32
ตารางที่ 3.12 ระบบการส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ทาให้ไดร้ บั การสนับสนนุ ด้านสินเชอ่ื (ต่อ)
ระดบั ทศั นคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
ค่อนข้างนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60)
นอ้ ย (คะแนน 1.00 – 1.80) 25 31.25 32 40
3 3.75 27 33.75
ทมี่ า : จากการสารวจ 1 1.25 16 20
3.3.8 ความพงึ พอใจเก่ียวกบั ระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ในภาพรวม
การศึกษาระดับ ทัศน คติของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่ เกี่ยวกับ ความพึ งพอใจเกี่ ยวกับระบ บ
ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในภาพรวม พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มีความพึงพอใจค่อนข้างน้อย ที่ระดับ
คะแนนรอ้ ยละ 43.75 รองลงมาคือ ระดับคะแนนปานกลาง ระดบั น้อย และระดับคอ่ นข้างมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ
36.25 18.75 และ 1.25 ตามลาดับ สว่ นระดับทัศนคติของเกษตรกรในแปลงใหญ่ พบวา่ เกษตรกรส่วนใหญ่มี
ความพึงพอใจในระดับค่อนข้างมาก คิดเป็นร้อยละ 37.50 รองลงมามีระดับความพึงพอใจ ในระดับปานกลาง
และระดบั มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 32.50 และ 30.00 ตามลาดบั (ตารางที่ 3.13)
ตารางที่ 3.13 ความพึงพอใจเกี่ยวกบั ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญใ่ นภาพรวม
ระดบั ทัศนคติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
ค ว า ม พึ ง พ อ ใจ เก่ี ย ว กั บ ร ะ บ บ ส่ ง เส ริ ม 24 30 00
การเกษตรแบบแปลงใหญใ่ นภาพรวม 1 1.25
มาก (คะแนน 4.21 - 5.00) 29 36.25
35 43.75
คอ่ นขา้ งมาก (คะแนน 3.41 - 4.20) 30 37.5 15 18.75
ปานกลาง (คะแนน 2.61 - 3.40) 26 32.5
คอ่ นขา้ งนอ้ ย (คะแนน 1.81 – 2.60) 00
น้อย (คะแนน 1.00 – 1.80) 00
ท่ีมา : จากการสารวจ
33
3.4 การศึกษาตน้ ทุนท่เี ปลย่ี นแปลงเปรียบเทียบกบั ฤดูกาลทผี่ ่านมา
การศกึ ษาความคิดเห็นของเกษตรกรนอกแปลงใหญ่ในด้านราคาปุ๋ย พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ ร้อยละ
68.75 มีความเห็นว่า ราคาปุ๋ยคงที่ รองลงมา เกษตรกรมีความเหน็ ว่า ราคาปุ๋ยแพงข้ึน และราคาปุ๋ยถูกลง คิด
เป็นรอ้ ยละ 21.25 และ 10.00 ตามลาดับ ส่วนราคาเมล็ดพันธ์ุ เกษตรกรมคี วามเห็นว่า ราคาคงที่ คิดเป็นร้อย
ละ 72.50 รองลงมาคือ ราคาแพงขึ้น และราคาถูกลง คิดเป็นร้อยละ 17.50 และ 10.00 ตามลาดับ ด้านราคา
สารเคมีพบวา่ เกษตรกรส่วนใหญ่ มคี วามเห็นวา่ สารเคมรี าคาคงที่ คิดเปน็ ร้อยละ 72.50 รองลงมามีความเห็น
ว่าราคาแพงข้ึน และราคาถูกลง คิดเป็นร้อยละ 21.25 และ 6.25 ตามลาดับ ด้านค่าจ้างเตรียมดิน เกษตรกร
ท้งั หมดมีความเห็นวา่ มีราคาคงท่ีเท่ากับปีก่อน สว่ นค่าจา้ งเกบ็ เก่ียว เกษตรกรส่วนใหญ่เห็นว่า มรี าคาคงท่ี คิด
เป็นร้อยละ 93.75 และมีความเห็นว่าราคาถูกลงคิดเป็นร้อยละ 6.25 ส่วน ค่าเช่าท่ีดิน เกษตรกรส่วนใหญ่มี
ความเหน็ ว่า มรี าคาคงท่ี คิดเป็นรอ้ ยละ 97.96 ส่วนเกษตรกรทเี่ หลือเห็นวา่ ราคาถูกลง คดิ เป็นร้อยละ 2.04
การศึกษาความคิดเห็นของเกษตรกรในแปลงใหญ่ ในด้านราคาปุ๋ยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่มี
ความเห็นว่า ราคาปุ๋ยคงท่ี คิดเป็นร้อยละ 70.00 รองลงมามีความเห็นว่า ราคาปุ๋ยถูกลง และราคาปุ๋ยแพงขึ้น
คิดเป็นร้อยละ 20.00 และ 10.00 ตามลาดับ ในด้านราคาเมล็ดพันธุ์เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเห็นว่าราคา
เมลด็ พันธ์ุมีราคาคงที่ คิดเป็นร้อยละ 67.50 รองลงมามีความเห็นว่า ราคาถูกลง และราคาแพงขน้ึ คดิ เป็นร้อย
ละ 25.00 และ 7.50 ตามลาดับ ในด้านราคาสารเคมี เกษตรกรมีความเห็นว่า สารเคมีมีราคาคงท่ี คิดเป็นร้อย
ละ 70.00 รองลงมาเกษตรกรมีความเห็นว่าสารเคมี มีราคาถูกลง และราคาแพงขึ้น คิดเป็นร้อยละ 17.50
และ 12.50 ตามลาดับ ส่วนด้านราคาค่าจ้างเตรียมดินเกษตรกรมีความเห็นวา่ ค่าจ้างเตรียมดินมีราคาคงท่ี คิด
เป็นร้อยละ 92.50 ส่วนท่ีเหลือ ร้อยละ 7.50 มีความเห็นว่าราคาถูกลง ในด้านค่าจ้างเก็บเก่ียว เกษตรกรมี
ความเห็นว่าค่าจ้างเก็บเก่ียวคงที่ คิดเป็นร้อยละ 96.25 เกษตรกรที่เหลือมีความเห็นว่า ค่าจ้างเก็บเก่ียวถูกลง
คิดเป็นร้อยละ 3.75 และเกษตรกรทั้งหมดมีความเห็นว่า ค่าเช่าท่ีดินคงท่ีเม่ือเปรียบเทียบกับฤดูกาลก่อน
(ตารางที่ 3.14)
ตารางท่ี 3.14 ความคิดเห็นของเกษตรกรเก่ยี วกับตน้ ทนุ ทเี่ ปล่ียนแปลงเปรียบเทียบกบั ฤดูกาลท่ผี ่านมา
ปัจจยั การผลิต แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
ปุ๋ย จานวน (N = 80) ร้อยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
ถกู ลง
คงท่ี 16 20 8 10
แพงขน้ึ 56 70 55 68.75
เมลด็ พันธุ์ 8 10 17 21.25
ถูกลง
คงท่ี 20 25 8 10
แพงขนึ้ 54 67.5 58 72.5
สารเคมี 6 7.5 14 17.5
ถกู ลง
คงที่ 14 17.5 5 6.25
แพงข้นึ 56 70 58 72.5
10 12.5 17 21.25
34
ตารางที่ 3.14 ความคิดเห็นของเกษตรกรเกี่ยวกับต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงเปรียบเทียบกับฤดูกาลที่ผ่านมา
(ต่อ)
ปัจจยั การผลติ แปลงใหญ่ นอกแปลงใหญ่
ค่าจา้ งเตรยี มดิน จานวน (N = 80) รอ้ ยละ จานวน (N = 80) ร้อยละ
ถกู ลง
คงท่ี 6 7.5 00
คา่ จ้างเกบ็ เกี่ยว 74 92.5 80 100
ถกู ลง
คงที่ 3 3.75 5 6.25
ค่าเช่าท่ีดนิ 77 96.25 75 93.75
ถูกลง
คงที่ 00 1 2.04
61 100 48 97.96
ทม่ี า : จากการสารวจ
35
บทที่ 4
ผลการศึกษา
การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ กรณีศึกษาพ้ืนท่ี
ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา และ
เปรียบเทียบต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวในพื้นที่แปลงใหญ่และนอกพ้ืนท่ีแปลง
ใหญ่ ซ่ึงต้องรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรตวั อย่างผปู้ ลูกข้าวในพน้ื ที่แปลงใหญ่ และนอกพื้นท่ีแปลงใหญ่ ทาการ
วิเคราะห์เพื่ออธิบายถึงต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิค โดยอาศัยเคร่ืองมือทางสถิติ ได้แก่
ค่าเฉลี่ย ร้อยละ Data Envelopment Analysis (DEA) และ Average Treatment Effect on the treated
(ATET) ประกอบการอธบิ าย ผลการศึกษา ดังนี้
4.1 ต้นทุนการผลิตข้าวของเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่และใน
พนื้ ท่โี ครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
4.1.1 ต้นทนุ การผลติ ขา้ วของเกษตรกร
ต้นทุนรวมเฉล่ียของการผลิตข้าวของเกษตรกรในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่มีต้นทุนน้อยกว่านอกพื้นที่โครงการจานวน 429.72 บาทต่อไร่ โดยต้นทุนของเกษตรกรในพื้นที่
โครงการเท่ากับ 3,676.11 บาทต่อไร่ หรือ 4.38 บาทต่อกิโลกรัม และนอกพื้นที่โครงการเท่ากับ 4,105.83
บาทต่อไร่ หรอื 5.08 บาทตอ่ กิโลกรัม แบ่งเป็น
1) ต้นทุนผันแปร พบว่าเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มี
ต้นทุนผันแปรน้อยกว่านอกพ้ืนท่ีโครงการจานวน 294.24 บาทต่อไร่ โดยต้นทุนผันแปรของเกษตรกรในพ้ืนท่ี
โครงการเท่ากับ 2,861.26 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 77.83 ของต้นทุนทั้งหมด ประกอบด้วย ค่าวัสดุและ
อุปกรณ์ 1,635.23 บาทต่อไร่ รองลงมาคือ ค่าแรงในการผลิต และค่าดอกเบี้ยเงินลงทุนหรือค่าเสียโอกาสเงิน
ลงทุน (ของต้นทุนผันแปร) เฉล่ีย 1,142.69 และ 83.34 บาทต่อไร่ตามลาดับ และนอกพื้นท่ีโครงการเท่ากับ
3,155.50 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 76.85 ของต้นทุนท้ังหมด ประกอบด้วยค่าวัสดุและอุปกรณ์ 1,878.31
บาทต่อไร่ รองลงมาค่าแรงงานในการผลิต และและค่าดอกเบี้ยเงินลงทุนหรือค่าเสียโอกาสเงินลงทุน (ของ
ต้นทุนผันแปร) เฉล่ีย 1,183.12 บาทต่อไร่ และ 94.07 บาทต่อไร่ ตามลาดับ สาเหตุที่ต้นทุนผันแปรเกษตรกร
ในพ้ืนท่ีโครงการน้อยกว่านอกพ้ืนท่ีโครงการ เน่ืองจากเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการ ได้รับความรู้จากหน่วยงาน
ภาครฐั ในการลดต้นทุนการผลิต เชน่ มีการใชป้ ริมาณเมล็ดพันธ์ุในการเพาะปลูกท่ีเหมาะสม เกษตรกรจึงมีการ
ปรับลดปรมิ าณการใช้เมล็ดพันธ์ุลดลงจะเห็นได้ว่าเกษตรกรในพื้นที่โครงการใช้เมล็ดพันธ์ุเฉลยี่ 23.11 กิโลกรัม
ต่อไร่ แต่เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการใช้เมล็ดพันธ์ุเฉล่ีย 25.89 กิโลกรัมต่อไร่ นอกจากน้ีเกษตรกรในพ้ืนที่
โครงการได้นาสารชีวภาพมาใช้ร่วมด้วยรวมถึงมีการรวมกลุ่มกันเพื่อผลิตสารชีวภาพไว้ใช้เอง ซึ่งสารชีวภาพมี
