ก
ข
คำนำ
กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดนโยบายในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่สถานศึกษาเพื่อน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่แนวทางการปฏิบัติทางด้านการศึกษา ที่เป็น
แบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอน และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
มีนโยบายและเป้าหมายในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ให้ผ่านการประเมิน
เปน็ สถานศกึ ษาพอเพียงตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงด้านการศึกษา เพื่อยกระดับเป็นศนู ย์การเรยี นรู้
เศรษฐกจิ พอเพยี งในสถานศกึ ษาต่อไป
จากนโยบายและเป้าหมายดังกล่าว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอลับแล จึงจัดทำเอกสารประกอบการประเมินสถานศึกษาพอเพียง เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564 เพอื่ พัฒนาสถานศกึ ษาแบบอย่างการจัดการ
เรียนรู้และหลักบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาข้ึน ซ่ึงประกอบด้วย
จัดกิจกรรมการเรียนรู้และการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือเป็นแนวทางสำหรับ
บุคลากรและนักศึกษา สำหรับนำไปใช้ในการพัฒนาจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการ
ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพและย่ังยืนสบื ไป
ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล
ค
สารบัญ
เร่อื ง หน้า
คำนำ ………………………………………………………………………………………………………………….. ก
สารบญั ………………………………………………………………………………………………………………. ข
แบบสถานศึกษาประเมินตนเอง [ศรร.01]………………………………………………………………….1
ข้อมูลประกอบการคัดกรองศูนย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ดา้ นการศึกษา [ศรร.02] ……………………………………………………………………………………2
1. เหตุผลทสี่ ถานศกึ ษาขอรับการประเมิน………………………………………………………………… 3
2. ขอ้ มูลทว่ั ไป………………………………………………………………………………………………….…..…5
2.1 จำนวนครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา………………………………………………………………5
2.2 จำนวนนักศึกษาจำแนกตามระดบั ช้ัน………………………………………………………………5
2.3 บรบิ ทของสถานศึกษา/ลักษณะชุมชน/ภมู สิ ังคม……………………………………………… 6
2.4 เอกลกั ษณ์ของสถานศึกษา/อัตลกั ษณ์ของนักศึกษา………………………………….………..8
2.5 แหลง่ เรียนรตู้ ามหลักปรชั ญญาของเศรษฐกจิ พอเพียง……………………………….………..8
3. แนวทางในการดำเนินการในด้านต่างๆช่งึ สมควรไดร้ ับการประเมินผา่ นเป็นศูนย์การ
เรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง………………………………………………..…………9
3.1 การบริหารจัดการ………………………………………………………………………………….……… 9
3.2 บคุ ลากร……………………………………………………………………………………………….……… 10
3.3 งบประมาณ…………………………………………………………………………………………….……. 10
3.4 แหลง่ เรียนรู้……………………………………………………………………………………………….……10
3.5 วธิ ีการพัฒนาสถานศึกษาพอเพยี งให้เป็นศนู ยก์ ารเรียนรตู้ ามหลักปรญั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงด้านการศึกษา……………………………………………………………………………….…….11
4. ขอ้ มลู ด้านบุคลากร………………………………………………………………………………………..……....11
4.1 ผู้บริหาร……………………………….………………………………………………………….……..……...11
4.2 คณะครูและบุคลาลากรทางการศึกษา………………………………………………………..…..….13
4.3 นักศึกษา……………………………………………….……………………………………………………..…15
4.4 คณะกรรมการสถานศึกษา…………………………………………………………………..……….....16
5. ขอ้ มูลอาคารสถานท่ี / แหล่งเรยี นรู้ / สิ่งแวดล้อม………………………………………………………16
6. ความสมั พนั ธ์กับชมุ ชนและหนว่ ยงานภายนอก………………………………………………..…………18
ภาคผนวก
วธิ กี ารพฒั นาสถานศึกษา
เร่ืองเล่าของครู เกี่ยวกับเรื่องการออกแบบการเรยี นร้ฯู
เรอื่ งเล่าของนักศึกษาแกนนำ
ภาพถา่ ยทเี่ ก่ยี วข้อง
ง
[ศรร.011]
แบบสถานศกึ ษาประเมนิ ตนเอง
เพอื่ เปน็ ศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษา
ชือ่ สถานศึกษา ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอลบั แล
สงั กัด สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวดั อุตรดติ ถ์
ตัวช้ีวดั คะแนนประเมิน
คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้
1. บคุ ลากร คะแนนรวม (คะแนนเฉล่ียรายดา้ น)
35(5) 35(5)
1.1 ผู้บริหาร 10 10
10 9
1.2 ครู 10 9
55
1.3 นักศึกษา 10 (5) 10 (5)
55
1.4 คณะกรรมการสถานศกึ ษา 55
10 (5) 10 (5)
2. การจัดการสภาพแวดล้อมทางกายภาพ คะแนนรวม (เฉล่ียรายดา้ น) 55
55
2.1 อาคาร สถานที่และสิ่งแวดลอ้ ม
2.2 ฐานการเรียนรู้ปศพพ. และ/หรอื กิจกรรมการเรยี นรู้ ปศพพ.
3. ความสัมพนั ธก์ ับหน่วยงานภายนอก คะแนนรวม (เฉลีย่ รายด้าน)
3.1 ความสัมพนั ธ์กบั สถานศึกษาอ่นื ในการขยายผลการขับเคลอ่ื น ปศพพ.
3.2 ความสมั พนั ธก์ บั หน่วยงานที่สังกดั และ/หรือหน่วยงานภายนอก
(ภาครัฐ ภาคเอกชน และชมุ ชน )
(ลงช่อื ) ............................................................ผู้ประเมนิ
(นายอำนาจ อินมน่ั คง)
ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอลบั แล
วนั ที่ 20 เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2564
[ศรร.022]
ข้อมูลประกอบการคดั กรองศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งดา้ นการศกึ ษา
คำช้ีแจง ให้สถานศึกษาพอเพยี ง ทีม่ ีความประสงค์ขอรับการประเมนิ เปน็ ศนู ย์การเรยี นรูต้ ามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา จดั ทำรายงานข้อมูลตามหัวข้อดา้ นล่าง ประกอบการคัดกรอง ความยาวไม่เกิน
20 หนา้ กระดาษ A4 (ไมร่ วมภาคผนวก) โดยขอใหม้ ีขอ้ มลู ทีเ่ กย่ี วข้องใหค้ รบทกุ ขอ้ กรณีปีการศกึ ษาให้ปรับตาม
ปที สี่ ่งประเมนิ และปรับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ ระดับข้ัน ตามบริบทของระดับการศึกษา เช่น อาชีวศึกษา / กศน.
ช่ือสถานศึกษา ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอลับแล
สังกดั สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดอตุ รดติ ถ์
สถานทีต่ ง้ั 133/4 หมู่ท1ี่ 3 ตำบลฝายหลวง อำเภอลบั แล จงั หวดั อตุ รดติ ถ์ รหสั ไปรษณยี ์ 53130
โทรศพั ท์ 055-431057 โทรสาร 055- 431057
Website [email protected] website www.http://202.143.168.149/laplae/
ชอ่ื -สกุล ผู้อำนวยการสถานศึกษา นายอำนาจ อนิ ม่ันคง เบอรโ์ ทร 081-9715988
ช่ือ-สกลุ รองผู้อำนวยการสถานศึกษา - เบอรโ์ ทร -
ชอ่ื – สกลุ ครูแกนนำ
1. นายประยงค์ อุทธสิ นิ ธุ์ เบอรโ์ ทร 094-3567666
2. นายหฤษฎ์ ประมาณ เบอร์โทร 095-6292925
3. นางสาวนงนชุ ยะราช เบอรโ์ ทร 089-270-5740
4. นางสุพร มานอ้ ย เบอร์โทร 089-565-9344
5. นางนชุ ภาวรรณ พุ่มจนี เบอรโ์ ทร 090-685-2644
6. นางอาริยา นวลแบล เบอรโ์ ทร 085-8481148
7. นางจารวุ รรณ ม่ิงนนั เบอร์โทร 081-605-7319
8. นางสาวพัชรนิ ทร์ คณุ คำ เบอรโ์ ทร 089-555-9250
9. นายชาตรี โพธศิ์ รี เบอรโ์ ทร 061-4815110
10. นายนพดล แก้วทองมา เบอร์โทร 089-9215763
11. นางสาวศิรลิ กั ษณ์ เพชรมน่ั เบอร์โทร 062-7628356
12. นางอชริ ญญา อินขำ เบอรโ์ ทร 082-6039258
13. นางพิมพา กลิน่ เกตุ เบอรโ์ ทร 061-368-0368
14. นางสาววารุณี บุญเพ็ง เบอรโ์ ทร 081-039-0984
15. นางสาวกรรณภรรท เมอื งชา เบอร์โทร 094-764-3917
3
1. เหตุผลทส่ี ถานศึกษาขอรบั การประเมินเป็นศนู ย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ด้านการศกึ ษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ประกอบด้วย กศน.ตำบล
จำนวน 8 แห่ง ศูนย์การเรียนชุมชน 4 แห่ง ได้แก่ กศน.ตำบลไผ่ล้อม กศน.ตำบลฝายหลวง กศน.ตำบล
นานกกก กศน.ตำบลแม่พูล กศน.ตำบลชัยจุมพล กศน.ตำบลทุ่งยั้ง กศน.ตำบลศรีพนมาศ กศน.ตำบล
ด่านแม่คำมัน และศูนย์การเรียนชุมชนเทศบาลศรีพนมมาศ ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลชัยจุมพล ได้น้อม
นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและ ได้รับ
การประกาศให้เป็น “สถานศึกษาพอเพียง ” เมื่อปี พ.ศ.2557 โดยใช้หลักการบริหาร จัดการศึกษา
แบบมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล ภายใต้แนวทางของ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และมีการ
เตรยี มตัวให้พรอ้ มรบั ต่อการเปลี่ยนแปลงในด้านต่าง ๆ สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาให้เปน็ วิถีปฏบิ ัติของครู
และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ซ่งึ การบริหารจัดการศกึ ษาได้ดำเนินการ ดงั น้ี
1. ด้านการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ โดยจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การส่งเสริมการรู้หนังสือ การศึกษาต่อเนื่อง การศึกษาตามอัธยาศัย และการพัฒนา กศน.ตำบล สู่ กศน.
ตำบล 5 ดี พรีเมี่ยม
2. ด้านหลักสูตร สื่อ รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ การวัดประเมินผล ส่งเสริมการพัฒนา
หลักสูตรรูปแบบการจัดการเรียนรู้ และกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัย ท่ีหลากหลายและทนั สมัย รวมทั้งพัฒนาหลักสตู รท้องถ่ินให้สอดคล้องกับสภาพบริบท และความ
ตอ้ งการ ของกลุ่มเป้าหมายชุมชน
3. ดา้ นเทคโนโลยีเพ่ือการศกึ ษา เผยแพร่จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย ผ่าน
ระบบเทคโนโลยีดิจิทัล และทางช่องทางการส่ือสารออนไลน์ต่าง ๆ เช่น Application Microsoft
Teame, Meetings, Facebook, Line Group, Messenger, Google classroom และครู กศน.ตำบล
ไดน้ ำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการจดั การเรียนการสอนดว้ ยตนเอง
4. โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ หรือโครงการอันเก่ียวเนื่องจากราชวงศ์ จัดและส่งเสริม
การเรยี นรตู้ ลอดชีวิต ใหส้ อดคลอ้ งกบั วิถชี ีวิตของประชาชน
5. ด้านบุคลากร ระบบบริหารจัดการ และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน มีการพัฒนาศักยภาพ
ของบุคลากรให้มีสมรรถนะและเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร รวมทั้งภาคีเครือข่ายท้ังภายใน
และภายนอก
ในการบริหารสถานศึกษา ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอลับแล ได้
นำหลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม โดยมี ครูและบุคลากรทางการศึกษา ผู้เรียน/ผู้รับบริการ
คณะกรรมการสถานศึกษา คณะกรรมการ กศน.ตำบล องค์กรภาครัฐ ภาคเอกชน และชุมชนเข้ามามสี ่วน
ร่วมในการจัดการศกึ ษา และมีการบริหารงานภายในสถานศกึ ษา โดยการยึดหลักธรรมาภิบาล ผู้บริหารมี
คุณลักษณะ ของผู้บริหารที่ดี เป็นแบบอย่างในการบริหารจัดการศึกษา LABLAE โมเดล L = Love คือ
รักสามัคคี A=Attitude คือ ทัศนคติในการทำงาน B = Brain คือใช้สติปัญยาในการทำงาน l =
learning คือ การเรียนรู้พัฒนาพัฒนาตนเองอยู่เสมอ A =แอบเปิ้ล ง่าย. สะดวก E = Entertaiain คือ
ทำงานด้วยความสุข โดยนำหลักการบริหาร และ ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สู่
สถานศึกษาอย่างต่อเน่ือง เห็นคุณค่า และส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดความร่วมมือ ในการขยายผลการ
ขับเคลอ่ื นศนู ยเ์ รียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่ภายใน
4
กศน.ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชนท้ัง 10 แห่ง และภายนอกสถานศึกษาสู่ภาคีเครือข่าย เช่น ภูมิปัญญา
ผู้รู้ แหล่งเรียนรู้ ชุมชน และหน่วยงานอ่ืน ๆ มีการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้น
การดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแกนนำหลักในการ
สง่ เสริมการเรยี นรู้ของผ้เู รียน/ผ้รู ับบรกิ าร ให้มีการพัฒนาความรู้ ควบคคู่ ณุ ธรรม ภายใตห้ ลัก 3 ห่วง 2 เงื่อนไข
4 มิติ และมีทักษะที่จำเป็นในโลก ศตวรรษ ท่ี 21 สสู่ ถานศึกษา เพื่อพัฒนาให้ผเู้ รียน/ผู้รบั บริการ มีอัตลักษณ์
“รักษ์วัฒนธรรม” ได้อย่างถาวร ด้วยความเชื่อมั่นในหลักการที่ว่าปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงน้ัน เป็นสิ่งที่
สามารถสร้างข้ึนได้ในสังคมทุกระดับเป็นสังคมแห่งความพอเพียงเกิดข้ึนแก่ผู้เรียน/ผู้รับบริการอย่างย่ังยืน
ตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ี 2 โดยคณะครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนมีส่วนร่วมกัน
พัฒนาหลักสูตรในการจัดกิจกรรมการศึกษาทั้ง หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
พุทธศักราช 2551 หลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเน่ือง พ.ศ.2554 และแนวทางการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
(ฉบับปรังปรงุ พ.ศ.2561) ให้สอดคล้องกับบริบทของชุมชนและความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย ไดบ้ ูรณาการ
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในเนื้อหารายวิชาท่ีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการจัดศึกษา
ตามอัธยาศัยอยา่ งหลากหลายรปู แบบ
นอกจากน้ี มีการจัดโครงการ/กิจกรรมท่ีส่งเสริมการดำเนินชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงให้แก่บุคลากร ผู้เรียน/ผู้รับบริการ และประชาชนในพ้ืนท่ี ได้สอดแทรกเนื้อหาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่ไปกับการประเมินคุณธรรมใน การดำเนินชีวิตให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ พร้อมท้ัง
ขยายผลสู่ชมุ ชนอย่างต่อเน่ือง โดยมีครูเปน็ ผใู้ ห้ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องเศรษฐกิจพอเพยี ง เชน่ เรอื่ ง แหล่ง
เรียนรู้ตามหลักปรัญญาของเศษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เร่ืองการบริหารจัดการน้ำ ธนาคารน้ำใต้ดิน
เกษตรธรรมชาติตามหลักปรัญญาของเศษฐกจิ พอเพียง การอนุรักษท์ รพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ให้กับ
ผู้เรียน/ผู้รับบริการ รวมทั้งการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอก
สถานศึกษา ร่วมกันอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู รักษา วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่นอันดีงาม ให้อยู่ควบคู่กับ
สถานศึกษาและชุมชนอย่างยั่งยืน พร้อมท้ังมีการพัฒนาตนเอง ผู้อ่ืน พัฒนาผู้เรียน/ผู้รับบริการ และผู้เรียนท่ี
เป็นแกนนำอย่างต่อเน่ือง พัฒนาพรอ้ มทัง้ คณะกรรมการสถานศึกษาของสถานศึกษา คณะกรรมการของ กศน.
