) ทดแทนการทดลองแบบสุ่มและมี
กลุ่มเปรียบเทียบ (Randomized Control Trial, RCT) ซ่ึงบางคร้ังผู้วิจัยไม่สามารถทาได้ อย่างไรก็ตามการ
ทดลองแบบสุ่มและมีกลุ่มเปรียบเทียบ เป็นหนึ่งในการศึกษาวิจัยที่ได้รับการยอมรับกันอย่างแพร่หลาย และ
เปน็ Gold Standard ในการประเมนิ ประสทิ ธผิ ลหรือประสิทธภิ าพของงาน

การวิเคราะห์ถดถอยแบบโลจิสติกส์ (logistic Regression Analysis) เป็นหนึ่งในการ
วเิ คราะห์ทางสถติ ิท่ชี ่วยแก้ไข และนามาใช้ในการควบคมุ ความไมส่ มดุลของปัจจยั ระหว่างสองกลมุ่ การทดลองที่
อาจเป็นตัวแปรกวนที่ส่งผลต่อผลลัพธ์ในการศึกษาวิจัยน้ัน อย่างไรก็ตาม ผลจากการนาการวิเคราะห์แบบ
logistic Regression มาใช้อาจไม่ถูกต้องหรือคลาดเคลื่อนได้ หากตัวแปรทน่ี าเข้ามาในสมการมากเกินไปทาให้
Model ของสมการขาด Goodness of Fit

การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้คะแนนโพรเพนซิตี้ (Propensity Score Analysis) ได้รับ
การคิดค้นพัฒนาโดย Rosenbaum และ Rubin ในปี 1983 ต่อมาเริ่มมีการนามาประยุกต์ใช้กันอย่าง
กว้างขวางสามารถทาได้หลายวิธี การวิเคราะห์โดยใช้ logistic Regression เป็นหน่ึงในวิธีที่นามาใช้บ่อยที่สุด
ในการหาค่าคะแนน โดยการเกิดเหตุการณ์ความสัมพันธ์ (Occurrence Relation) ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดย
ใช้ Propensity Score สามารถเขยี นเปน็ สมการทางคณิตศาสตร์ได้ดังน้ี

Clinicalevent (Y) = Function of (X) ซึง่ หมายถึง การเกิดเหตุการณ์ y เป็นผล
ของสิ่งกาเนิด x

Y = f (x| pre-treatmentcovariates)
Pr (Intervention) = f (x| pre-treatmentcovariates)
เม่อื Y คอื ความน่าจะเปน็ (Probability) ทจ่ี ะได้รบั Intervention ในการศึกษาน้ัน และ x
คอื ตัวแปรหรือปัจจัยก่อนการศึกษาวิจยั ท่ีมีผลต่อ Outcome การศึกษาวิจัย ผู้ที่มีคะแนน Propensity Score
สงู หมายถึง ผมู้ ีแนวโน้มหรือโอกาสท่จี ะได้รบั Intervention ที่ศึกษานน้ั มาก ส่วนคะแนน Propensity Score
ต่า หมายถึงแนวโน้มหรือโอกาสท่ีจะได้รับ Intervention น้อย เมื่อนาค่าคะแนน Propensity Score ของแต่
ละหน่วยทม่ี ีโอกาสไดร้ ับ Intervention ใกล้เคียงกันมาเปรียบเทียบกัน ก็จะคล้ายกับหลักการของการทาเลือก
(Randomization) ในการศกึ ษาแบบ RCT ทท่ี กุ คนมโี อกาสไดร้ ับ Assign Intervention เหมอื นกนั

18

ถงึ แม้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใชค้ ะแนนโพรเพนซิต้ี (Propensity Score) จะมีขอ้ ดี
ในการช่วยปรับและแก้ไขข้อจากัดของการศึกษาวิจัยเชิงสังเกตการณ์ได้ อย่างไรก็ดี การศึกษาดังกล่าวก็ยังมี
ข้อด้อย ในแง่ของตัวแปรกวนที่ยังไม่ทราบ (Unknown Confounders) หรือตัวแปรกวนท่ีไม่สามารถแสดง
และวดั ผลได้ (Unmeasurable Confounders)

ในทางปฏิบัติการคานวณค่าคะแนนความโน้มเอียง สามารถทาได้โดยการใช้การวิเคราะห์
สมการถดถอยแบบ Probit หรือ Logit ท้ังน้ี หากสามารถกาหนดตัวแปรต่างๆ ที่นามาใช้คานวณค่าความโน้ม
เอยี งได้อยา่ งเหมาะสม วิธี PSM จะช่วยใหต้ ัวแปรตา่ งๆ ของกลุ่มที่เขา้ ร่วมโครงการมีคา่ ใกลเ้ คียงกบั ตัวแปรของ
กลุ่มเปรียบเทียบ หรือเกิดความสมดุลของตัวแปรต่างๆ ระหว่างท้ังสองกลุ่ม น่ันเอง หลังจากน้ัน เม่ือทาการ
จบั คู่แล้ว ข้ันตอนต่อไป คือ การเปรยี บเทียบผลลพั ธท์ ส่ี นใจ ระหว่างเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการกับเกษตรกรท่ี
ไม่ได้เข้าร่วมโครงการท่ีจับคู่กัน อันแสดงถึงผลกระทบท่ีเกิดจากนโยบาย (Treatment Effect) ซ่ึงการวัดผล
กระทบที่เกิดจากนโยบายคือการเปรียบเทียบผลลัพธท่ีตองการศึกษาของกลุมผูเข้าร่วมโครงการและกลุ่ม
เปรยี บเทียบ การวัดคาเฉลยี่ ของผลกระทบท่เี กดิ ขนึ้ สามารถวัดได้ 3 วธิ ี คือ