ราคาต่ากวา่ สารเคมีทาให้สามารถลดต้นทุนได้
2) ต้นทุนคงที่ พบว่าเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญม่ ีตน้ ทุน
คงที่น้อยกว่านอกพ้ืนท่ีโครงการจานวน 135.48 บาทต่อไร่ ไร่ โดยต้นทุนคงท่ีของเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการ
เท่ากับ 814.85 บาทต่อไร่ คิดเป็นร้อยละ 22.17 ของต้นทุนท้ังหมด ประกอบด้วยค่าเช่าที่ดิน เฉล่ีย 725.55
บาทตอ่ ไร่ รองลงมาค่าเสื่อมราคาอุปกรณก์ ารเกษตร และคา่ เสียโอกาสเงินลงทุน (ของตน้ ทนุ คงท)ี่ เฉลี่ย 65.57
36
และ 23.73 บาทต่อไร่ตามลาดับ และนอกพ้ืนที่โครงการเท่ากับ 950.33 บาทตอ่ ไร่ คิดเปน็ ร้อยละ 23.15 ของ
ต้นทุนท้ังหมด ประกอบด้วยค่าเช่าที่ดิน หรือค่าใช้ท่ีดิน เฉลี่ย 774.30 บาทต่อไร่ รองลงมาค่าเสื่อมราคา
อุปกรณอ์ ่นื ๆ และคา่ เสยี โอกาสเงนิ ลงทุน (ของตน้ ทุนคงท่ี) เฉลีย่ 145.52 และ 26.51 บาทต่อไรต่ ามลาดบั
4.1.2 ผลผลิตตอ่ ไรข่ องเกษตรกร
เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการมีผลผลิตต่อไร่สูงกว่าเกษตรกรนอกโครงการ 31.47 กิโลกรัมต่อไร่
โดยเกษตรกรในโครงการมีผลผลิตเฉลี่ย 839.70 กิโลกรัมต่อไร่ และนอกโครงการมีผลผลิตเฉลี่ย 808.23
กิโลกรัมต่อไร่ สาเหตุท่ีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ของเกษตรกรในพื้นที่โครงการมากกว่านอกพื้นที่โครงการ เน่ืองจาก
การไดร้ ับการอบรมให้ความรู้ในการดแู ล และการจัดการแปลงที่ดี มีการพูดคุยช่วยเหลือกันและกันในการแก้ไข
ปัญหาท่ีเกดิ ขึ้น
4.1.3 ผลตอบแทนของเกษตรกร
เกษตรกรในพื้นที่โครงการมีผลตอบแทนสุทธิต่อไร่สูงกว่าเกษตรกรนอกโครงการ 322 บาทต่อ
ไร่ โดยเกษตรกรในพ้ืนทโ่ี ครงการมีผลตอบแทนเฉลี่ย 6,003.86 บาทตอ่ ไร่ มผี ลตอบแทนสุทธิเท่ากับ 2,327.75
บาทต่อไร่ หรือ 2.77 บาทต่อกิโลกรัม และเกษตรกรนอกพื้นที่โครงการมีผลตอบแทน 5,681.86 บาทต่อไร่ มี
ผลตอบแทนสทุ ธิเท่ากับ 1,576.03 บาทต่อไร่ หรือ 1.95 บาทตอ่ กโิ ลกรมั สาเหตทุ ี่มผี ลตอบแทนสุทธิตอ่ ไร่ของ
เกษตรกรในพื้นท่ีโครงการสูงกว่านอกพื้นที่โครงการ เน่ืองจาก เกษตรกรในพ้ืนที่โครงการมีต้นทุนการผลิตต่า
กวา่ และมีผลผลิตตอ่ ไรท่ ส่ี ูงกว่าเกษตรกรนอกพื้นท่โี ครงการ รายละเอียดตามตารางที่ 4.1
37
ตารางท่ี 4.1 ต้นทุนและผลตอบแทนการผลิตข้าวของเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่และนอกพ้ืนทโี่ ครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
หนว่ ย : บาท/ไร่
ในโครงการ นอกโครงการ
รายการ รวม รอ้ ยละ รวม รอ้ ยละ
1. ต้นทนุ ผนั แปร 2,861.26 77.83 3,155.50 76.85
1.1 คา่ แรงงาน 1,142.69 31.08 1,183.12 28.82
ค่าเตรียมดิน 407.04 11.07 452.13 11.01
คา่ ปลกู 90.02 2.45 69.36 1.69
ดแู ลรักษา 173.00 4.71 198.75 4.84
คา่ เกบ็ เก่ียวผลผลติ 472.63 12.86 462.88 11.27
1.2 คา่ วสั ดุ 1,635.23 44.48 1,878.31 45.75
คา่ เมล็ดพนั ธ์ุ 335.68 9.13 417.09 10.16
คา่ ปุ๋ย 593.42 16.14 703.02 17.12
คา่ ยาปราบศตั รพู ืช 179.96 4.9 166.25 4.05
คา่ ยาปราบวัชพชื 256.18 6.97 269.34 6.56
ค่าน้ามันเชือ้ เพลิง 190.10 5.17 205.63 5.01
คา่ ใชจ้ ่ายอ่ืนๆ 45.65 1.24 59.63 1.45
คา่ ซอ่ มแซมอปุ กรณก์ ารเกษตร 34.24 0.93 57.35 1.4
1.3 ค่าเสียโอกาสเงินลงทุน 83.34 2.27 94.07 2.29
2. ตน้ ทนุ คงที่ 814.85 22.17 950.33 23.15
2.1 คา่ เชา่ ทดี่ นิ 725.55 19.74 774.30 18.86
2.2 ค่าเสอ่ื มราคาอปุ กรณ์ 65.57 1.78 145.52 3.54
การเกษตร
2.3 คา่ เสียโอกาสเงนิ ลงทุน 23.73 0.65 30.51 0.74
3. ต้นทนุ รวมต่อไร่ 3,676.11 100 4,105.83 100
4. ต้นทุนรวมตอ่ กิโลกรัม 4.38 5.08
5. ผลผลิตตอ่ ไร่ (กโิ ลกรมั ) 839.7 808.23
6. ราคาทเ่ี กษตรกรขายได้ ณ ไร่ 7.15 7.03
นา
7. ผลตอบแทนต่อไร่ (บาท) 6,003.86 5,681.86
8. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ ไร่ (บาท) 2,327.75 1,576.03
9. ผลตอบแทนสทุ ธติ อ่ กโิ ลกรัม 2.77 1.95
ท่มี า : จากการสารวจ
38
4.2 การเปรียบเทียบต้นทุนการผลติ ในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่และนอกพน้ื ท่ี
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต (ต้นทุนผันแปร) ระหว่างเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการและนอกพ้ืนท่ี
โครงการ โดยวิธีจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) เพื่อคัดเลือกกลุ่มเกษตรกรใน
พื้นที่โครงการและนอกพ้ืนท่ีโครงการที่มีลักษณะของข้อมูลโดยรวม (Profile) ใกล้เคียงกันมากท่ีสุดเพ่ือให้
ม่ันใจได้วา่ ความแตกตา่ งของผลลัพธท์ ่เี กดิ ข้ึน เปน็ ผลของการเขา้ ร่วมโครงการอย่างแทจ้ รงิ
ค่า Average Treatment Effect (ATE) ระหว่างเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการและนอกพื้นท่ีโครงการ ไม่มี
นยั สาคัญทางสถติ ิหรือไมม่ ีความแตกตา่ งกนั ของเกษตรกรทั้ง 2 กลุ่ม (ตารางท่ี 4.2 และตารางผนวกท่ี 1 - 16 )
ตารางท่ี 4.2 แสดงค่า Average Treatment Effect (ATE) ระหวา่ งเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการและใน
พ้นื ทโี่ ครงการ
แปลงใหญ่ ATE SE Z
ต.หนองขาว อ.ทา่ ม่วง จ.กาญจนบุรี 0.8442029 1.190855 0.71
ต.บา้ นใหม่ อ.ท่ามว่ ง จ.กาญจนบุรี -1.2166670 2.622635 -0.46
ต.หินมลู อ.บางเลน จ.นครปฐม -11.3392900 5.305254 -2.14
ต.บางปลา อ.บางเลน จ.นครปฐม 7.5892860 2.611086 2.91
ต.เตาปูน อ.โพธาราม จ.ราชบรุ ี 10.1190500 2.655923 3.81
ต.เกาะพลบั พลา อ.เมอื ง จ.ราชบุรี 7.6643520 5.143841 1.49
ต.ทา่ ไม้รวก อ.ทา่ ยาง จ.เพชรบุรี 1.2500000 2.131089 0.59
ต.หนองชมุ พล อ.เขายอ้ ย จ.เพชรบุรี -0.2195122 1.147488 -0.19
ทมี่ า : ตารางผนวกที่ 1 - 16
ขั้นตอนต่อไปคือการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต (ต้นทุนผันแปร) ระหว่างเกษตรกรนอกพื้นที่แปลง
ใหญ่และในพื้นท่ีแปลงใหญ่ อันแสดงถึงผลกระทบท่ีเกดิ จากการส่งเสริมการเกษตรในระบบแปลงใหญ่การแมท
ชงิ่ ในรูปแบบ One-to-One Matching หรือ Nearest Neighbor Matching ซ่งึ เป็นวธิ กี ารจับคู่ท่ีตรงไปตรงมา
มากท่ีสุด โดยผู้เข้าร่วมโครงการแต่ละรายจะถูกจับคู่กับผู้ไม่เข้าร่วมโครงการ ท่ีมีคะแนนความโน้มเอียง
ใกล้เคียงกันมากที่สุด และในการเปรียบเทียบต้นทุนการผลิต อันแสดงถึงผลกระทบท่ีเกิดจากการส่งเสริม
การเกษตรในระบบแปลงใหญ่ ใช้วิธีพิจารณาผลกระทบโดยเฉลย่ี ต่อผู้เข้าร่วมโครงการ (Average Treatment
Effect on the Treated : ATT)
จากตารางท่ี 4.3 และตารางผนวกที่ 17 พบว่า โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญม่ ีส่วน
ช่วยให้ต้นทุนผันแปรของเกษตรกรลดลง เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
จะมีต้นทุนผันแปรต่ากว่าเกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ 0.01 เมื่อพิจารณาผลกระทบต่อต้นทุนผันแปรของเกษตรกรจากการเข้าร่วม
โครงการ พบว่า ผลกระทบจากโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีส่วนช่วยให้ต้นทุนผันแปร
ของเกษตรกรลดลง 2.12 บาทตอ่ ไร่ ซ่ึงเมื่อพิจารณาคา่ ทางสถิติ ผลกระทบจากโครงการทาให้ตน้ ทนุ ลดลงเพยี ง
2.12 บาท ซึ่งอาจเกิดจากผลกระทบจากคา่ พารามิเตอร์อ่ืนมาเก่ียวข้องในการคานวณ แต่จากเก็บข้อมูลพบว่า
39
ต้นทุนผันแปรเฉล่ียของเกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการต่ากว่าเกษตรกรที่ไม่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ 294.24 บาท/ไร่
การลดต้นทุนการผลิตเป็นวัตถุประสงค์หน่ึงของโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จงึ มี
การสนับสนุนในด้านความรใู้ ห้แก่เกษตรกรในพื้นท่ีแบบแปลงใหญ่ เกษตรกรได้รบั ความรู้จากหน่วยงานภาครัฐ
ในการใช้ปริมาณเมล็ดพันธ์ุท่ีเหมาะสม จึงมีการปรับลดปริมาณการใช้เมล็ดพันธ์ุลดลง การใช้ปุ๋ยตามค่า
วิเคราะห์ดิน สนับสนุนให้ใช้ปุย๋ อินทรีย์ ปยุ๋ ชีวภาพ และมกี ารรวมกลุ่มกันเพอื่ จัดทาปุ๋ยอนิ ทรีย์ ป๋ยุ ชีวภาพใชเ้ อง
รวมกลุ่มจัดซื้อปัจจัยการผลิต รวมทั้งการใช้งานวิจัย นวัตกรรม เทคโนโลยี และการบริหารจัดการเข้าไปช่วย
พัฒนา สนับสนุนการทาการเกษตร เพื่อลดต้นทุนการผลิต ซึ่งส่ิงต่างๆ เหล่าน้ีมีผลให้ต้นทุนผันแปรของ
เกษตรกรในพ้นื ทีแ่ ปลงใหญ่ลดลง
ตารางท่ี 4.3 การเปรียบเทียบตน้ ทุนการผลิตในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่และ
นอกพน้ื ที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
Nearest Neighbor Matching ตน้ ทุนผันแปรเฉล่ีย ต้นทนุ ผันแปร ATT S.E.