ตำบล และศูนย์การเรียนชุมชนท้ัง10 แห่ง ท่ีมีบทบาทให้การสนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษาในการขับเคล่ือน
น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงานในสถานศึกษา มีการประชุมปรึกษาหารือ
เพ่ือหาแนวทางการส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมการเรียนรู้ของครู ของผู้เรียน/ผู้รับบริการ จัดการเรียนรู้โดย
สอดแทรกหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในกระบวนการเรียนรู้ทุกกิจกรรม เช่น กิจกรรมพบกลุ่มนักศึกษา
โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โครงการจิตอาสาเราทำดีเพ่ือชาติศาสตร์ กษัติย์ กิจกรรมพัฒนา กศน.ตำบล
กิจกรรมการปลูกและการดูแลรักษาต้นไม้ กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม
เพ่ือการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติ จนได้รับการยอมรบั จากหน่วยงานภายนอก
สถานศึกษาได้ตระหนักและน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และ
ใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ิตใหเ้ กิดวถิ ชี วี ติ แบบพอเพียงอย่างย่ังยนื ต่อไป
ด้านอาคารสถานทีแ่ ละสิ่งแวดล้อม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลบั แล
ห้องสมุดประชาชนอำเภอลับแล กศน.ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชนท้ัง 10 แห่ง ได้ให้ความสำคัญกับการ
รกั ษาความสะอาด จดั ใหม้ ีโครงการ 5 ส เพื่อการพัฒนาอาคารสถานที่พัฒนา กศน.ตำบล ให้มบี รรยากาศและ
สภาพแวดล้อมท่ีเอื้อต่อการเรียนรู้ : Good Place –Best Check in เพ่ือให้มีความพร้อมในการให้บริการและ
การเรียนรทู้ กุ รูปแบบ เปน็ แหลง่ ข้อมลู สาธารณะ ง่ายตอ่ การเขา้ ถงึ และสะดวกต่อการเรียนรูต้ ลอดชวี ิต
5
ความสมั พันธก์ ับชมุ ชน และหนว่ ยงานภายนอก โดยชุมชนให้ความสำคญั กบั ศนู ย์การศึกษานอกระบบ
และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ให้การสนับสนุนสถานศึกษาในการมีส่วนร่วม ให้ความร่วมมือให้
ความอนุเคราะห์ใช้สถานที่เป็น กศน.ตำบล เช่น ผู้นำชุมชน เทศบาลตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล ในการ
จัดกิจกรรมการศึกษา และการประสานงานกับโรงเรียนต่างๆ ในเขตพื้นท่ีของอำเภอลับแล โรงพยาบาล
ส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลต่าง ๆ พร้อมท้ังสนับสนุนวิทยากรให้ความรู้ เป็นต้น เพื่อดำเนินการจัดกิจกรรม
ท่ีหลากหลายรูปแบบ ปลูกฝังให้ผู้เรียน/ผู้รับบริการ มีความรู้ มีคุณธรรม มีจิตอาสามีส่วนร่วมในทุกกิจกรรม
เพื่อพัฒนาตนเอง สงั คมและสาธารณประโยชน์
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีแผนงานที่ครอบคลุม
ทุกกลุ่มงาน มีการพัฒนาบุคลากรให้เข้ารับการอบรม ประชุม สัมมนา มีส่วนร่วมในการพัฒนาแลกเปล่ียน
เรียนรู้และสามารถประยุกต์ใช้ในการทำงานร่วมกับภาคีเครือข่าย ร่วมมือส่งเสริมการใช้ชีวิตอย่างพอเพียง
ขยายผลสู่ชุมชน มีการร่วมมือกับภาคีเครือข่าย เช่น ภูมิปัญญา ผู้รู้ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง
หน่วยงานรัฐและเอกชนในพ้ืนที่ เพ่ือน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจ และนำประสบการณ์ตรงมาถ่ายทอดความรู้ แก่ผู้เรียน/ผรู้ ับบริการ มีการนิเทศ ติดตามผลการจัด
กิจกรรมการศึกษาทุกกิจกรรม มีการรายงานผลผู้เก่ียวข้องอย่างต่อเนื่อง สามารถนำไปใช้ พัฒนา และเป็น
แบบอยา่ งของบุคลากรพอเพยี งในสถานศึกษาส่ชู มุ ชนได้
จากการดำเนินงานที่ผ่านมา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล
จึงมีความพร้อมรับการประเมินเป็นศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เพ่ือ
พัฒนาบุคลากรแห่งการเรียนรู้สู่สังคมแห่งความพอดี พอเพียง ก่อเกิดวิถีชีวิตพอเพียง หรือ sufficiency life
model อย่างยงั่ ยนื ตอ่ ไป
2. ขอ้ มูลทัว่ ไป ประกอบด้วย
2.1 จำนวนครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ปกี ารศกึ ษา 2564
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ จำนวนจำแนกตามระดบั การศกึ ษา/กลมุ่ สาระการเรียนรู้
ต่ำกว่าปรญิ ญาตรี ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท สงู กวา่ ปริญญาโท รวม
ภาษาไทย - 1- --
ภาษาอังกฤษ - -- --
คณติ ศาสตร์ - -- --
วิทยาศาสตร์ - 1- --
การประกอบอาชพี 3 2- --
สุขศึกษาและพละศึกษา - - - - -
ศลิ ปศึกษา - -- --
การพัฒนาสังคม - 2- --
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี - -- --
บรหิ ารและจัดการเรียนรู้ - 9- --
การศกึ ษานอกระบบและ - -- --
การศึกษาตามอัธยาศยั
บรหิ ารการศกึ ษา - -2 --
รวมท้ังสิน้ 3 15 2 - 20
6
2.2 จำนวนนักศึกษาจำแนกตามระดับชั้น ปีการศึกษา 2564
ภาคเรยี นที่ จำนวนนักศึกษา
นักศึกษาที่มี
2/2563 1/2564 ทั้งหมด คุณลกั ษณะ นกั ศกึ ษาแกน
อยู่อยา่ งพอเพยี ง นำขับเคลอื่ น
ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย (คน) (จำนวนคน/รอ้ ยละ)
27
161 269 417 138 269 455 862 80
847 862
2.3 บริบทของสถานศกึ ษา / ลกั ษณะชุมชน / ภมู ิสังคม
ประวตั ิความเปน็ มาของสถานศึกษา
กระทรวงศึกษาธกิ าร โดยกรมการศึกษานอกโรงเรยี น ไดป้ ระกาศจัดต้ังศนู ยบ์ ริการการศึกษา
นอกโรงเรียนอำเภอลับแล พร้อมกันท่ัวประเทศจำนวน 789 แห่ง โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 25
แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2535 ประกอบกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่าด้วยการจัดการศึกษาในสถานศึกษาสังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2536 เป็นสถานศึกษา
ในราชการบรหิ ารสว่ นกลาง สงั กัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2536 ข้อ 6 ในส่วนของอำเภอลับแล มีชื่อ
ว่า“ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอลับแล”เม่ือปี พ.ศ.2537 เป็นสถานศึกษาในราชการ สังกัดศูนย์
การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดอุตรดิตถ์ โดย กรมการศึกษานอกโรงเรียนกระทรวงศึกษาธิการ สถานที่
ปฏิบัติงานเดิมใช้อาคารของห้องสมุดประชาชนอำเภอลับแล ต้ังอยู่ภายในท่ีว่าการอำเภอลับแล ต่อมา
ปีงบประมาณ 2538 ได้ดำเนินการ ก่อสร้างอาคารห้องสมุดประชาชนอำเภอ และใช้เป็นสำนักงาน
ของศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอลับแล ต่อมาเม่ือปี 2539 ได้รับงบประมาณปรับปรงุ หลังจากที่
ได้รับความเสียหายจากอุทกภัยน้ำท่วมเม่ือวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ.2549 จึงได้ก่อสร้างอาคารหลังใหม่เพิ่ม
ซึ่งอยู่ติดกับห้องสมุดประชาชนอำเภอลับแล และใน วันท่ี 29 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552 สำนักงาน กศน. ได้
ประกาศใช้พระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2552 ข้ึน และ
ประกาศเปล่ียนแปลงช่ือสถานศึกษาเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล
เรียกชื่อย่อว่า “กศน.อำเภอลับแล” สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดอุตรดิตถ์ สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จนถึงปัจจุบนั
ปัจจุบันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
โดยการสนับสนุนและความร่วมมือจากชุมชน ผู้เรียน ผู้รับบริการในพ้ืนที่อำเภอลับแล ปัจจุบันมีครูและ
บุคลากร จำนวน 20 คน โดยมี นายอำนาจ อนิ ม่นั คง เปน็ ผบู้ ริหารคนปัจจุบนั
ทำเนียบผบู้ รหิ าร
7
ทำเนียบผูบ้ ริหารการศึกษาดังน้ี
ลำดับท่ี ช่อื -สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลา
หน.ศบอ. ทด่ี ำรงตำแหนง่
1 นายบรรจง เลียงกลกิจ ผอ.ศบอ. พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2543
ผอ.กศน.อ.ลับแล
2 นายบรรจง เลียงกลกิจ ผอ.กศน.อ.ลับแล พ.ศ.2543 - พ.ศ. 2548
ผอ.กศน.อ.ลับแล
3 นายสมพงศ์ ศรีวิศาล พ.ศ. 2548 - พ.ศ. 2553
4 นายสรนิ ทร์ อย่บู าง พ.ศ. 2553 - พ.ศ. 2555
5 นายอำนาจ อนิ ม่นั คง พ.ศ. 2555 - ปจั จุบนั
ทำเนียบบุคลากรกศน.อำเภอลบั แล
ประเภท รายละเอียด
1. ผบู้ ริหาร ช่ือ นายอำนาจ อนิ ม่นั คง ตำแหนง่ ผอู้ ำนวยการ วุฒิการศกึ ษา กศม. สาขาบรหิ ารการศกึ ษา
กศน. อำเภอลบั แล สาขา การบรหิ าร
การศกึ ษา
2. ขา้ ราชการครู ชอ่ื นายประยงค์ อทุ ธสิ ินธ์ุ ตำแหน่ง ครู คศ.1 วุฒกิ ารศึกษา ค.ม. สาขา การจดั การ
อุตสาหกรรม
ชื่อนายหฤษฎ์ ประมาณ ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย วุฒกิ าศกึ ษา วท.บ. สาขาสาขบรรณารักษ
และสารนเิ ทศศาสตร์
3.บุคคลากร ชือ่ นางสาวนงคน์ ชุ ยะราช ตำแหนง่ เจ้าพวฒุ นกัิ งาน วุฒกิ าศึกษา ศ.ศบ. สาขา ก่อสรา้ ง
ทางการศกึ ษา หอ้ งสมุด
วฒุ ิการศกึ ษา ปวช. สาขาวทิ ยาศาสตร์
4. ลูกจา้ งประจำ ชื่อ นายสมจิตร์ พลฤทธิ์ ตำแหนง่ พนกั งานขับ สาขาการจดั การทว่ั ไป
รถยนต์ วฒุ กิ ารศกึ ษา ศ.ศบ. สาขาภาษาไทย
5. พนักงาน ชอ่ื นางอชริ ญญา อนิ ขำ วุฒกิ ารศกึ ษา บ.ธบ. สาขาเกษตรศาสตร์
ราชการ ช่อื นายชาตรี โพธิ์ศรี ครู กศน.ตำบล วุฒกิ ารศึกษา ศ.ศบ. สาขาบรหิ ารธรุ กจิ
ชอื่ นางจารวุ รรณ มงิ่ นัน ครู กศน.ตำบล วุฒิการศึกษา ศ.ศบ. ประกนั ภยั
ชอื่ นางอาริยา นวลแบน ครู กศน.ตำบล วฒุ กิ ารศึกษา ค.บ. สาขาการภาษาญ่ปี ุน่
ชื่อ นางพิมพา กล่นิ เกตุ ครู กศน.ตำบล วุฒิการศกึ ษา ค.บ. สาขาการพัฒนาชมุ ชน
ชอ่ื นายนพดล แก้วทองมา ครู กศน.ตำบล วุฒิการศึกษา ศ.ศบ. สาขานเิ ทศศาสตร์
ชื่อ นางสาวศริ ลิ กั ษณ์ เพ็ชรม่นั ครู กศน.ตำบล วุฒกิ ารศกึ ษา ค.บ. สาขาวิชาประถมศึกษา
ชอ่ื นางสาวพัชรนิ ทร์ คณุ คำ ครู กศน.ตำบล วฒุ ิการศึกษา ค.บ.
ชอ่ื นางสุพร มานอ้ ย ครู กศน.ตำบล วฒุ ิการศกึ ษา ค.บ.