1. ผลกระทบโดยเฉล่ียของโครงการ (Average Treatment Effect: ATE) เปนการวัดผลกระทบ
ของนโยบายที่คานวณโดยนาผลต่างของผลลัพธ์ท่ีตองการศกึ ษาของประชากรเปรียบเทยี บกันระหวางขณะท่มี ีและ
ไมมโี ครงการหารเฉล่ียดวยจานวนประชากรท้ังหมด การวัดผลกระทบดวยวิธีนี้เหมาะสาหรับการวดั ผลกระทบของ
นโยบายหรือโครงการที่ไมไดเจาะจงกลุมเปาหมาย

ให้ Y1 หมายถึง ผลลัพธ์จากการเข้าร่วมโครงการ Y0 หมายถึง ผลลัพธ์จากการไม่ได้เข้าร่วม
โครงการ ผลลัพธ์ท่ีสังเกตได้ คือ Y = DY1 + (1-D)Y0 ผลกระทบโดยเฉลี่ยของโครงการ (Average
Treatment Effect: ATE) จะเป็นไปตามสมการ ดังน้ี

ATE = E(Y1 – Y0)
2. ผลกระทบโดยเฉลี่ยต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect on the
Treated: ATT) ซ่ึงคานวณโดยการนาผลต่างของผลลัพธ์ของผู้ที่เข้าร่วมโครงการกับผู้ที่มิได้เข้าร่วมโครงการ
หารดว้ ยจานวนผู้ที่เข้ารว่ มโครงการเท่าน้ัน ATT เป็นการวัดผลกระทบที่เหมาะกับโครงการที่มีกลุ่มเป้าหมายที่
ชัดเจน ผลกระทบโดยเฉลี่ยต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect on the Treated: ATT) จะ
เปน็ ไปตามสมการ ดงั นี้

ATT = E(Y1 – Y0D=1)

= E(Y1D=1) - E(Y0D=1)
3. ผลกระทบโดยเฉลี่ยต่อผู้ไม่ได้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment Effect on the
Untreated: ATU) จะเปน็ ไปตามสมการ ดังนี้

ATU = E(Y1D=0) - E(Y0D=0)
และ ATE = ATT*P(D=1) + ATU*P(D=0)
ในการศึกษาครั้งนี้จะใช้วิธีวัดผลกระทบโดยเฉลี่ยต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (ATT) เนื่องจากมี
กลมุ่ เปา้ หมายคือเกษตรกรท่ีเข้าร่วม และไมเ่ ข้ารว่ มโครงการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่

19

บทที่ 3

ข้อมูลท่ัวไป

การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ กรณีศึกษาพ้ืนท่ี
ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี) เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลท่ีได้จากการ
สัมภาษณ์เกษตรกรผู้ผลิตข้าวนาปีที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทาให้ทราบถึงข้อมูล
ลักษณะส่วนบุคคล การพัฒนาด้านการผลิตจากการเข้าร่วมโครงการ และความคิดเห็นของเกษตรกรต่อ
โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พจิ ารณารายละเอยี ดไดด้ งั นี้
3.1 ข้อมลู ทั่วไปและลักษณะสว่ นบุคคลของเกษตรกร

เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่เป็นเพศชายร้อยละ 53.75 เพศหญิง
รอ้ ยละ 46.25 ส่วนเกษตรกรที่ไมเ่ ขา้ ร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่เป็นเพศชายรอ้ ยละ 42.50
เพศหญิงร้อยละ 57.50

เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มอี ายเุ ฉลี่ย 56.61 ปี สว่ นใหญ่มีอายุอยู่
ในชว่ ง 51-60 ปีคิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมา มีอายุ มากกว่า 60 ปี 31-40 ปี และนอ้ ยกวา่ 30 ปี คดิ เป็น
รอ้ ยละ 30.00 17.50 8.75 และ 3.75 ตามลาดับ ส่วนเกษตรกรท่ีไม่เข้าร่วมโครงการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบ
แปลงใหญ่มีอายุเฉลี่ย 52.65 ปี ส่วนใหญ่มีอายุอยู่ในช่วง 51-60 ปี คิดเป็นร้อยละ 37.50 รองลงมามีอายุอยู่
ในช่วง 40-50 ปี มากกว่า 60 ปี 31-40 ปี และน้อยกว่า 30 ปี คิดเป็นร้อยละ 32.50 2500 3.75 และ
1.25 ตามลาดับ

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีระดับการศึกษาเฉล่ีย 6.17 ปี ส่วน
ใหญ่ มกี ารศึกษาต่ากว่าประถมศึกษา คดิ เปน็ รอ้ ยละ 77.50 รองลงมามีระดับการศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอน
ปลาย/อาชีวะ มัธยมศึกษาตอนต้น และปริญญาตรี/สูงกว่า คิดเป็นร้อยละ 10.00 8.75 และ 3.75
ตามลาดบั ส่วนเกษตรกรที่ไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญม่ กี ารศกึ ษาเฉล่ีย 5.95 ปี ส่วน
ใหญ่มีระดับการศึกษาต่ากว่า ประถมศึกษา คิดเป็นร้อยละ 80.00 รองลงมา คือระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
มธั ยมศึกษาตอนปลาย/อาชวี ะ และปรญิ ญาตรี/สูงกว่า คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.25 7.50 และ 1.25 ตามลาดับ