ในโครงการ เฉลีย่ นอกโครงการ -2.121875*** 0.50
(บาทต่อไร)่ (บาทตอ่ ไร่)
2,861.26 3,195.50
ทมี่ า : ตารางผนวกที่ 17
หมายเหตุ : * หมายถงึ นยั สาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั 0.10
** หมายถึง นัยสาคญั ทางสถติ ทิ ่ีระดับ 0.05
*** หมายถงึ นัยสาคัญทางสถิตทิ ี่ระดบั 0.01
4.3 การวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนคิ
4.3.1 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตขา้ วเชิงเทคนิคในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตร
แบบแปลงใหญ่ และนอกพ้ืนทโี่ ครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
ในการศึกษาคร้ังน้ีทาการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิค ด้วยวิธีการ Data
Envelopment Analysis หรือ DEA โดยพิจารณาทางด้านปัจจัยนาเข้า (Input – Orientated) โดยวัดจาก
ปริมาณการใช้เมล็ดพันธ์ุ แรงงานเคร่ืองจักร ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี ปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืช
และศัตรูพืช ซ่ึงประสิทธิภาพเชิงเทคนิคมีค่าอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ค่าประสิทธิภาพเชิงเทคนิค ที่เท่ากับ 1 จะ
แสดงถึงมีประสิทธิภาพเต็มที่ ในการวเิ คราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิค ได้แบ่งระดบั ประสทิ ธิภาพ
ออกเปน็ 5 ระดบั คือ
คา่ ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิค 0.000 – 0.200 ระดับตา่ มาก
คา่ ประสทิ ธภิ าพการผลิตเชงิ เทคนิค 0.201 - 0.400 ระดบั ต่า
ค่าประสิทธิภาพการผลติ เชงิ เทคนคิ 0.401 – 0.600 ระดบั ปานกลาง
ค่าประสทิ ธิภาพการผลิตเชิงเทคนิค 0.601 – 0.800 ระดบั สงู
ค่าประสิทธิภาพการผลิตเชงิ เทคนิค 0.801 – 1.000 ระดับสูงมาก
เม่ือพิจารณาจากตารางท่ี 4.4 ผลการประมาณค่าประสิทธิภาพในการผลิตข้าวเชิงเทคนิค
พบว่า เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิง
40
เทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 0.744 หรือ ร้อยละ 74.40 ซึ่งหมายความว่าเมื่อเทียบกับผู้ผลิตท่ีดีสุดในกลุ่มท่ีมี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 1 แล้ว หากเกษตรกรต้องการผลผลิตในปรมิ าณเท่าเดิม ควรปรบั ลดการใชป้ ัจจยั การผลิต
ร้อยละ 25.60 เมื่อจาแนกระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเป็น 5 ระดับ ไม่พบเกษตรกรที่มีระดับประสิทธิภาพ
เชิงเทคนิคในระดับต่ามาก และระดับต่า โดยส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพในระดับสูง (0.601 – 0.800) คิด
เป็นรอ้ ยละ 45.00 รองลงมา ประสิทธภิ าพในระดับสงู มาก (0.801 – 1.000) รอ้ ยละ 36.25 และประสิทธิภาพ
ในระดับปานกลาง (0.401 – 0.600) ร้อยละ 18.75
เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิต
ข้าวเชิงเทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 0.822 หรือ ร้อยละ 82.20 ซ่ึงหมายความว่าเม่ือเทียบกับผู้ผลิตท่ีดีสุดในกลุ่มท่ีมี
ประสิทธิภาพเท่ากับ 1 แล้ว หากเกษตรกรต้องการผลผลติ ในปรมิ าณเท่าเดมิ ควรปรบั ลดการใช้ปัจจยั การผลิต
ร้อยละ 17.80 เมื่อจาแนกระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเป็น 5 ระดับ ไม่พบเกษตรกรท่ีมีระดับประสิทธิภาพ
เชิงเทคนิคในระดับต่ามาก และระดับต่า โดยส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพในระดับสูงมาก (0.801 – 1.000)
คิดเป็นร้อยละ 56.25 รองลงมา ประสิทธิภาพในระดับสูง (0.601 – 0.800) ร้อยละ 31.25 และประสิทธิภาพ
ในระดับปานกลาง (0.401 – 0.600) ร้อยละ 12.50
จากตารางท่ี 4.4 แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่มีประสทิ ธิภาพการผลิตสูงกว่านอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ การศกึ ษา
ครั้งนี้เปน็ การวดั ประสิทธิภาพทางเทคนคิ ท่ีพจิ ารณาได้จากความสามารถของเกษตรกรในการลดจานวนปัจจัย
การผลิตโดยที่จานวนผลผลิตยังคงมีอยู่เท่าเดิม จะเห็นได้ว่าเกษตรกรนอกพื้นที่โครงการระบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่มีคะแนนประสิทธิภาพน้อยกว่าในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ และจะส่งผลให้เปอร์เซน็ ตข์ องการปรับปรุงสูงขึน้ ท้ังน้ีเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ได้รับความรู้ และสนับสนุนให้ใช้ปัจจัยการผลิตท่ีเหมาะสมค่าประสิทธิภาพจึงสูงกว่านอกพื้นที่
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ แต่ก็ยังไม่มีประสิทธิภาพเต็มท่ี (ค่าประสิทธิภาพเชิงเทคนิค
เท่ากับ 1) ซึ่งถ้าเกษตรกรต้องการยกระดับตนเองให้อยู่ในระดับการผลิตที่มีประสิทธิภาพ เกษตรกรทั้งนอก
และในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่สามารถลดการใช้ปัจจัยการผลิตลงได้ร้อยละ
25.60 และ 17.80 ตามลาดบั
ตารางที่ 4.4 แสดงระดับประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ และนอกพนื้ ทีโ่ ครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
ระดับประสทิ ธิภาพทางเทคนิค ในโครงการ นอกโครงการ
จานวนตัวอยา่ ง รอ้ ยละ
จานวนตวั อยา่ ง ร้อยละ
--
ระดับตา่ มาก (0.000 – 0.200) -- --
15 18.75
ระดับตา่ (0.201 - 0.400) -- 36 45.00
29 36.25
ระดับปานกลาง (0.401 – 0.600) 10 12.50
80 100
ระดบั สงู (0.601 – 0.800) 25 31.25
0.744
ระดบั สงู มาก (0.801 – 1.000) 45 56.25
รวม 80 100
ประสิทธภิ าพเฉล่ีย 0.822
ทมี่ า : จากการคานวณ (ตารางผนวกท่ี 18 และตารางผนวกที่ 19)
41
4.3.2 การวิเคราะห์ส่วนเกินปัจจัยการผลิตในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ และ
นอกพ้นื ทโ่ี ครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
จากผลการศึกษาประสทิ ธภิ าพในการผลิตข้าวเชงิ เทคนิค พบว่าเกษตรกรยังไมม่ ีประสิทธิภาพ
ทางเทคนคิ อย่างเต็มที่ กล่าวคือ ยังสามารถปรับลดการใช้ปจั จัยการผลิตลงโดยไดผ้ ลผลติ จานวนเท่าเดิม หรือ
อยู่บนพรมแดนการผลิต หรืออาจกล่าวได้ว่า เป็นหน่วยผลิตท่ีมีส่วนเกินของปัจจัยการผลิต (Input Slack)
เพ่ือให้เคลื่อนไปสู่ระดับการผลิตท่ีเหมาะสม ซึ่งการพิจารณาส่วนเกินปัจจัยการผลิตแต่ละชนิด เป็นการ
วิเคราะห์ว่า หน่วยผลิตแต่ละหน่วยที่มีระดับประสิทธิภาพน้อยกว่า 1 สามารถทาการลดปัจจัยการผลิตแต่ละ
ชนิดได้ในระดับท่ีจะทาให้เคลื่อนไปอยู่บนเส้นพรมแดนการผลิตได้ หรือกล่าวว่า มีประสิทธิภาพทางเทคนิคท่ี
สูงข้ึน การวิเคราะห์ส่วนเกินการใช้ปัจจัยการผลิต ได้แก่ ปริมาณการใช้เมล็ดพันธุ์ แรงงานเคร่ืองจักร ปริมาณ
การใช้ปุย๋ เคมี ปรมิ าณการใช้สารเคมีปอ้ งกันกาจดั วชั พืชและศตั รพู ชื
1) ส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ และในพืน้ ที่โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
เมื่อพิจารณาจากตารางท่ี 4.5 พบว่า เกษตรกรท้ังนอก และในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี มากท่ีสุด เท่ากับ 3.719 และ 2.267 กโิ ลกรัม
ตอ่ ไร่ ตามลาดับ รองลงมาคือสว่ นเกินปัจจัยการผลิตดา้ นแรงงานเคร่ืองจักร เท่ากับ 1.786 และ 1.662 วัน/ไร่
ส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านเมล็ดพันธุ์ เท่ากับ 0.232 และ 0.144 กิโลกรัมต่อไร่ และส่วนเกินปัจจัยการผลิต
ด้านสารเคมีปอ้ งกันกาจดั วชั พืชและศัตรพู ืช เท่ากบั 0.190 และ 0.080 กโิ ลกรัมต่อไร่ ตามลาดับ
จากตารางที่ 4.5 การวิเคราะห์ส่วนเกินปัจจัยการผลิต เมื่อพิจารณาปัจจัยการผลิตทุกชนิด
ประกอบกัน พบว่า เกษตรกรท้ังนอก และในพนื้ ที่โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ สามารถลด
ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดได้ ซึ่งจะทาให้มีประสิทธิภาพทางเทคนิคที่สูงข้ึน เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการระบบ
ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีการใชป้ ัจจัยการผลิตส่วนเกินในส่วนของเมล็ดพนั ธุ์ ปยุ๋ เคมี สารเคมีปอ้ งกัน
กาจัดวัชพืชและศัตรูพืช และแรงงาน มากกว่าเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ ซ่ึงปัจจัยการผลิตท้ังหมดนี้ เป็นปัจจยั การผลติ หลักท่ีส่งผลต่อค่าประสทิ ธิภาพ และเปน็ ตน้ ทุนหลกั ของค่า
วัสดุและอุปกรณ์ ทั้งนี้เกษตรกรท้ังสองกลุ่มควรลดการใช้เมล็ดพันธุ์ ปุ๋ยเคมี สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและ
ศัตรพู ืช และแรงงานเครื่องจกั ร เพ่ือให้เคล่ือนไปสู่ระดบั การผลิตท่ีเหมาะสม และชว่ ยลดต้นทุนการผลิตใหม้ าก
ข้นึ
ตารางท่ี 4.5 แสดงส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ และในพ้นื ทโี่ ครงการระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
ส่วนเกินปจั จยั การผลิต ในโครงการ นอกโครงการ
0.232
เมลด็ พันธุ์ (กิโลกรมั ตอ่ ไร)่ 0.144 3.719
0.190
ปุ๋ยเคมี (กิโลกรัมต่อไร)่ 2.267
1.786
สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.080
(ลติ รต่อไร่)
แรงงานเครือ่ งจักร (วนั ตอ่ ไร)่ 1.662
ที่มา : ตารางผนวกที่ 18 และตารางผนวกที่ 19
42
2) สว่ นเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวในพ้ืนท่ีโครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และนอกพืน้ ทโ่ี ครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จาแนกตามระดับประสิทธภิ าพ
เป็นการศึกษา เพื่อแสดงให้เห็นปัญหาส่วนเกินการใช้ปัจจัยการผลิตแต่ละชนิดของเกษตรกร
ในแตล่ ะระดับประสทิ ธภิ าพ โดยเปรียบเทยี บในรูปแบบของร้อยละส่วนเกินปัจจัยการผลิต พิจารณาจากตาราง
ที่ 4.6 ดงั น้ี
2.1) เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่และ
เกษตรกรในพื้นทีโ่ ครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ท่มี ีประสทิ ธิภาพระดับปานกลาง
- ปัจจัยการผลิตด้านเมล็ดพันธุ์ เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการท่ีมีประสิทธิภาพระดับปานกลางมีปริมาณการใช้
เมล็ดพันธ์ุ 29.335 กิโลกรัมต่อไร่ และไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ ส่วนเกษตรกรในพื้นที่โครงการที่มี
ประสิทธิภาพระดับปานกลางมีการใช้เมล็ดพันธ์ุ 25.357 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์
เชน่ เดยี วกนั
- ปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการที่มีระดับ
ประสิทธิภาพระดับปานกลางมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 50.273 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 0.252
กิโลกรัมต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี ร้อยละ 0.501 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพื้นที่
โครงการที่มปี ระสิทธิภาพระดับปานกลางมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 51.242 กโิ ลกรมั ต่อไร่ ส่วนเกนิ การใชป้ ุ๋ยเคมี
0.041 กิโลกรัมตอ่ ไร่ หรอื ส่วนเกนิ การใช้ปุ๋ยเคมี ร้อยละ 0.080 ของปัจจยั การผลิตท่ีใชจ้ รงิ
- ปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เกษตรกรนอกพื้นที่โครงการที่มีประสิทธิภาพ
ระดับปานกลางมีปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.642 ลิตรต่อไร่ ส่วนเกินการใช้
สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.046 ลิตรต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและ
ศัตรูพืช ร้อยละ 7.165 ของปัจจัยการผลิตที่ใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการท่ีมีประสิทธิภาพระดับปาน
กลางมีปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 1.418 ลิตรต่อไร่ ส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกัน
กาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.363 ลิตรต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช ร้อยละ
25.599 ของปจั จยั การผลิตที่ใชจ้ รงิ
- ปัจจัยการผลิตด้านแรงงานเคร่ืองจักร เกษตรกรนอกพื้นที่โครงการท่ีมี
ประสิทธิภาพปานกลางมีปริมาณการใช้แรงงานเคร่ืองจักร 25.493 วันต่อไร่ สว่ นเกินการใช้แรงงานเครื่องจักร
3.509 วันต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้แรงงานเคร่ืองจักร ร้อยละ 13.765 ของปัจจัยการผลิตที่ใช้จริง ส่วน
เกษตรกรในพื้นที่โครงการที่มปี ระสิทธิภาพระดับปานกลางมีปริมาณการใช้แรงงานเครอื่ งจกั ร 21.400 วันตอ่ ไร่
ส่วนเกินการใช้แรงงานเครื่องจกั ร 5.450 วันต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้แรงงานเครื่องจักร รอ้ ยละ 25.467 ของ
ปจั จัยการผลิตที่ใชจ้ ริง
2.2) เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่และ
เกษตรกรในพน้ื ที่โครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญร่ ะดับประสิทธภิ าพระดบั สูง
- ปัจจัยการผลิตด้านเมล็ดพันธ์ุ เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการที่มีประสิทธิภาพระดับสูงมีปริมาณการใช้เมล็ด
พันธุ์ 27.910 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธ์ุ ส่วนเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการท่ีมีประสิทธิภาพ
ระดับสงู มปี ริมาณการใช้เมล็ดพนั ธุ์ 25.930 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ ไมม่ สี ว่ นเกินการใช้เมลด็ พนั ธ์ุ
- ปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการท่ีมีประสิทธิภาพ
ระดับสูงมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 41.060 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 1.492 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ
ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี ร้อยละ 3.634 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการที่มี
43
ประสิทธภิ าพระดับสูงมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 40.022 กิโลกรัมตอ่ ไร่ ส่วนเกนิ การใช้ปยุ๋ เคมี 1.383 กิโลกรมั ต่อ
ไร่ หรอื ส่วนเกนิ การใชป้ ๋ยุ เคมี รอ้ ยละ 3.456 ของปัจจัยการผลิตทใี่ ช้จรงิ
- ปจั จัยการผลิตด้านสารเคมีปอ้ งกันกาจดั วัชพืชและศัตรูพชื เกษตรกรนอก
พน้ื ที่โครงการทมี่ ีประสิทธิภาพระดับสูงมีปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจดั วัชพืชและศัตรูพืช 0.770 ลิตรต่อ
ไร่ ส่วนเกินการใช้สารเคมปี ้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพชื 0.273 ลิตรต่อไร่ หรือส่วนเกนิ การใช้สารเคมีป้องกัน
กาจัดวัชพืชและศัตรูพืช ร้อยละ 35.455 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการท่ีมี
ประสทิ ธิภาพระดับสูงมีปริมาณการใชส้ ารเคมปี ้องกันกาจดั วชั พืชและศัตรูพืช 0.645 ลิตรตอ่ ไร่ ส่วนเกนิ การใช้
สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.063 ลิตรต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและ
ศัตรพู ืช รอ้ ยละ 9.767 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง
- ปัจจัยการผลิตด้านแรงงานเครื่องจักร เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการที่มี
ประสิทธิภาพระดับสูงมีปริมาณการใช้แรงงานเครื่องจักร 12.516 วันต่อไร่ ส่วนเกินการใช้แรงงานเคร่ืองจักร
0.402 วันต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้เคร่ืองจักร ร้อยละ 3.212 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง ส่วนเกษตรกรใน
พ้ืนท่ีโครงการที่มีประสิทธิภาพระดับสูงมีปริมาณการใช้แรงงานเคร่ืองจักร 15.361 วันต่อไร่ ส่วนเกินการใช้
แรงงานเครอื่ งจักร 2.589 วนั ตอ่ ไร่ หรอื ส่วนเกินการใชเ้ ครอื่ งจักร รอ้ ยละ 16.854 ของปจั จยั การผลิตทใ่ี ช้จรงิ
2.3) เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่และ
เกษตรกรในพ้นื ทโี่ ครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ระดบั ประสิทธภิ าพระดบั สูงมาก
- ปจั จยั การผลิตด้านเมล็ดพันธ์ุ เกษตรกรนอกพนื้ ที่โครงการท่ีมีประสิทธภิ าพ
ระดับสูงมากมีปริมาณการใช้เมล็ดพันธ์ุ 26.138 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ 0.087 กิโลกรัมต่อไร่
หรือส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ ร้อยละ 0.333 ของปัจจัยการผลิตท่ีใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพื้นที่โครงการที่มี
ประสิทธิภาพระดับสูงมากมีปริมาณการใช้เมล็ดพันธุ์ 24.160 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ 0.256
กโิ ลกรมั ต่อไร่ หรอื ส่วนเกินการใชเ้ มลด็ พันธ์ุ รอ้ ยละ 1.060 ของปัจจยั การผลิตทใี่ ช้จรงิ
- ปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการที่มีประสิทธิภาพ
ระดับสูงมากมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 36.997 กิโลกรัมต่อไร่ ไม่มีส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี ส่วนเกษตรกรในพ้ืนท่ี
โครงการท่ีมีประสิทธิภาพระดับสูงมากมีปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี 37.868 กิโลกรัมต่อไร่ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี
3.252 กโิ ลกรมั ตอ่ ไร่ หรือสว่ นเกนิ การใชป้ ุ๋ยเคมี รอ้ ยละ 8.588 ของปจั จยั การผลิตทใี่ ช้จริง
- ปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เกษตรกรนอก
พื้นทีโ่ ครงการท่ีมีประสทิ ธิภาพระดับสูงมากมปี รมิ าณการใชส้ ารเคมปี อ้ งกนั กาจดั วัชพชื และศัตรูพชื 0.463 ลติ ร
ต่อไร่ ส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.160 ลิตรต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้สารเคมี
ปอ้ งกันกาจัดวัชพืชและศตั รพู ืช ร้อยละ 34.557 ของปัจจัยการผลิตที่ใช้จริง ส่วนเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการที่มี
ประสิทธิภาพระดับสูงมากมีปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.465 ลิตรต่อไร่ ส่วนเกิน
การใช้สารเคมีป้องกันกาจดั วชั พืชและศัตรพู ืช 0.026 ลิตรต่อไร่ หรอื ส่วนเกนิ การใชส้ ารเคมปี ้องกันกาจัดวัชพืชและ
ศตั รพู ชื ร้อยละ 5.591 ของปัจจยั การผลิตท่ีใชจ้ ริง
- ปัจจัยการผลิตด้านแรงงานเคร่ืองจักร เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการท่ีมี
ประสิทธิภาพระดบั สูงมากมปี ริมาณการใชแ้ รงงานเครื่องจกั ร 8.914 วันต่อไร่ สว่ นเกินการใชแ้ รงงานเคร่ืองจักร
0.353 วันต่อไร่ หรือส่วนเกินการใช้เคร่ืองจักร ร้อยละ 3.960 ของปัจจัยการผลิตที่ใช้จริง ส่วนเกษตรกรใน
พ้ืนท่ีโครงการท่ีมีประสิทธิภาพระดับสูงมากมีปริมาณการใช้แรงงานเคร่ืองจักร 10.702 วันต่อไร่ ส่วนเกินการ
ใช้แรงงานเครอ่ื งจกั ร 0.305 วันตอ่ ไร่ หรือส่วนเกินการใช้แรงงานเครื่องจักร ร้อยละ 2.850 ของปัจจัยการผลิต
ทใ่ี ช้จรงิ
44
จากตารางที่ 4.6 แสดงให้เหน็ ว่าในแต่ละระดับประสิทธิภาพ เกษตรกรประสบปัญหาส่วนเกิน
การใช้ปัจจัยการผลติ แตล่ ะชนิดแตกตา่ งกนั ซึง่ การวเิ คราะห์ส่วนเกนิ ปัจจยั การผลิต จะดูปัจจัยการผลิตทุกชนิด
ประกอบกัน สาหรับเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมีประสิทธิภาพ
ระดับปานกลาง มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านแรงงานเคร่ืองจักรมากท่ีสุด รองลงมาคือ ด้านสารเคมีป้องกัน
และกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช และปุ๋ยเคมี ตามลาดับ ส่วนเกษตรกรท่ีมีประสิทธิภาพระดับสูง มีส่วนเกินปัจจัย
การผลิตด้านสารเคมีป้องกันและกาจัดวัชพืชและศัตรูพืชมากท่ีสุด รองลงมาคือ ด้านปุ๋ยเคมี และด้านแรงงาน
เครื่องจักร ตามลาดับ ส่วนเกษตรกรท่ีมีประสิทธิภาพระดับสูงมาก มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านสารเคมี
ป้องกันและกาจัดวัชพืชและศัตรูพืชมากที่สุด รองลงมาคือ แรงงานเคร่ืองจักร และด้านปุ๋ยเคมี ตามลาดับ
ส่วนเกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมีประสิทธิภาพระดับปานกลาง มี
ส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันและกาจัดวัชพืชและศัตรูพืชมากท่ีสุด รองลงมาคือด้านแรงงาน
เครื่องจักร และด้านปุ๋ยเคมี ตามลาดับ เกษตรกรท่ีมีประสิทธิภาพระดับสูง มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้าน
แรงงานเคร่ืองจักรมากที่สุด รองลงมาคือด้านสารเคมีป้องกันและกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช และปุ๋ยเคมี
ตามลาดับ และเกษตรกรที่มีประสิทธิภาพระดับสูงมาก มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมีมากท่ีสุด
รองลงมาคือ ด้านสารเคมีป้องกันและกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช ด้านแรงงานเคร่ืองจักร และด้านเมล็ดพันธ์ุ