ชื่อ นางนชุ ภาวรรณ พ่มุ จีน ครู อาสาสมัคฯ
ครู อาสาสมัคฯ
5. ลกู จ้างชวั่ คราว ช่ือ นางสาววารณุ ี บุญเพ็ง ตำแหนง่ ครู ศรช. วุฒกิ ารศึกษา บ.บศ. สาขาการบญั ชี
ชอ่ื นางสาวกรรณภรรท เมอื งชา ตำแหน่ง ครู ศรช. วฒุ กิ ารศึกษา ค.บ. สาขา สงั คมศึกษา
ชื่อ นางสาวสุพชิ ญช์ ญา ตน้ เงนิ ตำแหนง่ เจา้ หน้าทบ่ี ันทึก วฒุ กิ ารศกึ ษา ร.บ. สาขา บรหิ ารรัฐกจิ
2.4 เอกลักษณ์ของสถานศึกษา/อตั ลกั ษณ์ของนกั ศึกษา
8
เอกลักษณ์ของสถานศกึ ษา “สืบสานวัฒนธรรมตามวถิ ชี ุมชน”
อัตลักษณ์ของนักศึกษา “รักษว์ ัฒนธรรม”
2.5 แหล่งเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ที่ แหลง่ เรียนรู้ ประโยชน์
1. ศนู ย์เรียนรู้การทอผา้ พื้นเมอื งลบั นกั ศกึ ษาและประชาชนได้รบั ความรใู้ นเรอ่ื ง การทอผ้าพืน้ เมอื งลบั แล
แล เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ และการทำบัญชีครวั เรือน
2. ศนู ยเ์ รียนรู้ การยอ้ มผา้ ดว้ ยสี นักศกึ ษาและประชาชนไดร้ ับความรใู้ นเรือ่ ง การย้อมสผี า้ ด้วยสี
ธรรมชาติ บา้ นตน้ ขาม ธรรมชาติ
3. ศนู ย์เรยี นรู้เศรษฐกิจพอเพยี ง นักศกึ ษาและประชาชนได้รับความรู้ในเรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงและการ
(ทำกินทำใช)้ ปลกู พชื ไรน่ าสวนผสม
4. ศูนยเ์ รียนรู้การทำไม้กวดตองกง นักศึกษาและประชาชนได้รบั ความรใู้ นเรอ่ื ง การทำไม้กวดตองกง เมือง
ตำบลแมพ่ ลู ลับแล
5. ศนู ย์เรยี นรู้การปลูกพืชผสมผสาน นักศกึ ษาและประชาชนไดร้ บั ความรใู้ นเรื่องการเกษตรผสมผสาน
6 ศูนยเ์ รียนรู้การปลกุ กลว้ ย นกั ศึกษาและประชาชนได้รับความรู้ในเรื่องการเกษตร การปลกู กลว้ ย
7 ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาติ นักศกึ ษาและประชาชนได้รับความรู้ในเรื่อง เกษตรธรรมชาติ
8 ศูนย์เรียนรู้เกษตรพอเพียง นกั ศกึ ษาและประชาชนไดร้ ับความรู้ในเรือ่ งเกษตรผสมผสาน เกษตร
ทฤษฎใี หม่
ฐานกจิ กรรมการเรยี นรู้ ณ กศน.อำเภอลับแล และกศน.ตำบล
ท่ี ฐาน/กิจกรรมการเรยี นรู้ ประโยชน์
1 การสานเขง่ ผลไม้ กศน.ตำบลนานกกก ไดร้ บั ความรูใ้ นเรอื่ งการจกั สานเข่งผลไมจ้ ากไม้ไผ่
2 การทอผ้า ซ่ินตีนจกเมืองลับแล กศน. ไดร้ บั ความรใู้ นเรื่องการทำการทอผา้ ซนิ่ ตีนจกพืน้ เมืองลบั แล
ตำบลด่านแมค่ ำมนั
3 กนิ ทุกอย่างที่ปลูกปลูกทุกอย่างที่กิน สู่ ได้รับความรู้ในเรอ่ื งการปลกู ผักปลอดสารพษิ
วถิ ีพอเพยี ง กศน.ตำบลแม่พลู
4 การทำข้าวแคบเมอื งลับแล กศน.ตำบล ได้รับความรู้ในเร่ืองการถนอมอาหาร และการแปรรูปอาหาร
ศรีพนมมาศ พ้นื เมือง
5 สืบสานตำนาน ดงหอมแดง กศน. ได้รับความรู้ในเร่ืองการปลกู และการขายายพันธ์ุหอมแดง เมืองลับ
ตำบลชัยจมุ พล แล
6 การเกษตรแบบผสมผสาน กศน.ตำบล ได้รบั ความร้ใู นเรื่องการเกษตรผสมผสานและการทำบญั ชคี รวั เรือน
ทงุ่ ย้งั
7 ปุ๋ยอินทรีย์วิถีพอเพียง กศน.ตำบลไผ่ ไดร้ บั ความรใู้ นเรื่องการเกษตรอนิ ทรีย์ การทำป๋ยุ อินทรีย์
ลอ้ ม
-ตอ่ -
9
ฐานกจิ กรรมการเรียนรู้ ณ กศน.อำเภอลับแล และกศน.ตำบล
ที่ ฐาน/กิจกรรมการเรยี นรู้ ประโยชน์
8 เกษตรธรรมชาติ กศน.ตำบลฝายหลวง ไดร้ ับความรใู้ นเรอ่ื งการทำเกษตรธรรมชาติ
9 นักอ่านอาสา ส่งเสรมิ วิถพี อเพียง ได้รบั ความรใู้ นเรอ่ื งการผลิตกระเปา๋ ผ้าเงนิ ลา้ น
3. แนวทางในการดำเนินการในดา้ นต่างๆ ซึง่ สมควรไดร้ ับการประเมนิ ผา่ นเปน็ ศูนยก์ ารเรียนรู้ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงดา้ นการศกึ ษา
3.1 การบริหารจัดการ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ได้น้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาจดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และไดร้ ับคัดเลือกให้เปน็ สถานศึกษา
แบบอย่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และการบริหารจัดการ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
“สถานศึกษาพอเพียง ประจำปี 2557” โดยใช้หลักการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม ยึดหลัก
ธรรมาภิบาลภายใต้แนวทางของความพอดี ความมเี หตุผล และมีการเตรียมตัวใหพ้ ร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลง
ในด้านต่าง ๆ สู่การปฏิบัติในสถานศึกษาให้เป็นวิถีปฏิบัติของครู และบุคลากรทางการศึกษา เช่น การจัดการ
ศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 มีการจัดกระบวนการ
เรียนรู้ตามปรัชญาของสถานศึกษา คือ “จัดการเรียนรู้ที่หลากหลายมากมายวัฒนธรรม นำสู่วิถีเศรษฐกิจ
พอเพียง”และ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา คือ “รักษ์วัฒนธรรม” มีการบูรณาการจัดกระบวนการเรียนรู้
การสอนเพ่ือให้นักศึกษามีความรู้คู่คุณธรรม สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ และยังได้มีการจัด
อบรมให้ความรู้แกป่ ระชาชนท่วั ไปในเร่ืองตา่ งๆ เช่น การจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง เกษตรธรรมชาติ การเกษตรแบบย่ังยืน การจัดทำบัญชีครัวเรือน การศึกษาดูงานแหล่งเรียนรู้
เศรษฐกิจพอเพียงในชมุ ชนและชมุ ชนใกลเ้ คยี ง
นอกจากนี้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ได้ดำเนินการจัดทำ
แผนปฏิบัติการประจำปี แผนปฏิบัติการ กศน.ตำบล แผนการเรียนรู้รายสัปดาห์ แผนจัดการศึกษาต่อเน่ือง
แผนการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย แผนการนิเทศติดตามผล มาบูรณาการในการดำเนินการจัดกิจกรรม
โครงการทุกกิจกรรม อันเป็นการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้ผู้เรียน/ผู้รบั บริการ นำผล
ท่ีได้จากการเรียนร้ไู ปใช้เปน็ ทกั ษะในการดำเนินชีวติ โดยมีการประชุมชแ้ี จงบคุ ลากร สร้างความรู้ ความเข้าใจ
ในข้ันตอน วิธีการ แนวปฏิบัติ การนำนโยบายเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้
โดยมีการนำข้อสรุป ข้อเสนอแนะ ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น มาพัฒนาและปรับปรุงในการจัดกระบวนการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในครั้งต่อไป พร้อมท้ังมีการนิเทศ ติดตามผลการ
ดำเนินงานอยา่ งต่อเนอื่ ง สมำ่ เสมอ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพและมีประสิทธิผล
3.2 บุคลากร
10
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีครูและบุคลากรทางการศึกษา
จำนวน 20 คน โดยบุคลากรเป็นแบบอย่างท่ีดีในการดำเนินชีวิตให้กับผู้อื่นได้ การมีวินัยในตนเอง ไม่ทำให้
ตนเองและผู้อื่นเดือดรอ้ น รวมท้ังมีอุปนิสัยเอ้ือเฟ้ือเผอ่ื แผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือผู้อ่ืน มีใจกุศล บรจิ าคทานทำบุญ
เป็นนิจ มีส่วนร่วมในการทำตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคมอย่างสม่ำเสมอ เช่น การเป็นจิตอาสา การบริจาค
โลหิต อีกทั้งยังมีความตระหนักถึงความรู้ความเข้าใจเห็นความสำคัญและรู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมอย่างคุ้มค่า เช่น การใช้ถุงผ้าและตะกล้า แทนการใช้พลาสติก มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น การปลูกต้นไม้ การบริหารจัดการขยะมูลฝอย
การใช้กระดาษ 2 หน้า มีมาตรการประหยัดพลังงาน เปิด-ปิด เคร่ืองใช้ไฟฟ้าภายในสถานศึกษาให้เป็นเวลา
เป็นแบบอย่างท่ดี ใี ห้กับสถานศกึ ษาและชุมชน
3.3 งบประมาณ
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีการวางแผนงานการบริหาร
จัดการงบประมาณของสถานศึกษามุ่งเน้นถึงประโยชน์สูงสุด คุ้มค่า และยั่งยืน การเบิก-จ่ายงบประมาณ
ตามความจำเป็น และเหมาะสมมีความโปร่งใส ตามระเบียบการเบิกจ่าย ตรวจสอบได้ทุกกิจกรรม ซ่ึง
สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในเง่ือนไขคุณธรรม ความซ่ือสัตย์ มีการดำเนินการตามแผน
งบประมาณ /ติดตาม/ประเมินผลการดำเนินโครงการ และตรวจสอบการใช้งบประมาณจากโปรแกรม
E-Budget บันทึกการใช้จ่ายงบประมาณ การทำสมุดงบประมาณประจำปี และปรับปรุงพัฒนาการบริหาร
จัดการงบประมาณให้เหมาะสม มีการวางแผนการดำเนินงานบริหารจัดการงบประมาณ ในการดำเนินงาน
โครงการ/กิจกรรม โดยคำนึงผลที่จะเกิดข้ึนกับผู้เรียน/ผู้รับบริการ สถานศึกษาและชุมชน ให้เกิดประโยชน์
สงู สดุ เนน้ ความคุ้มค่า และผ้เู รยี น/ผู้รับบรกิ าร สามารถนำไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตประจำวันเพ่ือใหเ้ กิดทักษะชวี ิต
ท่ีดีมีความพอเพียง มีการประชุมบุคลากรเพ่ือชี้แจงการจัดสรรงบประมาณอย่างยุติธรรม การเบิก-จ่าย
งบประมาณ ทำความเข้าใจในการจัดสรรงบประมาณ จัดซื้อ -จัดจ้างวัสดุอุปกรณ์ ส่ือ อย่างคุ้มค่า
และเหมาะสมด้วยความซ่ือสัตย์สุจริต คำนึงถึงผลประโยชน์สูงสุดท่ีจะเกิดข้ึนกับผู้เรียน/ผู้รับบริการชุมชน
และสถานศกึ ษา
3.4 แหล่งเรยี นรู้
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีแหล่งเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 8 แห่ง ฐานการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 9 ฐานการเรียนรู้ ซึ่งสามารถนำ
นักศึกษาและประชาชน เข้าไปใช้แหล่งเรียนรู้ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในเร่ืองต่างๆ เช่น หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง การเกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฎีใหม่ การทอผ้าซิ่นตีนจก เกษตรธรรมชาติ การจัดทำ
บัญชีครัวเรือน การปลูกหอมแดงเมืองลับแล การปลูกผักปลอดสารพิษ การการเข่งผลไม้ การทำปุ๋ยชีวภาพ
เป็นต้น ผู้เรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริงในสถานท่ีจริง ทำให้เกิดความสนใจ ใฝ่รู้ เกิดทกั ษะ และยังสามารถ
นำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน อีกทั้งเป็นแกนนำถ่ายทอดความรู้ให้กับคนในครอบครัวหรือ
ชมุ ชนได้
3.5 วิธกี ารพัฒนาสถานศึกษาพอเพยี งใหเ้ ปน็ ศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ดา้ นการศึกษา (จดั ทำเปน็ เอกสารแนบในภาคผนวก)
11
4. ขอ้ มลู ด้านบคุ ลากร
4.1 ผบู้ รหิ าร
4.1.1 ผู้บริหารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไปใช้ในชีวิตประจำวันอย่างไรบ้าง เกิดผล
อย่างไร ยกตัวอย่างประกอบ
ผบู้ รหิ ารมีความรคู้ วามเข้าใจในหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนำประสบการณ์ใน
การใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ตนเองปฏิบัติมาถ่ายทอดและมุ่งม่ันในการขับเคล่ือน หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาจนประสบความสำเร็จจัดการศึกษาตาม หลักสูตรการศึกษานอกระบบ
ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมุ่งเน้นการจัดการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีการ
จัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของสถานศึกษามาปฏิบัติและประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ
สถานศึกษา ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียง 3 ห่วง 2 เง่ือนไข 4 มิติ รวมท้ังสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี ต่อการ
เปล่ียนแปลงต่างๆ ให้กับตนเองและผู้อ่ืน ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการบริหาร
จัดการ โดยบริหารแบบมีส่วนร่วม ยึดหลักธรรมาภิบาล มาปรับใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษา
ด้านความพอประมาณ ได้ดำเนินความพอดีทไี่ ม่น้อยเกินไปและไมม่ ากเกินไป โดยไมเ่ บยี ดเบยี นตนเองและผู้อื่น
ด้านความมีเหตุผลได้การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผล
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยท่ีเก่ียวข้องตลอดจนคำนึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นครู บุคลากรทางการศึกษา
ภาคีเครือข่าย และนกั ศึกษา/ผู้รับบรกิ ารในสถานศกึ ษา ด้านการมีภมู ิคุ้มกันที่ดใี นตัวได้ดำเนินการเตรียมตัวให้
พร้อมรับผลกระทบและการเปล่ียนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคำนึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์
ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าจะเกิดข้ึนในอนาคตท้ังใกล้และไกลกับสถานศึกษา ครู บุคลากรทางการศึกษา ภาคีเครือข่าย
และนักศกึ ษาผรู้ ับบรกิ ารในสถานศึกษา เชน่ การปฏิบัตติ น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรสั โคโรน่า
ให้ปลอดภัย ส่วนเง่ือนไข ความรู้ สร้างความรอบรู้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ท่ีเก่ียวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบท่ีจะนำความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวังในขั้นปฏิบัติในสถานศึกษา และเง่ือนไข คุณธรรม ที่จะต้องเสริมสร้างให้มีความตระหนักในด้าน
คุณธรรม มีความชื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความพากเพียร ใช้สติปัญญาในการดำเนินชีวิตใน
สถานศึกษาครู บุคลากรทาง การศึกษา ภาคีเครือข่ายตลอดจนเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ความรู้ ควบคู่กับ
คุณธรรมกับการดำเนินชีวิต ด้านเศรษฐกิจไม่ใช้จ่ายเกินตัว ไม่ลงทุนเกินขนาด คิดและวางแผนอย่างรอบคอบ
มีภูมิคุ้มกันไม่เส่ียงเกินไป เช่น ทำบัญชีรายรับรายจ่ายเพื่อท่ีจะจัดการการใช้จ่ายเงินได้อย่างเป็นระบบด้าน
จติ ใจ มีจิตใจเข้มแข็ง มจี ิตสำนึกทด่ี ี เอ้ืออาทร เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่ ประโยชนส์ ่วนตัว ด้านสังคม
และวัฒนธรรม ชว่ ยเหลือเกอื้ กูลกัน รู้ รกั สามัคคี สร้างความเข้มแข็งให้ครอบครวั และชุมชน รกั ษาเอกลกั ษณ์
ภาษา ภูมิปัญญา และวัฒนธรรม ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักใช้และจัดการอย่างฉลาดและ
รอบคอบ ฟ้ืนฟูทรพั ยากรเพื่อใหเ้ กิดความยั่งยืนและคงอยู่ ชว่ั ลกู หลาน เช่น การใชน้ ้ำอยา่ งประหยัด ปิดไฟเมื่อ
ไม่ใช้งาน ด้านเทคโนโลยี รู้จักใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับความต้องการและสภาพแวดล้อม
พัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาชาวบ้านการน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาประยุกต์ใช้ในทุกภาค
ส่วนของสังคมอย่างจริงจัง จะส่งผลให้การพัฒนาประเทศก้าวหน้าไป อย่างสมดุล มั่นคง และย่ังยืน
พร้อมรับต่อการเปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ท้ังด้านชีวิต เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และเทคโนโลยี
อันจะนำไปสู่ “ความอยู่เย็นเป็นสุขร่วมกันในสังคมไทย” ทำให้คณะครูและบุคลากร มีแบบอย่างท่ีดี
ในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดำเนิ นชีวิตสร้างความสัมพันธ์อันดี
กับคณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา/ผู้รับบริการ ภาคีเครือข่าย และชุมชนภายนอกเป็นอย่างดี
ผู้บริหารนำความรู้และประสบการณ์ท่ีตนได้รับจากการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และการน้อมนำหลักปรัชญา
12
ของเศรษฐกิจพอเพียงมาปฏิบัติ มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ในการดำเนินงาน และให้ความร่วมมือในการจัด
กิจกรรมต่าง ๆที่เก่ียวข้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยความเต็มใจ พร้อมท้ังการ ขยายผลการ
ขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษา การเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน
และหน่วยงานภายนอกอยา่ งต่อเนื่อง เช่น กจิ กรรมปลกู ตน้ ไม้ กจิ กรรมเดนิ รณรงค์การต้านยาเสพติด โครงการ