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มปี ระสบการณ์การทานาเฉลี่ย 35.58 ปี
ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทานาอยู่ในช่วง 30-40 ปีคิดเป็นร้อยละ 35.00 รองลงมามีประสบการณ์การทา
นามากกวา่ 40 ปี 20 - 30 ปี 10 - 20 ปี น้อยกว่า 10 ปี คิดเป็นร้อยละ 30.00 18.75 11.25 และ 5.00
ตามลาดับ ส่วนเกษตรกรทไี่ มเ่ ขา้ รว่ มโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มปี ระสบการณ์การทานาเฉลี่ย
33.84 ปี ส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทานาอยู่ในช่วง 20-30 ปี คิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมา มี
ประสบการณ์การทานาอยู่ในช่วง 30 - 40 ปี มากกว่า 40 ปี น้อยกว่า 10 ปี และ 10 - 20 ปี คิดเป็นร้อยละ
28.75 26.25 7.50 และ 6.25 ตามลาดับ

20

เกษตรกรท่เี ข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีจานวนแรงงานเฉลี่ย 2 คน สว่ นใหญ่มี
จานวนแรงงาน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 47.50 รองลงมามจี านวนแรงงาน 1 คน 3 คนและ 4 คนคิดเป็นร้อยละ
31.25 16.25 และ 5.00 ตามลาดับ ส่วนเกษตรกรท่ีไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มี
จานวนแรงงานเฉล่ีย 2 คน ส่วนใหญ่ มีจานวนแรงงาน 1 คนคิดเปน็ ร้อยละ 36.25 รองลงมามีจานวนแรงงาน
2 คน 3 คนและ 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 33.75 18.75 และ 11.25 ตามลาดบั

เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีพ้ืนที่การทานาข้าวเฉล่ีย 17.58 ไร่
ส่วนใหญ่มีพ้ืนท่ีการทานาข้าว 6 - 11 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมามีพื้นที่การทานาข้าว 11 - 20 ไร่
20 - 40 ไร่ ต่ากว่า 6 ไร่ และ 40 - 60 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.25 21.25 12.50 และ 8.75 ตามลาดับ ส่วน
เกษตรกรท่ีไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีพื้นท่ีการทานาข้าวเฉลี่ย 13.65 ไร่ ส่วน
ใหญ่มีพื้นที่การทานาข้าว 11 - 20 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 31.25 รองลงมามีพืน้ ท่ีการทานาข้าว 6 - 11 ไร่ 20 -
40 ไร่ ต่ากว่า 6 ไร่ และ 40 - 60 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 26.25 21.25 16.25 และ 5.00 ตามลาดับ (ตารางท่ี
3.1)

ตารางที่ 3.1 ลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกร

ลกั ษณะส่วนบุคคล แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

เพศ 34 42.5
46 57.5
ชาย 43 53.75
1 1.25
หญิง 37 46.25 3 3.75
26 32.5
อายุ 30 37.5
20 25
น้อยกว่า 30 ปี 3 3.75
64 80
31 – 40 ปี 7 8.75 9 11.25
6 7.5
41 – 50 ปี 14 17.5 1 1.25

51 – 60 ปี 32 40 6 7.5
5 6.25
มากกวา่ 61 ปี 24 30 25 31.25

เฉลย่ี 56.61

การศึกษา

ต่ากว่า/ประถมศกึ ษา 62 77.5

มัธยมศึกษาตอนตน้ 7 8.75

มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/อาชีวะ 8 10

ปรญิ ญาตรี/สูงกวา่ 3 3.75

เฉลยี่ 6.17

ประสบการณก์ ารทานา

นอ้ ยกวา่ 10 ปี 45

10 – 20 ปี 9 11.25

20 – 30 ปี 15 18.75

21

ตารางที่ 3.1 ลกั ษณะสว่ นบุคคลของเกษตรกร (ตอ่ )

ลกั ษณะสว่ นบุคคล แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
30 – 40 ปี
มากกว่า 40 ปี 28 35 23 28.75
เฉล่ีย 24 30 21 26.25
จานวนแรงงาน
1 คน 35.58 29 36.25
2 คน 27 33.75
3 คน 25 31.25 15 18.75
4 คน 38 47.5 9 11.25
เฉลย่ี 13 16.25
พนื้ ที่การทานาข้าว 45 13 16.25
ต่ากวา่ 6 ไร่ 21 26.25
6 – 11 ไร่ 2 25 31.25
11 – 20 ไร่ 17 21.25
20 – 40 ไร่ 10 12.5 45
40 – 60 ไร่ 25 31.25
เฉล่ีย 21 26.25
17 21.25
ทมี่ า : จากการสารวจ 7 8.75

17.58

3.2 การพฒั นาการผลติ การทานาข้าวแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่
3.2.1 ดา้ นการลดต้นทุน
จากการศึกษาการลดต้นทุนการทานาข้าวนอกแปลงใหญ่ พบว่า ส่วนใหญ่อัตราการใช้เมล็ด