ตามลาดับ ดังน้ัน เกษตรกรทั้งใน และนอกพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ทุกระดับ
ประสิทธิภาพควรลดปริมาณการใช้ปจั จยั การผลิตให้อย่ใู นระดับท่เี หมาะสม
ตารางท่ี 4.6 แสดงส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในแต่ละระดับ
ประสิทธภิ าพ
ระดับประสิทธิภาพ ปานกลาง สูง สูงมาก
ใน นอก ใน นอก ใน นอก
โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ
เมลด็ พันธุ์
ปจั จัยการผลติ ท่ใี ชจ้ รงิ 25.357 29.335 25.930 27.91 24.160 26.138
(กโิ ลกรมั ตอ่ ไร)่
สว่ นเกินปจั จยั การผลติ - - - - 0.256 0.087
(กิโลกรมั ตอ่ ไร่)
รอ้ ยละส่วนเกนิ - - - - 1.060 0.333
ปยุ๋ เคมี 51.242 50.273 40.022 41.06 37.868 36.997
ปัจจยั การผลิตทใ่ี ช้จรงิ
(กโิ ลกรัมต่อไร่) 0.041 0.252 1.383 1.492 3.252 -
ส่วนเกนิ ปัจจยั การผลิต
(กิโลกรมั ต่อไร)่ 0.080 0.501 3.456 3.634 8.588 -
รอ้ ยละสว่ นเกิน
45
ตารางท่ี 4.6 แสดงส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และนอกพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ในแต่ละระดับ
ประสทิ ธิภาพ (ต่อ)
ระดับประสทิ ธิภาพ ปานกลาง สงู สูงมาก
ใน นอก ใน นอก ใน นอก
โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ โครงการ
สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและ
ศัตรพู ชื
ปัจจัยการผลติ ท่ใี ชจ้ รงิ (ลิตรตอ่ ไร)่ 1.418 0.642 0.645 0.77 0.465 0.463
สว่ นเกนิ ปจั จยั การผลิต 0.363 0.046 0.063 0.273 0.026 0.16
(ลติ รตอ่ ไร)่
รอ้ ยละสว่ นเกิน 25.599 7.165 9.767 35.455 5.591 34.557
แรงงานเคร่ืองจกั ร 21.400 25.493 15.361 12.516 10.702 8.914
ปจั จัยการผลติ ทใ่ี ชจ้ ริง (วันต่อไร)่ 5.450 3.509 2.589 0.402 0.305 0.353
สว่ นเกินปัจจัยการผลติ
(วันตอ่ ไร)่ 25.467 13.765 16.854 3.212 2.850 3.96
ร้อยละส่วนเกนิ
ทม่ี า : ตารางผนวกที่ 20 ถึง ตารางผนวกท่ี 31
4.3.3 ปรมิ าณการใช้ปจั จยั การผลิตของเกษตรกรที่มปี ระสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนคิ เท่ากับ 1
การศึกษาประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคด้วยวิธีการ Data Envelopment Analysis
หรือ DEA จะมีค่าประสิทธิภาพอยู่ระหว่าง 0 และ 1 ค่าประสิทธิภาพเชิงเทคนิค ที่เท่ากับ 1 จะแสดงถึงมี
ประสิทธิภาพเต็มที่ จากผลการศึกษา พบว่า เกษตรกรในแปลงใหญ่ท่ีมีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิค
เท่ากับ 1 มีปริมาณการใช้เมล็ดพันธุ์ เท่ากับ 22.40 กิโลกรัมต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี เท่ากับ 34.08
กิโลกรัมต่อไร่ ปริมาณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เท่ากับ 0.52 ลิตรต่อไร่ และปริมาณ
แรงงานเครื่องจักร เท่ากับ 1.46 วันต่อไร่ ผลผลิตที่ได้ 777.17 กิโลกรัมต่อไร่ ซ่ึงปริมาณการใช้เมล็ดพันธ์ุที่
เหมาะสม ทกี่ รมการข้าวแนะนา สาหรับปลูกวิธีหวา่ นน้าตม ใชเ้ มล็ดพันธ์ุ 15-20 กโิ ลกรัมต่อไร่ ปริมาณปุ๋ยเคมี
สาหรบั นาหว่านซึ่งปลูกข้าวพนั ธไุ์ วตอ่ แสงอยู่ท่ี 25 – 30 กิโลกรมั ตอ่ ไร่ และข้าวพนั ธ์ุไม่ไวต่อแสงอยู่ที่ 40 – 50
กโิ ลกรัมต่อไร่ จะเห็นได้ว่าเกษตรกรทม่ี ีค่าประสทิ ธภิ าพทางเทคนิคเท่ากับ 1 ใช้ปริมาณปัจจัยการผลิตใกลเ้ คยี ง
กบั คาแนะนาของกรมการขา้ ว (ตารางท่ี 4.7 และตารางผนวกที่ 32)
จากตารางท่ี 4.6 แสดงให้เห็นว่าเกษตรกรในแปลงใหญ่ท่ีมีค่าประสิทธิภาพทางเทคนิค
เท่ากับ 1 ซ่ึงเป็นเกษตรกรท่ีมีวิธีปฏิบัติที่ดีท่ีสดุ เมื่อเปรียบเทียบกันภายในกล่มุ มีการใชป้ ัจจัยการผลิตใกลเ้ คียง
กับคาแนะนาของกรมการข้าว และผลผลิตท่ีได้ค่อนข้างสูง เหมาะสมที่จะเป็นแนวทางให้เกษตรกรรายอ่ืนๆ
ปฏบิ ตั ิตามได้
46
ตารางที่ 4.7 แสดงปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตของเกษตรกรในแปลงใหญ่ท่ีมีประสิทธิภาพการผลิตข้าว
เชงิ เทคนคิ เทา่ กบั 1
ปัจจยั การผลติ ปริมาณปจั จยั การผลิตของเกษตรกรในแปลงใหญ่ที่
มปี ระสิทธภิ าพการผลิตข้าวเชงิ เทคนิคเท่ากบั 1
เมลด็ พันธุ์ (กิโลกรัมต่อไร่)
ปุ๋ยเคมี (กิโลกรัมต่อไร)่ 22.40
สารเคมปี ้องกันกาจดั วัชพชื และศตั รูพืช (ลติ รตอ่ ไร)่ 34.08
แรงงานเครอื่ งจักร (วัน/ไร่) 0.52
ผลผลติ (กโิ ลกรัมตอ่ ไร)่ 1.46
777.17
ที่มา : ตารางผนวกที่ 32
4.4. การวเิ คราะห์ประสิทธิภาพต่อขนาด
ประสิทธิภาพต่อขนาดเป็นการวัดผลการดาเนินงานของหน่วยผลิตท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่ง
สามารถจะปรับปรุงผลการดาเนินงานให้อยู่ ณ จุดการผลิตที่เหมาะสมได้ โดยประสิทธิภาพต่อขนาดเพ่ิมขึ้น
หมายถงึ เม่อื หนว่ ยผลิตเพิ่มการใช้ปัจจยั การผลิต 1 หนว่ ย ผลผลิตท่ไี ด้รับจะมากกว่า 1 หนว่ ย ประสิทธิภาพต่อ
ขนาดลดลง หมายถึงเมื่อหนว่ ยผลิตเพ่ิมการใช้ปัจจยั การผลติ 1 หน่วย ผลผลิตที่ไดร้ ับจะมีค่าน้อยกวา่ 1 หนว่ ย
และประสิทธิภาพต่อขนาดคงที่ หมายถึงเมื่อหน่วยผลิตเพ่ิมการใช้ปัจจัยการผลิต 1 หน่วย ผลผลิตที่ได้รับจะ
เทา่ กับ 1 หน่วย
จากผลการศึกษาตามตารางที่ 4.8 เม่ือพิจารณาการเกิดประสิทธิภาพอันเนื่องจากขนาดการ
ผลิต (Scale Efficiency: SE) ซึ่งหาได้จากประสิทธิภาพภายใต้ผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตคงท่ี (CRSTE)
หารด้วยระดับประสิทธิภาพภายใต้ผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตผันแปร (VRSTE) พบว่า เกษตรกรนอกพื้นท่ี
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีระดับประสิทธิภาพจากขนาดการผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 0.903
หมายความวา่ ขนาดการผลิตของเกษตรกรท่ีทาการศึกษามีผลต่อการผลิตข้าว และสามารถบอกไดว้ ่าการผลิต
ของเกษตรกรในพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีการใช้ปัจจัยการผลิตส่วนเกินอยู่ร้อย
ละ 9.70 เกษตรกรในพื้นท่ีโครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มรี ะดับประสิทธภิ าพจากขนาดการ
ผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 0.895 หมายความว่า ขนาดการผลิตของเกษตรกรที่ทาการศึกษามีผลต่อการผลิตข้าว และ
สามารถบอกได้ว่าการผลติ ของเกษตรกรในพืน้ ที่โครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญม่ กี ารใช้ปัจจัย
การผลติ ส่วนเกนิ อย่รู อ้ ยละ 10.50
จากตารางที่ 4.8 แสดงให้เห็นว่าค่า SE เฉล่ียของเกษตรกรท้ังใน และนอกพื้นท่ีโครงการ
ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีค่าน้อยกว่า 1 ซ่ึงแสดงถึงความไร้ประสิทธิภาพของขนาดการผลิต
ของเกษตรกรแต่ละราย ถ้าหากเกษตรกรมีการปรับเปล่ียนขนาดการผลิตให้อยู่ในขนาดการผลิตที่เหมาะสมจะ
สามารถทาให้สว่ นเกนิ ปจั จยั การผลิตสว่ นนห้ี ายไปได้
เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีประสิทธิภาพต่อขนาด
ดกี ว่าเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ เพราะมีการใช้ปัจจัยการผลิตส่วนเกิน
ร้อยละ 9.70 ซ่ึงต่ากว่าเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีใช้ปัจจัยการผลิต
ส่วนเกิน ร้อยละ 10.50 เนื่องจากโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีการสนับสนุนปัจจัยการ
47
ผลิตให้แก่เกษตรกรท่ีเข้าร่วมโครงการ แต่เกษตรกรนอกจากใช้ปัจจัยการผลิตท่ีได้รับการสนับสนุนแล้ว ยังซื้อ
ปจั จัยการผลติ เขา้ มาใชเ้ พมิ่ เตมิ ด้วย ทาให้เกษตรกรใชป้ จั จัยการผลติ มากขึ้น
ตารางที่ 4.8 แสดงระดับประสิทธิภาพทางเทคนิคเฉล่ียของการผลิตข้าวในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ และนอกพน้ื ท่ีโครงการระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
รายการ ค่าประสทิ ธภิ าพจาก คา่ ประสิทธภิ าพจาก ค่าประสทิ ธภิ าพ
แบบจาลองผลได้ต่อ ต่อขนาดการผลติ
แบบจาลองผลไดต้ อ่ ขนาดผนั แปร(VRSTE)
(SE)
ขนาดคงที่ (CRSTE) 0.822 0.895
ก า ร ผ ลิ ต ข้ า ว ใ น พ้ื น ที่ 0.736 0.744 0.903
โค รงก ารระ บ บ ส่ งเส ริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่
ก า ร ผ ลิ ต ข้ า ว น อ ก พ้ื น ท่ี 0.672
โค รงก ารระ บ บ ส่ งเส ริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่
ที่มา : ตารางผนวกท่ี 18 และตารางผนวกท่ี 19
จากผลการศึกษาตามตารางท่ี 4.9 พบว่า เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ จานวน 58 ราย อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดเพ่ิมข้ึน (Increasing Return to
Scale : IRS) คิดเป็นร้อยละ 72.50 ของจานวนเกษตรกรทั้งหมด หมายถึง เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิต
น้อยเกินไป ดังนั้น จึงควรเพ่ิมการใช้ปจั จยั การผลิตเพื่อใหไ้ ด้ขนาดการผลิตที่เหมาะสม เกษตรกรรอ้ ยละ 15.00
อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตคงที่ (Constant Return to Scale : CRS) หมายความว่า เกษตรกรมี
การใช้ปัจจัยการผลิต และมีระดับผลผลิตอยู่ในระดับท่ีเหมาะสม และเกษตรกรร้อยละ 12.50 อยู่ในช่วง
ผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตลดลง (Decreasing Return to Scale : DRS) หมายความว่า เกษตรกรมีการใช้
ปจั จยั การผลิตมากเกนิ ไป ควรลดปัจจยั การผลิตลงเพือ่ ใหม้ ีระดับการผลติ ท่ีเหมาะสม
เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ร้อยละ 56.25 อยู่ในช่วง
ผลตอบแทนตอ่ ขนาดเพิม่ ข้นึ (IRS) หมายถงึ เกษตรกรมกี ารใช้ปจั จยั การผลิตน้อยเกนิ ไป ดังน้ัน จึงควรเพ่ิมการ
ใช้ปัจจัยการผลิตเพ่ือให้ได้ขนาดการผลิตท่ีเหมาะสม เกษตรกรร้อยละ 25.00 อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาด
การผลิตลดลง (DRS) หมายความว่า เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิตมากเกินไป ควรลดปัจจัยการผลิตลง
เพ่ือให้มีระดับการผลิตที่เหมาะสม และเกษตรกรร้อยละ 18.75 อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตคงท่ี
(CRS) หมายความวา่ เกษตรกรมกี ารใช้ปจั จัยการผลิต และมีระดับผลผลิตอยู่ในระดบั ท่เี หมาะสม
จากตารางท่ี 4.9 เมื่อพิจารณาตามช่วงการผลิต เกษตรกรในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่มีร้อยละของเกษตรกรท่ีมีการใช้ปัจจัยการผลิต และมีระดับผลผลิตอยู่ในระดับที่