TO BE NUMBER ONE กิจกรรมเดินรณรงค์ให้ประชาชนไปใช้สิทธิ์ออกเสียงเลือกต้ัง โครงการจิตอาสาเราทำ
ความดีด้วยหัวใจ กิจกรรม 5ส โครงการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม โครงการสง่ เสริมประชาธปิ ไตย ทำให้การ
ดำเนินงานเพ่ือพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ มีประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาปรับใช้ในการดำเนินชีวิตให้กับคนในชุมชน ทำให้คณะครูและบุคลากร เป็นแบบอย่างท่ีดีในการ
นอ้ มนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิต
4.1.2 ผู้บริหารนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการบริหารจัดการศึกษาทั้ง 4 ด้าน
อย่างไร (งานบริหารทั่วไป/การบริหารงานวิชาการ/การบริหารงานบุคคล/การบริหารงานงบประมาณ)
และจากการดำเนินงานดังกล่าว ส่งผลให้เกิดข้ึนต่อสถานศึกษาและบุคลากรของสถานศึกษาอย่างไรบ้าง
(Best Practice)
ผู้บริหาร ได้นำประสบการณ์จากการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ท่ีตนเองปฏิบัติ
มาถ่ายทอดการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับสถานศึกษา เพ่ือให้การดำเนินงาน เกิด
ประสิทธภิ าพประสิทธิผล ไดแ้ ก่
การบริหารงานด้านวิชาการ ได้ดำเนินจัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เช่น โครงการเตรียมความ
พร้อมทางวิชาการและปรับสภาพนักศึกษา กศน.อำเภอลับแล โครงการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง โครงการส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โครงการสอนเสริมเติมเต็มความรู้ ส่งเสริมการแก้ปัญหาและ
พัฒนาให้นักศึกษาให้สามารถดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างมีความสุข มีการ
พัฒนาหลักสูตรการศึกษาท่ีหลากหลายให้สอดคล้องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง บริบท และความ
ตอ้ งการของกล่มุ เปา้ หมาย
ดา้ นการบรหิ ารงบประมาณ มีการดำเนนิ การตามแผนงบประมาณพรอ้ มติดตามประเมนิ ผลการดำเนิน
โครงการและปรับปรุงพัฒนาการบริหารจัดการงบประมาณให้เหมาะสมในปีต่อไป มีการวางแผนการ
ดำเนินงานบรหิ ารจัดการงบประมาณในการดำเนนิ งาน โครงการ กจิ กรรมโดยคำนึงผลที่จะเกิดขึ้นกับนกั ศึกษา
สถานศึกษาและชุมชนอย่างคุ้มค่า ได้มีการประชุมชี้แจงการจัดสรรงบประมาณ การเบิกจ่ายงบประมาณโดย
คำนึงถึงผลประโยชน์ที่จะเกิดข้ึนกับนักศึกษา ชุมชน มีการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงบประมาณ
ตรวจสอบการจัดซื้อส่ือวัสดุอุปกรณ์ติดตามการใช้ประโยชน์จากส่ือวัสดุที่จัดซื้อเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่
นักศึกษา สถานศึกษาและชุมชน จากการดำเนินการบริหารงบประมาณได้นำผลการดำเนินงานมาปรับปรุง
แก้ไขและวางแผนการดำเนินงานให้ดีข้ึน โดยการนำขอ้ บกพร่องหรือปัญหาต่างๆท่ีเกิดขน้ึ มาพัฒนาให้ก้าวหน้า
และพรอ้ มรบั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงทจ่ี ะเกิดข้นึ ในอนาคตรว่ มกับภาคีเครือข่ายและคณะกรรมการสถารศึกษา
ด้านการบริหารงานบุคลากร มีแผนงาน โครงการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษาเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจ
และตระหนักในคุณค่าของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปฏิบัติภารกิจหน้าที่ส่งเสริมให้บุคลากร
แสวงหาความรู้เกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้ครูตะหนักถึงความสำคัญในการ
ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างทด่ี ีตามแนวคิดของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง นำมาปรับใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมต่างๆเพื่อให้ มีจิตบริการ และมี
ความรอบรแู้ ละทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คม รวมทงั้ เปน็ ผู้ปฏบิ ตั งิ านอย่างมีความสุข
13
ด้านการบริหารงานท่ัวไป มีการบริหารจัดการด้านอาคารสถานท่ีและแหล่งเรียนรู้ภายในและ
ภายนอกสถานศึกษาโดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วม เพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมีการประสานสัมพันธ์กับชุมชนเผยแพร่ข่าวสารและหลักการตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้
ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจและเชื่อมั่นในสถานศึกษาได้มีการจัด
กระบวนการเรยี นรู้ท่บี ูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีแหลง่ เรียนรู้หลากหลายเพือ่ สร้างเสริม
อุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงอย่างเหมาะสมและเพียงพอกับจำนวนนักศึกษา พร้อมทั้งมีการจัดสถานที่ และ
สงิ่ แวดลอ้ มให้มีบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรยี นรู้ มีความสะอาด ร่มร่นื
โดยมีการบูรณาการให้นักศึกษา ผู้รับบริการให้มีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การสอน การทำงาน และการดำเนินชีวิตประจำวันเสริมสร้าง
ภาคเี ครอื ขา่ ยเพ่อื สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ และใหเ้ กิดการมีส่วนรว่ ม ความรว่ มมือการส่งเสริมสนบั สนนุ การจัด
การศึกษาให้กับนักศึกษาผู้รับบริการอย่างมีคุณภาพ ผู้บริหารนำความรู้และประสบการณ์ในการดำเนินชีวิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานของครูและบุคลากร โดยได้ดำเนินงาน
ตาม ปรัชญา กศน.อำเภอลับแล“จัดการเรียนรู้ท่ีหลากหลายมากมายวัฒนธรรม นำสู่วิถีเศรษฐกิจพอเพียง”
ซ่ึง ครูและบุคลากรทางการศึกษา นักศึกษา ผู้รับบริการ ได้นำวิสัยทัศน์ที่กำหนดมาปรับใช้ในกระบวนการ
จัดการเรียนรู้ การสอน อย่างต่อเน่ืองสม่ำเสมอ สามารถขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อพัฒนากิจกรรมต่าง ๆ
ทีเ่ กีย่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ
4.2 ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา
4.2.1 จำนวนครูและบุคลากรท่ีมีความรู้ความเข้าใจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และ
สามารถนำไปส่กู ารพฒั นางานในหนา้ ท่ี จำนวน 20 คน
4.2.2 ตัวอย่างเร่ืองเล่าครูท่ีประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้
ในชีวิตหรือการพัฒนาตนเอง ว่านำไปใช้อย่างไรบ้าง และเกิดผลอย่างไรต่อตนเองและผู้อ่ืน ยกตัวอย่าง
ประกอบ
ครูจารุวรรณ มิ่งนัน ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลนานกกก เป็นครูอีกคนหน่ึงที่เข้าใจธรรมชาติของ
นักศึกษา กศน.และ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีมีการประยุกต์ใช้แนวคิดหลักปรัชญาเศรษฐกิจฯและ
นักศึกษา กศน. โดยการสอดแทรกความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับนักศึกษา และมีการประเมินผลของนักศึกษาจากการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ส่งเสริม สนับสนุน ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการบูรณา
การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกในรายวิชาที่เรียน และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
ตัวอย่าง ในการนำหลักปัญญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาขยายผลกับการศึกษาต่อเน่ืองโครงการศูนย์ฝึกอาชีพ
ชมุ ชน หลักสูตร การสานเข่งผลไม้จากไม้ไผ่ โดยการให้นักศึกษา กศน.ได้ลงมือฝึกปฏิบัติจริง จนเกิดทักษะแล
ความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์เพ่ือเพ่ิมมลู ค่าของผลไม้และเน้นการทำงานเป็นกลุ่ม โดยอธบิ าย
ความรู้พร้อมสอดแทรกความมีเหตุผล ความพอประมาณ มีภูมิคุ้มกันที่ดี มีคุณธรรม รักษาส่ิงแวดล้อม สังเกต
ส่ิงที่อยู่รอบตัว เปิดโอกาสให้นักศึกษา กศน. ซักถามได้ตลอดเวลาและครูกระตุ้นความสนใจของนักศึกษา
กศน. โดยใช้คำถามกระตุ้นให้นักศึกษา กศน. คิด และเรียนรู้ด้วยความสนุกสนาน ให้นักศึกษา กศน. สรุปองค์
ความรู้ได้ด้วยตนเอง ทำให้นักศกึ ษา กศน. เกิดการเรียนรู้เข้าใจและสามารถนำหลกั ปรัชญาฯไปใช้ได้ โดยครูมี
การวดั ผลประเมนิ ผลตามสภาพจริงจากกการสังเกตขณะเรียน ประเมินชน้ิ งาน สมั ภาษณ์นกั ศึกษา
14
4.2.3 ตัวอยา่ งเรื่องเล่าครูที่ประสบความสำเร็จในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ คณุ ลักษณะอยู่อย่างพอเพียง ว่าดำเนินการอยา่ งไร
และเกดิ ผลอย่างไร เชน่ การออกแบบการเรยี นรูเ้ พ่ือสรา้ งคณุ ลกั ษณะอยู่อยา่ งพอเพยี งของนักศกึ ษา
ครูท่ีได้รบั การพัฒนาเก่ียวกับเร่ืองหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบมีหน่วย
การเรีย น รู้ห ลักปรัช ญ าของเศรษ ฐกิจ พอเพี ยงทุกระดับช้ัน มีการนิ เทศ /ติดตาม /ประเมิน ผล มีการศึกษ า /
วเิ คราะห์/วิจัยเพอ่ื พัฒนาการจัดการเรยี นการสอนหน่วยการเรยี นรูต้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงตาม
มาตรฐานของหลักสูตรพุทธศักราช 2551 รวมท้ังหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ือการดำรงชีวิตอย่างมีดุลย
ภาพจนสามารถพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้จนเห็นผลนักศึกษาสามารถถอดบทเรียนจากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้
และครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมมาถ่ายทอดประสบการณ์ให้เพ่ือนครูในสถานศึกษา ครู กศน.
ตำบล มีการสอดแทรกให้ความรู้ในเรื่องหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดกิจกรรมกระบวนการ
เรียนรู้และมีการจัดการเรียนรู้ในวิชาเศรษฐกิจพอเพียง โดยให้นักศึกษาทำใบงาน ทำกิจกรรม Mind Map
และออกมานำหน้าชั้นเรียน และมกี ารสรุปเนื้อหารว่ มระหว่างครูกบั นักศึกษา มีการจัดทำรายงาน โครงงาน
มกี ารสืบคน้ ข้อมลู ผา่ น Internet การเรียนรผู้ ่าน QR Code มกี ารทดสอบเก็บคะแนนระหว่างภาค
4.2.4 ครแู กนนำได้ขยายผลหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ผูป้ กครอง ชมุ ชนอยา่ งไร
ครูแกนนำทุกตำบล มีการขยายผลไปสู่วิทยากรการสอนวิชาชีพ เพ่ือนำไปจัดกระบวนการเรียนรู้
และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ความรู้ คำแนะนำ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษ า
ผรู้ ับบรกิ าร ประชาชน และจัดทำเปน็ ส่อื ขยายผลต่อภาคเี ครอื ข่ายและชมุ ชน
4.3 นกั ศกึ ษา
4.3.1 จำนวนนักศกึ ษาแกนนำ จำนวน 27 คน
นักศึกษา กศน.อำเภอลับแล มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถ
อธบิ ายหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อยา่ งถูกต้องซึ่งเห็นไดจ้ ากการปฏิบัติตนอยู่อย่างพอเพียงนักศึกษา
มีความสามารถในการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และเกิดศรัทธาในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ ในการดำเนินชีวิต
และสถานศึกษามีวิธีการพัฒนานักศึกษาให้เกิดอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง มีความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยสอดแทรกเนื้อหาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ไปกับการใช้คุณธรรมในการ
ดำเนินชีวิตให้กับนักศึกษาพร้อมท้ังขยายผลสู่ชุมชนอย่างต่อเน่ือง กศน.อำเภอลับแล มีนักศึกษาท่ีเป็นแกนนำ
เรื่องการให้ความรู้ความเข้าใจเห็นคุณค่ารู้จักใช้ใส่ใจในเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้กับเพ่ือนๆ
นักศึกษา รวมท้ังมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษา ร่วม
อนุรักษ์ฟ้ืนฟูรักษาวัฒนธรรมอันดีงามให้อยู่ควบคู่สถานศึกษาและชุมชนอย่างยั่งยืนพร้อมท้ังมีการพัฒนา
ตนเองและเพื่อนนักศึกษาที่เป็นแกนนำอย่างต่อเนื่อง รวมท้ังมีส่วนร่วมในการดูแลการใช้ประโยชน์จาก
สาธารณะสมบัติอย่างประหยัดและคุ้มค่า นักศึกษามีอุปนิสัยเอื้อเฟ้ือเผื่อแผ่กับผู้อ่ืน ไม่เบียดเบียนหรือสร้าง
ความเดือดรอ้ นให้ผู้อ่ืนรวมท้ังกระทำตนเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่ืนและสงั คม นักศึกษาแกนนำ และเพ่ือนนักศึกษา
นำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการทำกิจกรรมจนประสบความสำเร็จและได้ดำเนินการจัด
15
กระบวนการเรียนรู้ให้นักศึกษาและประชาชนในพ้ืนที่อำเภอลับแล มีความรู้ความเข้าใจในหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และยังสามารถร่วมกันจัดทำแผนงาน โครงการ กิจกรรมท่ีสอดคล้องกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงทุกงาน ตาม พันธกิจของ กศน.อำเภอ และ กศน.ตำบล ไม่ว่าจะเป็นการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดการศึกษาต่อเนอื่ ง การจัดการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต การจัดการศึกษา
เพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน และการศึกษาตามอัธยาศัย ตัวแทนนักศึกษาพอเพียง
ตน้ แบบมีการจัดทำแหล่งเรยี นรู้ในชุมชนท่ีสามารถบรกิ ารประชาชนที่สนใจได้อย่างทั่วถึง ขยายผลลงสู่ชุมชน
ให้เกิดความยั่งยืน นำหลักคิดของปรัชญา คือ พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันที่ดี มาใช้ในการดำเนินชีวิต
สามารถพฒั นาแบบองค์รวมทงั้ 4 มติ ิ คอื สังคม เศรษฐกิจ วฒั นธรรม และสง่ิ แวดลอ้ ม
4.3.2 ตัวอยา่ งเรื่องเลา่ ของนกั ศกึ ษาในการใชห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชีวติ ประจำวนั
อยา่ งไร
ข้าพเจ้านางละเอียด ปานเรือง นักศกึ ษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น กศน.ตำบลทุ่งยั้ง กศน.อำเภอลับแล ได้
เข้าร่วมเรียนรู้ในโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัญาของเศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลทุ่งย้ัง ทำให้ดิฉัน
ได้เรียนรู้จนเกิดหลักคิด และสามารถสรา้ งองค์ความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ทุกครั้งที่มีอะไรท่ี
ตอ้ งตดั สินใจ จะต้องมาผ่านกระบวนการคิดตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงทุกครัง้ โดยแยกตามหลักการ 3
ห่วง 2 เงื่อนไขคือการคิดตามหลักความพอประมาณ ความมีเหตุผล และความมีภูมิคุ้มกัน อีกทั้งใน การ
ตดั สนิ ใจทกุ คร้งั เราจำเป็นจะต้องมีความร้คู วบค่ไู ปกบั ความมีคุณธรรม โดยหลงั จากทไี่ ด้เรียนรู้สง่ิ เหล่าน้แี ล้วน้ัน
การจะทำอะไรแต่ละคร้ังจะมีการคิดที่รอบคอบมากขึ้น มีการทำงานท่ีเป็นระบบเป็นขั้นตอนมากยิ่งข้ึน ซ่ึงใน
ฐานะที่ดิฉันเป็นนักศึกษาต้นแบบ ในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการประกอบ
อาชีพ และปรับใช้ในชีวิตประจำวันและ ขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดิฉันได้มีการจัดทำฐาน
การเรียนรู้ให้กับนักศึกษาและประชาชนท่ัวไป ได้เรียนรู้และเข้าใจในเร่ืองของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และยังสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ นอกจากนี้ยังได้ขยายผลสู่ชุมชนโดยจัดกิจกรรมท่ีสามารถเรียนรู้
จากการปฏิบัติ เพือ่ ให้สามารถนำความรู้และประสบการณท์ ่ีได้รบั ไปใชไ้ ด้ในชวี ิตจรงิ และในครอบครัวไดม้ ีการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นของคำว่าเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อให้คนในครอบครัวได้มองคำว่า หลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในมุมมองท่กี วา้ งขนึ้ และสามารถนำไปใชไ้ ด้อย่างถูกต้องตามกระบวนการของหลกั เศรษฐกิจ
พอเพียง ปัจจุบัน ได้ทำการเกษตรบนพื้นท่ีน้อยแบบผสมผสานสามารถแก้จน ปลูกผักสวนครัวรั้วกินได้ เพ่ือลด