พันธ์ุอยู่ในช่วง 20 – 25 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 52.50 รองลงมาคือช่วง 25 – 30 กิโลกรัมต่อไร่ 15 –
20 กิโลกรัมต่อไร่ มากกว่า 30 กิโลกรัมต่อไร่ และน้อยกว่า 15 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 28.75 12.50
5.00 และ 1.25 ตามลาดับ โดยมีอัตราการใช้เมล็ดพันธ์ุเฉล่ยี 25.89 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ส่วนใหญ่เกษตรกรไม่มีการ
ปรับเปล่ียนอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์คิดเป็นร้อยละ 97.50 มีเกษตรกรที่ปรับลดการใช้เมล็ดพันธ์ุเพียงร้อยละ
2.50 โดยที่เกษตรกรส่วนใหญ่ ไม่ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คิดเป็นร้อยละ 88.75 มีเกษตรกรที่ใช้ปุ๋ยตามค่า
วเิ คราะห์ดินเพียงร้อยละ 11.25 เกษตรกรส่วนใหญ่ไมม่ ีการรวมกลุ่มจัดทาปุ๋ยชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 91.25 มี
เกษตรกรทีร่ วมกลุ่มจดั ทาชวี ภาพเพียงร้อยละ 8.75 เกษตรกรท่ใี ช้ปยุ๋ อินทรีย์ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 22.50 ไม่
ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพคิดเป็นร้อยละ 77.50 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการรวมกลุ่มซ้ือปัจจัยการผลิต คิดเป็นร้อย
ละ 97.50 มีเกษตรกรท่ีรวมกลุ่มกันซื้อปัจจัยการผลิตเพียงร้อยละ 2.50 ในด้านการใช้เครื่องจัดกรกลแทน
แรงงานพบว่า มีเกษตรกรที่ใช้เครื่องจกั รกลแทนแรงงานร้อยละ 75.00 และเกษตรกรท่ีไม่ใชเ้ คร่ืองจกั รกลแทน
แรงงานคิดเป็นร้อยละ 25.00 และส่วนใหญ่เกษตรกรไม่มีการใช้เครื่องจักรกลร่วมกันคิดเป็นร้อยละ 98.75
ส่วนเกษตรกรทมี่ กี ารใช้เครื่องจักรกลรว่ มกันมเี พยี งร้อยละ 1.25

22

ในขณะทกี่ ารทานาแปลงใหญส่ ว่ นใหญ่มีการลดต้นทุนท่ีดกี ว่า คอื มอี ัตราการใช้เมล็ดพันธ์ใุ นช่วง 20 –
25 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 57.50 รองลงมามีอัตราการใช้เมล็ดพันธ์ุอยู่ในช่วง 15 – 20 กิโลกรัมต่อไร่
25 – 30 กิโลกรัมต่อไร่ น้อยกว่า 15 กิโลกรัมต่อไร่ และมากกว่า 30 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 27.50
7.50 6.25 และ 1.25 ตามลาดับ โดยมีอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์เฉลี่ย 23.11 กิโลกรัมต่อไร่ โดยท่ีเกษตรกรมี
อัตราการใช้เมล็ดพันธ์ุเท่าเดิม คิดเป็นร้อยละ 53.75 และเกษตรกรท่ีมีการปรับเปลี่ยนอัตราการใช้เมล็ดพันธ์ุ
ลดลงคิดเป็นร้อยละ 46.25 ในขณะที่ เกษตรกรมีการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ถึงร้อยละ 73.75 และ
เกษตรกรท่ีไม่มีการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน คิดเป็นร้อยละ 26.25 เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันจัดทาปุ๋ย
ชวี ภาพถงึ ร้อยละ 83.75 และไม่มีการรวมกลมุ่ กันจดั ทาปุย๋ ชวี ภาพร้อยละ 16.25 เกษตรกรมีการใช้ป๋ยุ อนิ ทรีย์
ชีวภาพถงึ ร้อยละ 77.50 ในขณะท่ี เกษตรกรไมม่ ีการใชป้ ุ๋ยอนิ ทรยี ช์ ีวภาพเพยี งร้อยละ 22.50 เกษตรกรมกี าร
รวมกลุ่มกันจัดซื้อปัจจัยการผลิต ร้อยละ 80.00 ส่วนที่เหลือ เพียงร้อยละ 20.00 ไม่มีการรวมกลุ่มกันและมี
ปจั จัยการผลิต และเกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 90.00 มีการใช้เครื่องจักรกลแทนแรงงาน สว่ นท่ีเหลือเพียงร้อย
ละ 10.00 ไม่มีการใช้เครื่องจักรกลแทนแรงงาน โดยที่เกษตรกรส่วนใหญ่ ไม่มีการใช้เครื่องจักรกลร่วมกัน คิด
เป็นรอ้ ยละ 73.75 สว่ นทเ่ี หลอื รอ้ ยละ 26.25 มีการใชเ้ คร่อื งจักรกลรวมกนั เพ่ือลดต้นทุน (ตารางท่ี 3.2)

ตารางท่ี 3.2 การศกึ ษาการลดตน้ ทุนการทานาขา้ วแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่

การลดตน้ ทนุ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

อัตราการใชเ้ มล็ดพนั ธ์ุ 1 1.25
10 12.5
น้อยกว่า 15 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ 5 6.25 42 52.5
23 28.75
15 – 20 กิโลกรัมตอ่ ไร่ 22 27.5 45
25.89
20 – 25 กิโลกรมั ต่อไร่ 46 57.5
00
25 – 30 กโิ ลกรัมตอ่ ไร่ 6 7.5 78 97.5
2 2.5
มากกว่า 30 กโิ ลกรัมต่อไร่ 1 1.25 5