เหมาะสมมากกว่าเกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ซึ่งเกษตรกรนอกพื้นที่
โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีร้อยละของเกษตรกรท่ีมีการใช้ปัจจัยการผลิตมากเกินไปสูง
กว่าในโครงการด้วย สะท้อนให้เห็นว่าเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มี
ความสามารถในการปรับลดปัจจัยการผลิตแต่ยังคงได้ผลผลิตในปริมาณเท่าเดิม มากกว่านอกพื้นที่โครงการ
ระบบสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่
48
ตารางท่ี 4.9 แสดงจานวนและร้อยละของการผลติ ข้าวในพ้นื ที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ และนอกพ้นื ท่โี ครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญใ่ นแตล่ ะชว่ งการผลิต
รายการ ในโครงการ นอกโครงการ
จานวนตวั อยา่ ง ร้อยละ จานวนตัวอยา่ ง รอ้ ยละ
ผลตอบแทนตอ่ ขนาดคงที่ (CRS)
ผลตอบแทนตอ่ ขนาดเพิ่มขน้ึ (IRS) 15 18.75 12 15.00
ผลตอบแทนตอ่ ขนาดลดลง (DRS) 45 56.25 58 72.50
20 25.00 10 12.50
ที่มา : ตารางผนวกที่ 18 และตารางผนวกท่ี 19
49
บทที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศกึ ษา
การศึกษาต้นทุนการผลิต ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคของการผลิตข้าวแบบแปลงใหญ่ กรณีศึกษาพ้ืนที่
ภาคตะวันตก (จังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ราชบุรี และจังหวัดเพชรบุรี) มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษา และ
เปรยี บเทียบต้นทุนการผลิตขา้ ว และประสิทธิภาพเชงิ เทคนิคของการผลติ ข้าวนอกพื้นที่แปลงใหญ่และในพื้นที่
แปลงใหญ่ โดยรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรผู้ปลูกข้าว เป็นจานวนทั้งสิ้น 160 ครัวเรือน โดยนา
ข้อมูลที่รวบรวมได้มาทาการวิเคราะห์เพ่ืออธิบายถึงต้นทุนการผลิต การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตข้าวนอกพื้นที่
แปลงใหญ่และในพน้ื ท่ีแปลงใหญ่ เปรียบเทียบระหว่างกลมุ่ ผูเ้ ข้าร่วมโครงการ และกลุ่มท่ีไมเ่ ขา้ ร่วมโครงการ โดย
วิธีจับคู่คะแนนความโน้มเอียง (Propensity Score Matching) ซึง่ ใชว้ ธิ ีพิจารณาผลกระทบโดยเฉล่ียตอ่ ผ้เู ข้ารว่ ม
โครงการ (Average Treatment Effect on the Treated : ATET) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตเชิง
เทคนคิ โดยใช้แบบจาลอง Data Envelopment Analysis (DEA)
ผลการวจิ ยั สรุปไดด้ ังน้ี
5.1.1 ตน้ ทุนการผลติ ข้าว
1) ต้นทุนการผลิตข้าวของเกษตรกรในพ้ืนที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ต้นทุนรวม
เฉล่ียของการผลิตข้าวของเกษตรกรนอกพื้นท่ีส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เท่ากับ 3,676.11 บาทต่อไร่
หรือ 4.38 บาทต่อกิโลกรัม แบ่งเป็นต้นทุนผันแปรเท่ากับ 2,861.26 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ีเท่ากับ 814.85
บาทต่อไร่ มผี ลตอบแทนเฉลีย่ 6,003.86 บาทต่อไร่ สง่ ผลใหม้ ีรายได้หลังหักต้นทุนเท่ากับ 2,327.75 บาทต่อไร่
หรือ 2.77 บาทต่อกิโลกรมั
2) ต้นทุนการผลิตข้าวของเกษตรกรนอกพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ต้นทุน
รวมเฉล่ียของการผลิตข้าวของเกษตรกรในพื้นทส่ี ่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลงใหญ่ เทา่ กบั 4,105.83 บาทต่อไร่
หรือ 5.08 บาทต่อกิโลกรัม แบ่งเป็นต้นทุนผันแปรเท่ากับ 3,155.50 บาทต่อไร่ ต้นทุนคงท่ีเท่ากับ 950.33
บาทต่อไร่ มีผลตอบแทนเฉลย่ี 5,681.86 บาทต่อไร่ ส่งผลใหม้ รี ายได้หลังหักต้นทุนเท่ากับ 1,576.03 บาทตอ่ ไร่
หรอื 1.95 บาทต่อกโิ ลกรัม
5.1.2 การเปรียบเทียบต้นทุนการผลิตในพ้ืนท่ีส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่และนอกพ้ืนที่ส่งเสริม
การเกษตรแปลงใหญ่
โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีสว่ นชว่ ยใหต้ ้นทนุ ผันแปรของเกษตรกรลดลง เกษตรกรที่
เข้ารว่ มโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จะมีต้นทุนผันแปรต่ากว่าเกษตรกรท่ีไม่ได้เข้าร่วมโครงการ
50
สง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อย่างมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดับ 0.01 เมื่อพิจารณาผลกระทบต่อต้นทุนผัน
แปรของเกษตรกรจากการเข้ารว่ มโครงการ พบว่า โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ส่งผลกระทบต่อ
ตน้ ทนุ ผนั แปรของเกษตรกรลดลง 294.24 บาทตอ่ ไร่
5.1.3 การวิเคราะห์ประสิทธภิ าพการผลติ เชิงเทคนิค
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิค ด้วยวิธีการ Data Envelopment
Analysis หรือ DEA โดยพิจารณาทางด้านปัจจัยนาเข้า (Input – Orientated) โดยวัดจากปริมาณการใช้
เมล็ดพันธ์ุ แรงงานเคร่อื งจักร ปรมิ าณการใชป้ ๋ยุ เคมี ปริมาณการใชส้ ารเคมปี ้องกันกาจัดวัชพืชและศตั รูพชื
1) การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคในพ้ืนที่ส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และนอกพื้นที่ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริม
การเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 0.822 เมื่อเทียบกับผู้ผลติ ท่ีดี
สดุ ในกล่มุ แล้ว หากเกษตรกรต้องการผลผลิตในปรมิ าณเท่าเดิม ควรปรบั ลดการใช้ปจั จัยการผลิตร้อยละ 17.80
เมื่อจาแนกระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนคิ เปน็ 5 ระดับ ระดบั ไมพ่ บเกษตรกรท่ีมรี ะดับประสทิ ธิภาพเชิงเทคนิค
ในระดับต่ามาก และระดับต่า โดยส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพในระดับสูงมาก (0.801 – 1.000) คิดเป็น
ร้อยละ 56.25 รองลงมา ประสิทธิภาพในระดบั สูง (0.601 – 0.800) รอ้ ยละ 31.25 และประสิทธิภาพในระดับ
ปานกลาง (0.401 – 0.600) รอ้ ยละ 12.50 เกษตรกรนอกพนื้ ทโ่ี ครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มี
ประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคเฉลี่ย เท่ากับ 0.744 เม่ือเทียบกับผู้ผลิตท่ีดีสุดในกลุ่มแล้ว หากเกษตรกร
ต้องการผลผลิตในปริมาณเท่าเดิม ควรปรับลดการใช้ปัจจัยการผลิตร้อยละ 25.60 เมื่อจาแนกระดับ
ประสิทธิภาพเชิงเทคนิคเป็น 5 ระดับ ระดับ ไม่พบเกษตรกรท่ีมีระดับประสิทธิภาพเชิงเทคนิคในระดับต่ามาก
และระดับต่า โดยส่วนใหญ่มีระดับประสิทธิภาพในระดับสงู (0.601 – 0.800) คิดเป็นร้อยละ 45.00 รองลงมา
ประสิทธิภาพในระดับสูงมาก (0.801 – 1.000) ร้อยละ 36.25 และประสิทธิภาพในระดับปานกลาง (0.401 –
0.600) ร้อยละ 18.75
2) การวิเคราะห์ส่วนเกินปัจจัยการผลิตในพ้ืนท่ีส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ และ
นอกพ้ืนท่ีสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ พบว่า เกษตรกรในพืน้ ทโ่ี ครงการสง่ เสรมิ การเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี มากที่สุด เท่ากับ 2.267 กิโลกรัมต่อไร่ ไร่ รองลงมาคือส่วนเกิน
แรงงานเครื่องจักร เท่ากับ 1.662 วันต่อไร่ ส่วนเกินเมล็ดพันธุ์เท่ากับ 0.144 กิโลกรัมต่อไร่ และส่วนเกินปัจจัย
การผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เท่ากับ 0.080 ลิตรต่อไร่ เกษตรกรนอกพ้ืนท่ีโครงการ
ส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ มีส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านปุ๋ยเคมี มากท่ีสุด เท่ากับ 3.719 กิโลกรัมต่อ
ไร่ รองลงมาคือส่วนเกินด้านแรงงานเครื่องจักร เท่ากับ 1.786 วันต่อไร่ ปัจจัยการผลิตด้านเมล็ดพันธ์ุ เท่ากับ
0.232 กิโลกรัมต่อไร่ และส่วนเกินปัจจัยการผลิตด้านสารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช เท่ากับ 0.190
ลิตรต่อไร่
51
3) ส่วนเกินปัจจัยการผลิตของการผลิตข้าวในพื้นท่ีส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่
และนอกพืน้ ที่สง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จาแนกตามระดับประสทิ ธภิ าพ พบว่า
3.1) ระดับประสทิ ธิภาพปานกลาง
- เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่มี
ประสิทธิภาพระดับปานกลางไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธ์ุ มีส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 0.041 กโิ ลกรมั ต่อไร่ หรือ
ร้อยละ 0.080 มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.363 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 25.599
และมีส่วนเกินการใช้แรงงานเครอ่ื งจกั ร 5.450 วันต่อไร่ หรอื รอ้ ยละ 25.467
- เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมี
ประสิทธิภาพระดับปานกลางไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 0.252 กิโลกรัมต่อไร่ หรือ
ร้อยละ 0.501 มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.046 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 7.165
และมีส่วนเกินการใชแ้ รงงานเครอ่ื งจกั ร 3.509 วันตอ่ ไร่ หรอื ร้อยละ 13.765
3.2) ระดบั ประสทิ ธิภาพสงู
- เกษตรกรในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมี
ประสิทธิภาพระดับสูงไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 1.383 กิโลกรัมต่อไร่ หรือร้อยละ
3.456 มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.063 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 9.767 และมี
ส่วนเกินการใชแ้ รงงานเครื่องจกั ร 2.589 วันตอ่ ไร่ หรอื รอ้ ยละ 16.854
- เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ที่มี
ประสิทธิภาพระดับสูงไม่มีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธ์ุ ส่วนเกินการใช้ปุ๋ยเคมี 1.492 กิโลกรัมต่อไร่ หรือร้อยละ
3.634 มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.273 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 35.455 และมี
สว่ นเกินการใชแ้ รงงานเครอ่ื งจกั ร 0.402 วนั ตอ่ ไร่ หรือรอ้ ยละ 3.212
3.3) ระดบั ประสิทธิภาพสูงมาก
- เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมี
ประสิทธิภาพระดับสูงมากมีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธุ์ 0.256 กิโลกรัมต่อไร่ หรือร้อยละ 1.060 มีส่วนเกินการ
ใช้ปุ๋ยเคมี 3.252 กิโลกรัมต่อไร่ หรือร้อยละ 8.588 มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช
0.026 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 5.591 มีส่วนเกินการใช้แรงงานเคร่ืองจักร 0.305 วันต่อไร่ หรือร้อยละ 2.850
- เกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ท่ีมี
ประสิทธิภาพระดับสูงมากมีส่วนเกินการใช้เมล็ดพันธ์ุ 0.087 กิโลกรัมต่อไร่ หรือร้อยละ 0.333 ไม่มีส่วนเกิน
การใช้ปุ๋ยเคมี มีส่วนเกินการใช้สารเคมีป้องกันกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช 0.160 ลิตรต่อไร่ หรือร้อยละ 34.557
และมสี ่วนเกนิ การใช้แรงงานเคร่ืองจกั ร 0.353 วนั ตอ่ ไร่ หรือร้อยละ 3.960
52
5.1.4 ปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตของเกษตรกรในแปลงใหญ่ที่มีประสิทธิภาพการผลิตข้าวเชิง
เทคนิค เทา่ กับ 1
เกษตรกรทมี่ ีประสิทธภิ าพการผลิตข้าวเชิงเทคนิคเทา่ กับ 1 มปี ริมาณการใชเ้ มล็ดพันธ์ุ เท่ากับ
22.40 กิโลกรัมต่อไร่ ปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมี เท่ากับ 34.08 กิโลกรัมต่อไร่ ปรมิ าณการใช้สารเคมีป้องกันกาจัด
วัชพืชและศัตรูพืช เท่ากับ 0.52 ลิตรต่อไร่ และปริมาณแรงงานเครื่องจักร เท่ากับ 1.46 วันต่อไร่ ผลผลิตท่ีได้
777.17 กโิ ลกรัมต่อไร่
5.1.5 การวิเคราะหป์ ระสิทธิภาพต่อขนาด
1) เกษตรกรในพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีระดับประสิทธิภาพจาก
ขนาดการผลิตเฉล่ียเท่ากับ 0.895 หมายความว่า ขนาดการผลิตของเกษตรกรท่ีทาการศึกษามีผลต่อการผลิต
ข้าว และสามารถบอกได้ว่าการผลิตของเกษตรกรในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มี
การใช้ปัจจัยการผลิตส่วนเกินอยู่ร้อยละ 10.50 เกษตรกรในพื้นที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ ร้อยละ 56.25 อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดเพ่ิมข้ึน (IRS) หมายถึง เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิต
นอ้ ยเกินไป ดงั นั้น จงึ ควรเพ่ิมการใชป้ ัจจัยการผลติ เพ่ือใหไ้ ดข้ นาดการผลิตท่ีเหมาะสม เกษตรกรร้อยละ 25.00
อยู่ในชว่ งผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตลดลง (DRS) หมายความว่า เกษตรกรมีการใชป้ จั จยั การผลิตมากเกนิ ไป
ควรลดปจั จยั การผลิตลงเพ่ือให้มรี ะดับการผลิตท่ีเหมาะสม และเกษตรกรรอ้ ยละ 18.75 อยใู่ นช่วงผลตอบแทน
ต่อขนาดการผลิตคงที่ (CRS) หมายความว่า เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิต และมีระดับผลผลิตอยู่ในระดับที่
เหมาะสม
2) เกษตรกรนอกพ้ืนท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มีระดับประสิทธิภาพจาก
ขนาดการผลิตเฉลี่ยเท่ากับ 0.903 หมายความว่า ขนาดการผลิตของเกษตรกรท่ีทาการศึกษามีผลต่อการผลิต
ข้าว และสามารถบอกได้ว่าการผลิตของเกษตรกรในพ้ืนที่โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่มี
การใช้ปัจจัยการผลิตส่วนเกินอย่รู ้อยละ 9.70 เกษตรกรนอกพื้นท่ีโครงการระบบส่งเสรมิ การเกษตรแบบแปลง
ใหญ่ อยู่ในชว่ งผลตอบแทนต่อขนาดเพ่ิมขึ้น (IRS) คิดเป็นร้อยละ 72.50 ของจานวนเกษตรกรทั้งหมด หมายถึง
เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิตน้อยเกินไป ดังน้ัน จึงควรเพ่ิมการใช้ปัจจัยการผลิตเพื่อให้ได้ขนาดการผลิตท่ี
เหมาะสม เกษตรกรร้อยละ 15.00 อยู่ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตคงท่ี (CRS) หมายความว่า
เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิต และมีระดับผลผลิตอยู่ในระดับท่ีเหมาะสม และเกษตรกรร้อยละ 12.50 อยู่
ในช่วงผลตอบแทนต่อขนาดการผลิตลดลง (DRS) หมายความว่า เกษตรกรมีการใช้ปัจจัยการผลิตมากเกินไป
ควรลดปจั จยั การผลติ ลงเพอ่ื ใหม้ ีระดับการผลติ ท่ีเหมาะสม
53
5.2 ข้อเสนอแนะ
จากผลการศกึ ษาท่ีได้นาเสนอมาเป็นลาดับได้ชใ้ี หเ้ ห็นว่า เกษตรกรในพื้นท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่มีต้นทุนการผลิตต่ากว่าเกษตรกรนอกพ้ืนที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ อีกทั้ง
ราคาท่ีเกษตรกรขายได้ และประสิทธิภาพการผลิตก็ดีกว่าเกษตรกรนอกพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ และผลการศึกษายังช้ีให้เห็นด้วยว่าเกษตรกรท้ังใน และนอกพื้นท่ีโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ยังมีการใช้ปัจจัยส่วนเกิน ทั้งในส่วนของเมล็ดพันธ์ุ ปุ๋ยเคมี สารเคมี และแรงงานเครื่องจักร ดังนั้น
เพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตของเกษตรกร และลดต้นทุนการผลิต ควรดาเนินการ ดงั นี้
1. เกษตรกรควรปรับลดการใช้ปัจจัยการผลิต เพื่อเข้าสู่ระดับการผลิตท่ีเหมาะสม เพื่อเพิ่ม
ประสทิ ธภิ าพการผลติ ของเกษตรกร และลดต้นทุนการผลติ โดย
- เมล็ดพันธ์ุ เกษตรกรควรเลือกใช้พันธ์ุดีจากแหล่งท่ีเช่ือถือได้ ปรับปริมาณการใช้เมล็ดพันธ์ุ
ให้เหมาะสมตามหลักวิชาการ ภาครัฐควรอบรมให้ความรู้ในการใช้ปริมาณเมล็ดพันธุ์ท่ีเหมาะสมแก่เกษตรกร
และสนบั สนนุ ให้เกษตรกรสามารถเขา้ ถงึ แหลง่ พันธ์ดุ ที ี่เช่อื ถือได้
- ปุ๋ย เกษตรกรควรใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และรวมกลุ่มกันเพ่ือ
จัดทาปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพใช้เอง รวมท้ังใช้ปุ๋ยพืชสดในการปรับปรุงบารุงดิน ภาครัฐควรอบรมให้ความรู้แก่
เกษตรกรในการทาป๋ยุ อินทรีย์ ปยุ๋ ชวี ภาพ
- สารเคมี เกษตรกรควรลดการใชส้ ารเคมี และใช้สารชีวภาพแทน และเกษตรกรควรรวมกลุ่ม
กนั เพื่อจัดทาสารชีวภาพใชเ้ อง เพื่อเป็นการลดต้นทุนการผลิต และภาครัฐควรควรอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร
ในการทาสารชีวภาพ ทดแทนการใช้สารเคมี
2. ครัวเรือนเกษตรกรส่วนใหญ่มีแรงงานในการทานาข้าวเฉล่ีย 2 คน จาเป็นต้องจ้างแรงงานในการ
ดาเนินงานเกือบทกุ อยา่ ง ทาให้ต้นทนุ สูง เกษตรกรจึงไมเ่ หลือผลกาไร และหากมีภยั ธรรมชาติ เช่นภยั แล้ง หรือ
น้าท่วม ยิ่งทาให้เกษตรกรขาดทุน และมีหนี้สินสะสม ดังนั้น การรณรงค์ให้เกษตรกรให้ความสาคัญกับการลด
ตน้ ทุนการผลิต ไม่ว่าจะเป็นการลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ การลดการใช้สารเคมี ปุ๋ยเคมี และใชส้ ารชีวภัณฑ์ซ่ึง
ราคาถกู กวา่ เปน็ เรอ่ื งที่สาคัญ และการรวมตวั กันผลิตเปน็ กลมุ่ แปลงใหญส่ ามารถลดต้นทนุ ค่าแรงงานลงได้
3. เกษตรกรส่วนใหญ่ยังมีการใช้ปัจจัยสว่ นเกิน ท้ังในสว่ นของเมล็ดพันธ์ุ ปยุ๋ เคมี สารเคมี และแรงงาน
เครื่องจักร ซึ่งหากเกษตรกรปรับลดปริมาณการใช้ปัจจัยการผลิตให้เหมาะสม ใช้ปัจจัยการผลิตตามหลัก
วิชาการแนะนา ก็จะสามารถลดต้นทนุ การผลิตได้ มีประสิทธิภาพการผลิตที่ดีขนึ้ ซึ่งจะเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขันและเพม่ิ รายไดข้ องเกษตรกรได้
4. เกษตรกรนอกแปลงใหญ่ใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินน้อยมาก ซึ่งเป็นสาเหตุหน่ึงที่ทาให้ต้นทุนสูงข้ึน
เพราะเกษตรกรที่ไม่ได้เข้าร่วมโครงการของกระทรวงเกษตร ฯ ทาให้ไม่มีความรู้ความเข้าใจถึงความสาคัญของ
54
การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ไม่ทราบว่าสามารถลดต้นทุน และเพ่ิมผลผลิตได้ จึงไม่นาดินไปตรวจ แต่ใช้ปุ๋ย
ตามทเ่ี คยทาใชก้ นั มา ซง่ึ ส่วนใหญ่เกษตรกรมีการใช้ปยุ๋ มากเกินไป
5. ควรอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกร ในการใช้ปัจจัยการผลิตตามหลักวิชาการ เพ่ือให้ใช้ปัจจัยการผลิต
ในปริมาณท่ีเหมาะสม ซ่ึงจะสามารถลดต้นทุนการผลิตลงได้ สาหรับเกษตรกรทีร่ ว่ มโครงการส่งเสริมการเกษตร
แบบแปลงใหญ่ ที่ได้รับการอบรมให้ความรแู้ ล้ว ควรมีการจดบันทึกข้อมูลในช่วงก่อน และหลังการนาความรู้ที่
ไดร้ ับมาใช้ เพอ่ื นามาเปรยี บเทียบ และเปน็ ขอ้ มูลในการประยกุ ต์ใช้ความรตู้ ่อไป
6. ควรสนับสนุนให้เกษตรกรท้ังใน และนอกโครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ให้มีการจด
บันทึกข้อมูลการผลิตตั้งแต่ปลูกจนกระทั่งเก็บเก่ียว ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อเกษตรกร ในอันท่ีจะนาข้อมูลที่
บันทกึ เอาไวม้ าใช้เพื่อปรบั ปรงุ วิธกี ารผลิตใหไ้ ด้ผลผลิตทดี่ มี คี ุณภาพ
7. ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่บางพน้ื ท่ี ที่เพิ่งรวมกลุ่มกนั เป็นปีแรก ยังไมม่ ีความเข้มแข็ง
และยังไม่มีความเข้าใจในรายละเอียดของโครงการมากนัก กิจกรรมต่าง ๆ ในการทานาของเกษตรกรกลุ่มน้ี
ส่วนใหญ่ยังเป็นแบบเดิม กล่าวคือ ยังใช้เมล็ดพันธ์ุในอัตราสูง ใช้สารเคมีและปุ๋ยเคมีในปริมาณท่ีมากกว่า
กรมการข้าวแนะนา ยงั ไม่ใช้ปุ๋ยพืชสด และใช้สารชีวภัณฑ์นอ้ ยมาก ควรเปลี่ยนแปลงทัศนคติของคนกลุ่มนโ้ี ดย
การพาไปศึกษาดูงาน นาแปลงใหญ่ที่ประสบความสาเร็จแล้ว เพื่อให้เห็นภาพ และความเข้าใจในโครงการ
ตลอดจนถึงเปลี่ยนแนวคิดเดมิ ที่ใชส้ ารเคมเี ป็นหลัก
8. ควรส่งเสริมให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่มกันอย่างจริงจัง ต้ังแต่รวมกลุ่มซื้อปัจจัยการผลิต รวมกลุ่ม
กันผลิต จนถึงจาหน่ายผลผลิต สร้างอานาจต่อรอง ส่งเสริมเกษตรกรให้ผลิตเอง จาหน่ายเอง จัดทายุ้งฉาง
ชมุ ชน เก็บผลผลติ ไว้จาหน่ายเม่ือราคารับซ้อื สงู ข้ึน ลดเง่ือนไขเพ่อื ใหเ้ กษตรกรเข้าถึงแหล่งเงินกู้ได้งา่ ยขน้ึ
9. เกษตรกรทั้งนอกแปลงใหญ่และในแปลงใหญ่ยังมีการรวมกลุ่มเพ่ือแปรรูป รวมถึงรวมกลุ่มกันเพื่อ
จาหนา่ ยผลผลิตนอ้ ย ถึงแม่มกี ารทา MOU กับเอกชน แต่เมอ่ื ถึงเวลาจาหนา่ ยผลผลติ ก็โดนกดราคาเหมอื นเดิม
ราคาจาหน่ายผลผลิตนอกและในแปลงใหญ่จึงไม่แตกต่างกัน เป้าหมายด้านราคาท่ีจะสูงข้ึนจึงเป็นไปได้ยาก
ภาครฐั จงึ ควรม่งุ เป้าหมายไปที่การลดตน้ ทุนและการเพ่ิมผลผลติ และผลิตข้าวที่มีคณุ ภาพ ซง่ึ เห็นผลได้ชดั เจน
10.ราคาขายผลผลิตสินค้าข้าว นอกและในแปลงใหญ่ต่างกันน้อยมาก แต่ต้นทุนการผลิตต่างกันอย่าง
ชัดเจน ซ่ึงเกษตรกรที่เข้าร่วมแปลงใหญ่มีรายได้หลังหักต้นทุนมากกว่าเกษตรกรที่ไม่เข้าร่วมแปลง ดังนั้นหาก
เกษตรกรทั่วไป มีการรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อเข้าร่วมกับโครงการแปลงใหญ่ของรัฐบาล จะทาให้เกษตรกร
เหลา่ นน้ั มรี ายได้มากข้ึน
55
บรรณานกุ รม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.(2559). ค่มู อื การดาเนินงานระบบสง่ เสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่.[ออนไลน]์ .