รายจ่ายในครัวเรือน
4.4 คณะกรรมการสถานศกึ ษา
4.4.1 ความรู้ ความเขา้ ใจในหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
คณะกรรมการสถานศึกษามีความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความสนใจ
เห็นคุณค่า ศรัทธา มีส่วนร่วมในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง การดำเนินงานตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงภายในสถานศึกษาซ่ึงคณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่ได้รับการ
ยกย่องให้เป็นบุคคลต้นแบบความพอเพียงเป็นแบบอย่างท่ีดีในการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงพร้อมยังมีบทบาทใ น
การสนับสนุนจัดหางบประมาณระดมทุนในการส่งเสริมสถานศึกษาในการขับศูนย์เรียนรู้ทุกช่วงวัยและหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงรวมท้ังการสนับสนุนกิจกรรมการขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษาจนเห็นผลและเห็นชอบในการดำเนินโครงการต่างๆตามแผนปฏิบัติการของ
สถานศึกษาเพ่ือขบั เคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งทำให้โครงการต่างๆสำเร็จลุล่วงตามวตั ถุประสงค์
16
ซ่ึงมีการประชุมชี้แจงให้คณะกรรมการสถานศึกษารับทราบถึงแนวทางในการดำเนินงานภาคเรียนละ 2 ครั้ง
และคณะกรรมการสถานศึกษาทุกท่านล้วนมีความรู้เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นอย่างดี
และมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดการเรียนรู้ และสนับสนุนให้สร้างแหล่งเรียนรู้ท่ีให้นักศึกษาเกิดการพัฒนา
ทักษะในทุกๆด้าน ให้การสนับสนุนกิจกรรมขยายผลการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่
ภายนอกสถานศึกษา อีกทั้งคณะกรรมการสถานศึกษาส่วนใหญ่เป็นบุคคลที่ได้รับการยกย่องให้เป็นบุคคล
ตน้ แบบความพอเพียงเปน็ แบบอยา่ งทดี่ ใี นการดำเนินชีวิตอยา่ งพอเพียง
4.4.2 บทบาทในการให้การสนับสนุน ส่งเสริมสถานศึกษาในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
คณะกรรมการสถานศึกษามีบทบาทสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน แ ละการมีส่วนร่วมจัด
กระบวนการเรียนรู้ การสอน ได้ให้ความอนุเคราะห์ใน ความรู้ในเร่ืองลูกเสือวิสามัญและยุวกาชาดและ
ภาษาอังกฤษ นอกจากนี้ยังส่งเสริมสนับ วัสดุ อุปกรณ์ วิทยากร ท่ีใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ การเรียน
การสอน อีกท้ังยังเป็นกำลังสำคัญในการช่วยเผยแพร่ประชาสัมพันธ์กจิ กรรมต่างๆ ที่เก่ยี วกับหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสู่ภายนอกสถานศึกษา และคอยให้ความอนุเคราะห์ ช่วยเหลือ การดำเนินงานภายใน
สถานศกึ ษา
5. ข้อมลู ด้านอาคารสถานที/่ แหลง่ เรยี นร้/ู ส่งิ แวดลอ้ ม
5.1 ความพร้อมของอาคารสถานที่ท่ีเอ้ืออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีการบริหารจัดการด้านอาคาร
สถานที่และแหล่งเรียนรู้ภายในและภายนอกสถานศึกษา โดยให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีการประสานสัมพันธ์กับชุมชนเผยแพร่ข่าวสารและหลักการตามปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งจนทำให้ชุมชนหน่วยงานอืน่ ๆ ไดใ้ ช้ประโยชนม์ ีส่วนร่วมในการส่งเสรมิ สนับสนนุ การดแู ล
รักษาและพัฒนาอาคารสถานที่สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมออาคารสถานท่ี สะอาดร่มรื่น
ปลอดภัยเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอนมีผู้รับผิดชอบการใช้ปรับปรุงพัฒนาดูแลรักษาอาคารสถานท่ี
อย่างชัดเจนมีแผนการปฏิบัติงานโครงการงบประมาณมีศูนย์รวมข้อมูลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษารวมถึงแผนผังแสดงแหล่งเรียนรู้ฐานการเรียนรู้โครงการต่างๆตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาครูและนักศึกษามีส่วนร่วมในการดูแลรักษาส่ิงแวดล้อมในเร่ือง
อาคารสถานที่ที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอลับแล หอ้ งสมุดประชาชนอำเภอลบั แล และ กศน.ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชน
ทั้ง 10 แห่ง มีความพร้อมของอาคารสถานที่ท่ีเอ้ืออำนวยต่อการจัดการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมตามหลัก
ปรชั ญา ของเศรษฐกิจพอพียง มีแหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลายเพื่อฝกึ ปฏิบตั ิจนเกดิ ทกั ษะความรู้ ทักษะปฏิบตั ิและ
สร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียง อย่างเหมาะสม มีส่ิงแวดล้อมท่ีร่มร่ืน สะอาด และมีสิ่งเอื้ออำนวยต่อการ
จดั การเรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอพียงและมีความปลอดภยั
5.2 มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเพ่ือสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงอย่างเหมาะสม และ
เพยี งพอกบั จำนวนนักศกึ ษา
17
มีแหล่งเรียนรู้หลากหลายเพื่อสร้างเสริมอุปนิสัยอยู่อย่างพอเพียงท้ังภายในและภายนอกสถานศึกษา
ท่ีสอดคล้องกับภูมิสังคมของสถานศึกษาและมีการจัดการอย่างพอเพียงมีวิทยากรรับผิดชอบฐานกิจกรรมการ
เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่สามารถอธิบายความหมายได้อย่างถูกต้องและมีแผนการ
จั ด ก า ร เรี ย น รู้ ข อ ง แ ห ล่ งเรี ย น รู้ ต า ม ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย งได้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง แ ล ะ ชั ด เจ น
มีการประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างเป็นรูปธรรมและมีการพัฒนา
แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างต่อเน่ืองโดยพ้ืนท่ีของ อำเภอลับแล มีแหล่งเรียนรู้
ทหี่ ลากหลายท่อี ยใู่ นชุมชน นกั ศกึ ษาสามารถเข้าไปใช้แหล่งเรียนร้ตู ามความต้องการ ความสนใจของนักศกึ ษา
ได้ เช่น ศูนย์เรียนรู้การสานเข่งผลไม้บ้านนานกกก ศูนย์การเรียนรู้การทอผ้า ซิ่นตีนจกเมืองลับแล
บ้านด่านแม่คำมัน ศูนย์เรียนรู้กินทุกอย่างท่ีปลูกปลูกทุกอย่างท่ีกิน สู่วิถีพอเพียง ศูนย์เรียนรู้การทำข้าวแคบ
เมืองลับ แล ชุมช น ยางกะไดใต้ ศูน ย์เรียนรู้การสืบ สาน ตำน าน ดงห อมแดง ตำบ ลชัยจุมพ ล
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสานตำบลทุ่งยั้ง ศูนย์เรียนรู้ปุ๋ยอินทรีย์วิถีพอเพียง ตำบลไผ่ล้อม
ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาติตำบลฝายหลวง ศูนย์เรียนรู้นักอ่านอาสา ส่งเสริมวิถีพอเพียง ห้องสมุดประชาชน
อำเภอลบั แล
5.3 ส่ิงแวดลอ้ มที่เอือ้ อำนวยตอ่ การจดั การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีแผนงาน/โครงการงบประมาณมี
ผู้รับผิดชอบในการปรับใช้อาคารสถานท่ีให้เอื้ออำนวยต่อสภาพแวดล้อมโดยคำนึงถึงการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้จนทำให้ชุมชนหน่วยงานอ่ืนๆ ได้ใช้ประโยชน์มีส่วนร่วมในการส่งเสริมสนับสนุน
การแลรกั ษาและพัฒนาอาคารสถานทส่ี ภาพแวดลอ้ มของสถานศึกษาอยา่ งสม่ำเสมอนักศึกษาใช้ประโยชน์จาก
แหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงพื้นท่ีของอำเภอลับแล ส่วนใหญ่เป็น
พื้นที่ทำการเกษตรกรรม ประชาชนในชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ทำสวนผลไม้ ทำไร่หอมแดง ทำนา
ทำไร่ จึงทำให้มีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนรู้ มีสภาพ
ส่ิงแวดล้อมท่ีเอ้ืออำนวยต่อการเรียนรู้ ช่วยในจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ท่ีพึงประสงค์ให้แก่นักศึกษาได้เป็น
อยา่ งดี
6. ดา้ นความสมั พันธก์ ับชุมชนและหนว่ ยงานภายนอก
6.1 การวางแผนและการดำเนินการสร้างเครือข่ายการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ของสถานศกึ ษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงานจัด
การศึกษาด้านเศรษฐกิจพอเพียง จัดกิจกรรมในศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงในพื้นท่ี โดยการจัดทำโครงการ
เรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำนักศึกษาเขา้ ร่วมกิจกรรมเรียนรู้ในแหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจ
พอเพียง ในพ้ืนที่อำเภอลับแล มีการการขับเคลื่อนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย
ประสานความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ชุมชนและหน่วยงานภายนอก ในการส่งเสริม สนับสนุนการจัดการ
เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้กับนักศึกษา นักศึกษาและประชาชนทั่วไป โดยไม่ส่งผล
กระทบต่อการจดั การเรียนการสอนของสถานศึกษา
6.2 ชุมชนให้ความไว้วางใจ ให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งส่สู ถานศกึ ษา
18
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีความสัมพันธ์อันดีกับชุมชน
กับหน่วยงานภายนอก สามารถบรหิ ารจดั การความสัมพันธ์กับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในชุมชน ซึ่งชุมชนให้การ
สนับสนุน ส่งเสริม และการมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ให้การ
สนับสนุนชุมชนและหน่วยงานอื่นศึกษาดูงานในการขบั เคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
อย่างตอ่ เน่อื ง
6.3 สถานศึกษามีส่วนร่วมและให้การสนับสนุนชุมชนและหน่วยงานอ่ืนในการขับเคล่ือนหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลบั แล ได้รับการประสานความรว่ มมือกับ
หน่วยงานต่างๆ เพื่อรับการสนับสนุนในการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษาสู่
ชุมชน โดยการมสี ่วนร่วม สนับสนุน สง่ เสริมสรา้ งความรู้ความเข้าใจในหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น
เป็นคณะกรรมการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด คณะกรรมการฝึกอาชีพสำหรับผู้บำบัดยาเสพติด
ศนู ย์บรวรักษ์ อำเภอลับแล คณะกรรมการขับเคลื่อนอำเภอคุณธรรม และเป็นคณะกรรมการดำเนินงานต่างๆ
ของอำเภอลับแล มีการประชุมการว่างแผนพัฒนาชุมชน การดำเนินโครงการต่างๆ เป็นต้น ทำให้การดำเนิน
ชีวิตกับประชาชนในชุมชนอำเภอลับแล ได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในการดำเนิน
ชีวิตตามหลักความพอพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไข 4 มิติ รวมท้ังสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ให้กับ
ตนเองและผูอ้ น่ื และเหน็ คุณคา่ ในส่ิงทีต่ นเองมี
6.4 สถานศกึ ษาบริหารจดั การศกึ ษา และจัดการเรยี นการสอนตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ
พอเพียง จนสามารถเป็นแบบอย่างแกส่ ถานศึกษาและหนว่ ยงานอนื่ ได้
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล สามารถบริหารจัดกระบวนการ
เรียนรู้ การสอน ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จนทำศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัยอำเภอลบั แล ไดร้ บั การประเมนิ จนเปน็ สถานศึกษาพอเพียง ในปกี ารศึกษา 2557
6.5 ผลความสำเร็จท่เี กดิ จากความร่วมมือกนั ระหว่างสถานศกึ ษากับชุมชนหรือหน่วยงานอนื่
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ได้รับการยอมรับ และให้ความ
ร่วมมือจากหน่วยงานต่าง ๆ เช่น ท่ีทำการปกครองอำเภอลับแล เทศบาลตำบลศรีพนมมาศ เทศบาลตำบล
หัวดง กลุ่ม อสม.อำเภอลับแล เกษตรอำเภอ พัฒนาการอำเภอ เป็นต้น ในการขับเคล่ือนหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สู่สถานศึกษาเช่น โรงเรียนวัดใหม่ ตำบลฝายหลวง และ สถานศึกษาท้ัง 8 ตำบล ให้
เกิดผลแห่งความสำเร็จท่ีเกิดจากความร่วมมือระหว่างสถานศึกษากับชุมชนและหน่วยงานอ่ืน นอกจากการ
ยอมรบั ทำให้ชมุ ชน หน่วยงานภายนอก สถานศึกษา เครือข่าย เห็นคณุ ค่า ยอมรับ และใหค้ วามร่วมมือในการ
ขยายผล การขบั เคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่ ภายนอกสถานศึกษาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
19
ภาคผนวก
7.1 วิธกี ารพัฒนาสถานศกึ ษาพอเพียงใหเ้ ป็นศูนยก์ ารเรยี นรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ดา้ นการศกึ ษา (มาจากขอ้ ๓.๕)
20
วธิ ีการพัฒนาสถานศกึ ษา กศน.อำเภอลับแล
ให้เปน็ ศนู ย์การเรียนร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ด้านการศึกษา
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีแนวทางการนำปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการพัฒนาสถานศึกษาให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ด้านการศกึ ษา โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินงาน การจัดการ
เรียนร้ใู นสถานศกึ ษา สรุปแนวทางได้ ดังน้ี
ข้นั ตอนที่ 1 ขั้นวางแผน (Plan) การเตรียมการดำเนนิ งาน
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ได้สร้างความตระหนักให้
บุคลากรทุกคนนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต แนวทางสำหรับการตัดสิน
ตั้งแต่เร่ืองเล็ก ๆ ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน ไปจนถึงเรื่องท่ีมีความสำคัญ การปฏิบัติงาน การท่ีจะทำให้
แนวทางของเศรษฐกิจพอเพียงกลายเป็นวัฒนธรรมหลัก ในการใช้ชีวิตของคนในสังคม จำเป็นต้องมี
กระบวนการหล่อหลอมให้ทุกคนมีความเชื่อมั่นและสามารถนำหลักการน้ีไปประยุกต์ใช้ได้ในการติดสินใจ
ดำเนนิ การในทุกกจิ กรรม
เป้าหมายสำคัญของการจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง คือ การปลูกฝังให้
นักศึกษาและประชาชนรู้จักการใช้ชีวิตท่ีพอเพียง รู้จักการวางแผน การตัดสินใจ โดยใช้ข้อมูลด้านต่างๆ ทั้ง
ข้อมลู ของตนเอง ขอ้ มูลทางวิชาการ ข้อมลู ทางสงั คม เห็นคณุ ค่าของทรพั ยากรต่าง ๆ ฝกึ การอยู่ร่วมกบั ผู้อนื่
อย่างเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่และแบ่งปัน มีจิตสำนึกรักษ์ส่ิงแวดล้อมและเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมค่านิยม เอกลักษณ์
และความเปน็ ไทย
1.1 คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ องผเู้ รยี นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มุ่งส่งเสริมการเรียนรู้
และปลูกฝัง เสริมสร้างให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง ดังน้ี
1.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และตระหนักในความสำคัญ
ของการดำเนนิ ชวี ติ ตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.1.2 มีความรู้และทักษะพื้นฐานในการดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
1.1.3 ปฏิบตั ิตนและดำเนินชวี ิตตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.2 แนวทางในการพฒั นาผู้เรยี นตามคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1.2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อัธยาศัยอำเภอลับแล มีการพัฒนาหรือบูรณาการเน้ือหาสาระของเศรษฐกิจพอเพียงเข้าไปในหลักสูตร
สถานศึกษา และหลักสูตรท้องถ่ิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องและ
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ปรับปรุงหรือเพ่ิมเติมมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละระดับ ให้สอดคล้องกับ
วสิ ัยทศั น์ เปา้ หมาย ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงของหลักสูตรสถานศึกษา
1.2.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอลับแล จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามเน้ือหาสาระท่ีกำหนดไว้ในหลักสูตรอย่างสอดคล้องกับวิถีชีวิตของ