เฉล่ีย 23.11 9 11.25
71 88.75
การปรับเปล่ียนอัตราการใช้เมล็ด
7 8.75
พนั ธ์ุ 73 91.25

เพ่ิมข้นึ 0 0

เท่าเดิม 43 53.75

ลดลง 37 46.25

ลดลงเฉล่ีย (กิโลกรมั /ไร่) 6.53

การใช้ปยุ๋ ตามค่าวิเคราะห์ดิน

ใช้ 59 73.75

ไม่ใช้ 21 26.25

การรวมกลมุ่ จัดทาปุ๋ยชีวภาพ

มี 67 83.75

ไมม่ ี 13 16.25

23

ตารางท่ี 3.2 การศึกษาการลดต้นทนุ การทานาข้าวแปลงใหญแ่ ละนอกแปลงใหญ่ (ตอ่ )

การลดตน้ ทุน แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ
การใชป้ ๋ยุ อินทรยี /์ ชวี ภาพ
มี 62 77.5 18 22.5
ไมม่ ี 18 22.5 62 77.5
การรวมกลุม่ ซื้อปจั จัยการผลติ
มี 64 80 2 2.5
ไมม่ ี 16 20 78 97.5
การใชเ้ ครอื่ งจักรกลแทนแรงงาน
มี 72 90 60 75
ไมม่ ี 8 10 20 25
การใช้เครื่องจกั รกลร่วมกัน
มี 21 26.25 1 1.25
ไมม่ ี 59 73.75 79 98.75

ทีม่ า : จากการสารวจ

3.2.2 ด้านการเพิ่มผลผลิต
จากการศึกษาการดาเนินกิจกรรมเพอื่ เพิ่มผลผลิตข้าวนอกแปลงใหญ่ พบวา่ สว่ นใหญ่เกษตรกร

รอ้ ยละ 96.25 ไม่ใช้ปุ๋ยพืชสดบารุงดิน มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 3.75 เท่าน้ันที่ใช้ปุ๋ยพืชสดบารุงดิน ในขณะที่
เกษตรกรสว่ นใหญ่ใช้เมล็ดพันธ์ุดจี ากแหล่งที่เชื่อถือไดถ้ ึงร้อยละ 88.75 ส่วนทีเ่ หลือร้อยละ 11.25 ไมใ่ ชเ้ มล็ด
พนั ธุ์ดีจากแหล่งที่เช่ือถือได้ และเกษตรกรถึงรอ้ ยละ 60.00 ไม่ได้รับการอบรมหาความรู้ ส่วนเกษตรกรท่ีเหลือ
ร้อยละ 40.00 ได้รับการอบรมหาความรู้อยู่เสมอ และเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้ทาตามมาตรฐาน GAP คิดเป็น
ร้อยละ 93.75 มีเกษตรกรที่กาลังดาเนินการ ทาตามมาตรฐาน GAP คิดเป็นร้อยละ 3.75 และมีเกษตรกรท่ี
ผา่ นมาตรฐาน GAP แลว้ เพียงรอ้ ยละ 2.50

จากการศึกษาการดาเนินกิจกรรมเพ่ือเพ่ิมผลผลิตข้าวแปลงใหญ่พบว่า ส่วนใหญ่เกษตรกรร้อย
ละ 73.75 มีการใช้ปุ๋ยพืชสดบารุงดิน เกษตรกรที่เหลือร้อยละ 26.25 ไม่มีการใช้ปุ๋ยพืชสดบารุงดิน และ
เกษตรกรส่วนใหญ่มีการใช้เมล็ดพันธ์ุดีจากแหล่งท่ีเชื่อถือได้ถึงร้อยละ 97.50 มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 2.50
เท่านั้นที่ไม่ได้ใช้เมล็ดพันธุ์ดีจากแหล่งที่เชื่อถือได้ และเกษตรกรท้ังหมดที่เข้าร่วมโครงการนาแปลงใหญ่ ได้รับ
การอบรมหา ความรู้อยู่เสมอ และเกษตรกรส่วนใหญ่ผ่านมาตรฐานการผลิต GAP คิดเป็นร้อยละ 57.50 กาลัง
กาลังดาเนินการทามาตรฐาน GAP คิดเป็นร้อยละ 36.25 และไม่ได้ทาตามมาตรฐาน GAP เพียงร้อยละ 6.25
(ตารางที่ 3.3)

24

ตารางที่ 3.3 การศกึ ษาการเพมิ่ ผลผลติ การทานาขา้ วแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่

การเพ่ิมผลผลติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ
ใช้ปยุ๋ พืชสดบารุงดิน
ใช้ 21 26.25 3 3.75
ไม่ใช้ 59 73.75 77 96.25
ใช้เมล็ดพนั ธุ์ดจี ากแหล่งท่เี ชื่อถอื ได้
ใช้ 78 97.5 71 88.75
ไมใ่ ช้ 2 2.5 9 11.25
อบรม/หาความรเู้ สมอ
ใช่ 80 100 32 40
ไม่ใช่ 00 48 60
ผลติ ตามมาตรฐาน GAP
ผา่ นมาตรฐาน GAP แล้ว 46 57.5 2 2.5
ไม่ไดท้ าตามมาตรฐาน GAP 5 6.25 75 93.75
กาลังดาเนินการ 29 36.25 3 3.75

ทมี่ า : จากการสารวจ

3.2.3 ด้านการตลาด
จากการศกึ ษาด้านการตลาด การทานาข้าวนอกแปลงใหญ่พบวา่ เกษตรกรไม่มีการรวมกลมุ่ กัน