เขา้ ถงึ ได้จาก: http://www.oic.go.th/FILEWEB/CABINFOCENTER3/DRAWER057/
GENERAL/DATA0000/00000233.PDF. (วนั ท่สี ืบคน้ ข้อมูล: 26 ตุลาคม 2560).
เกรียงศักดิ์ เจริญสขุ .(2561). Propensity score analysis: principle and concept. วารสาร Thai
Journal of HEPATOLOGY, ปที ี่ 1, เล่ม 1, 25-27 [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ไดจ้ าก:
file:///C:/Users/sucharee.pic/Downloads/78-Article%20Text-141-1-10-20180427.pdf
(วันทสี่ บื ค้นข้อมูล: 1 พฤษภาคม 2561).
คมู่ ือการจดั การด้านการผลติ เกษตรท่ีเหมาะสมสาหรับขา้ วนานาฝน. กรมการขา้ ว [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ได้จาก:
http://www.ricethailand.go.th/rkb/manual/index.php-file=data_012-
rice_012_manul_003.html#412 . (วนั ท่ีสบื ค้นข้อมูล: 1 พฤษภาคม 2561).
จารึก สิงหปรชี า และ นติ พิ งษ์ สง่ ศรีโรจน์. (2550). การวัดประสทิ ธภิ าพเชงิ เทคนิคของการผลติ ข้าวหอม
มะลอิ ินทรยี ท์ ่ไี ดร้ ับการรบั รอง. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้จาก: http://digi.library.tu.ac.th/
journal/0194/14_1_jun_2550/04PAGE31_PAGE46.pdf (วนั ทีส่ ืบคน้ ข้อมูล: 26 ตลุ าคม 2560).
ชนดิ า วสันต์ และคณะ. (2559). ประสิทธภิ าพดา้ นการจัดสรรการปลูกอ้อยของเกษตรกรในประเทศไทย.
รายงานการศึกษาอสิ ระปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกจิ คณะวิทยาการ
จดั การ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. [ออนไลน]์ . เข้าถึงได้จาก : http://mslib.kku.ac.th
/elib/books/Economic2557/CHANIDA%20%20%20WASUN/02_ab s.pdf (วันท่ีสืบค้นข้อมูล
: 2 มกราคม 2562).
ดวงใจ วงศ์ววิ ฒั น์ไชย. (2546). ความเจรญิ เตบิ โตของผลติ ภาพปัจจัยการผลิตโดยรวมของภาคการเกษตรใน
ภาคใตข้ องประเทศไทย : การเปรยี บเทยี บระหว่างวิธที างเศรษฐมติ ิและวิธที างโปรแกรมคณติ ศาสตร์.
วทิ ยานพิ นธ์เศรษฐศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์, บณั ฑิตวทิ ยาลัย,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นติ พิ งษ์ ส่งศรีโรจน์ และ จารึก สงิ หปรชี า. (2555). วิธีการวัดและขอ้ จากดั ของวิธีการวัดประสทิ ธิภาพ.
[ออนไลน]์ . เขา้ ถึงไดจ้ าก: ttp://journal.eco.ku.ac.th/upload/document/thai/
20080454021754.pdf. (วนั ทส่ี ืบค้นข้อมูล: 14 พฤศจกิ ายน 2560).
ประสพชัย พสนุ นท.์ (2556).การประเมนิ สมรรถนะและประสทิ ธภิ าพการดาเนนิ งานของสหกรณอ์ อมทรัพย์:
กรณศี ึกษาสหกรณ์ออมทรพั ย์สถาบนั อดุ มศกึ ษาในเขตกรุงเทพมหานคร.วทิ ยานพิ นธ์ปรชั ญาดษุ ฎี
บณั ฑติ ,สาขาวชิ าการจัดการ,บณั ฑิตวทิ ยาลยั ,มหาวิทยาลยั ศิลปากร.
เยาวเรศ เชาวนพนู ผล และคณะ. (2548). ประสทิ ธิภาพทางเทคนิคของเกษตรกรผปู้ ลกู ข้าวในเขตชลประทาน
จังหวัดเชยี งใหม่. วารสารเศรษฐศาตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม.่ ปที ่ี8 เลม่ ท่ี 3. หน้า 1 -14.
วิษณุ อรรถวานิช. (2558). การประเมินผลกระทบของโครงการรบั จานาข้าวทม่ี ีต่อสถานะทางเศรษฐกิจของ
เกษตรกรไทย. ศูนย์วิจยั เศรษฐศาสตรป์ ระยกุ ต์, คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์.
ศุภวจั น์ รุ่งสรุ ิยะวิบูลย์. (2550). การประมาณค่าประสิทธิภาพเชงิ เทคนิคของการผลิตยางพาราใน
ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื . [ออนไลน์]. เขา้ ถึงได้จาก:
https://www.econ.cmu.ac.th/econmag/journals/issue15-2_3.pdf (วันท่สี บื คน้ ขอ้ มูล: 14
พฤศจิกายน 2560).
56
ศศรส ใจจติ ร์ และคณะ. (2560). การประเมนิ ผลกระทบทางเศรษฐกิจของงานวิจัยดา้ นข้าวในประเทศไทย.
ภาควิชาวศิ วกรรมอตุ สาหการ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. [ออนไลน]์ . เข้าถงึ ได้
จาก : https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=05%20Sasarose.pdf&id=2957& keep
track=0 (วนั ท่ีสบื คน้ ข้อมลู : 2 มกราคม 2562).
สมชาย หาญหิรญั . (2548). แนวคิดการวดั ประสิทธภิ าพการผลิตทางเศรษฐศาสตร์. [ออนไลน์]. เข้าถึงไดจ้ าก:
http://www.oie.go.th/sites/default/files/attachments/article/HowtoCheckTFP-
inEconomy.pdf (วันท่ีสบื ค้นขอ้ มูล: 14 พฤศจิกายน 2560).
สมศักดิ์ เพรียบพร้อม. (2531). การจัดการฟารม์ ประยุกต์. ภาควิชาเศรษฐศาสตรเ์ กษตรและทรัพยากร,คณะ
เศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
สมหมาย อุดมวิทิต และสุวรรณา ประณีตวตกลุ . (2553). การประเมินผลกระทบของโครงการโรงเรยี น
เกษตรกรต่อการใชส้ ารเคมีกาจัดศตั รูพืชในการผลิตข้าวของประเทศไทย. วารสารการจดั การ
สง่ิ แวดล้อม. ปที ่ี 6. เลม่ ที่ 2. หนา้ 99 – 112.
สวรนิ ทร์ ประดิษฐอกุ ฤษฎ์ และคณะ. (2556). ประเมนิ ประสทิ ธิภาพของสหกรณก์ องทุนสวนยางในจงั หวัด
สงขลา. [ออนไลน์]. เข้าถงึ ได้จาก: www.dms.eng.su.ac.th/filebox/FileData/QMS011.pdf.
(วันทสี่ บื ค้นข้อมูล: 14 พฤศจิกายน 2560).
สริ สิ ินทร์ หลอ่ สมฤด.ี (2555). การประเมินประสทิ ธิภาพแรงงานไทยด้วยวธิ ี แพแนล ดีอเี อ. วทิ ยานิพนธ์
เศรษฐศาสตรมหาบัณฑติ , สาขาวชิ าเศรษฐศาสตร์, บณั ฑติ วิทยาลัย, มหาวทิ ยาลยั เชยี งใหม.่
สุจารยี ์ พชิ า. (2560). ประสทิ ธิภาพทางเทคนิคในการผลติ เมล็ดพนั ธถ์ุ ่วั เหลืองของสมาชิกสหกรณ์การเกษตร
ในจงั หวัดเชยี งใหม่. วทิ ยานพิ นธ์วิทยาศาสตรมหาบณั ฑิต, สาขาวชิ าธรุ กิจเกษตร, บัณฑิตวทิ ยาลยั ,
มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่.
สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. (2560). ต้นทนุ การผลติ ต้นทนุ โลจสิ ตกิ ส์และประสทิ ธภิ าพทางเทคนิคตน้ ทนุ โล
จสิ กติกสส์ ้มโอขาวแตงกวาชัยนาท. เอกสารวิจยั เศรษฐกจิ การเกษตร. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ.์
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2559). เศรษฐกจิ การผลติ และการตลาดลาไยจงั หวดั เชยี งใหม่และลาพูน.
เอกสารวิจัยเศรษฐกจิ การเกษตร. กรุงเทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตร. (2558). ตน้ ทนุ การผลิต และวเิ คราะห์ประสทิ ธิภาพทางเทคนิคการผลติ เมลด็
พนั ธุข์ ้าวจงั หวดั ชยั นาท. เอกสารวิจยั เศรษฐกจิ การเกษตร. กรงุ เทพฯ: กระทรวงเกษตรและสหกรณ.์
อคั รนยั ขวญั อยู่ และดเิ รก ปัทมสิริวฒั น์ (2556). ปจั จยั ทีม่ ีผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการผลิตของเกษตรกรผปู้ ลกู
ขา้ วในประเทศไทย [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.econ2014.nida.ac.th/main//images/uniform/jsnuniform_uploads/6/201408
201408st45_2440270644414_is.pdf (วันทส่ี ืบคน้ ข้อมูล: 16 ตุลาคม 2559).
อัครพงศ์ อ้นั ทอง. (2547). คู่มอื การใช้โปรแกรม DEAP 2.1 สาหรับการวิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพดว้ ยวธิ กี าร
Data Envelopment Analysis. เชยี งใหม่ : สถาบันวจิ ยั สงั คม มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่.
อรรถพล สบื พงศกร (2555). ระเบยี บวิธกี ารของ Data Envelopment Analysis (DEA) และการวัด
ประสิทธิภาพเชิงเทคนคิ . “วารสารเศรษฐศาสตร์มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่.16,1(มกราคม-มิถุนายน): 45.
Coelli,T,.Rao D.S Prasada & Battese, G.E (1998). An introduction to efficiency and productivity
analysis. Boston: Kluwer.
57
Farrell,M. J. (1957).The measurement of productive efficiency. Journal of the Royal Statistical
Society, 120(3), 253-290.
Neuman, W. L. (1991). Social research methods: Qualitative and quantitative approaches.
Boston: Allyn and Bacon.
58
สานักงานเศรษฐกจิ การเกษตรที่ 10 ราชบรุ ี
8 ถ.เสอื ป่า ต.หนา้ เมอื ง อ.เมอื ง จ.ราชบรุ ี 70000
โทร 0 3233 7954 แฟกซ์ 0 3233 7951
http://www2.oae.go.th/zone/zone10