21
ผู้เรยี นเน้นกิจกรรมการเรยี นรูท้ ี่เน้นการฝกึ ทักษะ กระบวนการคิด วิเคราะห์ การจดั การ การเผชิญสถานการณ์
การแก้ปญั หา ฯลฯ ที่เรมิ่ จากชีวิตประจำวันและเช่ือมโยงสู่ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติและสงั คมโลก
จัดกระบวนการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ การปฏิบัติจริงทั้งในสถานศึกษาและแหล่งเรียนรู้ภายนอก
สถานศึกษาทั้งในรูปของการจัดทำโครงการ โครงงาน กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และอ่ืน ๆ ท้ังการศึกษา
รายบุคคลและเป็นกลุ่ม มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ให้ครอบคลุมท้ัง 3 ด้าน ได้แก่ ความรู้
(Knowledge) ทักษะกระบวนการ (Process) และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attribute)
1.2.3 การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล จัดอาคารสถานที่และสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกให้มี
ความสะอาด ร่มรื่น มีประโยชน์ใช้สอย เอื้อตอ่ การเรียนรู้ จัดห้องสมุดประชาชนอำเภอลบั แล ให้เป็นห้องสมุด
มีชีวติ เป็นหอ้ งสมุด 3 ดี คือ บรรยากาศดี หนงั สือดี บรรณารักษด์ ี เป็นแหล่งเรียนร้ดู ้านความพอเพียง เกษตร
ธรรมชาติ และอนุรกั ษส์ ืบสานทรัพยากรธรรมชาติ สง่ิ แวดล้อม ศิลปวฒั นธรรม สถาปัตยกรรมของท้องถิ่นและ
ภูมิปัญญาไทย กำหนดระเบียบ ธรรมเนียมปฏิบัติในสถานศึกษาที่ส่งเสริมความมีระเบียบวินัย เคารพธรรม
เนียมปฏิบัติ กฎกติกาของสังคมส่วนรวม เช่น การมีวินัย การแต่งกาย การใช้ทรัพยากรร่วมกัน ค่านิยมหลัก
12 ประการของคนไทย ฯลฯ ส่งเสรมิ และพัฒนาบรรยากาศด้านคุณธรรมและขับเคลื่อน สถานศึกษาคุณธรรม
อย่างต่อเนื่อง เช่น การไหว้ การเคารพผู้อาวุโส ทำบุญ การบริจาค การอบรมคุณธรรม การเข้าร่วมกิจกรรม
ทางศาสนา การยกย่องส่งเสริมผู้กระทำความดี การส่งเสริมการแบ่งปัน การช่วยเหลือกันและกัน เป็นต้น
ส่งเสริมการแสวงหาความรู้และเผยแพร่ความร้เู ก่ียวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น การจัดนิทรรศการ
การจัดการประกวดในรูปแบบต่าง ๆ การหาความรู้ผ่านสื่อเทคโนโลยีและอื่น ๆ ส่งเสริมการปฏิบัติตนเป็น
แบบอยา่ งของผู้บริหาร ครูและบคุ ลากรในสถานศึกษา จัดโครงการและกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบตั ิตนและการ
ดำเนินชวี ิตตามแนวปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
1.2.4 การจัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล มีการทบทวน ปรับปรุง พัฒนาโครงสร้างและกระบวนการบริหารจัดการ
ให้สอดคล้องหรือรองรับการจัดการศึกษาตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง โดยเน้นการบริหารงานตามหลักธรร
มาภิบาล มีความพอประมาณ มีเหตุผลและมีภูมิค้นุ กันท่ีพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง กำหนดนโยบาย แผนงาน
โครงการและกิจกรรมและการปรับปรุงเพิ่มเติมหรือจัดทำแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติงานของสถานศึกษา ให้
ครอบคลุมการพัฒนาการศึกษาตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของสถานศึกษา มีการดำเนินการ
ตามแผนอย่างเป็นระบบและมีการติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง พัฒนาบุคลากรท้ังผู้บริหาร ครูและ
กรรมการสถานศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีความพร้อมในการดำเนินการ
ตามระบบการบริหารจัดการท่ีเปลี่ยนแปลงและการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง จดั ระบบการนเิ ทศการศึกษาภายในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาระบบการบริหารจัดการและกระบวนการ
จดั การเรยี นรใู้ หม้ คี วามเหมาะสม
1.2.5 การใหช้ ุมชนเข้ามามีสว่ นรว่ มในการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยส่วนราชการ
ระดบั อำเภอ ชุมชนเข้ามามสี ่วนรว่ มในการดำเนินการจัดการศกึ ษาของศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษา
ตามอัธยาศัยอำเภอลับแล ในการกำหนดแนวนโยบายและการวางแผน และกำกับติดตาม ผลการดำเนินงาน
ปีการศึกษา ละ 2 ครั้ง โดยให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะในกระบวนการพัฒนาหลักสูตร ร่วมจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้และการจัดสภาพแวดล้อม ภูมิทัศน์ท้ังภายในและภายนอกของ กศน.อำเภอลับแล ห้องสมุดประชาชน
อำเภอลับแล และ กศน.ตำบล และศูนย์การเรียนชุมชน ทั้ง 10 แห่ง ให้เอื้อต่อการเรียนรู้ คณะกรรมการ
สถานศึกษาให้ข้อเสนอแนะ แนวทางการดำเนินงาน นักศึกษาและชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดทำฐานการ
22
เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภายในบริเวณ กศน.อำเภอและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ส่งเสริมการ
เรียนรู้และการปฏิบัติตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษา ที่บ้านและสถานที่อื่น ๆ ร่วม
ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษา
1.2.6 การติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา มีการติดตามและประเมินผลการ
ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยพิจารณาจาก ผลการทดสอบ
ความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานด้านเศรษฐกิจพอเพียง ผลงานและการปฏิบัติกิจกรรมของผู้เรียนการปฏิบัติตนใน
ชีวิตประจำวันของผู้เรียน ผลการประเมินโดยผู้ประเมินภายนอกหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุกภาคส่วน ติดตามและ
ประเมินความเหมาะสมของการดำเนินการในกระบวนการ ข้ันตอนและกิจกรรมการดำเนินการในด้าน การ
พฒั นาหลักสูตร การจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อม การจัดระบบบริหารจัดการ
การให้ภาคีเครือขา่ ยและชมุ ชนเขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั การศึกษาและการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
ของผู้เรียน การรายงานผลการดำเนินการเป็นระยะ ๆ ท้ังการรายงานภายในสถานศึกษา การรายงานต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา รายงานในที่ประชุมกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าส่วนราชการ และการรายงาน
หน่วยงานต้นสงั กัดตามลำดับ
ขนั้ ตอนที่ 2 ขนั้ ตอนดำเนนิ การ (Do)
การดำเนินการตามแนวทางการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการจัดการศึกษาของ
สถานศึกษา มขี ัน้ ตอนในการดำเนนิ การ ดงั นี้
2.1 กำหนดนโยบายการจัดการศึกษาตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นนโยบายสำคัญ
ของสถานศึกษา
2.2 พัฒนาความรู้ความเข้าใจแก่บุคลากรทั้งผู้บริหาร ครูและคณะกรรมการสถานศึกษา และ
ส่งเสรมิ ให้ปฏิบัตติ นตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยการจัดประชุม อบรม ศึกษาดูงานแหลง่ เรียนรู้
และพัฒนาบคุ ลากรอยา่ งต่อเนื่อง
2.3 จัดทำคำส่ังแตง่ ต้ังคณะกรรมการฝ่ายดำเนินงาน ประกอบดว้ ย
- คณะกรรมการให้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
ขา้ ราชการครู เจา้ พนักงานห้องสมุด ครู กศน.ตำบล ครู ศรช. และครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
- คณะกรรมการฝ่ายบูรณาการการกระบวนการเรียนรู้โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงได้แก่ ข้าราชการครู เจ้าพนักงานห้องสมุด ครู กศน.ตำบล ครู ศรช. และครูอาสาสมัคร
การศึกษานอกโรงเรียน และครทู กุ คน
- คณะกรรมการฝ่ายบูรณาการนำความรู้สู่การปฏิบัติตามฐานเรียนรู้ 9 ฐานเรียนรู้ภายในบริเวณ
กศน.อำเภอลับแล และกศน.ตำบลท้ัง 8 แห่ง ได้แก่ 1. ศูนย์เรียนร้กู ารสานเข่งผลไม้บ้านนานกกก 2.ศูนย์การ
เรียนรู้การทอผ้า ซ่ินตีนจกเมืองลับแล บ้านด่านแม่คำมัน 3.ศูนย์เรียนรู้กินทุกอย่างท่ีปลูกปลูกทุกอย่างท่ีกิน สู่
วิถีพอเพียง 4.ศูนย์เรียนรู้การทำข้าวแคบเมืองลับแล ชุมชนยางกะไดใต้ 5.ศูนย์เรียนรู้การสืบสานตำนาน
ดงหอมแดง ตำบลชัยจุมพล 6.ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสานตำบลทุ่งยั้ง 7.ศูนย์เรียนรู้ปุ๋ย
อินทรีย์วิถีพอเพียง ตำบลไผ่ล้อม 8.ศูนย์เรียนรู้เกษตรธรรมชาติตำบลฝายหลวง 9.ศูนย์เรียนรู้นักอ่านอาสา
สง่ เสรมิ วิถพี อเพยี ง หอ้ งสมดุ ประชาชนอำเภอลับแล
- คณะกรรมการท่รี ับผิดชอบกิจกรรมทงั้ 9 ฐานเรียนรู้ รวบรวมผลการปฏิบัตงิ าน
ประชาสมั พนั ธ์และเผยแพรง่ านส่ชู ุมชน
23
2.4 จัดทำ ปรับปรุง หรือเพิ่มเติมโครงการ กิจกรรมและปรับแผนกลยุทธแ์ ละแผนปฏิบัติการของ
สถานศกึ ษา
2.5 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยสาระหลักของการน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ตามหลกั สตู รการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 อยู่ในสาระ
ท่ี 4 สาระทักษะการดำเนินชีวิต มาตรฐานที่ 4.1 มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติที่ดีเก่ียวกับปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงและสามารถประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชวี ติ ไดอ้ ย่างเหมาะสม
2.6 ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น วิชา เมืองลับแลอุตรดิตถ์โดยสาระหลักของการน้อมนำ
หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงบรู ณาการเพ่ือผ้เู รยี นมีอปุ นสิ ยั รกั ษว์ ัฒธรรมทอ้ งถนิ่ และนิสัยความพอเพียง
2.7 จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรสถานศึกษาโดยนำหลักคิดและหลักปฏิบัติตนตามแนวคิด
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบูรณาการในสาระเรียนรู้การเรียนรู้ท้ัง ๕ สาระ คือ สาระทักษะการเรียนรู้
สาระความรู้พน้ื ฐาน สาระการประกอบอาชพี สาระทักษะการดำเนินชวี ติ และสาระการพฒั นาสังคม
2.8 บูรณาการนำความรู้สู่การปฏิบัติทั้งหลักคิดและหลักปฏิบัติตนตามแนวทางหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เช่น โครงการพัฒนาครูและบุคลากรเพ่ือเพิ่มทักษะในการ
จัดกระบวนการเรียนรู้การจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โครงการการจัดกระบวนการ
เรยี นร้ตู ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง โครงการศึกษาดูงานแหล่งเรยี นรูใ้ นทอ้ งถน่ิ เปน็ ต้น
2.9 จดั สถานที่ เสรมิ สร้างบรรยากาศและสภาพแวดล้อมให้เอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
2.10 จัดโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้นักศึกษาและ
ประชาชน ได้เรียนรู้การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงใช้ในการดำเนินชีวิต เรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้
ท้ัง 9 ฐาน คัดเลือกตัวแทนที่เข้าร่วมโครงการท่ีสามารถเป็นต้นแบบได้ และมีความพร้อม นำความรู้ทีได้ไป
จดั ทำแหล่งเรียนรู้ ฐานเรียนรู้ ที่บ้านของผู้เข้าร่วมโครงการเอง เพ่ือขยายผลเชิงรุกให้บริการกับประชาชนใน
การสง่ เสริมกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.11 จดั ระบบนิเทศ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนนิ การ
2.12 ประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจแก่นักศึกษา ประชาชน ผู้เก่ียวข้องอื่น ๆ โดยใช้
จดหมายข่าว ออนไลน์ เพจ FacebooK ของ กศน.อำเภอลับแล การจัดนทิ รรศการ เป็นตน้
2.13 ทบทวนหรือปรับปรุงโครงสร้างและพัฒนาการบริหารจัดการตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
ขนั้ ตอนท่ี 3 ประเมินผลการดำเนินงาน (Check)
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอลับแล แต่งต้ังกรรมการติดตามประเมินผล
เพื่อนำผลมาพฒั นาโดยกำหนดกรอบตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ (Key Performance Indicator) ดังนี้
1. สถานศึกษาไดน้ อ้ มนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การจดั การศกึ ษาอย่างเปน็ รปู ธรรม
2. ผู้บริหาร ครูและบุคลากร กศน.อำเภอลับแล มีความรู้ ความเข้าใจและปฏิบัติตามหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
3. นกั ศึกษาและประชาชนปฏบิ ัตติ นตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง นำมาใชใ้ นวิถีชีวติ
4. มีการขยายผลการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เพ่ือให้เกิด
แหล่งเรียนรู้ ฐานเรียนรใู้ นชุมชน และมปี ระสทิ ธภิ าพ
5. ครแู ละนกั ศึกษามจี ติ สำนกึ ด้านจติ อาสา/ จติ สาธารณะตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
24
ขั้นตอนที่ 4 นำผลการประเมนิ มาแกไ้ ขปรบั ปรงุ การดำเนินงาน (Action)
หลังจากดำเนินงานโครงการแต่ละโครงการแล้ว ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอลับแล ได้จัดประชุมคณะครูบุคลากรทางการศึกษา เพื่อสรุปผลการดำเนินการโครงการ กิจกรรม เพ่ือ
รายงานผลการดำเนินงานท่ีเกิดขนึ้ รวมทัง้ อุปสรรค ปัญหา และข้อเสนอแนะในการพัฒนา โดยบคุ ลากรทุกคน
ไดม้ ีสว่ นร่วมในการสรปุ ผลท่เี กดิ ขึ้น เพอ่ื เปน็ แนวทางในการดำเนินงานคร้งั ตอ่ ไป และไดจ้ ัดนิทรรศการเผยแพร่
ผลการดำเนินงานที่เกิดจากการบูรณาการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารเรียนการสอน ท้งั ในสถานศึกษา
และนอกสถานศึกษา เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์การดำเนินงานต่อสาธารณชน การแลกเปล่ียนเรียนรู้กับ
หน่วยงาน องค์กรอ่ืน ๆ ที่เก่ียวข้องและนำข้อเสนอแนะจากการจัดนิทรรศการมาปรบั ปรงุ การดำเนินงานในปี
ตอ่ ๆ ไป
25
7.2 เร่อื งเล่าของครูเกี่ยวกับเรื่องการออกแบบการเรียนรเู้ พอ่ื เสริมสรา้ งอปุ นสิ ัยพอเพียง
(มาจากข้อ 4.2.6)
1. ครูแกนนำ
1.1 ชื่อ-สกุล นายนพดล แก้วทองมา ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล
26
มีวธิ ีการอยา่ งไรในการสอดแทรกเนอ้ื หา/บรู ณาการในรปู แบบกระบวนการใน
ขน้ั นำ ขั้นสอน ขนั้ สรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ชี ีวิต
การจดั ทำโครงงานการทำกระถางจากเปลอื กทเุ รยี น
ข้นั ที่ 1 ขั้นนำเขา้ สู่บทเรยี น (Engagement)
1.1 ครูถามนกั ศกึ ษาว่า “นกั ศกึ ษาสามารถนำมีวธิ ิการกำจัดเปลอื กทุเรยี น อยา่ งไรได้บา้ ง”
1.2 ครูนำเปลอื กทุเรียนมาให้นกั ศึกษาดู จากนั้นให้นักศึกษาชว่ ยกันคิดว่าสามารถกำจัดเปลือกทุเรยี น
และสามารถไปใชป้ ระโยชน์อย่างไรไดบ้ ้าง”
1.3 ครูใหน้ กั ศึกษาออกแบบการนำเปลือกทุเรยี นมาใชป้ ระโยชน์โดยจะทำอะไรไดบ้ ้าง
ขน้ั ท่ี 2 ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration)
2.1 ครใู ห้นกั ศกึ ษาค้นควา้ ขอ้ มูลเกยี่ วกับการนำเปลือกทเุ รยี นมาใชป้ ระโยชน์
2.2 ครูใหน้ กั ศึกษาลงมือทำกระถางจากเปลอื กทเุ รยี น เพือ่ ใชป้ ระโยชน์และกำจัดเปลอื กทุเรยี น
2.3 ครูให้นักศึกษาคำนวณอัดตราส่วนและส่วนผสมในการ กระถางจากเปลือกทุเรียน พร้อมด้วย
ประเมนิ ความคมุ้ คา่
ขน้ั ที่ 3 ขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป (Explanation)
3.1 ครูและนักศึกษาร่วมอธิบายว่า อัดตราส่วนและส่วนผสมในการ กระถางจากเปลือกทุเรียนซึ่งทุก
คนสามารถทำได้ด้วยตนเอง เป็นการลดขยะจากเปลือกทเุ รยี น ใช้เวลาวา่ งใหเ้ กดิ ประโยชน์
ขั้นท่ี 4 ขั้นขยายความรู้ (Elaboration)
4.1 ครูและนักศึกษาร่วมกันอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับการกำจัดและใช้ประโยชน์จากจากเปลือก