เพ่ือจาหน่ายผลผลิต และไม่มีการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการเพ่ิมช่อง
ทางการจาหน่ายสินค้า คิดเป็นร้อยละ 96.25 มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 3.75 ที่มีการเพิ่มช่องทางการจาหน่าย
สินค้า

การศึกษาการพัฒนาการตลาด การทานาข้าวแปลงใหญ่พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการ
รวมกลุ่มกันเพ่ือจาหน่ายผลผลิต คิดเป็นร้อยละ 61.25 แต่มีเกษตรกรบางส่วน มีการรวมกลุ่มกันเพ่ือจาหน่าย
ผลผลิตคิดเป็นร้อยละ 38.75 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการแปรรูปผลผลิตเพื่อเพ่ิมมูลค่า คิดเป็นร้อยละ 76.25
ในขณะที่ เกษตรกรท่ีมกี ารแปรรูปผลผลติ เพอ่ื เพิ่มมูลคา่ คิดเป็นรอ้ ยละ 23.75 เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้เพิม่ ชอ่ ง
ทางการจาหน่ายสินค้า คิดเป็นร้อยละ 63.75 ที่เหลือร้อยละ 36.25 มีการเพ่ิมช่องทางการจาหน่ายสินค้า
(ตารางที่ 3.4)

25

ตารางที่ 3.4 การศกึ ษาด้านการตลาด นาข้าวแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่

การตลาด แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ
การรวมกลมุ่ เพื่อจาหน่ายผลผลิต
มี 31 38.75 00
ไมม่ ี 49 61.25 80 100
การแปรรูปผลผลติ เพ่ือเพิ่มมลู คา่
มี 19 23.75 00
ไมม่ ี 61 76.25 80 10
เพิ่มช่องทางการจาหนา่ ย
มี 29 36.25 3 3.75
ไมม่ ี 51 63.75 77 96.25

ทม่ี า : จากการสารวจ

3.2.4 ดา้ นการบรหิ ารจัดการ
จากการศึกษาการบริหารจัดการการทานาข้าวนอกแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มี

การวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับความต้องการ คิดเป็นร้อยละ 97.50 มีเกษตรกรที่วางแผนการผลิตให้
สอดคล้องกับความต้องการคิดเป็นร้อยละ 2.50 และเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการวางแผนการตลาด คิดเป็นร้อย
ละ 97.50 มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 2.50 เท่านั้นท่ีมีการวางแผนการตลาด และเกษตรกรทั้งหมดไม่มี
คณะกรรมการเพ่ือบรหิ ารจัดการการผลิต โดยที่เกษตรกรร้อยละ 98.75 ไม่มีการทา MOU กับเอกชน คิดเป็น
ร้อยละ 98.75 มีเกษตรกรเพียงร้อยละ 1.25 ทีม่ ีการทาตลาดล่วงหน้า หรอื MOU กับเอกชน

การบรหิ ารจัดการในนาแปลงใหญ่พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่มีการวางแผนการผลิตให้ตรง
กับความต้องการของตลาด แต่เกษตรกรเริ่มมีการวางแผนการผลิตให้ตรงกับความต้องการแล้วคิดเป็นร้อยละ
47.50 ในขณะท่ีเกษตรกรส่วนใหญ่ไม่มีการวางแผนการตลาดคิดเป็นร้อยละ 51.25 เกษตรกรที่มีการวางแผน
การตลาดแล้วคิดเป็นร้อยละ 48.75 โดยเกษตรกรส่วนใหญม่ ีคณะกรรมการเพื่อบรหิ ารจัดการกลุ่มคิดเป็นร้อย
ละ 96.25 และมีเพียง ร้อยละ 3.75 ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารจัดการกลุ่ม และเกษตรกรส่วนใหญ่มีการทา
MOU กับเอกชนแล้ว คิดเป็นร้อยละ 85.00 สว่ นเกษตรกรท่ียังไม่ได้ทา MOU กับเอกชน คดิ เป็นร้อยละ 15.00
(ตารางที่ 3.5)

26

ตารางที่ 3.5 การศึกษาดา้ นการบรหิ ารจัดการนาขา้ วแปลงใหญ่และนอกแปลงใหญ่

การบรหิ ารจัดการ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ผ ลิ ต ใ ห้
สอดคล้องกบั ความต้องการ 38 47.5 2 2.5
มี 42 52.5 78 97.5
ไม่มี
มกี ารวางแผนการตลาด 39 48.75 2 2.5
มี 41 51.25 78 97.5
ไม่มี
มีคณะกรรมการบริหารกลมุ่ 77 96.25 00
มี 3 3.75 80 100
ไมม่ ี
มกี ารทา MOU กับเอกชน 68 85 1 1.25
มี 12 15 79 98.75
ไม่มี

ทีม่ า : จากการสารวจ

3.3 การศกึ ษาระดับทัศนคติของเกษตรกรตอ่ ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
3.3.1 ความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
การศึกษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่ เกี่ยวกับความรู้ความเข้าใจต่อระบบการ

ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ มีความรู้ความเข้าใจ ในระดับค่อนข้างน้อย คิด
เป็นร้อยละ 41.25 รองลงมาคือ ระดับปานกลาง ระดับน้อย และระดับค่อนข้างมาก คิดเป็นร้อยละ 35.00
22.50 และ 1.25 ตามลาดับ ส่วนระดับทัศนคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ
43.75 มีความรู้ความเข้าใจในระดับมาก รองลงมา มีความรู้ความเข้าใจในระดับค่อนข้างมาก ปานกลาง และ
ค่อนข้างน้อย คดิ เปน็ รอ้ ยละ 31.25 21.25 และ 3.75 ตามลาดบั (ตารางที่ 3.6)