ทุเรยี นในชุมชน
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน การ
ทำงานหลงั การปฏิบัติ การถอดบทเรยี นความสำเร็จ/ลม้ เหลว ผงั มโนทัศน์หรอื อ่นื ๆ
- ใบความรู้ เร่อื ง การออกแบบเคร่ืองบด และแมพ่ มิ พ์กระถาง
- สอื่ ออนไลน์ เรื่อง สว่ นผสม และอัตราส่วน
มีวธิ ตี รวจสอบและวดั ผล/ประเมินผลอยา่ งไร จงึ ทำให้ครูม่นั ใจวา่ นกั ศกึ ษาไดเ้ รียนรู้แลว้ เขา้ ใจและ
นำไปใช้จรงิ ได้
- รปู เล่มโครงงานการทำกระถางจากเปลอื กทุเรียน
- กระถางจากเปลือกทุเรียนที่สามารถย่อยสลายได้
- การนำเสนอโครงงานการทำกระถางจากเปลือกทุเรียน หนา้ ช้ันเรียน
กจิ กรรมการเรียนรู้การทำโครงงานการทำกระถางจากเปลอื กทุเรยี น
27
1.2 ช่ือ-สกลุ นางจารวุ รรณ มง่ิ นนั ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลนานกกก
28
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ข้ัน
สอน ขนั้ สรุป หรอื การทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ชี ีวิต
- มีการสอดแทรกความรู้และจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
ให้กับนักศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และมีการประเมินผลของนักศึกษาจากการปฏิบัติตนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม สนับสนุน ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง และการบูรณาการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกในรายวิชาท่ีเรียน และ
นกั ศกึ ษาสามารถนำมาปรับใชใ้ นชีวิตประจำวันได้
มีเคร่ืองมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏิบัติ การถอดบทเรียนความสำเร็จ
- ใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน การฝึกปฏิบัติจริง แบบทดสอบหลังเรียน คลิป
วดี ีโอเกยี่ วกบั การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรับใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เขา้ ใจ และนำไปใช้จรงิ ได้
- นักศกึ ษาสามารถนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชวี ิตประจำวันไดจ้ ริง
โดยสามารถดำเนินชีวิตตั้งอยู่บนความพอประมาณ เรียบง่ายประหยัด อดออม ใฝ่หาความรู้อยู่ตลอดเวลา
ดำเนินชีวิตอยู่บนความมีเหตุผล การคิดอย่างมีเหตุมีผลมีการทำบัญชีรายรับรายจ่ายในครัวเรือนและสามารถ
ถา่ ยทอดความรใู้ ห้กบั เพอื่ นในชุมชนได้
ภาพกิจกรรมการเรียนการสอน นกั ศกึ ษา
29
1.3 ชื่อ-สกลุ นางอารยิ า นวลแบน ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลแมพ่ ลู
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในขั้นนำ ขั้นสอน
ข้ันสรปุ หรอื การทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ีชีวิต
ครู กศน.ตำบล ดำเนินการจัดกระบวนการเรียนรู้โดยการนำนักศึกษาการศึกษาต่อเนื่องเข้าร่วมการ
อบรมโครงการจัดกระบวนการเรียนร้ตู ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ในวันท่ี 7 มิถุนายน พ.ศ.2564 ณ
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง กศน.ตำบลแม่พูล หมู่ที่ 1 ตำบลแม่พูล อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยการ
สอดแทรกเนื้อหาและบูรณาการกระบวนการเรียนรู้ตามแนวหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงเป็นแนว
ทางการดำเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติท่ีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร
(รัชกาลที่ 9) ทรงมีพระราชดำรัสช้ีแนะแก่พสกนิกรไทยมาเป็นระยะเวลายาวนาน เป็นแนวคิดที่ต้ังอยู่บน
พื้นฐานของวัฒนธรรมไทย เป็นแนวทางการพัฒนาท่ีต้ังบนพ้ืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท
คำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู้และคุณธรรมเป็น
พ้ืนฐานในการดำรงชีวิตที่สำคัญ ต้องมี “สติปัญญาและความเพียร” ซ่ึงจะนำไปสู่ “ความสุข” ในการดำเนิน
ชีวิตอย่างแท้จริง ซึ่งเป็นกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เช่ือมโยงศาสตร์และเน้ือหาสาระท่ีมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กันเข้ามาผสมผสานเข้าเพื่อให้เกิดความรู้ที่หลากหลาย เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย มีลักษณะ
เนอ้ื หาทเ่ี ป็นองคร์ วมตลอดจนสามารถนำไปใช้ในชีวติ จรงิ ได้
ในขั้นนำ ครู กศน.ตำบลแม่พูล เป็นผู้ช้ีแจงวัตถุประสงค์ของโครงการ พูดคุยแลกเปล่ียนเรียนรู้
ประสบการณ์ในการทำเกษตรกบั กลุม่ เปา้ หมายเพ่ือสรา้ งบรรยากาศและการมสี ว่ นรว่ ม
ในขั้นสอน ครู กศน.ตำบลแม่พูล เกรนิ่ นำในหัวขอ้ เศรษฐกจิ พอเพียง ปลกู ทุกอยา่ งท่ีกิน กนิ ทกุ อยา่ งที่
ปลูก และเชิญวิทยากร นางหนู ม่วงวงษ์ เป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและประสบความสำเร็จในการทำ
เกษตรในบริเวณรอบบ้านโดยปลูกทุกอย่างที่กิน กินทุกอย่างท่ีปลูกมาเป็นระยะเวลาหลายปี จนทำให้เพ่ือน
บ้านในชุมชนยอมรับ เนื่องจากสุขภาพร่างกายของครอบครัวนางหนู ม่วงวงษ์ แข็งแรง อายุยืน และสามารถ
เป็นแบบอยา่ งทด่ี ีได้ และผลผลิตทเี่ หลอื จนสามารถแบ่งปนั ใหเ้ พอ่ื นบ้านและขายได้
ในขน้ั สรปุ ครู กศน.ตำบลแม่พูล วิทยากร และผูเ้ ขา้ ร่วมอบรม สรปุ องคค์ วามรู้ทีไ่ ด้รบั รว่ มกัน
โดยนางหนู ม่วงวงษ์ นักศึกษาการศึกษาต่อเน่ืองตำบลแม่พูล เกิดแรงบันดาลใจและมีแนวคิดในการ
ริเร่ิมท่ีจะทำเศรษฐกิจพอเพียง ปลูกทุกอย่างท่ีกิน กินทุกอย่างที่ปลูก ครู กศน.ตำบลแม่พูล จึงทำการ
ประสานงานนางหนู ม่วงวงษ์ เพื่อมาเป็นวิทยากรโครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือมาบอกแนวคิด วิธีการ เพ่ือเป็นวิทยาทานให้กบั เพ่ือนๆนักศึกษาได้นำไปประยุกต์ใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั ได้
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน การ
ทำงานหลังการปฏิบตั ิ การถอดบทเรียนความสำเร็จ/ล้มเหลว ผงั มโนทัศน์หรอื อนื่ ๆ
เนอ้ื หาถอดบเรียนความสำเร็จเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียง ปลกู ทุกอยา่ งท่ีกิน กินทกุ อย่างทปี่ ลูก
30
มวี ิธตี รวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครมู ั่นใจว่านกั เรียนได้เรียนรแู้ ล้วเข้าใจและ
นำไปใชจ้ ริงได้
ครู กศน.ตำบลแม่พูล มีวิธีการตรวจสอบ วัดผล และประเมินผลเชิงประจักษ์ โดยนางหนู ม่วงวงษ์
นำความร้ทู ่ีได้รบั ไปใช้ในการดำเนนิ ชีวติ ประจำวัน สามารถพ่ึงพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาใหด้ ียิ่งขึ้น จนเกิด
ความย่ังยืน มีความต้ังใจและมุ่งมั่น อาศัยความเพียรและอดทน วางแผนใช้พ้ืนท่ีรอบบริเวณบ้านปลูกพืชผัก
สวนครัวรั้วกินได้ทุกชนิดท่ีใช้สำหรับประกอบอาหารได้ เพ่ือใช้เป็นอาหารประจำวัน สำหรับครอบครัวให้
เพียงพอตลอดปี เพ่ือตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ ส่วนที่เหลือจากบริโภคสามารถจำหน่ายเพื่อเพิ่ม
รายได้ให้แก่ครอบครัว พ้ืนท่ีส่วนที่ 3 ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่ือใช้เป็นอาหาร
ประจำวัน หากเหลือบรโิ ภคก็นำไปจำหน่าย
ซ่งึ จากการประเมนิ ดงั กล่าว นางหนู มว่ งวงษ์ ได้นำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาเป็น
แนวทางในการดำเนินชีวิตและทำการเกษตรอินทรยี ท์ ฤษฎีใหม่ โดยแบ่งพื้นท่ีทำการเกษตรเป็นสดั ส่วน ซึ่งเป็น
การจัดแบ่งแปลงท่ีดินเพ่ือให้เกิดประโยชน์สูงสุดตามสภาพความเหมาะสมของพื้นที่ ดิน ปริมาณน้ำฝนและ
สภาพแวดล้อม เป็นระบบการผลิตแบบพอเพียง ที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับท่ีประหยัดก่อน
เพื่อลดค่าใช้จ่าย หากเหลือจากอุปโภคบริโภคก็สามารถนำไปจำหน่ายเพ่ือเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว เพ่ือยึด
หลักพึ่งตนเองได้อย่างอิสรภาพ นำไปสู่การทำเกษตรท่ีย่ังยืนและเกษตรธรรมชาติ ซึ่งเป็นการดำเนินชีวิตแบบ
ทางสายกลาง โดยต้ังอยู่บนหลักสำคญั สามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตผุ ล และการมีภูมคิ ุ้มกัน
ทีด่ ี
ภาพประกอบ
31
1.4 ชอ่ื -สกุล นางสาวศิรลิ ักษณ์ เพช็ รม่ัน ตำแหน่ง ครกู ศน.ตำบลฝายหลวง
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ขั้น
สอน ขนั้ สรุป หรือการทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ีชวี ิต
- มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้วยเกษตรธรรมชาติ
(MOA) ใหก้ บั กล่มุ เป้าหมาย โดยใช้วิถีชีวติ แบบพอเพียง และการประกอบอาชีพของตนเอง และเพ่มิ เทคโนโลยี
เข้ามามีส่วนช่วยในการ ส่งเสริม สนับสนุน ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมท่ีจัดขึ้นผ่านทางส่ือ social media
ต่างๆ มีการบูรณาการแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักสูตรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง และสอดแทรกในชีวิตประจำวันให้กลุ่มเป้าหมายได้รู้มีความรู้และเข้าใจตนเอง และเข้าใจ
ผู้อนื่ ตลอดจนสามารถเลือกส่งิ ที่ดที ่ีสดุ มี คณุ คา่ ให้กับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสุข
มีเคร่ืองมอื ช่วยสร้างการเรยี นรขู้ องผ้เู รียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชดุ คำถาม การทบทวน การ
ทำงานหลังการปฏบิ ตั ิ การถอดบทเรยี นความสำเรจ็ /ล้มเหลว ผังมโนทัศน์หรอื อ่นื ๆ
- การสรา้ ง ใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น ซ่ึงจะมีโครงการ
อบรบการศึกษาต่อเนื่องในพ้ืนที่เร่ืองต่างๆ เชื่อมโยงการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ เพ่ือ
เปน็ การประหยัดและพัฒนาตนเองอยู่เสมอ และในการทำงาน มกี ารเข้าอบรมในหลักสูตรต่างๆ ทีก่ ศน.อำเภอ
ลบั แลจัดให้ในแต่ละภาคเรียน ได้แก่ โครงการเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึง
จะไดร้ บั ความรสู้ มำ่ เสมอ ทกุ ภาคเรยี น
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เขา้ ใจและนำไปใช้จรงิ ได้
- จากการสังเกตุ การใชช้ วี ิตและสภาพความเป็นอยู่ นกั ศกึ ษาสามารถนำหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวันได้จรงิ โดยสามารถดำเนนิ ชวี ติ ต้งั อยบู่ นความพอประมาณ เรียบ
งา่ ยประหยดั อดออม ดำเนินชวี ิตอยบู่ นความมีเหตผุ ล การคดิ อยา่ งมีเหตมุ ผี ล
ภาพประกอบ
32
ภาพประกอบ
33
ภาพประกอบ
34
1.5 ช่อื -สกลุ นางนชุ ภาวรรณ พุม่ จีน ตำแหนง่ ครูอาสาสมัคร กศน.
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในขั้นนำ ข้ัน
สอน ข้นั สรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ีชวี ติ
- มีการจัดกระบวนการเรยี นรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ไม่
รู้หนังสือ โดยใช้วิถชี ีวติ แบบพอเพียง และการประกอบอาชีพของตนเอง และเพิ่มเทคโนโลยเี ข้ามามีส่วนชว่ ยใน
การ ส่งเสริม สนับสนนุ ให้นกั ศึกษาเข้ารว่ มกิจกรรมท่ีจัดขนึ้ ผา่ นทางส่ือ social media ต่างๆ มีการบูรณาการ
แนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นหลักสูตรต่างๆที่เกี่ยวข้องกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และ
สอดแทรกในชีวิตประจำวันให้กลุ่มเป้าหมายได้รู้มีความรู้และเข้าใจตนเอง และเข้าใจผู้อ่ืนตลอดจนสามารถ
เลอื กสิ่งท่ีดีทส่ี ดุ มี คณุ คา่ ใหก้ ับตนเองและสังคมได้อย่างมีความสุข
มเี ครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรขู้ องผเู้ รียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชดุ คำถาม การทบทวน การ
ทำงานหลังการปฏบิ ัติ การถอดบทเรยี นความสำเรจ็ /ล้มเหลว ผังมโนทศั น์หรอื อน่ื ๆ
- การสรา้ ง ใบงาน ใบความรู้ แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบหลังเรยี น ซ่ึงจะมีโครงการ
อบรบการศึกษาต่อเนื่องในพ้ืนท่ีเร่ืองต่างๆ เชื่อมโยงการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ เพื่อ
เป็นการประหยดั และพัฒนาตนเองอยู่เสมอ ไม่หลงลืมหนังสือ มีการเข้าอบรมในหลักสตู รต่างๆ ท่ีกศน.อำเภอ
ลบั แลจัดให้ในแตล่ ะภาคเรียน ซงึ่ จะไดร้ ับความรู้สม่ำเสมอ ทุกภาคเรยี น
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูมั่นใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เขา้ ใจและนำไปใช้จรงิ ได้
- จากการสังเกตุ การใชช้ ีวิตและสภาพความเป็นอยู่ นักศกึ ษาสามารถนำหลักปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นชีวิตประจำวันได้จริง โดยสามารถดำเนินชวี ิตตัง้ อยู่บนความพอประมาณ เรียบ
ง่ายประหยัด อดออม ดำเนินชวี ติ อยู่บนความมีเหตผุ ล การคดิ อย่างมีเหตุมผี ล
35
1.6 ช่ือ-สกุล นายชาตรี โพธศ์ิ รี ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบล
มวี ิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนอื้ หา/บรู ณาการในรปู แบบกระบวนการใน
ข้นั นำ ขั้นสอน ขนั้ สรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรือในวิถชี ีวิต
กจิ กรรมปลูกฝงั คณุ ธรรมความสำนึกในความเป็นชาตไิ ทยและวิถชี ีวติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
ของนักศึกษา กศน.ตำบลไผล่ ้อม
ข้ันท่ี 1 ขน้ั นำเข้าสู่บทเรยี น (Engagement)
1.1 ครูถามนักศึกษาว่า “นักศึกษาคุณธรรมคืออะไร ให้ยกตัวอย่างให้ครูฟัง และคำว่าเศรษฐกิจ
พอเพียงที่ตนเองเขา้ ใจหมายความวา่ อะไร”
1.2 ครูเปิดคลิปวีดีโอตัวอย่างให้นักศึกษาได้ดูในเรื่องคุณธรรมความสำนึกในความเป็นชาติไทย และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
ข้นั ท่ี 2 ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration)
2.1 สงั เกตปัญหา ระดมความคดิ เลือก ระบุ วิเคราะห์ เชือ่ มโยง “ปัญหา-สาเหตุ” ได้ชัดเจน เหน็
ความเชือ่ มโยงเปน็ เหตเุ ปน็ ปจั จัยเก่ียวเนอื่ งกันได้ตลอดสาย (จาก “ภายนอก” สู่ “ภายใน” ชีวิตจิตใจของ
ตนเอง)
2.2 คาดการณแ์ ละระบุ “เปา้ หมาย” ของการแก้ปัญหาให้ชัด ทั้งเป้าหมายในตวั คน (พฤตกิ รรม
จิตใจ ปัญญา ท่ีคาดหวัง) เป้าหมายนอกตัวคน (สิง่ แวดลอ้ ม-กายภาพ) เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ เปา้ หมายเชงิ
คณุ ภาพ เป้าหมายระยะส้ัน ระยะกลาง ระยะยาว และเม่ือรจู้ ดุ หมายปลายทางชดั การกำหนดทศิ ทางและ
การเดนิ ทางก็จะชดั ไปดว้ ย
ขน้ั ที่ 3 ขน้ั อธบิ ายและลงขอ้ สรปุ (Explanation)
3.1 วางแผนและออกแบบ “ทางแก้” หรือวิธีการทดลองอย่างมีหลักเกณฑ์ ท่ีแก้ปัญหาได้ตรงจุด (คือ
แกท้ ี่สาเหต)ุ และถงึ พรอ้ มทจ่ี ะบรรลุเปา้ หมายทีว่ างไวไ้ ด้คุ้มค่า
3.2 ประมวลผล-สรุปผล ประเมินผลการบรรลุเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ได้ต้ังไว้ การประเมิน
ตนเอง การยอ้ นพจิ ารณาเพ่อื ปรับปรุงแก้ไขขอ้ บกพร่อง และการตอ่ ยอดขยายผล
ขั้นท่ี 4 ขนั้ ขยายความรู้ (Elaboration)
1. นำเสนอ สื่อสาร ข้อมูลเร่ืองราวการทำกิจกรรมผลของการทำงาน สู่สาธารณะ อย่างมี
ประสิทธิภาพเพ่ือเป็นการแพร่ขยายความดี-ส่ือสารความดี บอกต่อองค์ความรู้ในการแก้ปัญหาต่างๆ เผยแพร่
วิธีการในการทำความดี อันจะเป็นการเสริมสร้างค่านิยมการทำความดี สร้างแรงบันดาลใจในการทำความดี
ใหก้ ับผ้อู ่นื ต่อๆ ไป และเป็นการสืบต่อความดตี อ่ ไปไดไ้ ม่ส้ินสดุ
ภาพประกอบ
กิจกรรมปลูกฝงั คุณธรรม ความสำนึกในความเปน็ ชาตไิ ทยและวิถชี วี ติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ
พอเพียงของนักศึกษา กศน.ตำบลไผ่ลอ้ ม
36
ภาพประกอบ
37
1.7 ชื่อ-สกุล นางสาวกรรณภรรท เมืองชา ตำแหนง่ ครู ศรช.
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในขั้นนำ
ขน้ั สอน ข้ันสรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรือในวถิ ีชวี ิต
- มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา
โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนช่วยในการส่งเสริม สนับสนุน ให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้นผ่านทางส่ือ
social media ต่างๆ เช่น Microsoft Teams, Line meeting เป็นต้น โดยนำแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงสอดแทรกเข้าไปในกระบวนการจัดการเรียนการสอน โดยเร่ิมต้นสอนจากกิจกรรมเล็กๆ ท่ีนักศึกษา
สามารถทำได้ด้วยตนเอง เช่น การเก็บขยะ การประหยัดพลังงาน การเก็บออม ฯลฯ เพื่อให้นักศึกษา
รู้จกั การวางแผนอยา่ งรอบคอบ คำนึงถึงความเสย่ี งตา่ งๆ ในชีวิตประจำวนั
มีเคร่ืองมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ชุดคำถาม การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏบิ ัติ การถอดบทเรียนความสำเรจ็ /ล้มเหลว ผงั มโนทัศน์หรอื อ่ืนๆ
- การสร้าง ใบงาน ใบความรู้ ผ่านส่ือ google forms ให้นักศึกษา เชน่ การทำบันทึกรายรับ
– รายจ่าย ในชีวิตประจำวัน โดยยึดการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรบั ใช้เป็น
แนวทางในการดำเนินชวี ติ ประจำ
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เข้าใจและนำไปใช้จริงได้
- จากการสังเกต การใช้ชีวิตและสภาพความเป็นอยู่ รวมถึงการบันทึกรายรับ-รายจ่าย
นักศึกษาสามารถนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง โดยสามารถดำเนิน
ชวี ติ ตงั้ อย่บู นความพอประมาณ เรยี บง่ายประหยัด อดออม ดำเนินชีวิตอยบู่ นความมเี หตผุ ล
รูปกิจกรรม
38
1.8 ชื่อ-สกุล นางพมิ พา กล่ินเกตุ ตำแหนง่ ครูกศน.ตำบล
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในขั้นนำ ขั้น
สอน ข้ันสรุป หรอื การทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ชี วี ิต
- จัดทำแผนจัดการเรียนรู้ มีการสอดแทรกความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับ
นักศึกษา มีกิจกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์รายวิชา เพ่ือให้นักศึกษามีคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ตามท่กี ำหนด
- มกี ารจดั กระบวนการเรียนรตู้ ามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพยี งใหก้ ับนักศึกษา และมี
การประเมินผลของนักศึกษาจากการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม สนับสนุน ให้
นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมอบรมในช่วงวกฤตโควิด-19 ที่เกิดขึ้น สร้างบทเรียนและทำให้หลายๆ คนได้หัน
กลบั มาวเิ คราะหแ์ ละมองหาถงึ หนทางรอด โดยในโลกออนไลนไ์ ด้มกี ารพูดถึงหลักการเศรษฐกิจพอเพียงของใน
หลวงรัชกาลที่ 9 และยังมีประขาชนหลายกลุ่มที่นำเสนอภาครัฐให้บริหารจัดการแนวคิดน้ีอย่างเป็นระบบเพื่อ
สร้างความม่ันคงทางอาหารและสร้างหนทางรอดให้กับประชาชนในชุมชน “ความพออยู่พอกิน เกิดจากการ
พึ่งพาตวั เอง” 1.ลดคา่ ใช้จา่ ยโดยไมจ่ ำเปน็ 2.ปลูกผกั สวนครัวไว้บรโิ ภคเองในบ้าน 3.นำของทีใ่ ช้แล้วกลบั มาใช้
ใหม่ 4.แปลงขยะรีไซเคลิ มาเปน็ สินค้าประดิษฐ์ 5.การแบ่งปัน
มีเคร่ืองมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ใบความรู้ การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏิบตั ิ การถอดบทเรยี นความสำเรจ็
- มีใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน การฝึกปฏิบัติจรงิ คลิปวีดีโอเก่ียวกับ
การนำหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใช้ในชวี ิตประจำวัน
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เข้าใจ และนำไปใช้จรงิ ได้
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถทำใบงาน แบบทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถ
อธิบายองค์ความรู้ท่ีได้รับและแนวทางในการน้อมนำหลักปรัชญ าของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ใน
ชวี ิตประจำวนั
- มีการติดตามการนำความรู้ไปใช้ของนักศึกษา ท้ังการศึกษาขั้นพื้นฐานและการศึกษา
ต่อเน่ืองพบว่านักศึกษาได้น้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีนงไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยดำเนิน
ชวี ติ มคี วามพอประมาณ เรยี บง่ายประหยดั อดออม ใฝ่หาความรอู้ ยู่ตลอดเวลาดำเนินชวี ติ อยบู่ นความมีเหตุผล
การคดิ อยา่ งมีเหตมุ ผี ล ความพออยู่พอกนิ เกดิ การพึง่ ตนเอง
39
ภาพกจิ กรรมจดั การเรยี นรการสอนนักศกึ ษา กศน.ตำบลทงุ่ ย้ัง
40
1.9 ช่ือ-สกุล นางสาวนงคน์ ุช ยะราช ตำแหน่ง เจา้ พนักงานห้องสมุด
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเนื้อหา/บูรณ าการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ
ขนั้ สอน ขัน้ สรุป หรือการทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวถิ ีชวี ิต
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนำไปใช้ในการทำงานกับห้องสมุดได้หลากหลาย โดยเฉพาะ
นำมาใชใ้ นการจดั กิจกรรมให้กบั ประชาชนผู้มาใช้บริการ และจดั การเรยี นการใหแ้ ก่ผเู้ รียน ซึ่งเป็นกระบวนการ
จดั การ เรียนรู้ท่ีเช่ือมโยงศาสตร์และเน้ือหาสาระวิชาต่าง ๆ ที่มีความเก่ียวข้องสัมพันธ์กันเข้ามาผสมผสานเข้า
ด้วยกัน เพื่อให้เกิดความรู้ท่ีหลากหลาย เป็นการเรียนรู้อย่างมีความหมาย มีลักษณะเน้ือหาที่เป็นองค์รวม
ตลอดจนสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริงได้ ห้องสมุดเป็นที่จัดนิทรรศการ และบริการเอกสารหนังสือให้ความรู้
เก่ียวกับ พระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โครงการในพระราชดำริ
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ ตน้
มเี ครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เคร่ืองมือท่ีช่วยในการเรีบนรู้ภายใน
ห้องสมุดประชาชนอำเภอลับแล ได้แก่ มุมนิทรรศการศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน แบบสอบถาม
ชุดคำถามศาสตร์พระราชา QR Code โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำริ และ แบบบันทึกรักการอา่ น
สำหรับมาตรฐานการเรียนรู้มีวัตถุประสงค์ให้ทุกช่วงช้ันเข้าใจหลักเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถ
ประยุกต์ใช้ได้แต่ถ้ามาตรฐานเรียนรูข้ องทกุ ชว่ งชั้นเหมอื นกันหมดก็จะมปี ัญหาทางปฏิบัติจึงต้องกำหนดขอบเขต
ที่ชัดเจนในการเรยี นการสอนของแต่ละระดับ ดงั น้ี
ระดับประถมศึกษา เน้นให้นักศึกษาพึ่งตนเองได้ หรือใช้ชีวิตพอเพียงระดับบุคคลและครอบครัว
วเิ คราะห์รายจ่ายของครอบครัว จะมีเป็นตารางกรอกค่าใชจ้ ่ายต่างๆ ของครอบครัว สอนให้นกั ศกึ ษาเหน็ คณุ ค่า
ของสิ่งของ ตระหนักถึงคุณค่าของเงินทอง จะได้ฝึกนิสัยประหยัด ครอบครัวมีรายได้และรายจ่ายเท่าไร
นักศกึ ษาจะได้ฝกึ จติ สำนกึ และนสิ ยั พอเพยี ง รูจ้ กั ชว่ ยเหลือครอบครวั อย่างพอเพียง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ฝึกให้นักศึกษารู้จักประยุกต์ใช้หลักความพอเพียงในสถานศึกษา
สามารถวิเคราะห์วางแผนและจัดทำบันทึกรายรับ-รายจ่ายของตนเองและครอบครัวอย่างมีประสิทธิภาพ
มสี ว่ นร่วมในการสร้างความพอเพียงระดับสถานศึกษา และชมุ ชนใกล้ตวั โดยเร่ิมจากการสำรวจทรัพยากรต่างๆ
ในสถานศึกษาและชุมชน มีส่วนร่วมในการดูแลบำรุงรักษาทรัพยากรต่างๆ ท้ังด้านวัตถุ ส่ิงแวดล้อม ภูมิปัญญา
วัฒนธรรม และรวบรวมองค์ความรตู้ ่างๆ มาเป็นขอ้ มูลในการเรียนรู้วิถีชีวิตของชุมชนและเห็นคุณค่าของการใช้
ชวี ติ อยา่ งพอเพยี ง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประยุกต์ใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงกับชุมชน มีส่วนร่วมในกิจกรรม
ต่างๆ ของชุมชน สามารถสำรวจและวิเคราะห์ความพอเพียงในระดับต่างๆ และในมิติต่างๆ ทั้งทางวัตถุ สังคม
41
สง่ิ แวดล้อม และวัฒนธรรมในชุมชนใกลต้ ัว เห็นคุณค่าของการใชห้ ลักพอเพียงในการจัดการชุมชน และในที่สุด
แล้วสามารถนำหลักการพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันของแต่ละคน จนนำไปสู่การปรับเปลี่ยน
พฤตกิ รรมสู่ความพอเพียงไดใ้ นที่สุด
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เขา้ ใจและนำไปใช้จริงได้
การวดั ผลและประเมนิ ผลการจัดการเรยี นการสอนตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ตัวบง่ ช้ีที่ งานที่ปฏบิ ัติ บนั ทกึ รอ่ งรอย
๑.จดั แสดง/ มีการจดั แสดง/เผยแพร/่ ประกวด/แลกเปลยี่ น
เผยแพร/่ ประกวด/ เรยี นรู้ ผลงานของผู้เรียน ท่ีเกิดจากการนำหลัก
แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ์ ช้ ดังน้ี
ผลงานของผ้เู รียน ๑. มีการจัดมุมนิทรรศการศาสตร์พระราชา รายงานการการจดั แสดง/
ทีเ่ กดิ จากการนำหลัก เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืนภายในห้องสมุดประชาชน เผยแพร/่ ภาพถ่าย
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ เพื่อให้นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปได้ค้นคว้า และ
พอเพียงไป ศึกษาหาความรู้
ประยกุ ต์ใช้
2. มีการจัดทำ QR Code โครงการอันเน่ืองมาจาก
พระราชดำริเพ่ือให้นักศึกษาและประชาชนท่ัวไปได้ รายงานการการจดั แสดง/
ค้นคว้า และศึกษาหาความรู้ และกิจกรรมถาม- เผยแพร/่ ภาพถ่าย
ต อ บ ค ว า ม รู้ ป รั ช ญ า ข อ ง เศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง ไป
ชงิ รางวลั
3. มีการจัดกิจกรรมบันทึกรักการอ่าน เกี่ยวกับ
โครงการตามพระราชดำริ เพื่อให้นักศึกษาและ
ประชาชนได้มนี ิสัยรกั การอ่าน
42
ภาพประกอบ
43
1.10 ชือ่ -สกุล นายประยงค์ อุทธสิ ินธ์ุ ตำแหน่ง ครู
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ขั้น
สอน ข้ันสรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรอื ในวิถชี ีวิต
- จดั ทำแผนการเรียนรสู้ อนเสรมิ รายวิชาในสาระความรู้พ้นื ฐาน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย
มกี ารสอดแทรกความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา มีกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับ
วตั ถปุ ระสงค์รายวิชา เพอ่ื ให้นักศึกษามคี ุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามท่ีกำหนด
- มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา และมี
การประเมินผลของนักศึกษาจากการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริม สนับสนุน ให้
นกั ศึกษาเขา้ ร่วมกิจกรรมอบรมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการบูรณาการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงสอดแทรกในรายวิชาท่ีเรยี น และนักศึกษาสามารถนำมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั ได้
มีเคร่ืองมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ใบความรู้ การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏบิ ตั ิ การถอดบทเรียนความสำเรจ็
- มีใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน การฝึกปฏิบัติจริง คลิปวีดีโอเกี่ยวกับ
การนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจำวนั
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เขา้ ใจ และนำไปใช้จรงิ ได้
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจ สามารถทำใบงาน แบบทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สามารถ
อธิบายองค์ความรู้ที่ได้รับและแนวทางในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ใน
ชวี ติ ประจำวัน
- มีการติดตามการนำความรู้ไปใช้ของนักศึกษา ทั้งการศึกษาขั้นพ้ืนฐานและการศึกษา
ต่อเน่ืองพบว่านักศึกษาได้น้อมนำเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีนงไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยดำเนิน
ชวี ิตมคี วามพอประมาณ เรยี บง่ายประหยัด อดออม ใฝ่หาความรอู้ ยู่ตลอดเวลาดำเนินชวี ติ อยู่บนความมีเหตผุ ล
การคดิ อยา่ งมเี หตุมีผล
แผนการสอนเสริม
44
ภาพบรรยากาศการสอนเสรมิ นกั ศึกษา
45
1.11 ช่ือ-สกุล นายหฤษฎ์ ประมาณ ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย
มีวิธีการอย่างไรในการสอดแทรกเน้ือหา/บูรณาการในรูปแบบกระบวนการในข้ันนำ ข้ัน
สอน ข้นั สรปุ หรือการทำโครงการ/โครงงานหรือในวถิ ชี ีวติ
- วิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีสอดคล้อง
กบั ความต้องการของผู้เรียน
- จัดทำแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสอนเสริม ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย การสอน
เสริมในแต่ละวิชาจะสอดแทรกความรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้กับนักศึกษา และสอดคล้องกับ
วัตถปุ ระสงค์ของวิชา เพ่อื ให้นักศกึ ษามคี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์
- การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสอนเสริม โดยใช้กระบวนการ ONIE model ในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ มีการสืบค้นหาข้อมูล การวิเคราะห์ และสรุปผลการ
เรียนรู้ ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ครูจะสอดแทรกแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงให้กับนักศึกษา เพ่ือให้
นักศึกษาเห็นความสำคัญและนำไปปรับใช้ได้อย่างเหมาะสม ส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษามีส่วนร่วม
ในกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษาหรือชุมชนท่ีจัดขึ้น เช่น กิจกรรมจิตอาสา กิจกรรมตามประเพณี หรือ
วันสำคัญต่างๆ ของไทย การเข้ารับการอบรมเพ่ือเพ่ิมพูนความรู้ รวมถึงการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง การรู้จกั สิทธแิ ละหน้าที่ของตนเอง
มีเครื่องมือช่วยสร้างการเรียนรู้ของผู้เรียนอะไรบ้าง เช่น ใบงาน ใบความรู้ การทบทวน
การทำงานหลงั การปฏิบัติ การถอดบทเรยี นความสำเรจ็
- มีใบความรู้ ใบงาน แบบทดสอบก่อนเรยี น-หลังเรียน การฝึกปฏิบัติจริง คลิปวีดีโอเกี่ยวกับ
การนำหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชใ้ นชวี ิตประจำวนั
มีวิธีตรวจสอบและวัดผล/ประเมินผลอย่างไร จึงทำให้ครูม่ันใจว่านักเรียนได้เรียนรู้แล้ว
เข้าใจ และนำไปใชจ้ รงิ ได้
- ครูสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเม่ือมาพบครู หรือพบกลุ่ม ในการนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาปรับใช้
- นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจสามารถอธิบายแนวทางในการน้อมนำหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งไปปรบั ใช้ในชีวติ ประจำวนั ได้
- ครูมีการสอบถามและติดตามการนำความรู้ไปใช้ของนักศึกษา พบว่านักศึกษาได้น้อมนำ
เอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการดำเนินชีวิต โดยมีความพอประมาณ เรียบง่าย ประหยัด
ใฝห่ าความรอู้ ยู่เสมอ และดำเนินชวี ิตอยู่บนความมีเหตุผล
46
ภาพกิจกรรม
ครูรว่ มกนั ปลกู ตน้ ไมแ้ ละดแู ลความสะอาด ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบสอนเสรมิ ใหก้ บั
สถานท่ที ่ที างานเพ่อื เป็นแบบอยา่ งใหก้ บั นกั ศกึ ษาในสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรสั
ผเู้ รียนในการนอ้ มนาหลกั ปรชั ญาของ โควดิ 19 จาเป็นตอ้ งปรบั รูปแบบการจดั กจิ กรรมการ
เศรษฐกิจพอเพียงมาใชใ้ นหน่วยงานและใน เรยี นรูแ้ บบออนไลน์ เพ่อื ปอ้ งกนั การแพรร่ ะบาดของ
การดาเนนิ ชวี ิต โรค และเป็นการเรยี นรูก้ ารใชเ้ ทคโนโลยี
ครูและนกั ศกึ ษารว่ มกนั ปลกู ตน้ ไมเ้ พ่อื เพม่ิ พนื้ ท่ี ใหค้ วามรูก้ บั นกั ศกึ ษาโดยการเรยี นรูจ้ ากสถานท่ี
สเี ขียวในสถานศกึ ษา เพ่อื ใชป้ ระโยชน์ เชน่ จรงิ ในทอ้ งถ่ิน เพ่อื ใหน้ กั ศกึ ษาเกดิ การเรยี นรู้
สมนุ ไพร ไมผ้ ล ฯ เป็นการสรา้ งจติ สานกึ ให้ จากของจรงิ และไดล้ งมือปฏิบตั จิ รงิ จากภาพ
นกั ศกึ ษาเห็นความสาคญั ของการชว่ ยเหลือซ่งึ เป็นการใหค้ วามรูก้ ารทาป๋ ยุ หมกั โดยการนาวสั ดุ
กนั รวมถงึ การอนรุ กั ษ์สง่ิ แวดลอ้ ม ธรรมชาติท่ีมใี นพนื้ ทม่ี าใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชน์ เพ่อื ให้
นกั ศกึ ษาสรา้ งองคค์ วามรู้ เห็นคณุ คา่ รูจ้ กั ประหยดั
และลดรายจา่ ย