27

ตารางที่ 3.6 ความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่

ระดบั ทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

ความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับระบบส่งเสริม 35 43.75 00
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ 1 1.25
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00) 28 35
33 41.25
ค่อนข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 25 31.25 18 22.5

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 17 21.25

คอ่ นข้างน้อย (คะแนน 1.81 – 2.60) 3 3.75

น้อย (คะแนน 1.00 – 1.80) 00

ทมี่ า : จากการสารวจ

3.3.2 เป้าหมายการพัฒนาการผลิตในพ้ืนท่ีแปลงใหญ่
การศึกษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เกี่ยวกับเป้าหมายการพัฒนาการผลิตใน

พื้นที่แปลงใหญ่พบวา่ เกษตรกรสว่ นใหญ่มีระดบั ความรู้ความเข้าใจในระดับค่อนข้างน้อย คิดเปน็ ร้อยละ 38.75
รองลงมาคือ ระดับปานกลาง ระดับน้อย และระดับค่อนข้างมาก คิดเป็นร้อยละ 33.75 26.25 และ 1.25
ตามลาดับ ส่วนระดับทศั นคตขิ องเกษตรกรในแปลงใหญ่ พบวา่ เกษตรกรส่วนใหญม่ ีความรูค้ วามเขา้ ใจในระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 47.50 รองลงมาคือระดับค่อนข้างมาก ระดับปานกลาง และระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ
28.75 21.25 และ 2.50 ตามลาดับ (ตารางที่ 3.7)

ตารางที่ 3.7 ความรคู้ วามเข้าใจในเป้าหมายการพฒั นาการผลติ ในพน้ื ท่ีแปลงใหญ่

ระดบั ทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ

ค ว า ม รู้ ค ว า ม เข้ า ใจ ใน เป้ า ห ม า ย ก า ร 38 47.5 00
พฒั นาการผลิตในพืน้ ท่ีแปลงใหญ่ 1 1.25
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00)

คอ่ นข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 23 28.75

28

ตารางที่ 3.7 ความรู้ความเขา้ ใจในเปา้ หมายการพฒั นาการผลิตในพ้ืนทแี่ ปลงใหญ่ (ต่อ)

ระดับทัศนคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ
คอ่ นข้างนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60)
นอ้ ย (คะแนน 1.00 – 1.80) 17 21.25 27 33.75
2 2.5 31 38.75
ทม่ี า : จากการสารวจ 00 21 26.25

3.3.3 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาให้การผลิตมีประสิทธิภาพมากข้ึน (ลดต้นทุน
เพิ่มผลผลิต ผลิตสินค้าได้มาตรฐาน)

การศกึ ษาระดับทศั นคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เก่ียวกับระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ทาให้ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ผลิตสินค้าได้ตามมาตรฐานพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ความ
เข้าใจในเร่ืองน้ีในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาคือระดับค่อนข้างน้อย และระดับน้อยคิด
เป็นร้อยละ 38.75 และ 21.25 ตามลาดับ สว่ นระดับทศั นคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่พบว่า เกษตรกรส่วน
ใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 43.75 รองลงมาคือระดับค่อนข้างมาก และระดับปาน
กลาง คดิ เป็นร้อยละ 33.75 และ 22.50 ตามลาดับ (ตารางที่ 3.8)

ตารางท่ี 3.8 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาให้ ลดต้นทุน เพ่ิมผลผลิต ผลิตสินค้าได้
มาตรฐาน

ระดับทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง 35 43.75 00
ใหญ่ทาให้ ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ผลิต 00
สนิ ค้าไดม้ าตรฐาน 32 40
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00)

ค่อนข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 27 33.75

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 18 22.5

29

ตารางที่ 3.8 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาให้ ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิต ผลิตสินค้าได้
มาตรฐาน (ตอ่ )

ระดบั ทัศนคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

ค่อนข้างนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60) จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
น้อย (คะแนน 1.00 – 1.80)
00 31 38.75
ท่มี า : จากการสารวจ 00 17 21.25

3.3.4 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญท่ าให้ซือ้ ปจั จัยการผลิตในราคาทตี่ า่ กวา่ ปกติ
การศกึ ษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เกี่ยวกับระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบ

แปลงใหญ่ทาใหซ้ ้ือปัจจยั การผลิตในราคาทตี่ ่ากว่าปกติ พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ มคี วามรู้ความเขา้ ใจในระดับ
ปานกลาง คดิ เป็นรอ้ ยละ 45.00 รองลงมา คือระดับค่อนข้างน้อย ระดับน้อย และระดับค่อนข้างมาก คิดเป็น
ร้อยละ 32.50 21.25 และ 1.25 ตามลาดบั ส่วน

ระดบั ทัศนคตขิ องเกษตรกรในแปลงใหญ่พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มคี วามรู้ความเขา้ ใจในระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 35.00 รองลงมาคือ ระดับค่อนข้างมาก ระดับปานกลาง และระดับค่อนข้างน้อย คิดเป็น
ร้อยละ 32.50 31.25 และ 1.25 ตามลาดับ (ตารางท่ี 3.9)

ตารางท่ี 3.9 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญท่ าให้ซ้อื ปัจจัยการผลติ ในราคาท่ตี า่ กว่าปกติ

ระดับทัศนคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง 28 35 00
ใหญ่ทาให้ซ้ือปัจจัยการผลิตในราคาท่ีต่า 1 1.25
กวา่ ปกติ 36 45
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00) 26 32.5
17 21.25
ค่อนข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 26 32.5

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 25 31.25

คอ่ นข้างนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60) 1 1.25

นอ้ ย (คะแนน 1.00 – 1.80) 00

ทม่ี า : จากการสารวจ

30

3.3.5 ระบบการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญจ่ ะทาให้มีอานาจต่อรองกบั คู่คา้ มากขน้ึ
การศึกษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เกี่ยวกับระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบ

แปลงใหญ่จะทาให้มีอานาจต่อรองกับคู่ค้ามากขึ้นพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในระดับ
ค่อนข้างน้อยคิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาคือระดับปานกลาง ระดับน้อย และระดับค่อนข้างมาก คิดเป็น
ร้อยละ 35.00 18.75 และ 6.25 ตามลาดับ ส่วนระดับทัศนคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกร
ส่วนใหญ่มีระดับความรู้ความเข้าใจในระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 35.00 รองลงมาคือระดับมาก ระดับ
ค่อนขา้ งมาก และระดับค่อนขา้ งน้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 32.50 27.50 และ 5.00 ตามลาดบั (ตารางท่ี 3.10)

ตารางท่ี 3.10 ระบบการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญจ่ ะทาใหม้ ีอานาจตอ่ รองกบั คู่ค้ามากขน้ึ

ระดับทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง 26 32.5 00
ใหญ่จะทาให้มีอานาจต่อรองกับคู่ค้ามาก 5 6.25
ข้นึ 28 35
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00) 32 40
15 18.75
คอ่ นข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 22 27.5

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 28 35

ค่อนข้างน้อย (คะแนน 1.81 – 2.60) 4 5

นอ้ ย (คะแนน 1.00 – 1.80) 00

ทมี่ า : จากการสารวจ

3.3.6 การใช้เคร่ืองจกั รกลการเกษตรรว่ มกนั ทาใหส้ ามารถลดตน้ ทุนได้
การศึกษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เกี่ยวกับการใช้เคร่ืองจักรกลการเกษตร

รว่ มกันทาให้สามารถลดต้นทุนได้ พบวา่ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในระดับค่อนข้างน้อย คิดเป็น
ร้อยละ 40.00 รองลงมาคือระดับปานกลาง ระดับน้อย ระดับค่อนข้างมาก และระดับมาก คิดเป็นร้อยละ
36.2 5 17.50 3.75 และ 2.50 ตามลาดับ ส่วนระดับทัศนคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกร
ส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในระดับมากและค่อนข้างมากท่ีคะแนนเท่ากัน คือร้อยละ 37.50 รองลงมาคือ
ระดับปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 22.50 และระดับค่อนข้างน้อยและน้อย มีคะแนนเท่ากันคิดเป็นร้อยละ 1.25
(ตารางท่ี 3.11)

31

ตารางที่ 3.11 การใชเ้ ครื่องจกั รกลการเกษตรรว่ มกันทาใหส้ ามารถลดต้นทนุ ได้

ระดบั ทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ

การใช้เคร่ืองจกั รกลการเกษตรร่วมกนั ทา 30 37.5 2 2.5
ใหส้ ามารถลดต้นทุนได้ 3 3.75
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00) 29 36.25
32 40
ค่อนข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 30 37.5 14 17.5

ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 18 22.5

ค่อนข้างนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60) 1 1.25

นอ้ ย (คะแนน 1.00 – 1.80) 1 1.25

ทมี่ า : จากการสารวจ

3.3.7 ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาใหไ้ ดร้ บั การสนบั สนนุ ดา้ นสินเช่อื
การศึกษาระดับทัศนคติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่เก่ียวกับระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบ

แปลงใหญ่ทาใหไ้ ด้รบั การสนับสนนุ ดา้ นสินเชื่อพบว่า เกษตรกรสว่ นใหญ่มคี วามรคู้ วามเข้าใจในระดับปานกลาง
คิดเป็นร้อยละ 40.00 รองลงมาคือ ระดับค่อนข้างน้อย ระดับน้อย ระดับค่อนข้างมากและระดับมาก คิดเป็น
ร้อยละ 33.75 20.00 5.00 และ 1.25 ตามลาดับ ส่วนระดับทัศนคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่ พบว่า
เกษตรกรส่วนใหญม่ ีความรู้ความเข้าใจในระดบั มาก คิดเป็นร้อยละ 37.50 รองลงมา มรี ะดับความรู้ความเขา้ ใจ
ในระดับปานกลาง ค่อนข้างมาก ค่อนข้างน้อย และน้อย คิดเป็นร้อยละ 31.25 26.25 3.75 และ 1.25
ตามลาดับ (ตารางที่ 3.12)

ตารางที่ 3.12 ระบบการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาใหไ้ ด้รับการสนบั สนุนด้านสินเชอื่

ระดับทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่

จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) รอ้ ยละ

ระบบการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง 30 37.5 1 1.25
ใหญ่ทาให้ไดร้ บั การสนับสนนุ ดา้ นสนิ เชอื่ 45
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00)

คอ่ นข้างมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 21 26.25


Click to View FlipBook Version